บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2....

15
3 บทที2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี ความรูเบื้องตนของการผลิตรายการสื่อวีดีทัศนออนไลนบนเว็บไซต ดร.บุญรักษ บุญญะเขตมาลา กลาววา การทําสื่อออนไลน เปนศิลปะแขนงที7 ที่รวมเอา ศิลปะทั้ง 6 แขนง อันไดแก วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม ดนตรี ละคร ไวดวยกัน กระบวนการ ผลิตรายการสื่อวีดีทัศนออนไลนตองใชหลักทฤษฎีการคิดตางๆ เชน ศึกษาขั้นตอนการผลิต ขั้นตอนกาน เตรียมงาน ขนาดรูปภาพ มุมกลอง หลักของการถายภาพ หลักการตัดตอวีดีโอ และแนวคิดการออกแบบ กราฟก เปนตน ซึ่งคณะผูจัดทําไดอาศัยแนนคิดขั้นตอนการผลิตรากการ 3p หรือ บันได 3 ขั้น Pre-Production ขั้นตอนการเตรียมงาน Production ขั้นตอนการผลิตรายการ Post-Production ขั้นตอนเรียบเรียงและลําดับ รายการ เปนแนวทางในการทําโครงงานสหกิจศึกษา ซึ่งคณะผูจัดทําไดใชหลักการถายภาพ หรือ มุมกลอง ในการผลิตสื่อวีดีทัศนออนไลน ในการออกแบกราฟกในงานสหกิจศึกษานี้ทางคณะผูจัดทําไดใช แนวคิด การออกแบบกราฟก เปนแบบอยาง บทบาทหนาที่ตางๆ ของทีมผลิตรายการ 1. ผูอํานวยการผลิต (Excutive Producer ) เปนผูบริหารระดับสูง มีหนาที่ การจัดราง จัดทํา ควบคุม งบประมาณการผลิต เปนแหลงสนับสนุนดานการหางบประมาณ และดูแลรับผิดชอบเรื่องคาใชจาย ตางๆ ถาในระดับองคกร มีตําแหนงเทียบเทากับ CEO 2. ผูควบคุมการผลิต Producer ดูแล ควบคุม และบริหารการผลิตรายการ ในทุกดาน เปนผูมีอํานาจ ตัดสินใจสูงสุดในการผลิตรายการโทรทัศน 3. ผูชวยผูควบคุมการผลิต Co-producer เปนผูชวยของProducer ในดานตางๆ 4. ผูสรางสรรครายการ Creative พัฒนาและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอรายการใหนาสนใจ 5. Script-writer รอยเรียงเนื้อหา ผลิตบทสําหรับพิธีกร และรายการ 6. ประสานงาน Co-ordinator มีหนาที่ติดตอประสานงาน ทั้งภายนอก (แขกรับเชิญ / สถานที่ / อาหาร ฯลฯ) และภายใน (ฝายตางๆ) ใหทํางานไดอยางราบรื่นและสัมพันธกัน 7. ศิลปกรรม ดูแล ผลิตและออกแบบฉาก และบรรยากาศใหเปนไปตามเนื้อหาในรายการ 8. ชางภาพ ( Cameraman ) 9. ผูกํากับเทคนิค ( Technical Director )

Transcript of บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2....

Page 1: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

3

บทที่ 2

ทบทวนแนวคิดทฤษฎี

ความรูเบื้องตนของการผลิตรายการสื่อวีดีทัศนออนไลนบนเว็บไซต

ดร.บุญรักษ บุญญะเขตมาลา กลาววา การทําสื่อออนไลน เปนศิลปะแขนงที่ 7 ที่รวมเอา ศิลปะทั้ง 6

แขนง อันไดแก วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม ดนตรี ละคร ไวดวยกัน กระบวนการ

ผลิตรายการสื่อวีดีทัศนออนไลนตองใชหลักทฤษฎีการคิดตางๆ เชน ศึกษาขั้นตอนการผลิต ขั้นตอนกาน

เตรียมงาน ขนาดรูปภาพ มุมกลอง หลักของการถายภาพ หลักการตัดตอวีดีโอ และแนวคิดการออกแบบ

กราฟก เปนตน

ซึ่งคณะผูจัดทําไดอาศัยแนนคิดขั้นตอนการผลิตรากการ 3p หรือ บันได 3 ขั้น Pre-Production

ขั้นตอนการเตรียมงาน Production ขั้นตอนการผลิตรายการ Post-Production ขั้นตอนเรียบเรียงและลําดับ

รายการ เปนแนวทางในการทําโครงงานสหกิจศึกษา ซึ่งคณะผูจัดทําไดใชหลักการถายภาพ หรือ มุมกลอง

ในการผลิตสื่อวีดีทัศนออนไลน ในการออกแบกราฟกในงานสหกิจศึกษาน้ีทางคณะผูจัดทําไดใช แนวคิด

การออกแบบกราฟก เปนแบบอยาง

บทบาทหนาท่ีตางๆ ของทีมผลิตรายการ

1. ผูอํานวยการผลิต (Excutive Producer ) เปนผูบริหารระดับสูง มีหนาที่ การจัดราง จัดทํา ควบคุม

งบประมาณการผลิต เปนแหลงสนับสนุนดานการหางบประมาณ และดูแลรับผิดชอบเร่ืองคาใชจาย

ตางๆ ถาในระดับองคกร มีตําแหนงเทียบเทากับ CEO

2. ผูควบคุมการผลิต Producer ดูแล ควบคุม และบริหารการผลิตรายการ ในทุกดาน เปนผูมีอํานาจ

ตัดสินใจสูงสุดในการผลิตรายการโทรทัศน

3. ผูชวยผูควบคุมการผลิต Co-producer เปนผูชวยของProducer ในดานตางๆ

4. ผูสรางสรรครายการ Creative พัฒนาและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอรายการใหนาสนใจ

5. Script-writer รอยเรียงเน้ือหา ผลิตบทสําหรับพิธีกร และรายการ

6. ประสานงาน Co-ordinator มีหนาที่ติดตอประสานงาน ทั้งภายนอก (แขกรับเชิญ / สถานที่ /

อาหาร ฯลฯ) และภายใน (ฝายตางๆ) ใหทํางานไดอยางราบร่ืนและสัมพันธกัน

7. ศิลปกรรม ดูแล ผลิตและออกแบบฉาก และบรรยากาศใหเปนไปตามเน้ือหาในรายการ

8. ชางภาพ ( Cameraman )

9. ผูกํากับเทคนิค ( Technical Director )

Page 2: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

4

10. ชางกลอง ( Camera Operators )

11. ชางเทคนิคดานแสง (Lighting Technician) หรือ ผูกํากับแสง

12. ชางเทคนิคดานภาพ (Video Engineer) หรือ ผูกํากับภาพ

13. ชางเทคนิคดานเสียง ( Audio Engineer) หรือผูกํากับเสียง

14. ชางเทคนิคผูควบคุมการตัดตอ (Videotape Editor)

15. ผูชวยประสานงานการผลิต (Production Assistant)

การผลิตรายการสื่อวีดีทัศนออนไลนบนเว็บไซตยูทูป

1. เขียนบท การเขียนบทถือเปนหัวใจของขั้นกอนการผลิต (Pre – Production) และกระบวนการ

ผลิตทั้งหมดเน่ืองจากบททําหนาที่เสมือนแบบแปลนในการสรางบานนอกจากน้ันแลวบทเปนจุดชี้วัดจุด

แรกที่จะบอกไดวาสื่อน้ันๆจะประสบความสําเร็จหรือไม

2. ถายทําการวางแผนการถายทาํเปนการเตรียมวัสดุอุปกรณฉากสถานที่การกาํหนดและ

ประสานงานบคุลากรในทีมการผลิตเชนพิธีกรนักแสดงตากลองเจาหนาที่ดานแสง

3. กํากับขั้นการผลิตเปนขั้นตอนการถายทําจริงซึ่งไดแกการแสดงการกํากับรายการการบันทกึภาพ

และเสียงตามสถานทีท่ีป่รากฏในบทที่เขียนขึ้นเปนตน

4. ตัดตอ เปนการนําองคประกอบตางๆ ที่เตรียมไวมาตัดตอเปนงานวิดีโอ

ข้ันตอนการผลิตรากการ 3p หรือ บันได 3 ข้ัน

Pre-Production ขั้นตอนการเตรียมงาน

Production ขั้นตอนการผลิตรายการ

Post-Production ขั้นตอนเรียบเรียงและลาํดับรายการ กอนเปนชิ้นงาน

ข้ันเตรียมการ PRE-PRODUCTION

1. วางแผน (Plan)

กําหนดเร่ืองราว เน้ือหา ที่ตองการจะผลิตโดยยึดหลัก 5 W + 2H

- Who กลุมเปาหมายเปนใคร / รายการตอบสนองคนกลุมไหน

- Why วัตถุประสงคในการผลิตรายการ

- What จะผลิตรายการอะไร xประเภทไหน

Page 3: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

5

- Where กําหนดสถานที่ในการถายทํารายการ (ในสตูดิโอ / ภายนอก) ออกอากาศชองทางไหน ตัดตอ ที่

ไหน

- When จะเร่ิมผลิตเมื่อไหร / ออกอากาศเมื่อไหร เวลาไหน ใหตรงกับกลุมเปาหมาย / จะใชเวลาในการ

ผลิตเทาใด

- How จะผลิตรายการอยางไร กําหนดรายละเอียดในการผลิต

- How Much ใชงบประมาณเทาไหร

2. หาขอมูล เตรียมเน้ือหา โดยคนหาไดจาก

- เอกสาร

- บุคคล / แหลงขาว

- สถานที่จริงที่จะไปถายทํา

แลวนํามารวบรวม สังเคราะห จัดทําและเรียบเรียงเน้ือหา ใหเปนโครงรางรายการ

3. จัดทําสคริปท / บท

เร่ิมจากวางประเด็น (Concept)

แกนของเร่ือง (Theme)

เคาโครงเร่ือง (Plot / Treatment)

บทโทรทัศน (Full Script)

บทภาพ (Story board)

4. ประสานงานกับสวนตางๆ ทั้งภายใน (ทีมงาน) และภายนอก (สถานที่/พิธีกรหรือผู แสดง)

การเตรียมการถายทํา

- เตรียมและตรวจเช็คอุปกรณ

- จัดเตรียมฉากและพื้นที่ที่จะใช

- จัดเตรียมแสง และเสียง

- จัดวางตําแหนงกลอง

- ซักซอมทีมงานทุกฝาย

Page 4: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

6

- ซอมการแสดง

- ถายทําจริง ตามที่ไดทําการซักซอมกับนักแสดงไวแลว

ควรจะมีการถายทําเผื่อไวหลังจากถายทําเสร็จสิ้นแลว เพื่อประโยชนในการตัดตอ ในการเลือกภาพ หรือ

แทรกภาพ (Insert / Cut away)

ความเขาใจเร่ืองขนาดของรูปภาพ

ขนาดภาพ

รูป 2.1 Extreme Long Shot ( ELS)

เปนขนาดภาพที่วางมาก สวนใหญจะใชเพื่อแนะนําสถานที่ แสดงภาพรวมทั้งหมดของฉากน้ันๆ

รูปที่ 2.2 Long Shot ( ELS)

ภาพกวาง ที่เจาะจงสถานที่มากขึ้น เพื่อแสดงความสําคัญของภาพ

Page 5: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

7

รูปที่ 2.3 Medium Shot (MS)

ภาพระยะปานกลาง เปนภาพวัตถุในระยะปานกลางเพื่อ ตัดฉากหลังและรายละเอียดอ่ืนๆที่ไมจําเปน

ออกไป

รูปที่ 2.4 Close Up (CU)

ภาพระยะใกล เปนภาพที่ตัดฉากหลังออกทั้ง เพื่อเนนในสิ่งที่เราตองการนําเสนอ เชน สีหนา แผลที่ขา

รูปที่ 2.5 Extreme Close Up (ECU)

ภาพใกลมาก จะเนนเจาะจง เฉพาะจุดที่สําคัญเทาน้ัน เชน เฉพาะแววตา ปาก เพื่อแสดงอารมณของภาพ

Page 6: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

8

มุมมองของรูปภาพ

ภาพมุมสูง / มุมกด - ใหความรูสึกกดดัน หรือตกตํ่าของตัวละคร

ภาพระดับสายตา - เปนทั่วไป คลายแทนสายตาผูชม

ภาพมุมตํ่า / มุมเงย - ใหความรูสึกยิ่งใหญ มีพลัง อํานาจ

มุมภาพจะลักษณะท่ีถายเพื่อบอกเน้ือหา และลักษณะภาพท่ีถาย เชน

- ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view)

- ภาพคร่ึงอก (Bust Shot)

- ภาพเอียง (Canted Shot)

- ภาพถายขามไหล (Cross Shot / X Shot)

- ภาพเต็มตัว (Full Shot)

- ภาพบุคคล 2 คนคร่ึงตัว (Two Shot / Double Shot )

การเคลื่อนกลอง

1. การแพนกลอง (Panning)หมายถึง การเคลื่อนที่ของกลองตามแนวนอนไปทางซาย หรือ ไปทางขวา โดย

กลองยังอยู ณ จุดเดิม

2. การทิ้ลท (Tilting)หมายถึง การเคลื่อนกลองตามแนวด่ิง จากลางขึ้นบน และจากบนลงลาง โดยกลองยังอยู

ณ จุดเดิม เพื่อใหเห็นวัตถุตามแนวต้ังเชน ภาพอาคารสูง

3. การซูม (Zooming)หมายถึง การเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนส ในขณะที่ถายภาพ โดยการใชเลนสซูม

ทําใหมุมภาพ เปลี่ยนไป ถาเปลี่ยนความยาวโฟกัสสั้นลง มุมจะกวาง แตถาปรับความยาวโฟกัสใหยาว มุม

ภาพจะแคบลง ดังน้ันการซูมจะชวยเปลี่ยน ขนาดของวัตถุใหใหญขึ้น (Zoom In) หรือเปลี่ยนขนาดของวัตถุ

ใหเล็กลง(Zoom Out)ได โดยต้ังขาต้ังกลองไมตองขยับเปลี่ยนตําแหนงกลองไป

4. การดอลลี่ (Dolling)หมายถึง การเคลื่อนกลอง เขาหาวัตถุ เรียกวา Dolly in หรือการ เคลื่อนไหวกลองออก

จากวัตถุ เรียกวา Dolly out การดอลลี่ (Dolly) จะคลายซูม (Zoom) ความลึกของภาพจะมากกวาการซูม

5. การแทรค (Trucking / Tracking )หมายถึง การเคลื่อนกลองไปดานซายหรือขวาให ขนา นกับ วัตถุ กา ร

แทรค จะคลายกับการแพน แตจะใหความรูสึกเคลื่อนผูชมเคลื่อนที่ เพราะฉากจะมีการเปลี่ยนแปลงตาม

การเคลื่อนกลอง

Page 7: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

9

6. การอารค (Arking)หมายถงึ การเคลื่อนกลองในแนวเปนรูปคร่ึงวงกลม

7. การเครน (Booming / Craning)หมายถึง การเคลื่อนกลองแนวต้ัง ขึ้นลง

8. การดี โฟกัส (Defocus) หมายถึงการปรับเลนสภาพทําใหเบลอกอนที่เปลี่ยนภาพแลวกลับมาชัดอีกคร้ัง

(สวนใหญจะใชในกรณีเปนความนึกคิดของตัวละคร )

9. การชิพ โฟกัส (Shift focus) หมายถึง การปรับความคมชัดของภาพ จากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่ึง เพื่อให

ผูชมสนใจตรงจุดที่เราโฟกัสน่ันเอง

10. สติลช็อต (Still Shot)หมายถึง การถายภาพโดยไมเคลื่อนกลอง ใชมากในการถายทํารายการทั่วไป เปน

ภาพที่เห็นกันโดยทั่วไป

องคประกอบของรูปภาพ

รูปที่ 2.6 กฎ 3 สวน : เปนการแบงเฟรมภาพ ออกเปน 3 สวนทั้งแนวต้ังและแนวนอน เพือ่เปนแนว

ในการที่จะเนนสิ่งที่เราตองการจะสื่อ

Page 8: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

10

รูปที่ 2.7 เสนนําสายตา

รูปที่ 2.8 จุดตัด9ชอง

Page 9: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

11

แสงพื้นฐานในการถายทํารายการโทรทัศน

รูปที่ 2.9 Key light

รูปที่ 2.10 Fill light

รูปที่ 2.11 Back light

Page 10: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

12

การตัดตอ (Video Editing)

1. การตัดตอแบบเชิงเสน (Linear video editing)

การตัดตอภาพยนตร คือการลําดับภาพจากภาพยนตรที่ถายทําไว โดยนําแตละฉากมาเรียงกันตาม

โครงเร่ือง จากน้ันใชเทคนิคการตัดตอใหภาพและเสียงมีความสัมพันธที่ตอเน่ืองกัน เพื่อใหไดภาพยนตรที่

เต็มรูปแบบ การตัดตอเปนสวนหน่ึงของกระบวนการหลังการผลิตสื่อ (Post-production) ซึ่งประกอบไป

ดวย การตรวจสอบวิดิโอตนฉบับ (ตรวจสอบ Footage) การตัดตอ การแกไขระบบสี และการผสมเสียง ฯลฯ

ซึ่งในบางคร้ังกระบวนการเหลาน้ีก็ถูกรวมเปนคําเดียวกับคําวา “การตัดตอ”

การตัดตอแบบเชิงเสน คือ การตัดตอภาพและเสียงโดยการเขาถึงขอมูลตนฉบับตามลําดับ ไม

สามารถขามไปยังชวงเวลาหน่ึงๆไดทันที สวนใหญมักอยูในรูปของเทปบันทึกชนิดตางๆ การตัดตอทําได

โดยตองมีเคร่ืองอานเทปตนฉบับและเคร่ืองบันทึกเทปพรอมเทปเปลาอยางนอย 2 เคร่ืองเชื่อมตอเขาดวยกัน

โดยมีจอMonitor แสดงภาพในการทํางาน หากเปนการรับสัญญานสดหรือเพิ่มเทคนิคพิเศษตางๆ ก็จะมี

เคร่ืองสลับ/ผสมสัญญาน และอุปกรณอ่ืนๆรวมกัน วิธีการตัดตอทําโดยการใหเคร่ืองอานเทปตนฉบับเลน

ภาพในสวนที่ตองการตัดตอ โดยอาจปอนคาของเวลาในเทปน้ันๆเพื่อความรวดเร็วในการขามไปยังสวน

ตางๆ

ขอดีของระบบการตัดตอแบบเชิงเสน (Linear Editing) คือ มีความรวดเร็วในการแสดงภาพใหเห็น

โดยทันที มีความยืดหยุนกับการทํางาแบบ Realtimeโดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานีโทรทัศนที่ตองการความเรง

รีบในการออกอากาศสด การนําเสนอขาว การตัดตอในลักษณะน้ีเพียงแคเลนเทปตนฉบับในสวนที่ตองการ

ก็สามารถแสดงภาพออกไปไดทันที สวน

ขอเสียของการตัดตอในลักษณะน้ีคือความชาในการคนหาสวนตางๆในเทปเน่ืองจากตองอาน

ขอมูลไปเร่ือยๆจนหมดเทป ไมสามารถขามไปไดโดยทันที และหากมีความผิดพลาดในการตัดตอในแบบ

บันทึกเทป การแกไขน้ันทําไดยากและไมสะดวก เพราะตองเร่ิมทําจากตนเทปจนจบเทป การใสเทคนิค

พิเศษในวิดีโอก็ทําไดจํากัดเน่ืองจากตองพึ่งความสามารถจากตัวอุปกรณ จึงมีตนทุนสูงทั้งในดานอุปกรณ

ตางๆรวมทั้งเทปบนัทึก เพราะหากซื้ออุปกรณที่มีความสามารถนอยก็จะทํางานไดจํากัด จึงไมเปนที่นิยมใน

งานขนาดเลก็

2. การตัดตอแบบไมเปนเชิงเสน (Non-Linear video editing)

การตัดตอในลักษณะน้ี Footage จากสื่อบันทึกทั้งหมดจะถูกบันทึกลงในฮารดดิสก อยูในรูปของ

ไฟลวิดิโอเพื่อใชกับคอมพิวเตอร จากน้ันตัดตอโดยใชโปรแกรมตางๆ เชน Adobe Premiere Pro, Final Cut,

Page 11: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

13

Avid,UleadVideoStudioฯลฯ เมื่อตัดตอเสร็จแลว วิดีโอทั้งหมดจะตองผานการ Render และบันทึกเปนไฟล

วิดีโอหรือสื่อชนิดอ่ืนๆเสียกอน จึงจะนําไปใชได

การตัดตอในลักษณะน้ีมีขอดีคือ สามารถแกไขสวนตางๆไดอยางรวดเร็วตามตองการ อีกทั้งยัง

สามารถใสเทคนิคพิเศษตางๆไดอยางงายดาย และมีใหเลือกไดมากมายหลายรูปแบบ โดยสามารถเลือกใช

ไดจากโปรแกรมตัดตอ หรือสามารถดาวนโหลด Plug-in หรือโปรแกรมเพิ่มเติมไดจากอินเตอรเน็ต

ขอเสียของการตัดตอในลักษณะน้ีคือ ตองใชคอมพิวเตอรที่มีความสามารถในการประมวลผล

กราฟกสูง จึงจะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตอง Render ไฟลทั้งหมดกอนจึงจะบันทึกเปนไฟล

หรือลงสื่อได ไมเหมาะสําหรับการทํางานที่ตองการความเรงรีบ เชน การถายทอดสด เปนตน การตัดตอ

ลักษณะน้ี จึงเหมาะสําหรับวิดีโอที่นําไปใชในภายหลัง อีกทั้งโปรแกรมที่ใชสําหรับการตัดตอก็มี

ความสามารถในการสนับสนุนไฟลวิดีโอไดไมเหมือนกัน มีวิธีการใชงานที่แตกตางกัน สรางความวุนวาย

ในการทํางานตัดตอได

ข้ันตอนการตัดตอวิดีโอ

การตัดตอวิดีโอน้ัน ขึ้นอยูกับความตองการวาจะใหวิดีโอน้ันๆออกมาอยางไร แบบไหน โดยกอนที่

จะเร่ิมกระบวนการตัดตอน้ัน จะตองมีการวางแผนอยางชัดเจนในทุกขั้นตอน โดยอาศัยหัวขอตางๆดังน้ี

1. การคัด Footage ที่ไมไดใชทิ้งไปเปนขั้นตอนแรกสุดของกระบวนการตัดตอ โดยในขั้นตอนน้ีจะเปนการ

คัด Footage สวนที่ไมตองการและ/หรือสวนไมสามารถใชงานไดออกไป โดยเหลือเพียงสวนที่สําคัญเอาไว

เพื่อนําไปใชในขั้นตอนตอไป

2. เลือก Footage ที่ดีที่สุดหากวิดีโอที่คัดแยกจากขั้นตอนแรกมีหลาย Take หรือมีการถายไวหลายคร้ัง

ใหเลือกเฉพาะ Take ที่ดีที่สุดทั้งองคประกอบภาพ ความสมบูรณของภาพและเสียง ฯลฯ

3. สรางความตอเน่ือง (Flow) และลําดับเร่ืองราวใหถูกตองหลังจากที่ได Footage ที่ดีที่สุดแลว ในขั้นตอนน้ี

จะเปนการนํา Footage ทั้งหมดที่คัดเลือกแลวมาเรียบเรียงลําดับเหตุการณใหมีความตอเน่ืองและเปนไป

อยางถูกตอง โดยอาศัยโครงเร่ือง (Storyboard) และ Scriptในขั้นตอนกอนการผลิต (Pre-production) เปน

แนวทางในการลําดับภาพและเสียงใหเปนไปตามที่กําหนดไว

4. เพิ่ม กราฟก( Effects ) ดนตรีประกอบ ฯลฯ เพื่อสรางความรูสึกและอารมณรวมใหกับผูชมหลังจากการ

เรียงลําดับเหตุการณและความตอเน่ืองแลว ก็มาถึงขั้นตอนที่สรางสีสันและความนาสนใจใหกับวิดีโอที่เรา

ตัดตอ โดยในขั้นตอนน้ีจะเปนการเพิ่มสวนประกอบพิเศษ (Extra) ทั้งในสวนของภาพและเสียง ไมวาจะ

เปน Effects ตางๆทั้งภาพและเสียง เทคนิคกราฟกคอมพิวเตอรตางๆ เพลงประกอบ (BackgroundMusic

Page 12: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

14

หรือ BGM) เสียงบรรยากาศรอบขาง (Ambient Noises) เสียงบรรยาย (Narration) การเพิ่ม/ลดความเร็วภาพ

และ/หรือเสียง เปนตน นํามาผสมผสานกัน เพื่อสรางวาชัดเจนและจุดสนใจ ความรูสึก และอารมณรวมแก

ผูชม โดยจะตองมีการควบคุมสวนประกอบใหมีความพอดี ไมมากจนเกินไป และไมทําใหผูชมสับสนกับ

สิ่งที่เกิดขึ้นในเหตุการณน้ันๆ โดยมีบทโทรทัศนคอยกําหนดวิธีการใหผูตัดตอปฏิบัติในภาคปฏิบัติจริง

5. เพิ่มความนาสนใจใหกับมุมมองตางๆในวิดีโอการทําใหวิดีโอมีความนาสนใจขึ้นน้ัน การปรับแตมุมมอง

ของภาพในรูปแบบตางๆก็สามารถทําใหเปนไปไดเชนกัน มุมมองตางๆเหลาน้ันสามารถเปลี่ยนแปลวิธีการ

สงสารบางใหกับผูชมทั้งทางตรงและทางออมเชน การเลือกที่จะใชเฉพาะมุมมองจากคนที่อยูขางหลังแทนที่

จะใหผูชมมองเห็นเหตุการณทั้งหมด การทําใหภาพเปนปริศนาใหผูชมต้ังคําถามและใหความสนใจกับภาพ

สวนน้ันๆ การใชอวัจนะภาษาในการสื่อความหมายโดยไมตองมีบทพูด แตใหจินตนาการ คาดเดา และ

ตีความหมายกับสิ่งน้ัน หรือเรียกอีกอยางวา สัญญะ เปนตนโดยมีบทโทรทัศนคอยกําหนดวิธีการใหผูตัดตอ

ปฏิบัติ

ข้ันหลังการผลิตรายการ POST PRODUCTION

เปนกระบวนการสุดทายกอนที่จะเผยแพรสูสาธารณชน เปนนําเอาภาพที่ไปถายทาํ มาเรียบเรียงตัด

ตอสวนที่เกินหรือไมตองการออก หรือเอาภาพที่ตองการมาแทรก มีการใสสีสันความนาสนใจดวยการใช

เอฟเฟคตางๆ ใสกราฟกตางๆ ขึ้นชื่อ ใสดนตรี เสียงพากย ไตเต้ิล (Title)

โดยรูปแบบของการตัดตอ จะมี 2 รูปแบบ คอื

Linar เปนการตัดตอ โดยการใชสายสัญญาณ เปนตัวสงสัญญาณจากเคร่ืองเลนเทป มายังเคร่ืองผสม

สัญญาณภาพ (Mixer)และสรางเอฟเฟคพิเศษ (SEG) กอนที่จะออกไปสูเคร่ืองบันทึกเทป เรียกโดยทั่วกันวา

A/B Roll

Non-linar เปนการตัดตอโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยการนําเอาภาพที่ถายทํามาลงในฮารท

ดิสก แลวใชโปรแกรมทําการตัดตอทําการตัดตอ เมื่อเสร็จแลวก็ถายสัญญาณสูเคร่ืองบันทึกเทป

รูปแบบรายการสารคดี (Documentary Program Format)

รายการสารคดี เปนรายการโทรทัศนทีเ่ลาเร่ืองราวที่นาสนใจใหผูชมเขาใจอยางแจมแจงสารคดีน้ัน

ควรจะใหความรู ความเพลิดเพลิน เราอารมณและการโนมนาวจิตใจ สารคดีทางโทรทัศนสามารถเสนอได

หลายรูปแบบ เชน ดวยภาพสไลด ภาพยนตร เปนตน รายการสารคดีจะมีอยู 2 ลักษณะ คือ

Page 13: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

15

สารคดีเต็มรูปแบบ ลักษณะของรายการจะดําเนินเร่ืองดวยภาพตลอดอาจมีการถามความเห็นของ

ผูเกี่ยวของบางแตในชวงสั้นๆ ไมเกินคร้ังละ 1 นาที อาจจะเสนอคนเดียวกันไดหลายคร้ังและรายการเดียว

อาจมีผูใหความคิดเห็นหลาย ๆ ทัศนะในหลาย ๆ บุคคล แตรายการสวนใหญจะเสนอภาพที่ เปน

กระบวนการหรือเร่ืองราวตามธรรมชาติ โดยไมมีผูดําเนินรายการ

รายการ กึ่งสารคดีกึ่งพูดคนเดียว เปนรายการโทรทัศนที่มีผูดําเนินการทําหนาที่เดิน เร่ืองพูดคุยกับ

ผูชม และใหเสียงบรรยายตลอดรายการ โดยมีผูดําเนินรายการปรากฏตัวตอนตนรายการตอนกลางเทาที่

จําเปนและตอนสรุปรายการ นอกน้ันเปนภาพแสดงเร่ืองหรือกระบวนการตามธรรมชาติอาจมีตัวบุคคลไป

สัมภาษณผูเกี่ยวของเขามาแทรกเพื่อเสริมความคิดเห็นได ผูดําเนินรายการอาจพูดในสตูดิโอหรือพูดใน

สถานที่ถายทํา เชน ภาพยนตรเกี่ยวกับธรรมชาติก็ไปพูดในปาบริเวณที่มีสัตวประเภทน้ันอาศัยอยู

แนวคิดดานการออกแบบคอมพิวเตอรกราฟก

หลักการออกแบบ

การออกแบบกราฟกและสื่อเปนขั้นตอนหน่ึงของการสรางสรรคงานที่เกี่ยวของ กักระบวน

การงานกราฟก งานทางดานสิ่งพิมพ โดยมีหลักการคิดและวิธีการดําเนินการที่ตองอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับ

กระบวนการสื่อความหมายหลักการทางศิลปะประยกุตและ ทฤษฎีการรับรูทางจิตวิทยาการออกแบบงาน

กราฟกจึงตองกระทําอยูบนพื้นฐานขององคประกอบตาง ๆ การออกแบบงานกราฟกและสื่อ ควรจะตอง

คํานึงถึงหลักการ ดังน้ี

1. ความมีเอกภาพ (unity)

2. ความกลมกลืน (harmony)

3. ความมีสดัสวนที่สวยงาม (propertion)

4. ความมีสมดุล (balance)

5. ความมีจุดเดน (emphasis)

Page 14: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

16

องคประกอบในการออกแบบงานกราฟกและสื่อ

สวนสําคัญที่จะสรางสรรคความสุนทรียบนงานออกแบบ มีองคประกอบอยู 2 สวน คือ

1. อักษรและตัวพิมพตัวอักษรจะทําหนาที่เปนสวนแจกแจงรายละเอียดของขอมูลสาระที่ตองการ

นําเสนอดวยรูปแบบและการจัดวางตําแหนงอยางสวยงาม มีความชัดเจน การออกแบบ การเลือกแบบ

ตลอดจนการกําหนดรูปแบบของตัวอักษรทีจ่ะนํามาใชตองมีลักษณะเดนอานงายสวยงาม นาสนใจ ลักษณะ

ที่แตกตางของตัวอักษร จึงตองกําหนดตามสภาวะการนําไปใช โดยแบงออกเปน 2 สวน ไดแก สวนที่เปน

หัวเร่ือง หรือชื่อสินคา จะตองเนนความโดดเดนของรูปแบบมากที่สุดและสวนที่เปนขอความหรือเน้ือหาที่

ตองการแสดงรายละเอียดตาง ๆนิยมใชตัวอักษรที่มีรูปแบบเรียบงายสะดวกในการอานมากที่สุด

ในการเลือกใชตัวอักษรใหมีความเหมาะสมกับงานที่ออกแบบผูออกแบบควรไดพิจารณาถึง

รูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร รูปรางลักษณะของตัวอักษร การกําหนดระยะหางและพื้นที่วาง การ

กําหนดสี และการจัดวางตําแหนงใหมีความสมดุลเหมาะสมพอดี

2. ภาพและสวนประกอบตกแตงภาพ ภาพและสวนประกอบตกแตงภาพ ที่ตองการเนนใหเกิดคุณคา

ทางความงาม ซึ่งจะทําหนาที่ในการถายทอดจินตนาการออกมาเปนรูปแบบ และนําเสนอแนวคิดใหเปนรูป

ธรรมดาตามความคิดของตนเพื่อตองการใหเกิดประสิทธิผลในการสื่อสารมากที่สุดงานออกแบบที่ดีควรนํา

ภาพมาใชใหเหมาะสมกับโอกาสและหนาที่อยางกลมกลนื คือ

2.1 เมื่อตองการดึงดูดความสนใจ

2.2 เมื่อตองการใชประกอบการอธิบายความรู

2.3 เมื่อตองการคาํอธิบายความคิดรวบยอด

2.4 เมื่อตองการอางอิงสิ่งที่ปรากฏขึ้นจริง

2.5 เมือ่ตองการใชประกอบขอมูลทางสถิติ

คุณคาและความสําคัญของการออกแบบงานกราฟกและสื่อ

งานกราฟกที่ดีจะตองทําใหเห็นถึงความคิดในการออกแบบเปนเลิศมีคุณคาและความสําคัญใน

ตัวเองที่แสดงออกได ดังน้ี

1. เปนสื่อกลางในการสื่อความหมายใหเกิดความเขาใจตรงกัน ถูกตองและชัดเจน

2. สามารถทําหนาที่เปนสื่อเพื่อใหเกิดการเรียนรูไดเปนอยางดี

3. ชวยทําใหงานเกิดความนาสนใจ ประทับใจ และนาเชื่อถือแกผูพบเห็น

Page 15: บทที่2 ทบทวนแนวคิดทฤษฎี · 3 . บทที่2. ทบทวนแนวคิดทฤษฎี. ความรู เบื้องต

17

4. ชวยใหเกิดการกระตุนทางความคิด และการตัดสินใจไดอยางรวดเร็ว

5.ชวยสรางสรรคงานสัญลักษณทางสังคมและพัฒนาระบบการสื่อสารใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น

การวางแผนการผลิตและข้ันตอนในการออกแบบงานกราฟกและสื่อ

ในการออกแบบงานกราฟก ควรมีการวางแผนและกําหนดขั้นตอนการทํางานใหเปนระบบ เพื่อจะ

ทําใหงานที่ผลิตขึ้นมีคุณภาพดี โดยคํานึงถึงขั้นตอนที่ใชในการผลิตและการออกแบบ ดังน้ี

1. ขั้นการคิด ตองคิดวา จะทําอะไร ทําเพื่อใคร ทําอยางไร และการออกแบบอยางไร

2. ขั้นตอนการรวบรวมขอมูล เปนการเสาะหาขอมูลที่เกี่ยวของใหมากที่สุ รวมถึงวัสดุอุปกรณดวย

3. ขั้นการรางหรือสรางหุนจําลอง โดยการเขียนภาพคราว ๆ หลาย ๆ ภาพ แลวเลือกเอาภาพที่ดีที่สุด

4. ขั้นการลงมือสรางงาน เปนการขยายผลงานดวยวัสดุและวิธีการที่เตรียมไว

5. หลักที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับการใชส ี

2.1 โปรแกรม Illustrator

โปรแกรม Illustrator เปนโปรแกรมสําหรับสรางภาพลายเสนที่มีความคมชัดสูงโดยจะใช

ทํางานโดยการทําโลโกในงานที่ถายทําและโลโกรายการ

2.2 โปรแกรม After Effect

โปรแกรม After Effect คือ โปรแกรมที่ใชตัดตองาน Video สามารถใชรวมกับการทํางาน

กราฟก 3D อนิเมชั่น และเพิ่มความนาสนใจใหภาพน่ิง