ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for...

9
วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 38 ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารจังหวัดอุบลราชธานี Health Status of People in Huai Kao Sarn Watershed Ubonrajathanee Province มินตรา สาระรักษ เมรีรัตน มั่นวงศ และธันยการย ศรีวรมาศ วิทยาลัยแพทยศาสตรและการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี 34190 บทคัดยอ การวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาขอมูลภาวะสุขภาพทางดานรางกาย และจิตใจ (ความเครียด) ของประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารจังหวัดอุบลราชธานี กลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 2,178 ราย เก็บรวบรวมขอมูลโดยการ ใชแบบสัมภาษณ วิเคราะหขอมูลเชิงพรรณาดวยสถิติ คาความถี่ รอยละ และคาเฉลี่ย ภายใตชวงเชื่อมั่นที95% (95%CI) ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีโรคประจําตัวรอยละ 39.2 (95%CI: 37.41 - 41.6) โรคประจําตัวที่พบสวนใหญ ไดแก โรคกระเพาะอาหาร เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปวดเมื่อยกลามเนื้อ นอกจากนี้ยังพบวาคาดัชนีมวลกายในแต ละตําบลจัดอยูในกลุมเสี่ยงตอความอวนถึงอวนระดับที่ 3 (BMI มากกวา 35 กก/ม 2 ) รอยละ 39.5 (95%CI: 37.41 - 41.6) ตําบล ทุงเทิง นากระแซง ในโซนตนน้ํา และตําบลคําขวางในโซนทายน้ํา มีปญหาเรื่องอวนสูงกวาตําบลอื่นๆ เมื่อเจ็บปวย ประชาชนจะไปรับบริการที่สถานีอนามัย/ศูนยสุขภาพชุมชนรอยละ 55.6 (95%CI: 53.5 - 57.7) โดยใชบัตรทอง 30 บาท ในการรับบริการ รอยละ 68.1 (95%CI: 66.1 - 70.1) ตําบลธาตุ โซนทายน้ํามีพฤติกรรมการปองกันโรคต่ําที่สุด (คาเฉลี่ย เทากับ 17.47) ตําบลสระสมิง ตําบลทาชางและตําบลโพธิ์ใหญมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพสูง ดานสุขภาพจิต พบวา ตําบลนากระแซง ตําบลโคกสวาง และตําบลนาสวงมีภาวะเครียดในกลุมเครียดสูงกวาปกติถึงเครียดมากที่สุด ประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารยังมีปญหาทางดานภาวะสุขภาพ ทั้งดานรางกาย จิตใจ พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และ พฤติกรรมการปองกันโรค ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการใหสุขศึกษาในเรื่องการปองกันโรค การลดพฤติกรรมเสี่ยง ตอสุขภาพ การออกกําลังกายหรือทํากิจกรรมที่เปนประโยชนตอรางกาย ตลอดจนการใหคําแนะนําเพื่อลดความเครียด ซึ่ง จะสงผลใหประชาชนในลุมน้ํามีภาวะสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ และปฏิบัติภารกิจไดอยางปกติสุข คําสําคัญ : ประชาชนลุมน้ําหวยขาวสาร ภาวะสุขภาพ สุขภาพ Abstract This descriptive research examined the physical and mental health (stress) health status of people in Huai Kao Sarn watershed in Ubonrajathanee Province. Two thousand one hundred and seventy-eight people participated in the study and data was collected by interviews and questionnaires and analysed in terms of frequencies, percentages, means, and 95% confidence intervals. The results showed that 39.2% (95% CI: 37.41 - 41.6) had health problems such as peptic ulcers, diabetes mellitus, high blood pressure and muscle pain. The body mass index of the people in each Tambon was calculated and found that 39.5% had a high risk of obesity at the third level (BMI > 35 kg/m 2 ) (95% CI: 37.41 - 41.60). Tambon Tung Teang and Tambon Nakrasaeng in the headwater region and Tambon Kham Kwang in the lower zone had more obesity cases than others. Around 55.6% of sick persons went to the local health center or primary health care unit (95% CI: 53.5 - 57.7) and the majority (68%) used the 30 baht government gold card (95% CI: 66.1 - 70.1). Tambon Tad in the lower water zone had the lowest mean score of preventive behavior (mean of 17.47). Tambons Srasaming, Tha Chang and Pho Yai showed the highest mean scores of health risk behavior. Tambon Nakraseang, Tambon Kogswang and Tambon Nasuiang had the highest number of patients with stress. The study showed that people in the Huai Kao Sarn watershed faced many health problems, including physical, mental and disease prevention behavior.

Transcript of ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for...

Page 1: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 255238

ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารจังหวัดอุบลราชธานีHealth Status of People in Huai Kao Sarn Watershed Ubonrajathanee Province

มินตรา สาระรักษ เมรีรัตน มั่นวงศ และธันยการย ศรีวรมาศวิทยาลัยแพทยศาสตรและการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ. วารินชําราบ จ. อุบลราชธานี 34190

บทคัดยอการวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาขอมูลภาวะสุขภาพทางดานรางกาย และจิตใจ (ความเครียด)

ของประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารจังหวัดอุบลราชธานี กลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 2,178 ราย เก็บรวบรวมขอมูลโดยการใชแบบสัมภาษณ วิเคราะหขอมูลเชิงพรรณาดวยสถิติ คาความถี่ รอยละ และคาเฉลี่ย ภายใตชวงเชื่อมั่นที่ 95% (95%CI)

ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีโรคประจําตัวรอยละ 39.2 (95%CI: 37.41 - 41.6) โรคประจําตัวที่พบสวนใหญ ไดแก โรคกระเพาะอาหาร เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปวดเมื่อยกลามเนื้อ นอกจากนี้ยังพบวาคาดัชนีมวลกายในแตละตําบลจัดอยูในกลุมเสี่ยงตอความอวนถึงอวนระดับที่ 3 (BMI มากกวา 35 กก/ม2) รอยละ 39.5 (95%CI: 37.41 - 41.6) ตําบล ทุงเทิง นากระแซง ในโซนตนน้ํา และตําบลคําขวางในโซนทายน้ํา มีปญหาเรื่องอวนสูงกวาตําบลอื่นๆ เมื่อเจ็บปวยประชาชนจะไปรับบริการที่สถานีอนามัย/ศูนยสุขภาพชุมชนรอยละ 55.6 (95%CI: 53.5 - 57.7) โดยใชบัตรทอง 30 บาทในการรับบริการ รอยละ 68.1 (95%CI: 66.1 - 70.1) ตําบลธาตุ โซนทายน้ํามีพฤติกรรมการปองกันโรคต่ําที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 17.47) ตําบลสระสมิง ตําบลทาชางและตําบลโพธิ์ใหญมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพสูง ดานสุขภาพจิตพบวา ตําบลนากระแซง ตําบลโคกสวาง และตําบลนาสวงมีภาวะเครียดในกลุมเครียดสูงกวาปกติถึงเครียดมากที่สุด ประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารยังมีปญหาทางดานภาวะสุขภาพ ทั้งดานรางกาย จิตใจ พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และพฤติกรรมการปองกันโรค ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการใหสุขศึกษาในเรื่องการปองกันโรค การลดพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ การออกกําลังกายหรือทํากิจกรรมที่เปนประโยชนตอรางกาย ตลอดจนการใหคําแนะนําเพื่อลดความเครียด ซึ่งจะสงผลใหประชาชนในลุมน้ํามีภาวะสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ และปฏิบัติภารกิจไดอยางปกติสุข

คําสําคัญ : ประชาชนลุมน้ําหวยขาวสาร ภาวะสุขภาพ สุขภาพ

AbstractThis descriptive research examined the physical and mental health (stress) health status of people in Huai

Kao Sarn watershed in Ubonrajathanee Province. Two thousand one hundred and seventy-eight people participated in the study and data was collected by interviews and questionnaires and analysed in terms of frequencies, percentages, means, and 95% confidence intervals. The results showed that 39.2% (95% CI: 37.41 - 41.6) had health problems such as peptic ulcers, diabetes mellitus, high blood pressure and muscle pain. The body mass index of the people in each Tambon was calculated and found that 39.5% had a high risk of obesity at the third level (BMI > 35 kg/m2) (95% CI: 37.41 - 41.60). Tambon Tung Teang and Tambon Nakrasaeng in the headwater region and Tambon Kham Kwang in the lower zone had more obesity cases than others. Around 55.6% of sick persons went to the local health center or primary health care unit (95% CI: 53.5 - 57.7) and the majority (68%) used the 30 baht government gold card (95% CI: 66.1 - 70.1). Tambon Tad in the lower water zone had the lowest mean score of preventive behavior (mean of 17.47). Tambons Srasaming, Tha Chang and Pho Yai showed the highest mean scores of health risk behavior. Tambon Nakraseang, Tambon Kogswang and Tambon Nasuiang had the highest number of patients with stress. The study showed that people in the Huai Kao Sarn watershed faced many health problems, including physical, mental and disease prevention behavior.

Page 2: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 39

Therefore the public health department should give health education in disease prevention, health risk behavior, and physical exercise to people in this area to reduce stress and increase health and happiness.

Keywords : People in Huai Kao Sarn Watershed, Health Status, Health

1. บทนําการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีเปนสิ่งที่ทุกคน

ปรารถนา ทําใหรางกายจิตใจสมบูรณ ไมเจ็บปวย ครอบ ครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง มีการปองกันการติดสารเสพติด มีความยุติธรรมในสังคม มีระบบบริการที่ดี มีการเรียนรูดี มีธรรมะหรือจิตใจสูง สังคมเอื้อใหประชาชนปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงโดยรักษาสมดุลได ดังนั้นจึงมองวาการสงเสริมสุขภาพในชีวิตประจําวันเปนวิถีชีวิตทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและระดับทองถิ่นที่มีมาตั้งแตสมัยบุพกาลจนถึงปจจุบัน อยางไรก็ตามก็ยังมองวา พฤติกรรมสุขภาพของคนมีทั้งเหมาะสมและไมเหมาะสม (ประเวศ วะสี , 2544) การมีสุขภาพที่ดีนั้นไมใชเปนเพียงแคการไมมีโรคแตยังรวมถึงความเปนอยูที่สุขสบายทั้งกายและใจ และการที่จะมีสุ ขภาพที่ ดี ไดนั้ นตองมีการพัฒนาบุคคลใหมีความสามารถ มีสวนรวมในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดการพึ่งพิงผูอื่น รวมถึงการลดการพึ่งพิงบริการทางการแพทยดานการรักษาโรค (มานิตย ประพันธสิงห, 2543)

พื้นที่ลุมน้ําหวยขาวสารเปนพื้นที่ในเขตบริการทางวิชาการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงถูกเลือกเปนพื้นที่ศึกษาวิจัยเพื่อเปนตนแบบในการพัฒนาโดยเฉพาะทางดานสภาวะสุขภาพของประชาชน เนื่องจากลุมน้ําหวยขาวสารเปนลุมน้ํ าที่ เปนแหลงน้ําของชุมชนในการใชอุปโภคและบริโภค ตลอดจนทําการเกษตรกรรม ซึ่ง อาจจะสงผลตอสุขภาพอนามัยของประชาชน จากการขยายตัวภาคเอกชน รวมถึงการใชสารเคมีและเทคโนโลยีตางๆ เขามามีสวนรวมในกระบวนการเกษตรกรรม ซึ่งสิ่งเหลานี้อาจ จะมีอิทธิพล และสงผลใหเกิดโรคภัยไขเจ็บที่เปนสาเหตุสําคัญตอการขัดขวางการดําเนินชีวิตอยางปกติสุขของประ ชาชนในทองถิ่นได ดังนั้นการแกปญหาทางดานสุข ภาพทั้งกาย จิตใจ สังคมและสิ่งแวดลอม จึงเปนสิ่งสําคัญในการชวยใหรางกายแข็งแรง สามารถทํางานและดําเนินกิจกรรมประจําวันไดอยางมีความสุข ในการประเมินภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน จึงจําเปนตองใชขอมูลที่มีคุณภาพ สามารถสะทอนสภาพปญหาและความตองการที่แทจริงของประชาชน รวมถึงปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของเพื่อประกอบในการวางแผนและแนวทางแกไขปญหาและพัฒนาสุขภาพ

ของประชาชนใหดีขึ้นคณะผูวิจัยซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตรและการ

สาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดเล็งเห็นความ สําคัญของการศึกษาขอมูลภาวะสุขภาพของประชาชน จึงไดจัดทําโครงการศึกษา ภาวะสุขภาพของประชาชนเขตลุมน้ําหวยขาวสารขึ้น เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานดานภาวะสุขภาพและประเมินสุขภาพของประชาชนในเขตลุมน้ําหวยขาวสารประกอบการพิจารณาแนวทางในการวางแผนการดูแลสุขภาพของประชาชนโดยการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนใหสามารถพึ่งตนเองทางดานสุขภาพไดมากขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดผลที่ตามมาคือ ประชาชนที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง จะสามารถประกอบอาชีพไดตามความเหมาะสม และยังเปนการชวยขจัดปญหาความยากจนไดอีกทางหนึ่ง

2. วัตถุประสงคเพื่อการศึกษาขอมูลพื้นฐานดานสุขภาพและประเมิน

สุขภาพขอประชาชนในเขตุลุมน้ําหวยขาวสาร

3. วัสดุอุปกรณและวิธีการดําเนินการวิจัย3.1 ขอบเขตการศึกษาการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาในเขตลุมน้ําหวยขาวสาร ซึ่งมี

พื้นที่สวนใหญอยูในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบไปดวย 104 หมูบาน 17 ตําบล 5 อําเภอ โดยมีบางสวนของลุมน้ําอยูในเขตตําบลหนองกุง อําเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ

3.2 รูปแบบการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา3.3 กลุมตัวอยางกลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือ กลุมประชากรในลุม

น้ําหวยขาวสารที่ไดจากการสุมตัวอยาง ซึ่งการสุมตัวอยางจะเลือกจากทุกตําบลในลุมน้ําหวยขาวสารเพื่อใหไดขอมูลมาสรุปผลการวิจัย จากทุกตําบล ซึ่งมีทั้งหมด 15 ตําบล การคํานวณขนาดตัวอยางแตละตําบลโดยเทียบเปนสัดสวนจากครัวเรือน เมื่อไดขนาดตัวอยางแตละตําบลแลวจะสุมเลือกหมูบานโดยวิธี Simple random sampling ใชวิธีการจับสลาก คํานวณขนาดตัวอยางโดยใชสูตร การประมาณคา

Page 3: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 255240

สัดสวน

n = Z2ά/2 P(1 - P)/e2

P = อัตราการเจ็บปวยดวยโรคของประชาชนเทากับ 23 คนตอพันประชากร

Zά/2 = คาสถิติมาตรฐานใตโคงปกติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เทากับ 1.96

e = ความแมนยําของการประมาณคาเทากับ 0.005ไดขนาดตัวอยางเทากับ 3,381 ครัวเรือน

3.4 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแกแบบ

สัมภาษณภาวะสุขภาพที่สรางขึ้น โดยประยุกตจากแบบสอบถามของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยขอคําถามจะมีทั้งสิ้น 21 ขอ แบงออกได ดังนี้

สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับสุขภาพทั่วไปสวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค

อาหาร จํานวน 9 ขอ สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับการจัดการขยะและ

สิ่งแวดลอม จํานวน 6 ขอสวนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงตอ

สุขภาพ จํานวน 17 ขอ สวนที่ 5 เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการปองกัน

โรค จํานวน 8 ขอ สวนที่ 6 เปนคําถามเพื่อวิ เคราะหความเครียด

จํานวน 18 ขอ เครื่องมือดังกลาวไดผานการทดสอบเนื้อหา โดยผู

เชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน และทดสอบความเชื่อมั่น ไดคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาซเทา กับ 0.72

3.5 การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการโดยประสานงานกับ

ผูใหญบานหรือปลัดองคการบริหารสวนตําบลเพื่อขออนุญาตเขาเก็บขอมูลในหมูบาน โดยแบงทีมวิจัยออกเปน 4 สาย เดินสัมภาษณประชาชนในหมูบานโดยใชวิธีสุมแบบบังเอิญ โดยเลือกสัมภาษณประชาชนที่มีอายุตั้งแต 12 ปขึ้นไป การสัมภาษณจะสัมภาษณ 1 คนตอ 1 หลังคาเรือนจนครบทั้งหมูบาน จนครบจํานวนขนาดตัวอยางแตละหมู บานที่ตองการ

3.6 การวิเคราะหขอมูลวิเคราะหขอมูลเพื่อพรรณนาขอมูล โดยใชโปรแกรม

สําเร็จรูป SPSS ใชสถิติพรรณนา เชน การแจกแจงความถี่

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รอยละ และชวงความเชื่อมั่น 95%

- การคํานวณคาดัชนีมวลกาย คํานวณตามสูตรดังนี้

BMI = น้ําหนัก (กก)/สวนสูง (ม2)

ใชสถิติการแจกแจงความถี่และรอยละ ในการจัดกลุมคาดัชนีมวลกายพิจารณาตามเกณฑของกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2548 ดังนี้

- คาดัชนีมวลกายระหวาง 0 - 18.50 กก/ม2 จัดอยูในกลุมต่ํากวาเกณฑ

- คาดัชนีมวลกายระหวาง 18.51 – 22.99 กก/ม2 จัดอยูในกลุมเกณฑปกติ

-คาดัชนีมวลกายระหวาง 23.00 – 24.99 กก/ม2 จัดอยูในกลุมเสี่ยงตอความอวน (ทวม)

- คาดัชนีมวลกายระหวาง 25.00 – 29.99 กก/ม2 จัดอยูในกลุมอวนระดับที่ 1

- คาดัชนีมวลกายระหวาง 30.00 – 34.99 กก/ม2 จัดอยูในกลุมอวนระดับที่ 2

- คาดัชนีมวลกายมากกวา 35.00 กก/ม2 ขึ้นไป จัดอยูในกลุมอวนระดับที่ 3

3.7 การวิเคราะหพฤติกรรมการบริโภคอาหารในแตละขอคําถามจะมีคําตอบใหเลือก 3 ขอ และมีคา

คะแนนดังนี้- ไมกินเลย คาคะแนนเทากับ 0 คะแนน- กินบางครั้ง คาคะแนนเทากับ 1 คะแนน- กินเปนประจํา คาคะแนนเทากับ 2 คะแนน

วิเคราะหโดยใชการแจกแจงความถี่และรอยละ ในการพรรณนาขอมูลพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

3.8 การวิเคราะหพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ การแจกแจงความถี่และ

รอยละ ในการพรรณนาขอมูลพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ ซึ่งคําถามมีขอความทางบวก และขอความทางลบ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ขอความทางบวก (คะแนน) ขอความทางลบ (คะแนน)ปฏิบัติเปนประจํา ให 3 0ปฏิบัติบอยครั้ง ให 2 1ปฏิบัติเปนบางครั้งให 1 2ไมเคยปฏิบัติ ให 0 3โดยมีคะแนนเต็ม 51 คะแนน และมีเกณฑในการกําหนดคาคะแนนดังนี้

Page 4: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 41

- กลุมที่มีคาคะแนนรวมพฤติกรรมเสี่ยงต่ํากวา 60% (คาคะแนนนอยกวา 30.0) หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพโดยภาพรวมสูง

- กลุมที่มีคาคะแนนรวมพฤติกรรมเสี่ยงระหวาง 60 - 80% (คาคะแนน 30.1 - 40.0) หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพโดยภาพรวมปานกลาง

- กลุมที่มีคาคะแนนรวมพฤติกรรมเสี่ยงสูงกวา 80% (คาคะแนนมากกวา 40) หมายถึง มีพฤติกรรมเสี่ยงตอสุข ภาพโดยภาพรวมต่ํา

3.9 การวิเคราะหความเครียด ใชสถิติพรรณนา ไดแก การแจกแจงความถี่กับขอ

มูลแบบประเมินและวิเคราะหความเครียด โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

คะแนนรวมไมเกิน 54 คะแนน โดยถาตอบวาไมเคยเลย ให 0 คะแนนเปนครั้งคราว ให 1 คะแนนเปนบอยๆ ให 2 คะแนนเปนประจํา ให 3 คะแนน3.10 การวิเคราะหคะแนนถาคะแนนอยูนอยกวา 5.99 คะแนน แสดงวาผูตอบ

ไมจริงใจ ไมแนใจคําถามถาคะแนนอยูระหวาง 6.0 - 17.99 คะแนน แสดงวา

ผูตอบปกติ/ไมเครียดถาคะแนนอยูระหวาง18.0 - 25.99 คะแนน แสดงวา

ผูตอบมีความเครียดสูงกวาปกติ เล็กนอยถาคะแนนอยูระหวาง 26.0 - 29.99 คะแนน แสดงวา

ผูตอบมีความเครียดปานกลางถาคะแนนรวมมากกวา 30.0 คะแนนขึ้นไป แสดงวา

ผูตอบมีความเครียดมาก

4. ผลการวิจัยการวิจัยภาวะสุขภาพของประชาชนในลุมน้ําหวย

ขาวสาร โดยเก็บเริ่มเก็บขอมูลตั้งแต 25 พฤษภาคม - 20 มิถุนายน 2549 จํานวนทั้งสิ้น 12 ตําบล 36 หมูบาน ซึ่งแบงเปนโซนตนน้ํา กลางน้ํา และทายน้ํา ไดขอมูลทั้งหมด 2,178 ชุด คิดเปนรอยละ 64.42 ไดผลดังนี้

4.1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการเจ็บปวยกลุมตัวอยางเปนเพศหญิงรอยละ 69.8 อายุโดยเฉลี่ย

ประมาณ 48.5 ป (SD = 17.6, ต่ําสุด 12 ป สูงสุด 102 ป) คาดัชนีมวลกายโดยเฉลี่ยเทากับ 22.4 กก./ม2 (SD = 4.3) ซึ่งอยูในเกณฑปกติรอยละ 45.3 (95% CI:43.2 - 47.4)

และมีคาดัชนีมวลกายที่อยูในเกณฑเสี่ยงตอความอวนถึงอวนระดับที่ 3 รวมคิดเปนรอยละ 39.5 (95% CI:37.4 -41.6) โดยพบวากลุมตัวอยางจากตําบลทุงเทิง โซนตนน้ํา มีภาวะเสี่ยงตอความอวนถึงอวนระดับที่ 3 สูงมากที่สุด กลุมตัวอยางมีโรคประจําตัวรอยละ 39.2 (95% CI: 37.1 -41.3) โดยสวนใหญจะปวยดวยโรคกระเพาะ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง และใชบัตร 30 บาท ในการรับบริการทางดานสุขภาพ รอยละ 68.1 (95% CI: 66.1 - 70.1) ระยะทางจากบานถึงสถานพยาบาลของรัฐที่อยูใกลที่สุดมีระยะทางไมเกิน 10 กิโลเมตร ซึ่งเมื่อไดรับการเจ็บปวยจะนิยมไปรับการรักษาพยาบาลที่สถานีอนามัย/ศูนยสุขภาพชุมชนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 55.6 (95% CI: 53.5 -57.7) กลุมตัวอยางสวนใหญไม เคยเขารับการรักษา พยาบาลในโรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพคิดเปนรอยละ 75.8 และในรอบ 1 ปที่ผานมาเคยรับการตรวจสุขภาพประจําปคิดเปนรอยละ 55.1 (95% CI: 53.0 - 57.2) สําหรับการเจ็บปวยจากการประกอบอาชีพ พบวา กลุมตัวอยางเคยไดรับการเจ็บปวยจากฝุนละออง ไอ หรือขนของพืช และ อาวุธ อุปกรณ ในการทํางานเชน จอบ มีด รถไถ คิดเปนรอยละ 18.4 (95% CI: 16.8 - 20.0) และ 17.7 (95% CI: 16.1 - 19.3) ตามลําดับ และกลุมตัวอยางคิดวาตนเองมีสุขภาพดี คิดเปนรอยละ 66.1 (95% CI:64.1 -68.1) มากที่สุด

4.2 พฤติกรรมการบริโภคอาหารเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พบวากลุมตัว

อยางยังมีการบริโภคอาหารจําพวก ปลา เนื้อหมู วัว ควาย กุง หอยน้ําจืด ปูน้ําจืด แย กิ้งกา ผักสดไมไดลาง และเห็ด เปนบางครั้ง และพบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการบริ โภค ปลาราดิบซึ่งสูงที่สุดในพฤติกรรมอื่นๆเปนประจําคิดเปนรอยละ 42.2 รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1.

4.3 พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพจากการศึกษาพบวา ชาวบานในเขตลุมน้ําหวยขาว

สารมีพฤติกรรมที่เสี่ยงสุขภาพในเรื่องของการสวมหมวกกันนอคขณะขับขี่/ซอนทายรถจักรยานยนต โดยไมเคยปฏิบัติคิดเปนรอยละ 37.1 และไมเคยคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถหรือนั่งในรถยนต คิดเปนรอยละ 63.2 กลุมตัวอยางมีการสูบบุหรี่บางครั้งถึงสูบเปนประจําประมาณวันละ 5 - 10 มวน พฤติกรรมการบริโภคอาหารประเภทของทอด ปง ยางรมควัน หรือไขมันมากมีการปฏิบัติบอยครั้งและบางครั้งคิดเปนรอยละ 31.8 และ 51.7 ตามลําดับ สําหรับการออกกําลังกายหรือเลนกีฬาอยางนอย 20 นาที

Page 5: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 255242

และออกกําลังกายอยางนอย 3 วันตอสัปดาห ชาวบานไม เคยปฏิบัติคิดเปนรอยละ 45.3 และ 40.3 ตามลําดับ

ตารางที่ 1. แสดงรอยละของพฤติกรรมการบริโภคอาหารรายขอของกลุมตัวอยางในลุมน้ําหวยขาวสารในรอบ 1 ปที่ผานมา

ทานกินอาหารดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ เหลานี้หรือไม ไมกินเลย กินบางครั้ง กินเปนประจํา

1 ปลา เชน กอย ลาบปลา สมปลา สมปลานอย หม่ํา 49.8 47.6 2.72 ปลาราดิบ 17.5 40.3 42.23 เนื้อหมู วัว ควาย เชน กอย ลาบ สม หม่ํา ซกเล็ก 47.8 48.8 3.44 กุง เชน กุงเตน พลากุง สมกุง ลาบ กอย 60.7 37.2 2.05 หอยน้ําจืด เชน หอยโขงดิบ หอยเชอรี่ กอย ยํา 78.8 20.5 0.66 ปูน้ําจืด เชน ปูดอง เอาะปู ลาบปู 80.2 18.9 0.97 แย กิ้งกา เชน พลา กอย 88.4 11.1 0.58 ผักสดไมไดลาง เชน ผักแวน เทา ผักบุง 69.6 25.0 5.49 เห็ด 60.2 37.4 2.410. อื่นๆ - - -

เมื่อพิจารณาระดับความเสี่ยงตอสุขภาพในภาพรวมของชาวบานในเขตลุมน้ําหวยขาวสารพบวามีพฤติกรรมเสี่ยงอยูในระดับปานกลางสูงที่สุด (คะแนนพฤติกรรมอยูระหวาง 30.1 - 40.0) คิดเปนรอยละ 59.5 (95%CI: 57.4 -61.6) รองลงมาคือพฤติกรรมเสี่ยงโดยภาพรวมระดับสูง (คะแนนพฤติกรรมอยูระหวาง 0 - 30.0) คิดเปนรอยละ

37.3 (95% CI: 35.3 - 39.3) เมื่อพิจารณาระดับของพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพใน

กลุมเสี่ยง จะพบวา ตําบลสระสมิง โซนกลางน้ํา ตําบลทาชางและตําบลโพธิ์ใหญ ซึ่งอยูในโซนทายน้ําจะมีพฤติกรรมเสี่ยงสูง คิดเปนรอยละ 46, 44 และ 42 ตามลําดับ รายละ เอียดดังแผนภูมิที่ 1

แผนภูมิที่ 1. แสดงการเปรียบเทียบการจัดกลุมพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพแตละตําบล

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

โคกสวาง โพธิ์ใหญ นากระแซง นาสวง คําขวาง คูเมือง ทาชาง ธาตุ นาเยียนาดี ศรีไค สระสมิง ทุงเทิง

ตําบล

แสดงการจัดกลุมพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพลุมน้ําหวยขาวสาร

ต่ํา

ปานกลาง

สูง

Page 6: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 43

พฤติกรรมการปองกันโรคพฤติกรรมการปองกันโรค พบวา กลุมตัวอยางมีการ

นอนกางมุงเพื่อปองกันยุงกัดเปนประจําคิดเปนรอยละ 81.6 มีจํานวนรอยละ 13.1 ที่ไมเคยปฏิบัติ กลุมตัวอยางไมเคยใสรองเทาบูทมากที่สุด คิดเปนรอยละ 41.9 เมื่อมีการฉีดพนสารเคมีทางการเกษตร หรือการหวานปุยในนาขาว ไมเคยใชผาปดปาก-จมูก และใสเสื้อแขนยาวคิดเปนรอยละ 52.0 การลางมือกอนและหลังรับประทานอาหารสวนใหญจะมีการปฏิบัติเปนประจําคิดเปนรอยละ 90.5 อาหารที่รับประทานสวนใหญจะมีการปรุงสุกใหมๆ เปนประจําคิดเปนรอยละ 84.0 การลางมือหลังจากเขาหองน้ําหองสวม การคว่ํากะลา ปดฝาภาชนะใสน้ํา หรือเวลาไมสบายไปปรึกษาเจาหนาที่สาธารณสุข/แพทย มีการปฏิบัติเปนประจํา คิดเปนรอยละ 70 - 90

จากการศึกษายังพบวา กลุมตัวอยางจากอําเภอวารินชําราบ ตําบลธาตุ มีคาเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการปองกันโรคต่ําที่สุด (คาเฉลี่ยเทากับ 17.46) รองลงมาไดแก กลุมตัวอยางจากอําเภอเดชอุดม ตําบลนาสวง (คาเฉลี่ยเทากับ 17.96) และกิ่งอําเภอสวางวีระวงศ ตําบลทาชาง (คาเฉลี่ยเทากับ 18) ตามลําดับ

การวิเคราะหความเครียดกลุมตัวอยางมีความเครียดอยูในกลุมไมจริงใจ/ไม

แนใจคําถาม คิดเปนรอยละ 46.6 (95% CI: 44.5 - 48.7) รองลงมาคือ กลุมที่มีความเครียดอยูในเกณฑปกติ/ไมเครียด คิดเปนรอยละ 45.0 (95% CI: 42.9 - 47.1) สําหรับในกลุมที่มีความเครียดมาก คิดเปนรอยละ 1.6 (95% CI: 1.1 - 2.1) รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงจํานวน รอยละและชวงเชื่อมั่นของการจัดกลุมการประเมินและวิเคราะหความเครียดของกลุมตัวอยางในลุมน้ําหวยขาวสาร

กลุมการประเมินและวิเคราะหความเครียด จํานวน รอยละ 95% CIไมจริงใจ/ไมแนใจคําถาม 1006 46.6 44.5 - 48.7ปกติ/ไมเครียด 971 45.0 42.9 - 47.1มีความเครียดสูงกวาปกติ 124 5.7 4.7 - 6.7มีความเครียดปานกลาง 24 1.1 0.7 - 1.5มีความเครียดมาก 34 1.6 1.1 - 2.1

5. สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลจากการศึกษาขอมูลภาวะสุขภาพของประชาชนใน

ลุมน้ําหวยขาวสาร พบวา ยังมีปญหาภาวะสุขภาพในเรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ พฤติกรรมการปองกันโรคและภาวะความเครียด นอกจากนี้ ยังมีขอมูลจากการสังเกตที่อาจมีผลตอภาวะสุขภาพ/ทาง ดานสิ่งแวดลอมและสังคม ดังนี้

1. สภาพแวดลอมของที่พักอาศัย ยังไมเปนระเบียบไมคอยรักษาความสะอาด โดยเฉพาะใน ตําบลโคกสวาง ที่อยูในโซนกลางน้ํา ประชาชนในหมูบานจะมีอาชีพเสริมดวยการสานสื่อจากตนกกเตย จึงนิยมปลูกตนกกเตยกันมาก นํามาซึ่งแหลงเพาะพันธุยุง ซึ่งเปนพาหะของโรคไขเลือด ออกหรือโรคที่มียุงเปนพาหะนําโรค การศึกษาสาเหตุของความยากจนจากการวิเคราะหโดยวิธีการประเมินปญหาแบบมีสวนรวม พบวาปจจัยภายนอกปจจัยหนึ่งที่สงผลตอความยากจนคือ สภาพแวดลอมภายในชุมชนไมนาอยูและ

ไมถูกสุขลักษณะ ทําใหเปนแหลงแพรของเชื้อโรค สงผลใหคนในชุมชนมีสุขภาพออนแอและมีประสิทธิภาพในการทํางานลดลง (สุวิทย วิบูลยผลประเสริฐ, 2549) ดังนั้น ตองไดรับการใหสุขศึกษาถึงวิธีการปองกันยุงกัด การกําจัดแหลงเพาะพันธุยุง ตลอดจนใหมีการสงเสริมสุขภาพในเรื่องของการรักษาความสะอาด เปนตน

2. จากการสัมภาษณในหมูบาน สวนใหญผูที่ใหขอ มูลจะเปนผูสูงอายุ และเด็กวัยรุนตอนตน ผูใหญซึ่งอยูในวัยแรงงานจะไปทํางานใหผูสูงอายุอยูบาน ซึ่งโครงสรางประ ชากรที่เปลี่ยนไป สัดสวนของเด็กลดลงและสัดสวนของประชากรวัยทํางาน และผูสูงอายุเพิ่มขึ้น จะสงผลตอแนว โนมในอนาคต (สุวิทย วิบูลยผลประเสริฐ,2549) เพราะจะทําใหมีผูสูงอายุมากขึ้น กอใหเกิดภาวะพึ่งพิงของผูสูงอายุ ทําใหครอบครัวตองรับภาระเพิ่ม ทําใหประชาชนยากจนเพิ่มขึ้น

Page 7: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 255244

3. การพิจารณาคาดัชนีมวลกายในแตละตําบล จะพบวา แตละตําบลจะมีคาดัชนีมวลกายในระดับเสี่ยงตอความอวนถึงอวนระดับที่ 3 ซึ่งเปนระดับที่ควรไดรับการใหคําปรึกษาจากแพทย ในชวงรอยละ 40 - 59 โดยเฉพาะตําบลทุงเทิง คําขวาง นากระแซง ซึ่งทั้ง 3 ตําบลจํานวนผูที่อยูในเกณฑเสี่ยงตอความอวนและอวนเปนจํานวนมากกวาตําบลอื่นๆ ดังนั้นควรไดรับการเฝาระวังอยางใกลชิด และทุกตําบลควรมีการใหสุขศึกษา คําแนะนําในการสงเสริมสุขภาพเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ และการออกกําลังกาย เนื่องจากภาวะอวน จะนํามาซึ่งการเกิดโรคตางๆ ตามมา เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เสนเลือดตีบ ขออักเสบ และหัวใจขาดเลือด เปนตน ซึ่งสงผลกระทบตอการทํางาน อันนําไปสูการไดมาซึ่งรายไดของครอบครัว

4. โรคประจําตัวที่ประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารเปนสวนใหญ ไดแก โรคกระเพาะอาหาร เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปวดเมื่อยกลามเนื้อ แขนขา กระดูก เปนตน ซึ่ง ถาหากไดมีการสงเสริมสุขภาพในเรื่องของการออกกําลังกาย การดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บปวยดวยโรคเหลานี้ที่ถูกตอง ทาทางที่ถูกตองในการทํางาน จะทําใหมีสุขภาพที่ดีและมีความสุขในการทํางานมากขึ้นได

5. ประชาชนสวนใหญ ทั้งในสวนตนน้ํา กลางน้ํา และทายน้ํา จะใชสวัสดิการบัตรทอง 30 บาทในการรับบริการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปวย และนิยมไปรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปวยที่สถานพยาบาลของรัฐ ไมวาจะเปนสถานีอนามัย หรือโรงพยาบาลประจําอําเภอ และมีประชาชนบางสวนที่ไปรับบริการจากสถานพยาบาลเอกชน โดยใหเหตุผลวาเนื่องจากมีความสะดวกสบาย และเคยไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลของรัฐแลวไมหาย ซึ่งจะสอดคลองกับดัชนีชี้วัดความยากจน ของ สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ (2549) ที่กลาวไววา ตัวแปรดานสุขภาพ ที่สําคัญตัวแปรหนึ่งในการวัดความยากจนของประชาชนคือ การบริการทางการ แพทยที่มีราคาแพง มีปญหาดานสุขภาพและปญหาความเสมอภาค ถาประชาชนเจ็บปวยตองจายเงินเองเพื่อจะไดรับการบริการที่ดี และความสะดวกรวดเร็ว ประกอบกับความไมเทาเทียมกันในการเขาถึงบริการและสวัสดิการสุขภาพที่แตกตางกัน ซึ่งจากผลการศึกษาจะสอดคลองกับดัชนีชี้วัดความยากจนสุขภาพไดอยางชัดเจน ดังนั้นควรตองมีการสงเสริมสุขภาพใหกับประชาชนเพื่อลดการเจ็บ ปวย

6. ประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสารนิยมใชรถจักร ยานยนตเปนพาหนะในการเดินทาง ซึ่งโดยสวนใหญจะไม

คอยนิยมสวมหมวกกันนอค โดยมีพฤติกรรมเสี่ยงตอสุข ภาพในเรื่องอื่นๆ ดวย เชน เรื่องการไมคาดเข็มขัดนิรภัย การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การรับประทานอาหารที่มีไขมันมาก แตไมนิยมที่จะออกกําลังกาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในตําบลสระสมิง รองลงมา ไดแกตําบลทาชาง ตําบลโพธิ์ใหญ ซึ่งทั้ง 3 ตําบลนี้จะมีคาคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพสูง ซึ่งควรสรางความตระหนักใหเกิดแกประชาชนหรือนําขอมูลจากการวิจัยเสนอตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อตรวจจับหรือออกกฎระเบียบใหรัดกุมเพื่อลดการเจ็บ ปวยจากการขับขี่ยานพาหนะ

7. ประชาชนลุมน้ําหวยขาวสารมีพฤติกรรมการปองกันโรคที่เสี่ยงตอภาวะสุขภาพ คือ การไมนอนกางมุง รอยละ 13.1 พฤติกรรมการไมสวมใสรองเทาบูทเวลาทํานาหรือเดินในที่น้ําขัง คอนขางสูงคิดเปนรอยละ 41.9 ซึ่งพฤติกรรมนี้นํามาสูโรคเลปโตสไปโรซีส (โรคฉี่หนู) และเมื่อพิจารณาขอมูลปฐมภูมิในเรื่องพฤติกรรมการปองกันโรคกับขอมูลทุติยภูมิในเรื่องของอัตราการปวยของโรคไขไมทราบสาเหตุ จะพบวาตําบลธาตุ ซึ่งอยูในโซนทายน้ํา และตําบลนาสวงซึ่งอยูในโซนกลางน้ํา มีคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการปองกันโรคต่ํา มีอัตราการปวยดวยโรคไขไมทราบสาเหตุคอนขางสูง แสดงใหเห็นวา พฤติกรรมการปองกันโรคกับการเกิดโรค อาจจะมีความสัมพันธกัน ดังนั้นควรมีการใหสุขศึกษาเพิ่มเติมในสวนของการปองกันโรคตางๆ ที่กําลังเปนปญหาในเขตลุมน้ําหวยขาวสาร

8. ปญหาเรื่องของภาวะความเครียดในสวนของประชาชนในลุมน้ําหวยขาวสาร โดยสวนใหญจะอยูในกลุมปกติ/ไมมีความเครียด สําหรับในกลุมที่มีความเครียดสูงกวาปกติถึงมีความเครียดมาก เมื่อพิจารณาขอมูลทุติยภูมิแสดงจํานวนผูปวยทางสุขภาพจิตประกอบจะพบวา ขอมูลมีความสอดคลองกัน คือ ตําบลนาสวงจะมีผูปวยทางดานสุขภาพจิตสูงที่สุด รองลงมาไดแก ตําบลนากระแซง โพธิ์ใหญ ตามลําดับ ซึ่งผลจากการวิเคราะหภาวะความเครียดของขอมูลปฐมภูมิจะพบวาตําบลนากระแซงมีภาวะความ เครียดในกลุมที่มีความเครียดสูงกวาปกติถึงเครียดมากสูงที่สุด รองลงมาไดแก ตําบลโคกสวางกับตําบลนาสวง ตามลําดับ ดังนั้น จึงควรมีการใหคําแนะนําในการหาวิธีการลดความเครียดใหกับประชาชนในกลุมดังกลาว

ปญหาอุปสรรค1. จํานวนครัวเรือนจากขอมูลที่ไดรับรายงานกับ

ขอมูลที่สํารวจจริงไมตรงกัน โดยสวนใหญขอมูลจากการ

Page 8: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2552 45

สํารวจมีนอยกวาขอมูลรายงาน ทําใหกลุมเปาหมายที่ตองการเก็บขอมูลนอยกวาจํานวนขอมูลที่ตองการ

2. ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลอยูในชวงฤดูฝนซึ่งเปนฤดูทํานา ประชาชนสวนใหญไมอยูบาน เนื่อง จากตองออกไปทํานา ทําใหการเก็บขอมูลต่ํากวาเปาหมายที่กําหนด

3. ชาวบานที่ใหขอมูลตามครัวเรือนสวนใหญเปนกลุมผูใหญตอนปลาย ผูสูงอายุ และเด็กวัยรุนตอนตน ทําใหขอมูลที่ไดเปนขอมูลของกลุมอายุดังกลาว

ขอเสนอแนะ1. ขอมูลประชากรและครัวเรือนที่ตองการศึกษา

ผูรับผิดชอบควรจัดหาใหเปนปจจุบัน หรือใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด

2. การจะไดขอมูลครอบคลุมตามจํานวนกลุมเปา หมายและทุกชวงวัย ควรเขาไปเก็บขอมูลในชวงเย็นหลัง จากที่ประชาชนกลับจากการทํางานและทํานา

3. ควรมีการวางแผนการสงเสริมสุขภาพใหกับประชา ชนในเขตลุมน้ําหวยขาวสาร ในเรื่องของการใหสุขศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การปองกันโรคตางๆ ทั้งโรคติดเชื้อและโรคไรเชื้อ ตลอดจนการใหสุขศึกษาเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การคลายความเครียดดวยวิธีการตางๆ ใหกับประชาชนในกลุมที่ยังมีปญหา เพื่อใหมีสุขภาพรางกาย จิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ สามารถทํางานไดอยางปกติสุขและมีความสุข อีกทั้ง ควรใหมีชาวบานเขามามีสวนรวมในการเปนผูนําในเรื่องดังกลาว เพื่อใหมีตัวแทนของชาวบานในการใหความรูในเรื่องเหลานี้ตอไป

กิตติกรรมประกาศคณะผูวิจัยขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่

ไดสนับสนุนทุนในการดําเนินการวิจัย ภายใตโครงการ วิจัยการพัฒนาเพื่อแกปญหาความยากจนในเขตลุมน้ําขาวสาร ประเด็นภาวะสุขภาพของประชาชน ประจําปงบประมาณ 2549 และขอขอบคุณ ผูนําชุมชนและประชาชนในเขตลุมน้ําหวยขาวสารที่ไดกรุณาใหความรวมมือในการตอบแบบสัมภาษณในการศึกษาครั้งนี้

เอกสารอางอิงประเวศ วะสี. สรางเสริมสุขภาพภาวะแหงแผนดิน.

กรุงเทพฯ: 2544. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

มานิตย ประพันธศิลป. การสรางเสริมสุขภาพคนทํางานในสถานประกอบการ. นนทบุรี : 2543. สํานักวิชาการ โครงการตํารา กรมอนามัย.

สุวิทย วิบูลประเสริฐผล, 2549. Thailand Development Research Institute. “สถานการณความยากจนในประเทศไทย”.[ สืบคนเมื่อ 20 ตุลาคม 2549.] URL; http:// www.tdri.or.th/poverty/report.htm.

สภาพทั่วไปและสภาพแวดลอมของบานในพื้นที่ลุมน้ําหวยขาวสาร

ที่กักเก็บน้ํามีฝาปดมิดชิด

สภาพน้ําขัง

Page 9: ภาวะสุขภาพของประชาชนในลุ ม ... for ThaiScience/Article/63...38 วารสารว ชาการ ม.อบ. ป ท 11 ฉบ

วารสารวิชาการ ม.อบ. ปที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 255246

ใตถุนบานเลี้ยงวัว - ควาย ชาวบานปลูกตนกกเตยเพือ่สานทําเสื่อ