บทที่ 2

10
16 บททีÉ 2 การเปลีÉยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา บทที2 โครงรางเนื้อหาของบท คําสําคัญ ผูเรียนเปนศูนยกลาง ปฏิรูปการเรียนรู ทักษะการคิดในระดับสูง การเรียนรูอยางตื่นตัว การเรียนรูแบบรอรับ เครื่องมือทางปญญา 1. การเปลี่ยนแปลงโฉมหนาทางการศึกษา 2. การเปลี่ยนแปลงของผูเรียน 3. การเปลี่ยนแปลงมาสูการเรียนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง วัตถุประสงคการเรียนรู 1. อธิบายการเปลี่ยนกระบวนทัศนของเทคโนโลยี และ สื่อการศึกษาในดานตางๆได 2. วิเคราะหผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและ สื่อการศึกษาได 3. วิเคราะหถึงเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาที่สอดคลองกับ ผูเรียนเปนสําคัญได กิจกรรมการเรียนรู 1. ผูสอนใหมโนทัศนเชิงทฤษฎี หลักการ เรื่องการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 2. นักศึกษาแบงเปนกลุมยอย กลุมละ 3 คน ศึกษาจาก สิ่งแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย ศึกษาสถานการณปญหาบทที่ 2 วิเคราะหทําความเขาใจ คนหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหลง เรียนรูบนเครือขายและรวมกันสรุปคําตอบ และนําเสนอใน รูปแบบ Power point 3. นักศึกษารวมกันสรุปองคความรูและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม

description

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

Transcript of บทที่ 2

Page 1: บทที่ 2

16 บทที 2 การเปลียนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา บทที่ 2

โครงรางเน้ือหาของบท คําสําคัญ

ผูเรียนเปนศูนยกลาง

ปฏิรูปการเรียนรู

ทักษะการคิดในระดับสูง

การเรียนรูอยางตื่นตัว

การเรียนรูแบบรอรับ

เครื่องมือทางปญญา

1. การเปล่ียนแปลงโฉมหนาทางการศึกษา 2. การเปล่ียนแปลงของผูเรยีน

3. การเปล่ียนแปลงมาสูการเรียนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

วัตถุประสงคการเรียนรู

1. อธิบายการเปล่ียนกระบวนทัศนของเทคโนโลยีและ

ส่ือการศึกษาในดานตางๆได

2. วิเคราะหผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยแีละ

ส่ือการศึกษาได

3. วิเคราะหถึงเทคโนโลยีและส่ือการศึกษาที่สอดคลองกับ

ผูเรียนเปนสําคัญได

กิจกรรมการเรียนรู

1. ผูสอนใหมโนทัศนเชิงทฤษฎี หลักการ เรื่องการ

เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

2. นักศึกษาแบงเปนกลุมยอย กลุมละ 3 คน ศึกษาจาก

ส่ิงแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย

http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย

ศึกษาสถานการณปญหาบทที่ 2 วิเคราะหทําความเขาใจ

คนหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอนและแหลง

เรียนรูบนเครือขายและรวมกันสรุปคําตอบ และนําเสนอใน

รูปแบบ Power point

3. นักศึกษารวมกันสรุปองคความรูและแลกเปล่ียนความ

คิดเห็น โดยผูสอนตั้งประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม

Page 2: บทที่ 2

17 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

สถานการณปญหา(Problem-based learning)

ครูสมศรีเปนครูสอนวิชาสังคมศึกษา เปนผูมีความรูและมีความเชี่ยวชาญในดานน้ีเปน

อยางดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแตละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายใหนักเรียนจํา และส่ือ

การสอนที่นํามาใชในประกอบการสอนก็เปนในลักษณะที่เนนการถายทอดความรูดวย ไมวาจะเปน

หนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแมกระทั่งวิดีโอที่

นํามาเปดใหนักเรียนไดเรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่วา

การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพน้ัน คือสามารถทําให

นักเรียนสามารถจําเน้ือหา เรื่องราวในบทเรียนใหไดมาก

ที่สุด สวนนักเรียนของครูสมศรีก็เปนประเภทที่วารอรับเอา

ความรูจากครูแตเพียงอยางเดียว ดําเนินกิจกรรมการเรียน

ตามที่ครู กําหนดทั้งหมด เรียนไปไดไมนานก็เบื่อ ไม

กระตือรือรนที่จะหาความรูจากที่ อ่ืนเพิ่มเติม ครูใหทําแค

ไหนก็ทําแคน้ันพอ

ซ่ึงจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กลาวมาทั้งหมด ไดสงผลใหเกิด

ปญหาขึ้นคือ เม่ือเรียนผานมาไดไมนานก็ทําใหลืมเน้ือหาที่เคยเรียนมา ไมสามารถคิดไดดวยตนเอง

และไมสามารถที่จะนํามาใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได

ภารกิจ

1. วิเคราะหแนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใชส่ือการสอนของครูสมศรี

ตลอดจนวิธีการเรียนรูของนักเรียน วาสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

หรือไม พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ

2. วิเคราะหเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงทางการศึกษามาสูยุคปฏิรูปการเรียนรูวามีการ

เปล่ียนแปลงทางดานใดบาง พรอมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน

3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใชส่ือการสอนของครูสมศรี ใหเหมาะสมกับยุคปฏิรูป

การศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ

Page 3: บทที่ 2

18 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

การเปล่ียนแปลงโฉมหนาทางการศึกษา (The Changing Face of Education)

แนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการเรียนและการสอน ถายอนคิดถึงหองเรียนแบบเกาโดยสวน

ใหญจะมีลักษณะเปนหองที่ประกอบดวย โตะเรียนและเกาอ้ีเรียงเปนแถว การเรียนการสอนจะมีครู

ยืนอยูหนาชั้นเรียน และ ถายทอดเน้ือหา ในขณะที่ผูเรียนน่ังฟงและรอรับความรูจากครู ตาม

แนวความคิดน้ีครูจะเปนผูที่ดําเนินการ กํากับควบคุมวางแผน ดําเนินการและประเมินผลพฤติกรรม

ของผูเรียน ซ่ึงนาจะเปนการสอนที่ผู เรียนไม

สามารถคิดเกินกวาขอมูลที่ครูจัดให ในบางครั้ง

อาจเปนการเรียนโดย "เนนทักษะการจดจํา”

ทองจําอยางเดียวเทานั้น (Rote Learning)

(Newby, Stepich, Lehman, 2000)

แนวคิดใหมเกี่ยวกับการเรียนและการ

สอน ในปจจุบันกระแสการเปล่ียนแปลงดานตางๆ

เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนความกาวหนา

ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ไดเขามามีอิทธิพล ตอการดําเนินชีวิตของมนุษยเราอยาง

มาก และจะทวีความสําคัญยิ่งขึ้น "การศึกษาจึงตองเปนพลวัตร" น่ันคือ ตองปรับเปล่ียนใหทัน

และสอดคลองกับ กระแสการเปล่ียนแปลงของชาติและสังคมโลกอยูตลอดเวลา ซ่ึงสภาพสังคมที่

เปนอยูในทุกวันน้ี บุคคลที่จะอยูรอดในสังคมอยางมีความสุขจะตองเปนผูมีประสิทธิภาพของความ

การเปลียนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา

การเปลียนแปลงผู ้เรียน

การเปลียนแปลงมาสู่การเรียนที เน้นผู ้เรียนเป็นศูนย์กลาง

สาระสําคัญในบทที 2

Page 4: บทที่ 2

19 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

เปนมนุษยที่สมบูรณ ตองรูจักคิด รูจักทําเปน รูจักแกปญหาได และปฏิบัติในวิถีทาง ที่ถูกตอง

เหมาะสม จึงจําเปนตองใหการศึกษาที่มีคุณภาพโดยจัดกระบวนการเรียนรูที่ใชเทคโนโลยีและ

สารสนเทศตางๆใหเปนประโยชน การจัดการศึกษาในทุกๆ แหง จึงไม

ควรลืมเปาหมายอันแทจริง คือ การพัฒนา

ความเปนมนุษยในทุกๆ ดาน ไมใชเฉพาะในแง

ความรู และทักษะทางวิชาชีพเทาน้ัน แตเรา

ตองจัดการศึกษาที่ใหทั้งความรูพื้นฐานที่จะ

เปนบันไดในการศึกษาวิชาอ่ืนๆ และความรู

พื้นฐานเก่ียวกับความเปนมนุษย น่ันก็คือ เรา

ควรตองคํานึงถึงการเตรียมมนุษยใหมีคุณภาพอยางรอบดาน ใหคิดเปน แกปญหาเปน และ

สามารถศึกษาดวยตนเองได ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 ซ่ึงปจจุบันน้ี

ในหลักสูตรการเรียนการสอนทุกระดับไดกําหนดสมรรถนะของผูเรียนวาจะตองมีความสามารถใน

ดานใดอ่ืนบางที่จําเปนตอการดํารงชีพในยุคแหงสหัสวรรษหนา ดังเชนในระดับอุดมศึกษาไดกําหนด

มาตรฐานระดับคุณวุฒิอุดมศึกษา ซ่ึงมี 5 ขอบขาย ไดแก (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู (3)

ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ (5) ทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเปล่ียนแปลงผูเรียน (The Changing Learner)

ในโลกปจจุบันพบวา ความตองการเก่ียวกับตัวผูเรียนเพิ่มมากขึ้น แมวาครั้งหน่ึงอาจจะ

มี การตอบสนองตอการเรียนแบบทองจํามามาก แตในปจจุบันสภาพชีวิตจริงตองการบุคคลที่มี

ความสามารถในการใชทักษะการใหเหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการแกปญหาที่ซับซอน ซ่ึงพบวา

ความสามารถในทักษะดังกลาวที่จะนํามาใชใน

การแกปญหาไมคอยปรากฏใหเห็น หรือมีอยู

นอยมากในปจจุบัน แนวคิดเก่ียวกับผูเรียนจึง

ตองเปล่ียนแปลงมุมมองใหม

ดั งที่ Driscoll (1994) กลาว

วา อาจจะไม ใชเวลาที่จะคิดวาผู เรียนเปน

ภาชนะที่วางเปลา ที่รอรับการเติมใหเต็ม แต

นาจะคิดวา ผู เ รี ยนเปนส่ิ ง มีชี วิตที่ มี ความ

ตื่นตัว กระฉับกระเฉง และคนหาความหมาย ซ่ึงขณะน้ีผูเรียนจะถูกมองวา เปนผูที่มีสวนรวมอยาง

ตื่นตัวในการเรียนรู คิดคน เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห ตั้งคําถาม อธิบาย ตลอดจนทําความ

เขาใจส่ิงแวดลอมที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา

Page 5: บทที่ 2

20 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ในปจจุบันความหลากหลายในสังคม ทําให แบบการเรียน (Learning Styles) พื้นฐาน

ประสบการณที่แตกตางกัน ความแตกตางของวิถีชีวิตในแตละครอบครัวและอ่ืนๆ ทําใหหองเรียนใน

ปจจุบันมีความหลากหลายเปนเหตุที่ทําใหเกิดปญหาการเรียนรูที่ซับซอนสําหรับครูและผูเรียน

การเปล่ียนแปลงมาสูการเรียนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

ในปจจุบันเปนยุคที่การสงขอมูลมี

ความรวดเร็วมาก เทคโนโลยีเปดโอกาสใหแต

ละ บุคคลไดรับ รวบรวม วิเคราะหและส่ือสาร

ขอมูลขาวสารไดอยางละเอียดและรวดเร็ว

มากกวาที่ผานมา เปนผลทําใหความตองการ

เก่ียวกับการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อที่จะชวยผูเรียน

ทุกคนใหไดรับทักษะที่ เพิ่มมากขึ้นเพื่อให

ผู เ รี ยนเ กิดความพรอมในการวิ เคราะห

ตัดสินใจ และแกปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซอน ดังที่ Bruner (1993) กลาววา “ผูเรียนตอง

ยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก “การจดจํา” ขอเท็จจริงไปสูการเร่ิมตนที่จะคิดอยางมีวิจารณญาณ

และสรางสรรค” ความจํา เปนที่เพิ่มขึ้นเหลาน้ี นํามาสูการเปล่ียนแปลงวิธีการที่ครูผูสอนจะมี

ปฏิสัมพันธกับผูเรียน ยิ่งไปกวาน้ัน ความเปล่ียนแปลงดังกลาวจําเปนที่ครูผูสอนตองมีพื้นฐานของ

ความเขาใจอยางด ีเก่ียวกับผูเรียนแตละคนวามีวิธีการเรียนรูอยางไร

ดั ง น้ั น ผู ส อ น ค ว ร จ ะ ศึ ก ษ า

เทคนิค วิธีการเทคโนโลยีตางๆ ที่จะ

นํามาใชเพื่อชวยใหผูเรียนไดรับความรูใหม

ซ่ึงแตเดิมมักเปนการสอนใหผูเรียนเรียนโดย

การทองจํา ควรปรับเปล่ียนมาสูการใช

เทคนิควิธีการที่จะชวยผูเรียนรับขอเท็จจริง

ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก การใชเทคนิค

ชวยการจํา เชน Mnemonics เปนตน ซ่ึง

การจัดการสอนที่เนนครูเปนศูนยกลางอาจ

นําไปใชใหเกิดประโยชนไดเชนกัน อยางไรก็ตาม ส่ิงที่สําคัญและเปนความตองการของการศึกษาใน

ขณะน้ี คือ การสอนที่ผูเรียนควรไดรับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-Order Thinking

Skills) ไดแก การคิดวิเคราะห สังเคราะห ตลอดจนการแกปญหา และการถายโยงความรู โดยเนน

การใชวิธีการตางๆ อาทิ สถานการณจําลอง การคนพบ การแกปญหา และการเรียนแบบรวมมือ

สําหรับผูเรียนจะไดรับประสบการณการแกปญหาที่สอดคลองกับสภาพชีวิตจริง

Page 6: บทที่ 2

21 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ในกรณีเหลาน้ีอาจสังเกตไดวามีการเปล่ียนแปลงลักษณะการวางแผน การนําไปใช และ

การประเมินเก่ียวกับการจัดประสบการณการเรียนรู ซ่ึงการสอนแบบดั้งเดิมครูผูสอน จะเปนผู

ควบคุมดําเนินการในการวางแผนการสอนทั้งหมด ไดเปล่ียนแปลงมาสูการเนนบทบาทของผูเรียน

ในการวางแผนการดําเนินการและการประเมินดวยตนเอง

Page 7: บทที่ 2

22 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ภาพแสดงการมีปฏิสัมพันธการเรียนรูอยางตื่นตวัของ ผูเรียนกับแหลงขอมูล

(สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)

จากภาพ ผู เรียนจะเปนศูนยกลางของการเรียนการสอนจะตองมีปฏิสัมพันธกับ

แหลงขอมูลที่มีศักยภาพ ไดแก ครู เทคโนโลยี พอแม ภูมิปญญาทองถิ่น และบุคคลอ่ืนๆ และ

ส่ือ เพื่อนํามาสูการหยั่งรูในปญหาและการแกปญหา บทบาทของครูไดเปล่ียนแปลงมาสูการเปนผู

แนะแนวทางและผูอํานวยการ ตลอดจนชวยเหลือผูเรียนใหสามารถบรรลุเปาหมายการเรียนรู จาก

เหตุผลดังกลาว อาจเปนการยากที่จะประสบความสําเร็จ ถาหากจะใชวิธีการจัดการเรียนการสอน

แบบใดแบบหน่ึงเทาน้ัน (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)

ตอไปน้ีจะเปนการเปรียบเทียบบทบาทของครูผูสอนและผูเรียนแบบเดิมและบทบาทที่

เปล่ียนแปลงที่มีการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ดังตารางที่ 2.1

Page 8: บทที่ 2

23 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ตารางที่ 2.1 บทบาทของครูและผูเรียนในการจัดส่ิงแวดลอมทางการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน

ศูนยกลาง

การเปล่ียนบทบาทของครู

บทบาทเดิม บทบาทที่เปล่ียนแปลง

เปนผูถายทอดความรู เปนผูเชี่ยวชาญดาน

เน้ือหาและเปนแหลงสําหรับคําตอบ

เปนผูสงเสริม เอ้ืออํานวย รวมแกปญหา โคช

ชี้นําความรู และผูรวมเรียนรู

เปนผูควบคุมการเรียนการสอนและสงเน้ือหา

ความรูไปยังผูเรียนโดยตรง

เปนผูจัดเตรียมหรือใหส่ิงที่ตอบสนองตอการ

เรียนรูของผูเรียนอยางหลากหลาย

การเปล่ียนบทบาทของผูเรียน

บทบาทเดิม บทบาทที่เปล่ียนแปลง

เปนผูรอรับสารสนเทศจากครูอยางเฉื่อยชา เปนผูรวมเรียนรูอยางตื่นตัวในกระบวนการ

เรียนรู

เปนผูคัดลอกหรือจดจําความรู

เปนผูสรางและแลกเปล่ียนความรูรวมกับเพื่อน

ชั้นแบบผูเชี่ยวชาญ

เปนกิจกรรมการเรียนรูรายบุคคล เปนการรวมมือกันเรียนรูกับผูเรียนอ่ืนๆ

จากตารางที่ 2.1 ที่แสดงการเปล่ียนแปลงที่สําคัญเก่ียวกับบทบาทของครูและผูเรียนใน

ส่ิงแวดลอมทางการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง จากบทบาทตาง ๆ ที่เปล่ียนแปลงไป จะเห็น

ไดวาการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางน้ันมุงเนนใหผูเรียนไดลงมือกระทําในภารกิจการเรียนที่

สงเสริมการแสวงหาขอมูล สารสนเทศ การคนพบคําตอบ ตลอดจนสามารถนําความรูที่เรียนมาใช

ในการแกปญหาได ไมใชเพียงแคบทบาทในการรอรับความรูจากครูเพียงอยางเดียว

เ ม่ื อ ก ร ะ บ ว น ทั ศ น ( Paradigm)

เกี่ยวกับการสอนเปล่ียนมาเปนการเรียนรู มาสู

การเนน ผูเรียนเปนศูนยกลาง ดังน้ัน เทคโนโลยี

และนวัตกรรมการศึกษา ตลอดจนส่ือการสอน

จําเปนตองปรับกระบวนทัศนเพื่อใหสอดคลองกับ

ความเปล่ียนแปลงดังกลาว จากเดิมที่เปนส่ือการ

สอนมาเปนส่ือการเรียนรู และนวัตกรรมเพื่อการ

เรียนรู เพื่อที่จะนํามาใชในการเรียนรูที่สอดคลองกับการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนเปนศูนยกลางที่ไมได

มุงเพียง เพื่อใหผูเรียนสามารถจดจําส่ิงที่เรียนรูไดเทาน้ัน แตยังมุงพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค

ของสังคมไทย ไดแก ความสามารถคิดแบบองครวม เรียนรูรวมกันและทํางานเปนทีม ตลอดจน

Page 9: บทที่ 2

24 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

ความสามารถในการแสวงหาความรู และสรางความรูดวยตนเอง เพื่อทําใหเปนสังคมที่มีการเรียนรู

อยางตอเน่ืองตลอดชีวิต เพื่อที่สามารถแขงขัน และรวมมืออยางสรางสรรคในสังคมและโลกตอไป

ซ่ึงความเปล่ียนแปลงกระบวนทัศนดังกลาวที่สงผลตอการเปล่ียนแปลงตอเทคโนโลยีการ

สอน หรือเทคโนโลยีการศึกษา ตลอดจนส่ือที่ใชในการจัดการเรียนรู

คําถามสะทอนความคิด

ทานคิดวาเพราะเหตุใดจึงตองมีการเปล่ียนแปลงโฉมหนาทาง

การศึกษา

หากพิจารณาสภาพการศึกษาในปจจุบันของประเทศไทยแลว

บทบาทของครูและผูเรียนมีการเปล่ียนแปลงอยางไร เพราะเหตุใด

ทานคิดวาสาเหตุสําคัญที่ทําใหผลการปฏิรูปการศึกษาของไทยยังไม สัมฤทธิผล

เน่ืองมาจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการแกไขอยางไร

กิจกรรมเสนอแนะ

ใหทานศึกษาผลงานวิจัยเก่ียวกับการจัดการศึกษาของไทยแลวสรุป

สาระสําคัญ ดังน้ี ขอคนพบที่สําคัญ ปญหาการศึกษาของไทย วิธีการจัดการ

เรียนรูที่ใช

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. (2541). คูมือพัฒนาโรงเรียนดานการเรียนรู โครงการการปฏิรูปกระบวนการเรียน

การสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

กรมวิชาการ. (2543). การสรางความรูดวยตนเอง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

กองวิจัยทางการศึกษา.(2535). รายงานวิจัยเร่ืองรักของเด็กไทย โครงการวิจัยองคประกอบที่มี

อิทธิพลตอความเขาใจในการเรียน. กรมวิชาการ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สุมาลี ชัยเจริญ. (2551).เทคโนโลยีการศึกษา: หลักการ ทฤษฎี สูการปฏิบัติ.ขอนแกน: คลังนานา

วิทยา.

Bruner, J. S. (1983). In search of mind: Essays in autobiography. New York: Harper

& Row.

Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and

Bacon.

Page 10: บทที่ 2

25 บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา

Newby, T. J., Stepich, D. A., Lehman, J. D., & Russell, J. D. (2000). Instructional

technology for teaching and learning Designing instruction, integrating

computers, and using media (second edition). Englewood Cliffs, NJ:

Prentice-Hall.