3.แนวคิด ทฤษฎี...

4
729 การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554 ประสิทธิภาพของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลในการบำาบัดบีโอดีในนำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเพื่อลด ผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ตำาบลแหลมฟ้าผ่าอำาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ Efficiency of Rhizophora mucronata Lamk. and Avicennia marina Forsk. Seedling in BOD Removal from Shrimp Farming Discharge for Reducing Impacts on Shrimp Farming Entrepreneur, Tambon Laemfhapha, Pha Samut Chedi District Samut Prakan Province สิทธิชัย มณีรัตน์ 1 บงกชรัตน์ ปิติยนต์ 2 นิพนธ์ ตั้งธรรม 3 1 โครงการบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 50 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 080 9199954 E-mail: [email protected] 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2 50 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 089 8124342 E-mail: [email protected] 3 คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 350 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 087 0384133 E-mail : [email protected] บทคัดย่อ การศึกษาประสิทธิภาพของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และ แสมทะเลในการบำาบัดบีโอดีในนำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเพื่อลดผล กระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ตำาบลแหลมฟ้าผ่า อำาเภอ พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ แบ่งชุดการทดลองดิน 2 อัตราส่วน คือ ดินเลน:ทราย (3:1) และ ดินเลน:ทราย (1:1) แต่ละชุด ทำาการปลูกกล้าไม้ คือ แสมทะเล โกงกางใบใหญ่ และไม่ปลูกพืช (ชุดควบคุม) ทำา 3 ซำำา รวมทั้งสิ้น 18 ชุด และทำาการทดลอง โดยการ สูบนำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเข้าสู่ระบบการทดลองและกักนำำาไว้ 5 วัน ก่อนปล่อยออก เก็บตัวอย่างนำำาในวันที่ 3 และ 5 ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพในการบำาบัดนำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง ในชุดการทดลอง ดินทั้ง 2 อัตราส่วน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ และชุด การทดลองที่ปลูกพืชทั้งกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลสามารถ บำาบัดนำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งได้ดีกว่าชุดการทดลองซึ่งไม่ปลูกพืช โดย กล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลมีร้อยละการกำาจัดบีโอดีในวันที3 และวันที่ 5 มีค่า 59.21-59.47, 79.27-80.96, 71.81-72.52 และ 81.16-82.00 ตามลำาดับ สำาหรับชุดการทดลองที่ไม่ปลูกพืชมีร้อยละ การกำาจัดบีโอดีในวันที่ 3 และวันที่ 5 มีค่า 48.03-48.37 และ 67.93-68.87 ตามลำาดับ การศึกษาสมบัติของดินพบว่า ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณ อินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณไนโตรเจนในชุดการ ทดลองดินทั้งหมด หลังการทดลองมีค่าไม่เปลี่ยนแปลง ผลการศึกษา ชี้ให้เห็นว่าทั้งกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลสามารถช่วยบำาบัด นำำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งในระบบพื้นที่ชุ่มนำำาแบบประดิษฐ์ได้ดี คำาสำาคัญ : ประสิทธิภาพ, นำำาทิ้ง, พื้นที่ชุ่มนำำาแบบประดิษฐ์ Abstract The study in efficiency of Rhizophora mucronata and Avicennia marina seedling in BOD removal from shrimp farming discharge for reducing impacts on shrimp farming entrepre- neur, Tambon Laemfhapha, Pha Samut Chedi District Samut Prakan Province was designed using 2 experiment soil textures, soil:sand(3:1) and soil:sand(1:1). In each experiment, it was planted with R. mucronata seedling, with A. marina seedling and without seedling (as control unit), for three replicates, making up 18 experiment units. Shrimp farming discharge was pumped into the systems and retained within for 5 days before discharging. Water samples were taken on the third and five days. The result indicated efficiency of shrimp farming discharge treatment in 2 experiment soil had no significant differences, but R. mucronata and A. marina can treat shrimp farming discharge better than without plant experiment. The removal percentage of BOD on the third and fifth days of all texture planted with R. mucronata and A. marina were 59.21-59.47,79.27-80.96, 71.81-72.52 and 81.16-82.00, respectively. Whereas the removal percentage in control units on the third and five days were 48.03-48.37 and 67.93-68.87, respectively. The study of soil founded that soil pH, organic matter, available phosphorus and available nitrogen in all soil textures had not change after the experiment. The results suggested that R. mucronata and A. marina could help improve the treatment ability in constructed wetland. Keywords : efficiency, wastewater effluent, constructed wetland 1.บทนำา การเลี้ยงกุ้งของประเทศไทยได้มีการดำาเนินการมากกว่า สามทศวรรษ โดยเริ่มจากการเลี้ยงกุ้งแบบธรรมชาติในบริเวณ อ่าวไทย ในประเทศไทยมีการเลี้ยงกุ้งกันอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา โดยการเรียนรู้เทคโนโลยีในการเลี้ยงกุ้งจากประเทศ ใต้หวัน การเลี้ยงกุ้งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันได้มีการเลี้ยง ในทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล และบางจังหวัดที่ไม่ได้ติดกับทะเล พื้นทีเลี้ยงทั้งหมด มีประมาณ 440,000 ไร่ และมีผลผลิตประมาณปีละ 234,000 ตัน ซึ่งผลผลิตกุ้งส่วนใหญ่จะถูกส่งออกไปจำาหน่ายใน ต่างประเทศ สามารถนำาเงินต่างประเทศได้ประมาณ 47,000 ล้านบาทต่อปี (สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2547) [1] การเพาะ เลี้ยงกุ้งแบบพัฒนานั้น มีการใช้อาหารเสริม ปุ๋ย ยาปฏิชีวนะ และ

Transcript of 3.แนวคิด ทฤษฎี...

Page 1: 3.แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิดการวิจัยและผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง · แวดล้อมที่ผันแปรรุนแรง

729

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

ประสิทธิภาพของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลในการบำาบัดบีโอดีในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเพื่อลด

ผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ตำาบลแหลมฟ้าผ่าอำาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

Efficiency of Rhizophora mucronata Lamk. and Avicennia marina Forsk. Seedling in BOD Removal from

Shrimp Farming Discharge for Reducing Impacts on Shrimp Farming Entrepreneur, Tambon Laemfhapha,

Pha Samut Chedi District Samut Prakan Province

สิทธิชัย มณีรัตน์1 บงกชรัตน์ ปิติยนต์2 นิพนธ์ ตั้งธรรม3

1โครงการบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

150 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 080 9199954 E-mail: [email protected]คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

250 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 089 8124342 E-mail: [email protected]คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

350 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 087 0384133 E-mail : [email protected]

บทคัดย่อ การศึกษาประสิทธิภาพของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และ

แสมทะเลในการบำาบัดบีโอดีในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเพื่อลดผล

กระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ตำาบลแหลมฟ้าผ่า อำาเภอ

พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ แบ่งชุดการทดลองดิน

2 อตัราสว่น คอื ดนิเลน:ทราย (3:1) และ ดนิเลน:ทราย (1:1) แตล่ะชดุ

ทำาการปลูกกล้าไม้ คือ แสมทะเล โกงกางใบใหญ่ และไม่ปลูกพืช

(ชุดควบคุม) ทำา 3 ซำำำำำำ้ำา รวมทั้งสิ้น 18 ชุด และทำาการทดลอง โดยการ

สูบนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งเข้าสู่ระบบการทดลองและกักนำำำำำำ้ำาไว้ 5 วัน

ก่อนปล่อยออก เก็บตัวอย่างนำำำำำำ้ำาในวันที่ 3 และ 5 ผลการศึกษาพบว่า

ประสิทธิภาพในการบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง ในชุดการทดลอง

ดินทั้ง 2 อัตราส่วน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ และชุด

การทดลองที่ปลูกพืชทั้งกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลสามารถ

บำาบดันำำำำำำ้ำาทิง้จากการเลีย้งกุง้ไดด้กีวา่ชดุการทดลองซึง่ไมป่ลกูพชื โดย

กล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลมีร้อยละการกำาจัดบีโอดีในวันที่

3 และวันที่ 5 มีค่า 59.21-59.47, 79.27-80.96, 71.81-72.52 และ

81.16-82.00 ตามลำาดับ สำาหรับชุดการทดลองที่ไม่ปลูกพืชมีร้อยละ

การกำาจดับโีอดใีนวนัที ่3 และวนัที ่5 มคีา่ 48.03-48.37 และ 67.93-68.87

ตามลำาดบั การศกึษาสมบตัขิองดนิพบวา่ ความเปน็กรด-ดา่ง ปรมิาณ

อินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณไนโตรเจนในชุดการ

ทดลองดนิทัง้หมด หลงัการทดลองมคีา่ไมเ่ปลีย่นแปลง ผลการศกึษา

ชีใ้หเ้หน็วา่ทัง้กลา้ไมโ้กงกางใบใหญแ่ละแสมทะเลสามารถชว่ยบำาบดั

นำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งในระบบพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์ได้ดี

คำาสำาคัญ : ประสิทธิภาพ, นำำำำำำ้ำาทิ้ง, พื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์

Abstract The study in efficiency of Rhizophora mucronata and

Avicennia marina seedling in BOD removal from shrimp farming

discharge for reducing impacts on shrimp farming entrepre-

neur, Tambon Laemfhapha, Pha Samut Chedi District Samut

Prakan Province was designed using 2 experiment soil textures,

soil:sand(3:1) and soil:sand(1:1). In each experiment, it was

planted with R. mucronata seedling, with A. marina seedling and

without seedling (as control unit), for three replicates, making up

18 experiment units. Shrimp farming discharge was pumped into

the systems and retained within for 5 days before discharging.

Water samples were taken on the third and five days. The result

indicated efficiency of shrimp farming discharge treatment in 2

experiment soil had no significant differences, but R. mucronata

and A. marina can treat shrimp farming discharge better than

without plant experiment. The removal percentage of BOD on

the third and fifth days of all texture planted with R. mucronata

and A. marina were 59.21-59.47,79.27-80.96, 71.81-72.52 and

81.16-82.00, respectively. Whereas the removal percentage in

control units on the third and five days were 48.03-48.37 and

67.93-68.87, respectively. The study of soil founded that soil pH,

organic matter, available phosphorus and available nitrogen in

all soil textures had not change after the experiment. The results

suggested that R. mucronata and A. marina could help improve

the treatment ability in constructed wetland.

Keywords : efficiency, wastewater effluent, constructed wetland

1.บทนำา การเลี้ยงกุ้งของประเทศไทยได้มีการดำาเนินการมากกว่า

สามทศวรรษ โดยเริ่มจากการเลี้ยงกุ้งแบบธรรมชาติในบริเวณ

อา่วไทย ในประเทศไทยมกีารเลีย้งกุง้กนัอยา่งจรงิจงัตัง้แต ่พ.ศ. 2528

เป็นต้นมา โดยการเรียนรู้เทคโนโลยีในการเลี้ยงกุ้งจากประเทศ

ใตห้วนั การเลีย้งกุง้มกีารขยายตวัอยา่งรวดเรว็ ปจัจบุนัไดม้กีารเลีย้ง

ในทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล และบางจังหวัดที่ไม่ได้ติดกับทะเล พื้นที่

เลี้ยงทั้งหมด มีประมาณ 440,000 ไร่ และมีผลผลิตประมาณปีละ

234,000 ตัน ซึ่งผลผลิตกุ้งส่วนใหญ่จะถูกส่งออกไปจำาหน่ายใน

ต่างประเทศ สามารถนำาเงินต่างประเทศได้ประมาณ 47,000

ล้านบาทต่อปี (สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2547) [1] การเพาะ

เลี้ยงกุ้งแบบพัฒนานั้น มีการใช้อาหารเสริม ปุ๋ย ยาปฏิชีวนะ และ

Page 2: 3.แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิดการวิจัยและผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง · แวดล้อมที่ผันแปรรุนแรง

730

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

สารเคมีชนิดต่างๆ อย่างมากมาย ทำาให้เกิดของเสียขึ้นในบ่อและได้

ระบายของเสียเหล่านั้นปะปนมากับนำำำำำำ้ำาทิ้งในปริมาณมาก ส่งผลให้

เกิดความเสื่อมโทรมของคุณภาพนำำำำำำ้ำาชายฝั่ง เกิดการสูญเสียความ

หลากหลายทางชีวภาพ และแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นำำำำำำ้ำาหลายชนิด

ในจังหวัดสมุทรปราการ ในปี 2549 มีเนื้อที่การเลี้ยง

กุ้ง 35,000 ไร่ คิดเป็นอันดับ 4 ของประเทศ มีประชากรผู้เลี้ยงกุ้ง

1,853 ราย มีผลผลิต 4,124 ตัน (กรมประมง,2549) [2] พื้นที่ศึกษา

คือ ตำาบลแหลมฟ้าผ่า อำาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

มีหมู่บ้านจำานวน 13 หมู่บ้าน มีเนื้อที่การเลี้ยงกุ้ง 1,952 ไร่ จำานวน

เกษตรกรผู้เลี้ยง 259 ราย คิดเป็นพื้นที่บ่อจำานวน 543 บ่อ ในการ

เลี้ยงกุ้งจะอาศัยนำำำำำำ้ำาจากแม่นำำำำำำ้ำาเจ้าพระยาระบายนำำำำำำ้ำาเข้าสู่พื้นที่เลี้ยงกุ้ง

ซึง่มลีำาคลองหลายสายทีเ่ชือ่มตอ่กบัแมน่ำำำำำำ้ำาเจา้พระยา เชน่ คลองสำาโรง

คลองสรรพสามิต โดยหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะระบายนำำำำำำ้ำาทิ้งลงสู่

ลำาคลองเช่นเดิมโดยไม่มีการบำาบัดก่อนการระบายนำำำำำำ้ำาทิ้ง เนื่องจาก

พืน้ทีก่ารเลีย้งกุง้มจีำานวนมาก อาจทำาใหเ้กดิผลกระทบจากการระบาย

นำำำำำำ้ำาทิ้งที่มากขึ้นด้วย เกษตรกรบางรายประสบปัญหาจากการนำานำำำำำำ้ำา

จากคลองธรรมชาติกลับมาใช้ในการเลี้ยงกุ้ง บางครั้งพบว่ากุ้งโตไม่

ได้ขนาดตามที่ต้องการ ทำาให้ต้องเพิ่มระยะเวลาในการเลี้ยง เป็นเหตุ

ใหต้น้ทนุในการเลีย้งเพิม่ขึน้ นอกจากนีก้ารนำานำำำำำำ้ำาในลำาคลองธรรมชาติ

มาใช้ในการเลี้ยงกุ้งบางครั้งต้องบำาบัดนำำำำำำ้ำาก่อน จึงเป็นการเพิ่มต้นทุน

การผลติในกรณทีีต่อ้งบำาบดัใหน้ำำำำำำ้ำามคีณุภาพดขีึน้ตามทีต่อ้งการ ดงันัน้

กอ่นทีจ่ะปลอ่ยนำำำำำำ้ำาทิง้จากการเลีย้งกุง้ลงสูแ่หลง่นำำำำำำ้ำาธรรมชาตคิวรมกีาร

บำาบัดขั้นต้นเสียก่อน เพื่อช่วยลดผลกระทบต่อแหล่งนำำำำำำ้ำาธรรมชาติ

การใช้ระบบพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำา (wetland system) ในการบำาบัด

นำำำำำำ้ำ าเสีย เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบบำาบัดนำำำำำำ้ำ าเสียที่

มี เทคโนโลยีและประสิทธิภาพสูงได้รับความสนใจมากขึ้นใน

หลายประเทศ ป่าชายเลนจัดเป็นระบบพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาในธรรมชาติ

ประเภทหนึ่งจึงน่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถใช้ในการบำาบัด

นำำำำำำ้ำาเสียได้ ทั้งนี้เพราะพืชป่าชายเลนมีการปรับตัวให้ทนต่อสภาพ

แวดลอ้มทีผ่นัแปรรนุแรง มรีะบบรากหายใจ (pneumatophore) ทำาให้

ทนทานต่อสภาพนำำำำำำ้ำาท่วมขังได้ดี นอกจากนี้ป่าชายเลนยังมีอายุยืน มี

ผลผลิตมวลชีวภาพสูง และรากยังทำาหน้าที่เสมือนตะแกรงธรรมชาติ

คอยกลั่นกรองสิ่งปฏิกูลต่างๆ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงประสิทธิภาพของกล้า

ไม้ป่าชายแลน 2 ชนิด คือโกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata

Lamk.) และแสมทะเล (Avicennin marina Forsk.) ในการบำาบดับโีอดี

ในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง เพื่อลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง

ในตำาบลแหลมฟ้าผ่า อำาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

โดยการสร้างแบบจำาลองในลักษณะที่เป็นพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์

ซึ่งพืชทั้งสองชนิดดังกล่าวเป็นพันธุ์ไม้ที่พบอยู่ทั่วไปในป่าชายแลนใ

นพืน้ทีศ่กึษา มอีตัราการเจรญิเตบิโตและผลติมวลชวีภาพสงู รวมทัง้ม ี

รากหายใจ/รากคำำำำำำ้ำาจุน ซึ่งน่าจะมีศักยภาพในการบำาบัดบีโอดีในนำำำำำำ้ำาทิ้ง

จากการเลี้ยงกุ้งได้

2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบำาบัดบีโอดีใน

นำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งของกล้าไม้โกงกางใบใหญ่ และแสมทะเล

2. เพือ่ศกึษาการเปลีย่นแปลงสมบตัขิองดนิภายหลงัการใชบ้ำาบดั

นำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง

3. เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ในการใช้พืชป่า

ชายเลนบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง

3.แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิดการวิจัยและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการศึกษาถึงประสิทธิภาพของกล้าไม้ป่า

ชายเลน 2 ชนดิ คอืโกงกางใบใหญ ่และแสมทะเล เพือ่ใชใ้นการบำาบดั

บีโอดีในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งขาว และศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบ

การเลีย้งกุง้ การใชพ้ชืปา่ชายเลนมาบำาบดันำำำำำำ้ำาทิง้จากการเลีย้งกุง้ เพือ่

ลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งในด้านต้นทุนการผลิต ระยะ

เวลาการเลีย้ง และผลผลติ การสรา้งแบบจำาลองในลกัษณะทีเ่ปน็พืน้ที ่

ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ร้อยละ 15

ของจำานวนผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งทั้งหมด เพื่อศึกษาทัศนคติของ

ผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ในตำาบลแหลมฟ้าผ่า อำาเภอพระสมุทรเจดีย์

จังหวัดสมุทรปราการ ข้อมูลที่ได้จะสามารถนำามาประยุกต์ใช้เพื่อ

การบำาบัดนำำำำำำ้ำาเสียโดยใช้พันธ์พืชป่าชายเลนให้เหมาะสมและมี

ประสิทธิภาพ และสามารถลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งได้

4.วิธีดำาเนินงาน การเก็บและรวบรวมข้อมูลของพื้นที่ศึกษาข้อมูลที่ศึกษา

แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่

1. ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากการแบบสัมภาษณ์ทัศนคติ

ของผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งในพื้นที่ศึกษา ตำาบลแหลมฟ้าผ่า โดยการ

สมัภาษณ ์จำานวน 25 ครวัเรอืน ในเรือ่งการจดัสรา้งระบบบำาบดันำำำำำำ้ำาทิง้

จากการเลี้ยงกุ้งและการใช้พืชป่าชายเลนมาบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งเพื่อลดผล

กระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง

2. ข้อมูลทุติยภูมิ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ที่

เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงกุ้ง เช่น ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน ข้อมูลทาง

อตุนุยิมวทิยา และอทุกวทิยา รวมทัง้จากเอกสารทางวชิาการ งานวจิยั

ที่เผยแพร่ของหน่วยงานราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงกุ้ง

การจัดสร้างแบบจำาลองในลักษณะที่เป็นพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบ

ประดิษฐ์

ชุดการทดลองที่ 1,2,3 ดินเลน:ทราย (3:1) ปลูกกล้าไม้

โกงกางใบใหญ่, แสมทะเล, ชุดที่ไม่ปลูกพืช

ชุดการทดลองที่ 4,5,6 ดินเลน:ทราย (1:1) ปลูกกล้าไม้

โกงกางใบใหญ่, แสมทะเล, ชุดที่ไม่ปลูกพืช

แต่ละชุดการทดลองจะจัดทำา 3 ซำำำำำำ้ำา รวมจำานวนชุดการ

ทดลองทั้งสิ้น 18 ชุด

การทดลองนี้ใช้กล้าไม้ 2 ชนิด คือ โกงกางใบใหญ่ อายุ

ประมาณ 6 เดือน และแสมทะเล อายุประมาณ 3 เดือน ปลูกใน

บ่อซีเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ภายใน 140 ซ.ม. สูง 50 ซ.ม.

ใส่ดินจนถึงระดับความสูง 25 เซนติเมตร จากก้นบ่อ และปลูกกล้าไม้

จำานวนรวม 12 ต้นต่อชุดการทดลอง ใส่นำำำำำำ้ำากร่อยจากคลองในพื้นที่

เพื่อให้กล้าไม้สามารถปรับตัวได้กับสภาพแวดล้อมใหม่ประมาณ

1 เดือนก่อนที่จะทำาการทดลอง

Page 3: 3.แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิดการวิจัยและผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง · แวดล้อมที่ผันแปรรุนแรง

731

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

การทดลอง ใช้นำำำำำำ้ำาทิ้งการเลี้ยงกุ้ง ปล่อยนำำำำำำ้ำาจากถังใส่ใน

ชุดการทดลองทั้ง 18 ชุด ชุดละประมาณ 40 ลิตร แล้วเก็บตัวอย่าง

นำำำำำำ้ำาเสียในวันแรกหลังการปล่อยนำำำำำำ้ำา โดยใช้วิธีการเก็บแบบจ้วง ใส่ขวด

พลาสติกขนาด 2 ลิตร และขวดบีโอดีขนาด 300 มิลลิลิตร แล้วนำา

ไปวิเคราะห์คุณภาพนำำำำำำ้ำา กักเก็บนำำำำำำ้ำาเสียไว้ในชุดการทดลองเป็นเวลา

5 วัน และเก็บนำำำำำำ้ำาตัวอย่างในวันที่ 3 และ 5 ไปวิเคราะห์อีกครั้งหนึ่ง

ก่อนปล่อยนำำำำำำ้ำาเสียออกจากชุดการทดลองทุกชุด จากนั้นจึงปล่อยนำำำำำำ้ำา

ทิ้งการเลี้ยงกุ้งเช่นเดิม ใช้ระยะเวลาในการทดลองทั้งหมด 2 เดือน

การวิเคราะห์คุณภาพนำำำำำำ้ำาทิ้ง

วิเคราะห์คุณภาพนำำำำำำ้ำาทิ้งทั้งหมด 6 พารามิเตอร์ ดังนี้

พารามิเตอร์คุณภาพนำำำำำำ้ำาด้านกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ (โดยวิธี

thermometer) ความขุ่น (ใช้วิธี Turbidity meter) และพารามิเตอร์

คุณภาพนำำำำำำ้ำาด้านเคมี ได้แก่ พีเอช (ใช้วิธี pH meter) ความเค็ม (โดย

วิธี reflacto-salinometer) ออกซิเจนละลายนำำำำำำ้ำา (โดยวิธี DO meter)

และบีโอดี (โดยวิธี 5-day BOD Test)

การวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน

เก็บตัวอย่างดินความลึก 15 เซนติเมตร ก่อนการทดลอง

และหลังการทดลอง โดยสุ่มเก็บจากจุดต่างๆ ในชุดการทดลอง 4 จุด

แล้วรวมเป็น 1 ตัวอย่างดินมาผึ่งให้แห้ง บดและร่อนผ่านตะแกรง

ขนาด 2 มิลลิเมตร เพื่อนำามาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ พารามิเตอร์

ที่ศึกษาได้แก่ ความเป็นกรด-ด่างของดิน (โดยใช้อัตราส่วนดินต่อนำำำำำำ้ำา

เท่ากับ 1:1 (Peech, 1965) [3] ) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (โดยวิธี

Walkley-Black Titration (Walkley and Black, 1934) [4] ) ปริมาณ

ฟอสฟอรัสที่สามารถใช้ได้ (โดยวิธี Bray ll (Bray and Kuntz, 1945)

[5]) และปริมาณไนโตรเจนเจลดาล์จ (โดยวิธี Kjeldahl Method

(Kjeldahl, J. and Jessen-Hansen, H. 1932) [6] )

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. เปรียบเทียบร้อยละการบำาบัดบีโอดีในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการ

เลีย้งกุง้ในชดุการทดลองดนิทัง้ 2 อตัราสว่น และชนดิพชืไดแ้ก ่โกงกาง

ใบใหญ ่แสมทะเลและไมป่ลกูพชื ในแตล่ะครัง้จะวเิคราะหท์างสถติเิพือ่

หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยใช้

ค่า one-way ANOVA และ Duncan’s new multiple range test ที่

ระดับความเชื่อมั่น 95% เป็นตัววัดความแตกต่างทางสถิติ

2. เปรียบเทียบความแตกต่างของธาตุอาหารในชุด

การทดลองดินทั้ง 2 อัตราส่วน ในช่วงก่อนและหลังการทดลอง และ

วิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ one-way ANOVA และ Duncan’s new

multiple range test เปรียบเทียบความแตกต่างแต่ละปัจจัยรวมทั้ง

วิเคราะห์ความแตกต่างของธาตุอาหารในดินก่อนและหลังสิ้นสุดการ

ทดลองโดยใช้วิธี paired t-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เป็นตัววัด

ความแตกต่างทางสถิติ

3. ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา โดยนำาข้อมูลที่

ได้จากแบบสัมภาษณ์ทัศนคติของผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งทั้ง 25 ราย

นำามาประมวลและวิเคราะห์ รวมทั้งใช้หลักสถิติอย่างง่าย เช่น

คา่เฉลีย่ รอ้ยละ และสว่นเบีย่งเบนมาตรฐาน เพือ่ทราบถงึทศันคตโิดย

รวมของผูป้ระกอบการเลีย้งกุง้ในการใชพ้ชืปา่ชายเลนมาบำาบดันำำำำำำ้ำาทิง้

จากการเลี้ยงกุ้งในพื้นที่

5.ผลการทดลอง ผลการศึกษาคุณภาพนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง และการ

เปลี่ยนแปลงคุณภาพนำำำำำำ้ำาทิ้ง โดยเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพนำำำำำำ้ำาใน

วันที่ 1 วันที่ 3 และวันที่ 5 ภายหลังการปล่อยนำำำำำำ้ำาทิ้งเข้าสู่ชุดการ

ทดลอง ผลการวิเคราะห์ดัชนีคุณภาพนำำำำำำ้ำาทิ้งทั้งหมด 6 พารามิเตอร์

พบว่า ค่าของ อุณหภูมิ พีเอช และความเค็ม ไม่มีความแตกต่างกัน

อยา่งมนียัสำาคญั คา่ออกซเิจนละลายนำำำำำำ้ำาในชดุการทดลองทีไ่มป่ลกูพชื

ในวันที่ 1 มีความแตกต่างกับชุดการทดลองที่ปลูกพืชและไม่ปลูกพืช

ในวันที่ 3 และวันที่ 5 อย่างมีนัยสำาคัญ (p<0.05) ในส่วนของร้อยละ

ของการบำาบดั บโีอด ีและความขุน่ ในชดุการทดลองกลา้ไมโ้กงกางใบ

ใหญแ่ละแสมทะเลในวนัที ่3 และวนัที ่5 มคีวามแตกตา่งกนัอยา่งมนียั

สำาคญั (p<0.05) ผลการศกึษาชีใ้หเ้หน็วา่ทัง้กลา้ไมโ้กงกางใบใหญแ่ละ

แสมทะเลสามารถช่วยบำาบัดนำำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งในระบบพื้นที่ชุ่ม

นำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์ได้ดี (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้ง โดยการวิเคราะห์ทางสถิติ

ผลการศึกษาสมบัติของดินเมื่อเปรียบเทียบกันก่อนและ

หลังการทดลองพบว่า ความเป็นกรด-ด่างของดินไม่เปลี่ยนแปลง

ปริมาณอินทรียวัตถุในดินลดตำ่ำาลงเล็กน้อย ปริมาณฟอสฟอรัส และ

ปริมาณไนโตรเจนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในชุดการทดลองดิน

ทั้งหมดหลังการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ

ผลการศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งในพื้นที่

ศกึษาพบวา่ทศันคตใินการจดัสรา้งระบบบำาบดันำำำำำำ้ำาทิง้จากการเลีย้งกุง้

ร้อยละ 48 ควรแบ่งบ่อกุ้งมาเป็นบ่อบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้ง ทุกรายที่สัมภาษณ์

เห็นว่า ควรใช้วิธีการบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งแบบธรรมชาติ ส่วนทัศนคติในการ

ใช้พืชป่าชายเลนมาบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งเพื่อลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการ

เลี้ยงกุ้ง ทุกรายที่สัมภาษณ์เห็นว่า ควรใช้พืชป่าชายเลนมาบำาบัด

นำำำำำำ้ำาทิ้ง ร้อยละ 72 คิดว่าสามารถลดผลกระทบในด้านการผลิตได้

อย่างมีนัยส้าคัญ ค่าออกซิเจนละลายน้้าในชุดการทดลองที่ไม่ปลูกพืชในวันที่ 1 มีความแตกต่างกับชุดการทดลองที่ปลูกพืชและไม่ปลูกพืชในวันที ่ 3 และวันที่ 5 อย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) ในส่วนของร้อยละของการบ้าบัด บีโอดี และความขุ่น ในชุดการทดลองกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลในวันที่ 3 และวันที่ 5 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าทั้งกล้าไม้โกงกางใบใหญ่และแสมทะเลสามารถช่วยบ้าบัดน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งในระบบพ้ืนที่ชุ่มน้้าแบบประดิษฐ์ได้ดี (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการบ้าบัดน้้าทิ้ง โดยการวิเคราะห์ทางสถิติ

พารามิเตอร์ ระยะการทดลอง

ชนิดการบ้าบัด โกงกางใบใหญ่ แสมทะเล ไม่ปลูกพืช

ความขุ่น (%)

วันที่ 1 0.00 ± 0.00 a 0.00 ± 0.00 a 0.00 ± 0.00 a วันที่ 3 70.27 ± 0.09 b A 69.62 ± 0.31 bB 64.14 ± 0.06bC วันที่ 5 90.04 ± 0.18 c 90.04 ± 0.05 c 90.25 ± 0.56 c เฉลี่ย 53.44 ± 0.09 53.22 ± 0.12 51.46 ± 0.21

DO (mg/l)

วันที่ 1 4.53 ± 0.14 4.35 ± 0.05 a 4.38 ± 0.05 a วันที่ 3 4.48 ± 0.14 A 4.51 ± 0.14 A 3.51 ± 0.04 b B วันที่ 5 4.77 ± 0.08 A 4.77 ± 0.03 b A 3.51 ± 0.03 b B เฉลี่ย 4.59 ± 0.03 A 4.54 ± 0.06 A 3.80 ± 0.01 B

BOD (%)

วันที่ 1 0.00 ± 0.00 a 0.00 ± 0.00 a 0.00 ± 0.00 a วันที่ 3 59.34 ± 0.18 b A 72.18 ± 0.48 bB 48.20 ± 0.24bC วันที่ 5 79.98 ± 1.00 c A 81.58 ± 0.59 cA 68.40 ± 0.66 cB เฉลี่ย 46.44 ± 0.40 A 51.26 ± 0.36 B 38.87 ± 0.14 C

หมายเหตุ ค่าเฉล่ียของข้อมูลในแนวนอนที่มีตวัอักษรพิมพ์ใหญ่ต่างกัน มีความแตกต่างกนัทางสถิติ (P < 0.05) โดยวิธี DMRT ค่าเฉล่ียของข้อมูลในแนวตั้ง ที่ไม่ปรากฏตัวอักษร/ ปรากฏตัวอักษรพิมพ์เล็กที่เหมือนกัน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ((P < 0.05) โดยวิธี DMRT

ผลการศึกษาสมบัติของดินเมื่อเปรียบเทียบกันก่อนและหลังการทดลองพบว่า ความเป็นกรด-ด่างของดินไม่เปลี่ยนแปลง ปริมาณอินทรียวัตถุในดินลดต่้าลงเล็กน้อย ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณไนโตรเจนมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย ในชุดการทดลองดินทั้งหมดหลังการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญ ผลการศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งในพ้ืนที่ศึกษาพบว่าทัศนคติในการจัดสร้างระบบบ้าบัดน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง ร้อยละ 48 ควรแบ่งบ่อกุ้งมาเป็นบ่อบ้าบัดน้้าทิ้ง ทุกรายที่สัมภาษณ์เห็นว่า ควรใช้วิธีการบ้าบัดน้้าทิ้งแบบธรรมชาติ ส่วนทัศนคติในการใช้พืชป่าชายเลนมาบ้าบัดน้้าทิ้งเพ่ือลดผลกระทบต่อผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้ง ทุกรายที่สัมภาษณ์เห็นว่า ควรใช้พืชป่าชายเลนมาบ้าบัดน้้าทิ้ง ร้อยละ 72 คิดว่าสามารถลดผลกระทบในด้านการผลิตได้

6.สรุปและข้อเสนอแนะ เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงการศึกษาเบื้องต้นของประสิทธิภาพในการบ้าบัดน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งโดยกล้าไม้โกงกาง

ใบใหญ่และแสมทะเลในดินต่างชนิดกัน ซึ่งพบว่ากล้าไม้ทั้ง 2 ชนิดสามารถช่วยในการบ้าบัดน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งได้ดี แต่การน้าไปใช้จริงยังมีปัจจัยอ่ืนๆที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในรายละเอียดดังต่อไปนี้ เ พ่ือความเหมาะสมในการน้าไปใช้ประโยชน์ต่อไป 1. การศึกษาต่อไปควรศึกษาเพ่ิมเติมในปัจจัยที่อาจมีผลต่อการก้าจัดธาตุอาหารในน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง เช่น จุลินทรีย์ ดิน และพืช ควรมีการศึกษาต่อเนื่องในระยะยาวที่พืชมีการเจริญเติบโตสูงกว่านี้ และศึกษาเปรียบเทียบในพืชชนิดอ่ืนเพ่ิมเติม น่าจะท้าให้เห็นผลของการบ้าบัดโดยพืชได้ชัดเจนขึ้น

2. การน้าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในพ้ืนที่จริง ควรมีการสร้างเป็นระบบพ้ืนที่ชุ่มน้้าแบบประดิษฐ์ เพ่ือสามารถควบคุมปริมาณน้้าทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งที่เข้าออกจากระบบได้และลดผลกระทบที่อาจเกิดกับพืชและสัตว์ในป่าชายเลนที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงความเหมาะสมของพ้ืนที่ในการจัดสร้าง ชนิดดิน ชนิดพืชที่ใช้ในการบ้าบัด โดยควรมีการทดลองก่อนในช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนการน้าไปใช้จริง

7.กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.บงกชรัตน์ ปิติยนต์ ประธานกรรมการที่ปรึกษา ที่ได้ช่วยเหลือในการวางแผนงานวิจัยตลอดจนการให้ค้าปรึกษาแนะน้าและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ขอกราบขอบพระคุณศาสตราจารย์ ดร.นิพนธ์ ตั้งธรรม กรรมการที่ปรึกษาวิชาเอก ที่กรุณาให้ค้าปรึกษาแนะน้าในการท้าวิทยานิพนธ์ให้ส้าเร็จไปด้วยดี และขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ที่มีส่วนช่วยเหลือและให้ก้าลังในแก่ข้าพเจ้าจนสามารถท้าวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสร็จสมบูรณ์ 8.การอ้างองิ [1] ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2547. สถิตกิารเกษตรของ

ประเทศไทย ปี 2547. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

[2] กรมประมง. 2549. สถิติการประมงแหง่ประเทศไทย. กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิตกิารประมง ศูนย์สารสนเทศ กรม ประมง.

[3] Peech, M. 1965. Soil pH by Glass Electrode pH meter, pp. 350-356. In C.A. Black, D.D.Evans, J.L. White, L.E. Ensminger, F.E. Clark, R.C. Dinauer, eds. Methodes of soilanalysis Part 2: Physical and Minerological Properties, Including Statistics of mansurement and Sampling. American. Society of Agronomy, Inc., 90 PublisherMadison, Wisconsin, USA.

[4] Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of Degtjureff method for determination soilorganic matter and a

Page 4: 3.แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิดการวิจัยและผลงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง · แวดล้อมที่ผันแปรรุนแรง

732

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

6.สรุปและข้อเสนอแนะ เนือ่งจากการศกึษาครัง้นีเ้ปน็เพยีงการศกึษาเบือ้งตน้ของ

ประสิทธิภาพในการบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งโดยกล้าไม้โกงกาง

ใบใหญ่และแสมทะเลในดินต่างชนิดกัน ซึ่งพบว่ากล้าไม้ทั้ง 2 ชนิด

สามารถช่วยในการบำาบัดนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งได้ดี แต่การนำาไปใช้

จริงยังมีปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ดังนั้นจึงควรมีการศึกษา

เพิ่มเติมในรายละเอียดดังต่อไปนี้ เพื่อความเหมาะสมในการนำาไปใช้

ประโยชน์ต่อไป

1. การศกึษาตอ่ไปควรศกึษาเพิม่เตมิในปจัจยัทีอ่าจมผีล

ต่อการกำาจัดธาตุอาหารในนำำำำำำ้ำาทิ้งจากการเลี้ยงกุ้ง เช่น จุลินทรีย์ ดิน

และพืช ควรมีการศึกษาต่อเนื่องในระยะยาวที่พืชมีการเจริญเติบโต

สูงกว่านี้ และศึกษาเปรียบเทียบในพืชชนิดอื่นเพิ่มเติม น่าจะทำาให้

เห็นผลของการบำาบัดโดยพืชได้ชัดเจนขึ้น

2. การนำาขอ้มลูทีไ่ดจ้ากการศกึษาไปใชใ้นพืน้ทีจ่รงิ ควร

มีการสร้างเป็นระบบพื้นที่ชุ่มนำำำำำำ้ำาแบบประดิษฐ์ เพื่อสามารถควบคุม

ปรมิาณนำำำำำำ้ำาทิง้จากการเลีย้งกุง้ทีเ่ขา้ออกจากระบบไดแ้ละลดผลกระทบ

ทีอ่าจเกดิกบัพชืและสตัวใ์นปา่ชายเลนทีม่อียูต่ามธรรมชาต ิแตค่วรมี

การศกึษาเพิม่เตมิถงึความเหมาะสมของพืน้ทีใ่นการจดัสรา้ง ชนดิดนิ

ชนิดพืชที่ใช้ในการบำาบัด โดยควรมีการทดลองก่อนในช่วงระยะเวลา

หนึ่งก่อนการนำาไปใช้จริง

7.กิตติกรรมประกาศ ผู้ วิ จั ยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์

ดร.บงกชรัตน์ ปิติยนต์ ประธานกรรมการที่ปรึกษา ที่ได้ช่วยเหลือ

ในการวางแผนงานวิจัยตลอดจนการให้คำาปรึกษาแนะนำาและตรวจ

แกไ้ขขอ้บกพรอ่งตา่งๆ ขอกราบขอบพระคณุศาสตราจารย ์ดร.นพินธ ์

ตั้งธรรม กรรมการที่ปรึกษาวิชาเอก ที่กรุณาให้คำาปรึกษาแนะนำา

ในการทำาวิทยานิพนธ์ให้สำาเร็จไปด้วยดี และขอกราบขอบพระคุณ

คณุพอ่ คณุแม ่ทีม่สีว่นชว่ยเหลอืและใหก้ำาลงัในแกข่า้พเจา้จนสามารถ

ทำาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้เสร็จสมบูรณ์

8.การอ้างอิง[1] สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2547. สถิติการเกษตรของ

ประเทศไทย ปี 2547. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำานักงาน

เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

[2] กรมประมง. 2549. สถิติการประมงแห่งประเทศไทย. กลุ่มวิจัย

และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง.

[3] Peech, M. 1965. Soil pH by Glass Electrode pH

meter, pp. 350-356. In C.A. Black, D.D.Evans, J.L. White,

L.E. Ensminger, F.E. Clark, R.C. Dinauer, eds.

Methodes of soilanalysis Part 2: Physical and

Minerological Properties, Including Statistics of

mansurement and Sampling. American. Society of

Agronomy, Inc., 90 PublisherMadison, Wisconsin, USA.

[4] Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of

Degtjureff method for determination soilorganic matter and

a proposal modification of the chromic acid titration method.

Soil Sci.27: 29-35.

[5] Bray, R.A. and L.T. Kuntz. 1945. Determination of total

organic and available form of phosphorus in soil. Soil Sci.

59: 39-45.

[6] Kjeldahl, J. and Jessen-Hansen, H. 1932. pp. 169-172

in: Meisen, V. Prominent DanishScientists through the

Ages. University Library of Copenhagen 450th Anniversary.

Levin & Munksgaard, Copenhagen.