บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2...

30
บทที2 ไอทีคืออะไร 1 บทที2 ไอทีคืออะไร บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้มีการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศที่อานวยความสะดวกสบายต่อการดารงชีวิตมากขึ้นเช่น การบันทึกกาหนดการของแต่ละวันด้วยสมาร์ท โฟน การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต การส่งข้อมูลมัลติมีเดียต่างๆผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยสมาร์ทโฟน การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการคิดราคาสินค้าตามห้างสรรพสินค้า และการคิดเงินเดือนพนักงานของบริษัท เป็น ต้น สาหรับการเรียนการสอนในบทเรียนนี้จะนาเสนอเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน และระบบสารสนเทศที่มี ประโยชน์ต่อนิสิตในด้านต่างๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านบันเทิง ด้านการเงินการธนาคาร และระบบสารสนเทศของ หน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น ก่อนอื่นเราจาเป็นต้องศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อ ถัดไป ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology) คือ การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อ นามาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ อาทิเช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีด้านเครือข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสาร และอาศัยความรู้กระบวนการดาเนินงานสารสนเทศตั้งแต่ ขั้นตอนการแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ ตลอดจนถึงการเผยแพร่สารสนเทศและแลกเปลี่ยนสารสนเทศ เพื่อ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยา และความรวดเร็วต่อการนามาใช้ประโยชน์ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญ 2 ส่วน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) คอมพิวเตอร์ หมายถึง “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับ แก้ปัญหาต่างๆ ท้งที่ง่าย และซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์” (ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) จากคานิยามข้างต้นสามารถนามาเขียนโดยสรุป คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่มีความสามารถใน การคานวณอัตโนมัติตามชุดคาสั่ง สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับปัญหาเล็ก จนถึงปัญหาใหญ่ได้ โดยมีกระบวนการ

Transcript of บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2...

Page 1: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 1

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร

บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ท าให้มีการคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยี

สารสนเทศที่อ านวยความสะดวกสบายต่อการด ารงชีวิตมากขึ้นเช่น การบันทึกก าหนดการของแต่ละวันด้วยสมาร์ท

โฟน การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต การส่งข้อมูลมัลติมีเดียต่างๆผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยสมาร์ทโฟน

การใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการคิดราคาสินค้าตามห้างสรรพสินค้า และการคิดเงินเดือนพนักงานของบริษัท เป็น

ต้น ส าหรับการเรียนการสอนในบทเรียนนี้จะน าเสนอเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน และระบบสารสนเทศที่มี

ประโยชน์ต่อนิสิตในด้านต่างๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านบันเทิง ด้านการเงินการธนาคาร และระบบสารสนเทศของ

หน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น ก่อนอื่นเราจ าเป็นต้องศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อ

ถัดไป

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพ่ือ

น ามาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ อาทิเช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ และ

เทคโนโลยีด้านเครือข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสาร และอาศัยความรู้กระบวนการด าเนินงานสารสนเทศตั้ งแต่

ขั้นตอนการแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ ตลอดจนถึงการเผยแพร่สารสนเทศและแลกเปลี่ยนสารสนเทศ เพื่อ

เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นย า และความรวดเร็วต่อการน ามาใช้ประโยชน์

องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานที่ส าคัญ 2 ส่วน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ

เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม

1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology)

คอมพิวเตอร์ หมายถึง “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ท าหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้ส าหรับ

แก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่าย และซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์” (ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.

2542) จากค านิยามข้างต้นสามารถน ามาเขียนโดยสรุป คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่มีความสามารถใน

การค านวณอัตโนมัติตามชุดค าสั่ง สามารถน าไปประยุกต์ใช้กับปัญหาเล็ก จนถึงปัญหาใหญ่ได้ โดยมีกระบวนการ

Page 2: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 2

ท างาน ตั้งแต่การรับข้อมูลเข้า (Input) เพ่ือท าการประมวลผล (Process) และน ามาแสดงผลลัพธ์ (Output)

ตลอดจนถึงการเก็บข้อมูล (Storage) จึงท าให้คอมพิวเตอร์น าไปใช้กันอย่างกว้างขวาง เช่น การฝาก-ถอนเงินใน

ธนาคาร การตรวจคลื่นความถ่ีหัวใจ การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น

2. เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม

เป็นองค์ประกอบที่ท าหน้าที่เผยแพร่ แลกเปลี่ยนสารสนเทศไปยังผู้ที่ต้องการในแหล่งต่างๆ ได้อย่าง

สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสถานการณ์ โดยสารสนเทศในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบที่ใช้ในการ

แลกเปลี่ยนซึ่งกัน หากมองย้อนไปในอดีต การติดต่อสื่อสารอาจเป็นเพียงการเขียนบรรยายลักษณะข้อความและส่ง

จดหมายถึงกัน จากอดีตจนถึงปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วตามล าดับมีการใช้งานระบบเครือข่าย

เช่น โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุ ตลอดจนถึงโทรทัศน์ ที่ท าให้ข่าวสาร สารสนเทศต่างๆ กระจายอย่าง

กว้างขวาง และหลากหลายรูปแบบมากขึ้น

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศแยกตามขนาด 1. เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดเล็ก

เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดเล็ก โดยส่วนมากเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับ

อ านวยความสะดวกในด้านต่างๆ เฉพาะบุคคลที่จ าเป็นต้องใช้ในชีวิตประจ าวัน โดยสามารถที่จะสนับสนุนให้การ

ด าเนินชีวิตประจ าวัน หรือการท างานของแต่ละบุคคลเป็นไปได้อย่างราบรื่น สามารถยกตัวอย่างเทคโนโลยีต่างๆ

ได้ดังนี ้

คอมพิวเตอร์ (Computer)

ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปจากยุคแรกที่เครื่องมีขนาดใหญ่ท างานได้ช้า ความสามารถต่ า

และใช้พลังงานสูง เป็นการใช้เทคโนโลยีวงจรรวมขนาดใหญ่ (Very Large Scale Integrated : VLSI) ในการผลิต

ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ท าให้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนการประมวลผลพัฒนาขึ้น

อย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาหน่วยความจ าให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง ซึ่งช่วยเพ่ิม

ศักยภาพในการท างานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปัจจุบัน ท าให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีความสามารถเท่า

เทียมหรือมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน ตลอดจนการน าคอมพิวเตอร์ชนิดลดชุดค าสั่ง

(Reduced Instruction Set Computer : RISC) มาใช้ ในการออกแบบห น่ วยประมวลผล ท าให้ เครื่ อง

Page 3: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3

คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้นนอกจากนี้พัฒนาการและการประยุกต์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งสาขา

วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีการประมวลผลตามหลัก

เหตุผลของมนุษย์หรือระบบปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อต่อไป

สมาร์ทโฟน(Smart Phone)

สมาร์ทเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีความสามารถที่เพ่ิมเติมนอกเหนือจากโทรศัพท์มือถือทั่วไปสมาร์ท

โฟนมีลักษณะคล้ายเป็นคอมพิวเตอร์พกพาที่สามารถท างานในลักษณะของโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยที่สามารถ

เชื่อมต่อความสามารถหลักของโทรศัพท์มือถือ ร่วมกับแอปพลิเคชันของโทรศัพท์ได้ผู้ใช้งานสามารถติดตั้ง

โปรแกรมเสริมส าหรับเพ่ิมความสามารถของโทรศัพท์ได้ด้วยตนเอง โดยรูปแบบนั้นขึ้นอยู่กับแพลตฟอร์มของ

โทรศัพท์และระบบปฏิบัติการของโทรศัพท์เคลื่อนที่

แท็บเล็ต(Tablet)

เป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพาเคลื่อนที่ได้ ใช้หน้าจอสัมผัสในการท างาน โดยถูก

พัฒนาให้มีความสามารถใกล้เคียงคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook Computer) ใช้คีย์บอร์ดเสมือนจริง โดยมี

ขนาดไม่ใหญ่มาก น้ าหนักเบา สามารถถือได้ด้วยมือเดียว ท าให้สะดวกต่อการพกพา

GPS

เป็ นระบบที่ ใช้ แสดงต าแหน่ งบน พ้ื น โลก โดยท าการก าหนดต าแหน่ งบน พ้ืน โลกผ่ าน

ดาวเทียม Global Positioning System (GPS) ซึ่งพิกัดบนพ้ืนโลกได้มาจากการค านวณความถ่ีสัญญาณนาฬิกาที่

ส่งมาจากดาวเทียม มาที่เครื่องรับสัญญาณGPS ส่วนดาวเทียมที่ใช้กับระบบ GPS เพ่ือให้สามารถใช้ระบุต าแหน่ง

ได้นั้น ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะให้โคจรรอบโลก เพ่ือส่งข้อมูลที่จะน าไปใช้ค านวณพิกัดออกมาตลอดเวลา การ

สะท้อนกลับของคลื่นไมโครเวฟ ระหว่างดาวเทียมและพ้ืนผิวโลก แน่นอนเมื่อเรารู้ต าแหน่งบนพ้ืนโลก เราก็

สามารถระบุต าแหน่งของดาวเทียมบนอวกาศได้ ดังนั้นในทางกลับกันดาวเทียมก็สามารถระบุต าแหน่งต่ างๆ บน

พ้ืนโลกได้เช่นกัน เมื่อมันโคจรผ่านต าแหน่งนั้น

Smart Card

เป็นบัตรพลาสติกที่มีชิป (Integrated Circuit : IC) ติดหรือฝังอยู่ในตัวบัตรพลาสติกมีขนาดเท่า

บัตรเครดิต เพ่ือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผลภายในตัวเองโดยวิธีการเข้ารหัสตามมาตรฐานเพ่ือให้

ระบบมีความปลอดภัยสูงขึ้น ด้วยคุณสมบัติที่ส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้สมาร์ทการ์ดมีความแตกต่างจากบัตร

Page 4: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 4

พลาสติกทั่วไปก็คือ ขณะท ารายการ(Transaction)สมาร์ทการ์ดสามารถท างานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องอาศัยการ

ติดต่อสื่อสารกับระบบหลัก(Font End) ในการประมวลผล และจัดเก็บข้อมูล สมาร์ทการ์ดสามารถท าได้อย่าง

รวดเร็วกว่าสื่อส าหรับเก็บข้อมูลชนิดอ่ืน ๆ ด้วยขนาดที่เท่ากับบัตรแถบแม่เหล็กท าให้สะดวกในการจัดเก็บและ

พกพา

บัตรเครดิตหรือบัตรสินเชื่อ (Credit Card)

เป็นบริการที่สถาบันทางการเงินต่างๆ ออกให้แก่ลูกค้า เพ่ือใช้จ่ายแทนเงินสด บัตรเครดิตที่รู้จักกัน

เช่น วีซ่ามาสเตอร์การ์ด เจซีบี อเมริกันเอกซ์เพรส ดิสคัฟเวอร์ และไดเนอร์สคลับ สามารถใช้ได้ตามจ านวนวงเงิน

บัตรที่อนุมัติหักออกด้วยค่าสินค้าและบริการที่ใช้จ่ายผ่านบัตร ค่าธรรมเนียม ดอกเบี้ย และหนี้สินคงค้างที่ยังไม่ได้

ช าระ

2. เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลาง

เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดกลางโดยส่วนใหญ่จะเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศส าหรับครอบครัว ใช้

ส าหรับอ านวยความสะดวกในครัวเรือน ในด้านการใช้ชีวิตประจ าวันในครอบครัว สามารถยกตัวอย่างเทคโนโลยี

ต่างๆ ได้ดังนี้

อินเทอร์เน็ต (Internet)

เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงไปทั่วโลก มีผู้ใช้งานหลายล้านคน ก าลังได้รับความ

นิยมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ในปัจจุบันมีการให้บริการเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตหลายรูปแบบ โดยรูปแบบที่ก าลังเป็นที่นิยมและใช้งานกันอย่างแพร่หลายก็คือแบบไร้สาย เช่น 3G,

4G เป็นต้น

โทรทัศน์ตามสาย ผ่านดาวเทียม และไอพีทีวี(Cable, Satellite and IP TV)

Page 5: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 5

การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผ่านสื่อต่าง ๆ ไปยังผู้ชม จะมีผลท าให้ข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ไปได้

อย่างรวดเร็วและครอบคลุมพ้ืนที่กว้างขึ้น โดยที่ผู้ชมสามารถเข้าถึงข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้มากขึ้น ส่ งผลให้ผู้ชม

รายการมีทางเลือกมากขึ้นและสามารถตัดสินใจในทางเลือกต่าง ๆ ได้เหมาะสมขึ้น

กล้องวงจรปิด หรือ Closed Circuit Television(CCTV)

ระบบการบันทึกภาพเคลื่อนไหวด้วยกล้องวงจรปิดเป็นระบบที่ ใช้ เพ่ือการรักษาความ

ปลอดภัย หรือใช้เพื่อสอดส่องดูแลเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆที่นอกเหนือจากความปลอดภัย

3. เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดใหญ่

เทคโนโลยีสารสนเทศขนาดใหญ่โดยส่วนใหญ่จะเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศส าหรับองค์กร ใช้ส าหรับ

สนับสนุนการท างานในด้านต่างๆ ในองค์กร อ านวยความสะดวกในการท างาน ท าให้การท างานเป็นไปได้ด้วยความ

สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นที่ยอมรับได้ ซึ่งเทคโนโลยีต่างๆสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้

ระบบเครือข่าย (Networking System)

โดยเฉพาะระบบเครือข่ายเฉพาะพ้ืนที่ (Local Area Network : LAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ได้

ภายในระยะทางที่ก าหนด ส่วนใหญ่จะภายในอาคารหรือในหน่วยงาน LAN มีส่วนช่วยเพ่ิมศักยภาพในการท างาน

ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้สูงขึ้น รวมทั้งการเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างาน การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการเพ่ิม

ความเร็วในการติดต่อสื่อสาร

การประชุมทางไกล (Teleconference)

เป็นการน าเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายโทรทัศน์ และระบบเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตผสมผสาน เพ่ือให้สนับสนุนในการประชุมมีประสิทธิภาพ โดยผู้น าเข้าร่วมประชุมไม่จ าเป็นที่จะต้องอยู่

ในห้องประชุมและพ้ืนที่เดียวกัน ซึ่งจะช่วยให้ประหยัดเวลาในการเดินทาง โดยเฉพาะในสภาวะการจราจรที่ติดขัด

ตลอดจนผู้เข้าประชุมอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลกันมาก

การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรม (Computer Base Training)

เป็นการน าเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ หรือการน าเอา

คอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการเรียนการสอนที่เรียกว่า “คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน (Computer Assisted

Page 6: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 6

Instruction : CAI)” การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการสอนเปิดช่องทางใหม่ในการเรียนรู้ โดยส่งเสริมประสิทธิภาพ

การเรียนรู้ ตลอดจนปรัชญาการเรียนรู้ด้วยตนเอง

การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (Computer Aided Design :CAD)

เป็นการน าเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์

รวมทั้งรูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์หรือการน าคอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบวิศวกรรมและ

สถาปัตยกรรมให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความเป็นจริง ตลอดจนช่วยลดต้นทุนการด าเนินงานในการ

ออกแบบ โดยเฉพาะในเรื่องของเวลา การแก้ไข และการจัดเก็บแบบ

เทคโนโลยีบ่งชี้ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ(Radio Frequency Identification : RFID)

เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุที่ได้ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ.1980 โดย

ประดิษฐ์ขึ้นใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Leon Theremin ซึ่งสร้างให้กับรัฐบาลของประเทศรัสเซียในปี ค.ศ. 1945 ซึ่ง

อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาในเวลานั้นท าหน้าที่เป็นเครื่องมือดักจับสัญญาณ ไม่ได้ท าหน้าที่เป็นตัวระบุเอกลักษณ์อย่างที่

ใช้งานกันในปัจจุบัน ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที่สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุ

จากระยะห่าง เพ่ือตรวจติดตามและบันทึกข้อมูลที่ติดอยู่กับป้าย ซึ่งน าไปฝังไว้ในหรือติดอยู่กับวัตถุต่างๆ เช่น

ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรือสิ่งของใดๆ สามารถติดตามข้อมูลของวัตถุ 1 ชิ้นว่าคืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็นผู้ผลิต ผลิต

อย่างไร ผลิตวันไหน และเมื่อไหร่ ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนกี่ชิ้น และแต่ละชิ้นมาจากที่ไหน รวมทั้งต าแหน่งที่ตั้งของ

วัตถุนั้นๆ ในปัจจุบันว่าอยู่ส่วนใด โดยไม่จ าเป็นต้องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือต้องเห็นวัตถุนั้นๆ ก่อน

ท างานโดยใช้เครื่องอ่านที่สื่อสารกับป้ายด้วยคลื่นวิทยุในการอ่านและเขียนข้อมูล

Page 7: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 7

ภาพที่ 2-1 ตัวอย่างห้องสมุดที่ใช้ RFID (http://libbest.com/rfid.html)

QR Code

เป็นบาร์โค้ด 2 มิติ ซึ่งมีความสามารถเก็บข้อมูลต่างๆได้ เช่น ชื่อ ราคาสินค้า เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ

และชื่อเว็บไซต์ เป็นการพัฒนามาจาก บาร์โค้ด โดยบริษัทเดนโซ-เวฟ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของโตโยต้า ประเทศ

ญี่ปุ่น คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1994 และได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ "QR Code" แล้วทั้งในญี่ปุ่น และทั่วโลก ผู้คิดค้นที่

พัฒนาคิวอาร์โค้ดมุ่งเน้นให้สามารถถูกอ่านได้อย่างรวดเร็ว มีลักษณะประกอบด้วยมอดูลสีด าเรียงตัวกัน มีสัณฐาน

สี่เหลี่ยม มีพ้ืนหลังสีขาว การอ่าน QR Code ท าได้โดยใช้เครื่องสแกน โทรศัพท์มือถือที่มีกล้อง และสมาร์ตโฟน

บทบาทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการด าเนินชีวิตของเรา เนื่องด้วยวิวัฒนาการด้านการ

สื่อสารโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ท าให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึงแบ่งปันข้อมูลได้อย่าง

สะดวกและรวดเร็วตัวอย่างบทบาทของระบบสารสนเทศ เช่น การลงทะเบียนออนไลน์ การเพ่ิม-ถอนวิชาเรียน

การจองตั๋วภาพยนตร์ เป็นต้น โดยสามารถแบ่งตามบทบาทของระบบสารสนเทศได้ดังนี้

ระบบสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน ในชีวิตประจ าวันของเรามีระบบสารสนเทศที่อ านวยความสะดวกในด้านต่างๆมากมาย เช่น ด้าน

การศึกษาด้านการเงินการพาณิชย์ ด้านการสาธารณสุข และด้านความบันเทิง

Page 8: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 8

ด้านการการศึกษา

เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาท และสร้างประโยชน์อย่างมากแก่สถานศึกษาท้องถิ่นทุรกันดาร และ

สถานศึกษาที่ของการเรียนการสอนที่อาจมีอุปสรรค แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามาลดปัญหาดังกล่าวได้

บ้าง เช่น การถ่ายทอดสัญญาณรายการสอนผ่านเครือข่ายดาวเทียมส าหรับนักเรียนในถิ่นทุรกันดารของกรมการ

ศึกษานอกโรงเรียน การให้บริการการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียงของมหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมมาธิราช การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และระบบการเรียนรู้แบบออนไลน์เป็นต้น

การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI)

เป็นการน าความรู้มาอธิบายเป็นบทเรียนและบรรจุไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ และน าบทเรียนนั้นมา

แสดงแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนอ่านค าอธิบายนั้นแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์จะมีแบบทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน หาก

พบว่าผู้เรียนท าแบบทดสอบข้อใดไม่ถูกต้อง ระบบคอมพิวเตอร์จะแสดงเนื้อหาของบทเรียนเพ่ิมเติมเพ่ือให้ผู้เรียน

เข้าใจมากข้ึน แล้วจึงท าการทดสอบอีกครั้งซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนาใช้สื่อประสมเข้ากับเทคนิคต่างๆ เพ่ือให้การ

สอนบรรลุผลสัมฤทธิ์มากขึ้น

ภาพที่ 2-2 ตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ระบบการศึกษาทางไกล (Distance Education)

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการศึกษาทางไกลมีหลายแบบ เริ่มจากแบบเข้าถึงง่าย เช่น การใช้

วิทยุ โทรทัศน์ ออกอากาศให้ผู้เรียนศึกษาเอง ตามเวลาที่ออกอากาศ ไปจนถึงการใช้ระบบแพร่ภาพผ่าน

Page 9: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 9

ดาวเทียม หรือการประยุกต์ใช้ระบบประชุมทางไกล (Video Teleconference) โดยใช้ผู้สอน ที่ผู้เรียนสามารถ

สื่อสารถึงกันได้ทันทีเพ่ือสอบถามข้อสงสัยหรืออธิบายค าสอนเพ่ิมเติม

การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)

การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning )หรือ e-Learning คือการเรียนรู้แบบ

ออนไลน์ โดยพัฒนาการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต ซึ่งต้องประกอบด้วย

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสอน เทคโนโลยีเครือข่าย เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเรียน

ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนประกอบด้วยข้อความ รูปภาพ วิดีโอ และ

มัลติมีเดียอื่นๆ ซึ่งถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านระบบเครือข่าย ท าให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ง่าย โดยผู้เรียน ผู้สอน และ

เพ่ือนร่วมชั้นทุกคนสามารถติดต่อปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ผ่าน อีเมล์ เว็บบอร์ด และ แชต

(Chat) จึงเป็นการเรียนส าหรับทุกคน ทุกเวลา ทุกสถานที่

ภาพที่ 2-3 ตัวอย่างระบบการเรียนการสอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยบูรพา

Page 10: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 10

ภาพที่ 2-4 ตัวอย่างระบบการเรียนการสอนออนไลน์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

ด้านการเงินการธนาคาร

เทคโนโลยีสารสนเทศส าหรับแวดวงธุรกิจ การเงิน การธนาคาร มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

เพ่ือเป็นตัวขับเคลื่อนการด าเนินงานหลักของธุรกิจให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ เช่น การฝากถอนเพ่ือท ารายการ

ด้านการเงินของธนาคารแบบอัตโนมัติ (ATM) ระบบท าธุรกรรมออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (E-Banking)

ระบบช าระค่าน้ าประปา และไฟฟ้า เป็นต้น

ระบบท าธุรกรรมออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (E-Banking)

ระบบสารสนเทศของสถาบันการเงิน ที่ให้บริการลูกค้าในการเข้าถึงบัญชีธนาคารของตน เพ่ือท า

ธุรกรรมต่างๆผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง E-Banking สามารถเรียกได้หลายอย่าง เช่น Internet Banking,

Cyber Banking และ Online Banking เป็นต้น

Page 11: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 11

ภาพที่ 2-5 ตัวอย่างระบบ E-Banking

ระบบช าระค่าน้ าค่าไฟฟ้า

ระบบสารสนเทศที่ให้บริการรับช าระค่าน้ าประปา และไฟฟ้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเพ่ิมความ

สะดวกให้กับผู้ใช้บริการสามารถสอบถามข้อมูลการใช้น้ าประปา/ไฟฟ้า ตรวจสอบการใช้ย้อนหลัง และช าระ

ค่าบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ภาพที่ 2-6 ตัวอย่างระบบช าระค่าน้ าประปา

ภาพที่ 2-7 ตัวอย่างระบบช าระค่าไฟฟ้า

ด้านการสาธารณสุข

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านสาธารณสุข ได้มีการน าไปใช้สนับสนุนและแลกเปลี่ยน

ข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยที่เรียกว่า “โครงการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)” โดยน าเอาความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยีด้านการสื่อสารมาประยุกต์ใช้กับงานด้านการแพทย์ โดยใช้การส่งสัญญาณผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น

สัญญาณดาวเทียม และใยแก้วน าแสง เป็นต้น โดยแพทย์ต้นทางและปลายทางสามารถติดต่อกันได้ด้วย

Page 12: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 12

ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ท าให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลของคนไข้ระหว่างหน่วยงานได้ ทั้งทางด้านกายภาพ เช่น

ฟิล์มเอ็กซ์เรย์ และสัญญาณเสียงจากเครื่องมือแพทย์ พร้อมกับแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรึกษาเสมือนกับ

คนไข้อยู่ในห้องเดียวกัน ท าให้ประสิทธิภาพในการรักษาคนไข้ดีมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถลดปัญหาการขาดแคลน

บุคลากรผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์ในท้องถิ่นทุรกันดาร การแพทย์ทางไกลได้น ามาประยุกต์ใช้กับการถ่ายทอดการ

เรียนการสอนและการประชุมวิชาการทางการแพทย์เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย นอกจากนี้

ยังมีการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีในลักษณะอ่ืน เช่น ส าหรับงานสาธารณสุขในท้องถิ่นท่ีห่างไกล หน่วยงานอาจจะ

ไม่สามารถเตรียมยารักษาโรค เครื่องมือตรวจรักษา หรือทีมแพทย์ได้อย่างพอเพียง จึงได้มีการพัฒนาระบบการ

ดูแลป้องกันโรคระบาดในท้องถิ่นที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบที่จัดเก็บจ านวนประชากรของราชการที่สามารถ

สืบค้นได้ว่าท้องถิ่นของผู้ป่วยโรคระบาด มีประชากรจ านวนเท่าใด ชาย หญิง และเด็กเป็นจ านวนเท่าใด เพ่ือเตรียม

อุปกรณ์ บุคลากรได้อย่างพอเพียง ระบบลักษณะนี้สามารถขยายผลไปสู่ ระดับอ าเภอและจังหวัดตามล าดับ

ด้วยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารที่ก้าวหน้าได้มีการพัฒนาหุ่นยนต์โดย

บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ ากัด ที่ออกแบบมาเพ่ือเฝ้าดูแลผู้สูงอายุ สามารถแจ้งเตือนเรียกแพทย์ฉุกเฉินได้ทันที

ผ่านจอสัมผัส และกล้องสามมิติที่สามารถดูอากัปกิริยาของผู้สูงอายุ รวมถึงมีระบบวิดีโอคอลเพ่ือให้ผู้สูงอายุ

สามารถสื่อสารกับแพทย์และลูกหลานได้โดยที่ผู้สูงอายุไม่จ าเป็นต้องสัมผัสหรือเรียนรู้การใช้งานใดๆ เพราะ

หุ่นยนต์จะบริการเชื่อมต่อและรับสายให้อัตโนมัติ

ภาพที่ 2-8 ตัวอย่างหุ่นยนต์ดินสอมินิส าหรับดูแลผู้สูงอายุ

(ภาพจาก http://www.dailynews.co.th/imagecache/670x490/cover/216872.jpg)

Page 13: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 13

ด้านความบันเทิงและบริการทั่วไป

ด้วยเทคโนโลยีที่เข้าถึงได้ง่ายในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้น ามาประยุกต์กับงานด้านการบันเทิง

เพ่ือให้ลูกค้าที่ใช้บริการสามารถเข้าถึงบริการของแต่ละธุรกิจได้ง่ายขึ้น สามารถประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายในการ

เดินทางของลูกค้า รวมถึงเป็นการเพ่ิมช่องทางการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจได้อีกทางหนึ่ง ตัวอย่างระบบสารสนเทศ

ด้านความบันเทิง เช่น ระบบจองตั๋วภาพยนตร์ และระบบจองตั๋วรถไฟ เป็นต้น

ภาพที่ 2-9 ตัวอย่างระบบจองตั๋วภาพยนตร์

ภาพที่ 2-10 ตัวอย่างระบบจองตั๋วรถไฟ

ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

การวิเคราะห์สภาพพ้ืนที่ภูมิศาสตร์ที่มีความแตกต่างกันได้ ใช้ เทคโนโลยีที่ เรียกว่า Geographic

Information System(GIS) หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์มาในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทาง

ภูมิศาสตร์ โดยการก าหนดข้อมูลด้านต าแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (Ground Position) ซึ่งรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้ง

ข้อมูลพ้ืนที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม เพ่ือน ามาเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาผังเมือง

รวมถึงน ามาประยุกต์ใช้ทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศ และการควบคุมสิ่งแวดล้อมให้ก้าวหน้าไปใน

ทิศทางท่ีถูกต้องเหมาะสม

Page 14: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 Information System

ภาพที่ 2-11 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ GIS เพ่ือ

วิเคราะห์และส ารวจ

ภาพที่ 2-12 ตัวอย่างระบบน าทาง

ภาพที่ 2-13 ตัวอย่างระบบน าทาง (GPS) ผ่านสมาร์ทโฟน

ด้านหน่วยงานรัฐบาล

หน่วยงานราชการเป็นหน่วยงานที่มีผู้ เข้ามาใช้บริการจ านวนมาก และส่วนใหญ่ เป็นงานเอกสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถน ามาประยุกต์ให้สามารถจัดเก็บข้อมูลที่มีปริมาณมาก ให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้

Page 15: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 15

อย่างรวดเร็ว และบางหน่วยงานได้ประยุกต์เป็นช่องทางให้บริการรับช าระค่าบริการต่างๆ แทนการมาใช้บริการที่

หน่วยงาน เพ่ือลดเวลา ค่าใช้จ่าย และสร้างความสะดวกให้กับประชาชนมากขึ้น ตัวอย่างระบบสารสนเทศของ

หน่วยงานราชการมีดังนี้

ระบบรับช าระภาษีออนไลน์ (E-Filling)

ระบบสารสนเทศที่อ านวยความสะดวกแก่ผู้มีเงินช าระภาษีได้ตามช่วงวันที่หน่วยงานก าหนด สามารถ

เข้าถึงได้ที่ http://rdserver.rd.go.th/publish/index.php

ระบบรับช าระภาษีรถออนไลน์

ระบบสารสนเทศที่ให้บริการรับช าระภาษีรถ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเข้าถึงได้

ทีh่ttps://www.dlte-serv.in.th/dltWeb/

ภาพที่ 2-14 ตัวอย่างระบบช าระภาษีออนไลน์

ภาพที่ 2-15 ตัวอย่างระบบช าระภาษีรถออนไลน์

Page 16: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 16

ระบบสารสนเทศในมหาวิทยาลัย ระบบสารสนเทศในมหาวิทยาลัยบูรพานั้นมีอยู่หลายระบบด้วยกัน ซึ่งพัฒนาขึ้นมาเพ่ือรองรับความ

ต้องการในการใช้งานและเพ่ืออ านวยความสะดวกแต่ผู้ใช้ โดยแบ่งตามความต้องการในการใช้งาน ได้แก่

ระบบบริการการศึกษา หรือระบบทะเบียน

ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นมาเพ่ือรองรับการใช้งานของนิสิตในด้านข้อมูลการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา

โดยข้อมูลของนิสิตถูกจัดเก็บอยู่ในระบบนี้ทั้งหมด ซึ่งระบบสามารถอ านวยความสะดวกให้แก่นิสิตในเรื่องการ

ลงทะเบียนเรียน ตรวจสอบการลงทะเบียนเรียน ตรวจสอบตารางเรียน ตรวจสอบผลการเรียน ตรวจสอบ

ตารางสอนของอาจารย์ พิมพ์ใบแจ้งหนี้ค่าเทอม เป็นต้นนิสิตสามารถเข้าถึงระบบบริการการศึกษาหรือระบบ

ทะเบียนได้ที่ http://reg.buu.ac.th

ระบบหอสมุด

ระบบที่พัฒนาขึ้นมาเพ่ือรองรับการใช้งานของนิสิตในด้านการค้นหาสารสนเทศต่างๆ เช่น หนังสือ

วีดิทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ วารสารวิชาการ เอกสารวิชาการ เป็นต้น ซึ่งเอกสารบางส่วนสามารถเรียกใช้งานผ่านระบบ

เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ทันที ท าให้นิสิตสามารถใช้งานสารสนเทศท่ีต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดย

นิสิตสามารถเข้าถึงระบบหอสมุดได้ที่ http://www.lib.buu.ac.th

ภาพที่ 2-16ตัวอย่างระบบบริการการศึกษาหรือ

ระบบทะเบียน

ภาพที่ 2-17ตัวอย่างระบบหอสมุด

Page 17: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 Information System

ระบบประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอน

ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการประเมินการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา โดยอ านวยความสะดวกในการ

ประเมินการเรียนการสอนให้แก่นิสิตในช่วงปลายภาคการศึกษา หรือหลังจากส าเร็จการศึกษาในแต่ละรายวิชาแล้ว

ซึ่งข้อมูลการประเมินการเรียนการสอนของนิสิตถูกเก็บไว้เป็นความลับ ท าให้นิสิตสามารถที่จะประเมิ นได้ตาม

ความเป็นจริงของการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นในตลอดภาคการศึกษาที่ผ่านมา ข้อมูลที่ได้จากการประเมินของนิสิต

จะถูกน าไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในทุกๆคณะของมหาวิทยาลัยบูรพาโดยนิสิตสามารถ

เข้าถึงระบบประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอนได้ที่ http://assess.buu.ac.th/new/

ระบบการเรียนการสอนออนไลน์

ระบบการเรียนการสอนออนไลน์เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาเพ่ือรองรับการใช้งานในด้านการเรียนการสอน

ผ่านระบบออนไลน์ โดยอ านวยความสะดวกในด้านการเรียนแก่นิสิตท าให้นิสิตสามารถที่จะเข้ามาเรียนย้อนหลัง

ผ่านระบบนี้จากสถานที่ไหน เวลาใดก็ได้ ซึ่งนิสิตสามารถท ากิจกรรมต่างๆ ผ่านระบบได้ เช่น ถาม/ตอบข้อสงสัย

ต่างๆ กับอาจารย์ผ่านระบบ ท าแบบทดสอบผ่านระบบ เป็นต้น กิจกรรมต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบนี้เรียกว่า กิจกรรม

กระดานเสวนา กิจกรรมการบ้าน และกิจกรรมห้องสนทนานิสิตสามารถเข้าถึงระบบการเรียนการสอนออนไลน์ได้

ที่ http://lms.buu.ac.th

ภาพที่ 2-18ระบบประเมินประสิทธิภาพการเรียน

การสอน

ภาพที่ 2-19ระบบการเรียนการสอนออนไลน์

ระบบสารสนเทศในภาคธุรกิจ 1. ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning : ERP)

Page 18: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 18

ระบบที่ใช้ในการจัดการและวางแผนเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยระบบสารสนเทศ

ดังกล่าวได้บูรณาการงานต่างๆขององค์กรเข้าด้วยกันแบบเรียลไทม์ (Real Time) เช่น งานจัดซื้อจัดจ้าง งานผลิต

งานขาย งานบัญชี และงานบริหารบุคคล เป็นต้น เพ่ือช่วยให้การวางแผนและบริหารทรัพยากรขององค์กรท างาน

อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถลดเวลาหรือขั้นตอนการท างานที่ไม่จ าเป็นลงได้รวมถึงสามารถตอบสนองความ

ต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที หากมองย้อนกลับไปก่อนมีการใช้ระบบ ERP

แต่ละแผนกมีการพัฒนาระบบของตนเอง โดยระบบต่างๆไม่มีการเชื่อมโยงถึงกัน ท าให้สารสนเทศที่สร้างขึ้นมา

จากแต่ละระบบเกิดความซ้ าซ้อนและขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การไหลของข้อมูลเป็นไปได้อย่างล่าช้าไม่

รองรับการขยายธุรกิจในอนาคต และการปรับปรุงสารสนเทศเพ่ือตอบสนองต่อการขยายธุรกิจเป็นไปได้ยาก

ภาพที่ 2-20ระบบสารสนเทศที่น าระบบ ERP มาใช้

(จากเว็บ : http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/erp/04.html)

ลักษณะของระบบสารสนเทศก่อนการน าระบบ ERP มาใช้ในองค์กร

การขาดการประสานรวมกันของระบบงาน

Page 19: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 19

ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นของแผนกงานต่างๆนั้นสามารถด าเนินการได้เฉพาะแผนกงานของ

ตนเอง ซึ่งมุ่งเน้นการท างานที่มีประสิทธิภาพในแผนกงานตนเองเท่านั้น แต่หากมองภาพรวมของบริษัทจะพบว่า

ระบบข้อมูลสารสนเทศที่สร้างขึ้นมาจะแตกต่างกันไปตามมุมมองของแต่ละแผนก ซึ่งท าให้เกิดความล่าช้าของการ

ไหลข้อมูล การเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างระบบงาน จึงเป็นอุปสรรคท าให้ไม่มีความต่อเนื่องในการท างานระหว่าง

แผนกงาน

ข้อมูลซ้ าซ้อน และขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

เนื่องจากแต่ละแผนกงานมีระบบสารสนเทศเป็นของตนเองที่ไม่มีการเชื่อมต่อไปยังระบบของ

แผนกอ่ืนๆ จึงท าให้ข้อมูลกระจัดกระจายอยู่ในแต่ละแผนกต่างๆ ซึ่งท าให้เกิดความซ้ าซ้อนของข้อมูล และยากต่อ

การบูรณาการข้อมูล รวมถึงท าให้การท างานประสานกันระหว่างแผนกเป็นไปอย่างล่าช้า

การขาดความรวดเร็วในการตอบสนอง

ระบบสารสนเทศของแต่ละแผนกมีการประมวลผลแบบ Batch Processing เช่น สองอาทิตย์ท า

การประมวลผลหนึ่งครั้ง หรือ หนึ่งเดือนประมวลผลหนึ่งครั้ง เป็นต้น ซึ่งท าให้ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ กว่าจะถูก

น าไปใช้ในภาพรวมขององค์กรนั้นเกิดความล่าช้า ดังนั้นการบริหารงานที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ทันทีทันใดนั้น

(Real Time) มีความจ าเป็นอย่างมาก เพ่ือให้องค์กรสามารถน าข้อมูลสารสนเทศดังกล่าวไปสร้างความได้เปรียบ

ทางด้านธุรกิจต่อไปได ้

ขาดความสามารถด้าน Globalization

ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์ของแต่ละแผนกงานไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล

ระหว่างฝ่ายงาน จึงท าให้การขยายธุรกิจท างานกับต่างชาติจะเป็นไปได้ยาก และท าให้การตัดสินใจในเชิงธุรกิจที่

ต้องทันต่อเหตุการณ์ไม่สามารถท าได้

ความไม่ยืดหยุ่นของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเดิมส่วนใหญ่เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นกันเอง และพัฒนาด้วยเทคโนโลยีที่ต่างกัน จึง

ท าให้ยากต่อการแก้ไข เพ่ิมเติม ดูแลระบบ และบูรณาการทุกระบบในองค์กร เพ่ือให้สามารถรับมือต่อการบริหาร

เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วได้

2. การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management : CRM)

Page 20: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 20

ระบบสารสนเทศเพ่ือบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและลูกค้าเป็นระบบที่ ช่วยในการจัด

กระบวนการต่างๆภายในองค์กร ให้ด าเนินการได้อย่างสอดคล้องและตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า เพื่อให้

ลูกค้าเกิดความพอใจสูงสุด และน ามาซึ่งความภักดีของลูกค้า รายได้ที่เพ่ิมขึ้น และท าก าไรอย่างยั่งยืน ระบบนี้จะ

ศึกษาพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ความสนใจ และความต้องการต่างๆ จากนั้นน าข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ และ

น ามาก าหนดกลยุทธ์ในการน าเสนอต่อลูกค้าต่อไป

หลักส าคัญในการท าระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์มีดังนี้

ฐานข้อมูลของลูกค้า

เป็นการเก็บรายละเอียดข้อมูลของลูกค้า เช่น ชื่อลูกค้า ข้อมูลที่ใช้ติดต่อลูกค้า เป็นต้น โดยข้อมูล

จะต้องถูกต้อง และทันสมัยอยู่เสมอ สามารถเรียกดูได้จากทุกแผนกงานขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า และ

เนื่องจากลูกค้าแต่ละรายมีคุณลักษณะที่ไม่เหมือนกัน จึงมีการจัดกลุ่มลูกค้าเช่น กลุ่มลูกค้าเริ่มแรก กลุ่มลูกค้าที่

ช่วยประชาสัมพันธ์ และกลุ่มลูกค้าที่มีการซือ้ซ้ า เป็นต้น

เทคโนโลยีสนับสนุน

เป็นเทคโนโลยีที่สามารถเพ่ิมช่องทางให้ลูกค้าสามารถติดต่อกับองค์กรได้ เช่น ระบบคอลเซนเตอร์

(Call Center) เว็บไซต์ (Website) เป็นต้น นอกจากนี้สามารถใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนองค์กรในการช่วย

วิเคราะห์ลูกค้า จัดกลุ่มของลูกค้า และจัดล าดับความส าคัญของลูกค้า เป็นต้น

การปฏิบัติเพ่ือรักษาลูกค้า

จากข้อที่ 1 ได้มีการจัดกลุ่มลูกค้าออกมาแล้วนั้น ในขั้นตอนนี้เป็นการก าหนดวิธีการเพ่ือให้เข้าถึง

การให้บริการลูกค้าแต่ละรายอย่างเหมาะสม (Relationship Program) เช่น กลยุทธ์ให้ลูกค้าเพ่ิมความถ่ีในการซื้อ

สินค้า (Frequency Marketing Program) และกลยุทธ์มัดใจลูกค้า (Loyalty Program) เป็นต้น

การประเมินผล

เพ่ือให้องค์กรทราบว่าองค์กรสามารถรักษาลูกค้าได้มากขึ้นหรือไม่อย่างไร โดยเกณฑ์ต่างๆจะต้องมี

การปรับเปลี่ยน เพ่ือเน้นเป้าหมายมาอยู่ที่การรักษาลูกค้าในระยะยาว (Keep Relationship) และการเพ่ิมมูลค่า

(Value) ให้กับลูกค้ามากกว่าที่ลูกค้าคาดหวังกับองค์กร

Page 21: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 21

3. บริการโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Voice over Internet Protocol : VoIP)

เป็นเทคโนโลยีที่น าการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์โดยการน าสัญญาณเสียงมา

รวมเข้ากับสัญญาณข้อมูล เพ่ือส่งผ่านไปยังระบบเครือข่ายผ่านทางโปรโตคอล (Protocol) ที่ใช้บนเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตคือ อินเทอร์เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol) โดยอุปกรณ์ต้นทางจะท าหน้าที่แปลงสัญญาณเสียง

ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล และส่งไปยังปลายทาง โดยอุปกรณ์ปลายทางจะท าหน้าที่

แปลงข้อมูลกลับเป็นเสียงดังเดิม จากเทคโนโลยีดังกล่าวเราสามารถน าไปช่วยลดค่าใช้จ่ายการโทรศัพท์ได้ทั้งการ

โทรภายในประเทศและการโทรระหว่างประเทศได้ นอกจากนี้เทคโนโลยีดังกล่าวไม่จ าเป็นต้องท างานผ่าน

ชุมสายโทรศัพท์ ซึ่งท าให้สามารถลดค่าใช้จ่ายการบริการได้ด้วย

ประโยชน์ที่ได้รับจาก VoIP

1. สามารถลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารโทรศัพท์ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ นอกจากนี้

การบ ารุงรักษาสามารถท าได้ง่าย รวมถึงสามารถลดค่าใช้จ่าย ด้านดูแลและจัดการระบบ เพราะเทคโนโลยี VoIP

ใช้โปรแกรมชุดค าสั่งในการจัดการ และบ ารุงรักษา

2. สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานได้ พนักงานสามารถส่งไฟล์เอกสารต่างๆ ผ่านเครือข่ายได้

พร้อมกับการสนทนาควบคู่กันไป และยังสามารถจัดการประชุมออนไลน์ ซึ่งสามารถติดต่อกันได้ทั้งภาพและเสียง

พร้อมส่งไฟล์เอกสารให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ทันทีทันใดอีกด้วย

3. สามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์สื่อสารไร้สายต่างๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ และสมาร์ทโฟน ซึ่งสามารถติดต่อ

ผ่านเทคโนโลยี VoIP เข้ามาในเครือข่ายขององค์กรได้เช่นกัน

4. สามารถรองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคตได้ เทคโนโลยี VoIP สามารถรองรับผู้ใช้งานที่เพ่ิมขึ้น

ได้ทันทีเพียงแค่เพ่ิม “VirtualUser” เข้าในระบบ

5. . สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการติดต่อกับลูกค้าได้ โดยใช้ความสามารถของแอปพลิเคชันต่างๆ ของ

เทคโนโลยี VoIP เช่น “Click-to-talk” ซึ่งสามารถช่วยให้พนักงานติดต่อกับลูกค้าได้อย่างสะดวกและรวดเร็วได้

6. สามารถจัดการระบบเครือข่ายได้ง่าย เนื่องจากเครือข่ายในการติดต่อสื่อสารทั้งหมดนั้นถูกยุบรวมกัน

เหลือเพียงเครือข่ายเดียว รวมถึงกรณีหน่วยงานหรือพนักงานโยกย้ายสถานที่ท างาน การจัดการหมายเลขโทรศัพท์

สามารถท าได้ง่าย โดยไม่จ าเป็นต้องเดินสายสัญญาณใหม่

ข้อจ ากัดของ VoIP

Page 22: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 22

1. เทคโนโลยี VoIP ยังต้องพัฒนาด้านความน่าเชื่อถือ เมื่อเทียบกับโครงข่ายชุมสายโทรศัพท์ (Public

Switched Telephone Network : PSTN) ในปัจจุบัน

2. ขาดมาตรฐานรองรับ ซึ่งอาจเกิดปัญหาในการพัฒนาได้

3. ต้นทุนของเทคโนโลยี VoIP ยังมีราคาสูงเมื่อเทียบกับโครงข่ายชุมสายโทรศัพท์ (PSTN) ซึ่ ง

ประกอบด้วยค่าอุปกรณ์ส าหรับระบบ VoIP และค่าใช้จ่ายพอร์ตของไอพี (Internet Protocol : IP) เป็นต้น

4. ระบบโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพี (IP Telephony) ยังสามารถเติบโตต่อไปได้ เนื่องจากอัตราของรา

คามีแนวโน้มลดลง ซึ่งก็จะท าให้เทคโนโลยี VoIP ไม่ได้เปรียบอีกต่อไป

5. การเปลี่ยนระบบจากระบบ PSTN เป็น VoIP นั้น จ าเป็นต้องมีผู้จ าหน่ายอุปกรณ์ และทีมติดตั้งระบบ

ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่ดี เพ่ือสนับสนุนการใช้งานระบบ

6. การขาดมาตรฐานด้านอุปกรณ์โครงข่าย จึงท าให้การเติบโตเป็นไปได้ช้า เพราะไม่สามารถตัดสินใจ

เลือกอุปกรณ์ ว่าอุปกรณ์ใดสามารถรองรับการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

7. กฎหมายด้านโทรศัพท์ผ่าน Internet Protocol ปัจจุบันยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องกฎหมาย ท าให้ผู้ให้

บริการติดตั้งโทรศัพท์ผ่าน Internet Protocol อย่างถูกกฎหมายมีเพียงบริษัทเดียวคือ บริษัท กสท โทรคมนาคม

จ ากัด (มหาชน) (CAT Telecom)

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน เทคโนโลยีในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยน และเติบโตอย่างรวดเร็วมาก รวมถึงเครือข่ายการสื่อสารต่างๆมี

การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการเชื่อมต่อที่เร็วขึ้น จึงท าให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศและระบบต่างๆได้ง่าย จึงได้มี

การน าเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้กันอย่างกว้างขวาง ทั้งด้านการใช้ชีวิตประจ าวันและด้านต่างๆ สามารถยกตัวอย่าง

ดังรายละเอียดนี้

Short Message Service (SMS)

บริการเสริมอย่างหนึ่งของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ได้รับความนิยม ซึ่งจัดอยู่ในบริการที่เรียกว่า non

voice ซึ่งเป็นเทคโนโลยีอย่างหนึ่งที่อนุญาตให้ผู้ใช้ส่งข้อความไปหาสมาชิกในเครือข่ายได้ โดยผู้ให้บริการคิด

ค่าธรรมเนียมการใช้งานแตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ได้มีการประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจ เช่น การตอบค าถามผ่าน

คอลัมน์ในนิตยสาร การโหวต และ การร่วมแสดงความคิดเห็นในรายการโทรทัศน์ เป็นต้น

Multimedia Messaging Service (MMS)

Page 23: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 23

บริการเสริมที่คล้ายกับบริการ SMS หากแต่ผู้ใช้สามารถจัดส่งข้อมูลที่เป็นแบบสื่อผสม (Multimedia)

ได้ด้วย เช่น การส่งภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว หรือ เสียงเพลง เป็นต้น ทั้งนี้อัตราค่าใช้บริการอาจมีความแตกต่าง

จากบริการ SMS

จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail)

บริการที่ได้รับความนิยมบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถส่งข้อมูลต่างๆ ซึ่งรวมถึงแนบไฟล์

เอกสาร ไฟล์รูปภาพ และไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ไปยังผู้รับหลายคนในเวลาเดียวกันได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถ

เลือกใช้บริการได้จากเว็บไซต์ที่ให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Outlook (Hotmail เดิม), Gmail และ

Yahoo เป็นต้น

การสนทนาผ่านวิดีโอ (Video Chat)

บริการสื่อสารผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยข้อความภาพพร้อมเสียง ซึ่งสามารถสื่อสารแบบ

โต้ตอบกับผู้อ่ืนแบบทันทีทันใดได้ หรือเรียกอีกอย่างว่า “โทรผ่านอินเทอร์เน็ต” ซึ่งมีให้บริการทั้งบนเครื่อง

คอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน

บริการเว็บสังคมออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟน (social network on smart phone)

บริการอีกหนึ่งช่องทางส าหรับติดต่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแบ่งปันข้อมูลกับเพ่ือนในกลุ่มของ

ตนเองได้ เช่น เฟสบุค ทวิตเตอร์ และไลน์ เป็นต้น

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงทิศทางและแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ซึ่งค าว่า “เทคโนโลยี

สารสนเทศ” หัวข้อก่อนหน้าได้จ ากัดความว่าเป็นการประยุกต์ของสองเทคโนโลยีเข้าด้วยกันระหว่าง เทคโนโลยี

ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม ดังนั้นส าหรับหัวข้อนี้จะกล่าวถึงแนวโน้มในอนาคตของทั้งสอง

เทคโนโลยี และแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

ทิศทางในอนาคตของเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้

Page 24: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 24

1. การลดขนาดอุปกรณ์ด้านคอมพิวเตอร์ (Miniaturization)

จากอดีตจนถึงปัจจุบันจะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ท างานรวดเร็วขึ้นและ

ราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้อย่างต่อเนื่อง ส าหรับอนาคตของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้นจะมีการพัฒนา

ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ใช้ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) รวมถึงคอมพิวเตอร์

แบบพกพา ซึ่งท าให้คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้นอย่างมาก

2. ความเร็วในการท างาน (Speed)

จากการลดขนาดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพ่ือสร้างโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัย ท าให้อุปกรณ์ดังกล่าวท างานได้

รวดเร็ว และมีพ้ืนที่ส าหรับเก็บข้อมูลเพิ่มขึ้น ตามล าดับ

3. ความสามารถในการซื้อ (Affordability)

ความสามารถซื้อโปรเซสเซอร์ในปัจจุบัน เป็นราคาที่สามารถเข้าถึงได้หากเทียบกับราคาเมื่อ 15 ปีก่อน

และในอนาคตมีแนวโน้มที่ความสามารถในการซื้อจะมีปริมาณมากขึ้น

ทิศทางของเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม

การโทรคมนาคม เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานที่ส าคัญส าหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่ อยู่ห่างไกลกัน

ส าหรับโทรคมนาคมที่นิยมคือการติดต่อสื่อสารผ่านระบบโทรศัพท์ ซึ่งเป็นการพูดคุยสนทนาระหว่าง 2 คน

หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาให้สามารถประชุม หรือสนทนามากกว่าสองคนขึ้นไป (Conference calls) นอกจากนี้

ยังมีระบบวิทยุ และระบบโทรทัศน์ เป็นการสื่อสารที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับสัญญาณ และเป็นการสื่อสารทางเดียว

ที่ฝั่งรับสัญญาณไม่สามารถสื่อสารกลับไปยังฝั่งผู้ส่งสัญญาณได้ ในปัจจุบันยังมีการใช้งานสัญญาณท้ังสามที่กล่าวมา

ข้างต้น ส าหรับทิศทางในอนาคตของเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม สามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้

1. ด้านการเชื่อมต่อ (Connectivity)

การเชื่อมต่อโดยทั่วไปส่วนใหญ่เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เพ่ือติดต่อไปยังคอมพิวเตอร์อ่ืนผ่านสาย

เชื่อมต่อ เพื่อที่จะเข้าถึงสารสนเทศ และใช้ทรัพยากรร่วมกัน จากการเชื่อมต่อดังกล่าวเป็นการขยายความสามารถ

ขอบข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้สามารถเกิดกิจกรรมซื้อขายผ่านระบบออนไลน์ และการรับ-ส่งจดหมายอิ

เลกทรอนิกส์ เป็นต้น

Page 25: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 25

2. ด้านการสื่อสารแบบโต้ตอบ (Interactivity)

โดยทั่วไปจะพบการสื่อสารทางเดียว เช่น การเข้าใช้บริการเว็บไซต์ที่ให้บริการข่าวสารทั่วไป โดยทาง

ผู้จัดท าอัปโหลดเอกสารเว็บเพจดังกล่าว เพ่ือให้ผู้เข้าใช้สามารถอ่านข่าวสารได้อย่างเดียวเท่านั้น แต่ส าหรับยุค

ปัจจุบันการสื่อสารแบบโต้ตอบเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และมีความส าคัญมากขึ้น เพราะการสื่อสารแบบโต้ตอบเป็นการ

ติดต่อแบบสองทางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์จะด าเนินตามค าสั่งที่ผู้ใช้ต้องการได้ ส าหรับ

ทิศทางในอนาคตรถยนต์จะสามารถสั่งการได้ด้วยเสียง หรือคุณสมบัติเด่นของคอมพิวเตอร์จะถูกพัฒนาเข้ากับส่วน

แสดงผลในรถยนต์

3. ด้านสื่อประสม (Multimedia)

สื่อประสม เป็นเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง

และแอนิเมชัน (Animation) เข้าด้วยกัน ส าหรับทิศทางในอนาคตส าหรับสื่อประสมจะมีการพัฒนาประสิทธิภาพ

ในด้านของภาพ เสียง วีดีทัศน์ และอ่ืนๆ เพื่อน าไปพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางการศึกษาที่มีคุณภาพสูงผ่านระบบ

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น นักเรียนสามารถทบทวนการเรียนผ่านโปรแกรมประยุกต์ดังกล่าวได้ด้วยตนเอง เป็นต้น

ทิศทางของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ด้านดังนี้

1. การหลอมรวมเทคโนโลยี (Convergence)

การหลอมรวมอุตสาหกรรมด้านต่างๆ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล อุตสาหกรรมที่กล่าวถึง คือ

อุตสาหกรรมด้านคอมพิวเตอร์ ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ด้านอุปกรณ์อิเลกทรอนิ กส์ ด้านการบันเทิง และด้าน

สื่อมวลชน เป็นต้น แนวโน้มในอนาคตอุปกรณ์ อิเลกทรอนิกส์จะสามารถท างานได้หลากหลายมากขึ้น

(Multifunction) เช่น โทรทัศน์สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์สามารถถ่ายรูปและแบ่งปันได้ทันที ตู้เย็นจะ

สามารถส่งจดหมายอิเลกทรอนิกส์ได้ เป็นต้น

2. การพกพาและเคลื่อนที่ (Portability and Mobility)

ในยุคอดีตความสามารถในการพกพาเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีขนาดกะทัดรัด น้ าหนักเบา และมี

ประสิทธิภาพ เพ่ือเคลื่อนที่ไปในสถานที่ต่างๆ ดูห่างไกลจากความจริง จากอดีตถึงปัจจุบัน มีการคิดค้นพัฒนา

อย่างต่อเนื่อง ท าให้เกิดเทคโนโลยีที่เข้าใกล้ถึงจุดหมายดังกล่าวอย่างมาก ส าหรับแนวโน้มในอนาคต เทคโนโลยี

สารสนเทศจะท าให้การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปได้ง่ายมากขึ้น ดังที่มีนักเขียนคนหนึ่งกล่าวว่า “เราจะ

Page 26: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 26

สามารถอ่านบันทึกช่วยจ าระหว่างการเรียนในวิชาการเล่นกอล์ฟ และเราสามารถตอบข้อความจากลูกๆ ระหว่าง

การประชุมธุรกิจ”

3. เทคโนโลยีส่วนบุคคล (Personalization)

แนวโน้มข้อมูลสารสนเทศในอนาคตจะถูกจัดเตรียมให้เฉพาะบุคคล เช่น โปรแกรมส าหรับน าเสนอ

ข่าวสารจะจัดเตรียมสารสนเทศต่างๆ เฉพาะหัวข้อที่ผู้ใช้สนใจไว้เท่านั้น หรือบริษัทที่ผู้ใช้เคยท าธุรกรรมซื้อขาย

ผ่านอินเทอร์เน็ต จะสามารถส่งข้อความแจ้งข่าวสินค้าที่ก าลังเข้ามาใหม่แก่ลูกค้าได้ กล่าวคือสินค้าใหม่ดังกล่าวมี

คุณสมบัติเทียบเคียงกับสินค้าที่ลูกค้าเคยให้ความสนใจซื้อ หรือบริษัทผลิตสินค้าต่างๆสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่

ที่ตรงความต้องการของลูกค้าโดยเฉพาะเป็นต้น

4. การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing)

การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆจะจัดเก็บข้อมูลหรือชุดค าสั่งต่างๆ อยู่บนเครื่องให้บริการบนอินเทอร์เน็ต

แทนการจัดเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง (Data Center) โดยการประมวลผลแบบ

กลุ่มเมฆจะอ้างอิงความต้องการผู้ใช้เป็นหลัก ผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังชุดค าสั่งของระบบประมวลผล

แบบกลุ่มเมฆ จากนั้นระบบจัดสรรทรัพยากรจะจัดเตรียมข้อมูล หรือโปรแกรมให้ตรงความต้องการของผู้ใช้

ภาพที่ 2-21ประกอบระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ

http://www.cpusage.com/blog/knowledge/top-reasons-why-businesses-should-use-cloud-

computing

Page 27: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 27

จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรมจริยธรรมเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จัก

กันในลักษณะตัวย่อว่า PAPAประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) หมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามล าพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของ

สามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อ่ืน สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล

และองค์กรต่างๆ ปัจจุบันมีประเด็นเก่ียวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้

การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง

การบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร

การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ท าให้สูญเสียความ

เป็นส่วนตัว ซึ่งการกระท าเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม

การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพ่ือผลประโยชน์ในการขยายตลาด

การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอ่ืนๆ เพ่ือน าไป

สร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่แล้วน าไปขายให้กับบริษัทอ่ืน ดังนั้นเพ่ือเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิ

ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเทอร์เน็ตที่มีการ

ใช้โปรโมชัน หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และท่ีอยู่อีเมล

2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้

ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่ส าคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึก

ข้อมูลด้วย โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ ดังนั้น

ในการจัดท าข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง

ก่อนที่จะน าเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิแก่บุคคลใน

การเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตนเองด้วย

3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือ

ครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา

(ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้

เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น โดยในการคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับผู้อ่ืน เป็นการกระท าที่จะต้อง

พิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมท่ีจะท าการคัดลอกนั้น เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ท่านมีสิทธิ์ในระดับใด

Page 28: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 28

4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์

มักจะมีการก าหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพ่ือเป็นการป้องกันการเข้าไปด าเนินการต่างๆ กับข้อมูลของ

ผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการ

ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับความยินยอม

นั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว

Thailand 4.0

หลายท่านคงได้ยินกันบ่อยๆกับคาว่า Thailand 4.0 แล้ว Thailand 4.0 คืออะไร นโยบายนี้จะช่วย

พัฒนาประเทศของเราได้อย่างไร มาท าความรู้จักกันThailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจ

แบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ซึ่งกว่าจะมาเป็น Thailand 4.0 ก็ต้องผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 กัน

มาก่อน

Thailand 1.0 คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลี้ยงหมู เป็ด ไก ่นาผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ

Thailand 2.0 ซึ่งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้เรามีเครื่องมือ

เข้ามาช่วย เราผลิตเสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็น

ต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมากข้ึน

Thailand 3.0 เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออก

เหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต้น

โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพ่ือเน้นการ

ส่งออก

Page 29: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 29

ในช่วงแรก Thailand 3.0 เติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงแค่ 3-4% ต่อปีเท่านั้น

ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปานกลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการแข่งขันที่สูงขึ้น เราจึง

ต้องเปลี่ยนสู่ยุค Thailand 4.0 เพ่ือให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง

ในปัจจุบันประเทศไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ท ามาก ได้น้อย” จึงต้องการปรับเปลี่ยนเป็น

“ท าน้อย ได้มาก” ก็จะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจาก

การขับเคลื่อนประเทศด้วย

- ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม - อย่างการเกษตรก็ต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยีหรือ Smart Farming โดยเกษตรกรต้องร่ ารวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ

- เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง

Page 30: บทที่ 2 ไอทีคืออะไร · บทที่ 2 ไอทีคืออะไร 3 คอมพิวเตอร์สามารถท างานได้เร็วขึ้น

88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT 30

- เปลี่ยนจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ า ไปสู่บริการที่มีมูลค่าสูง - เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง

โมเดลของ Thailand 4.0 นั่นคือ มั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน

ซึ่งโมเดลนี้จะสาเร็จได้ ต้องใช้แนวทาง สานพลังประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน

ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ ประกอบกับการส่งเสริม SME และ Startup เพ่ือ

ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมต้องมีโครงสร้างด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมที่มีคุณภาพ มีอินเตอร์เน็ตที่

คลอบคลุมประชากรมากที่สุด เพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงทุกภาคส่วนได้อย่างไม่สะดุดโครงสร้างของ ICT ก็จะเป็น

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เราจะก้าวข้ามผ่านกับดักประเทศรายได้ปานกลางไปสู่รายได้สูง ในยุค Thailand 4.0 ได้ก็

ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เพ่ือพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้

ที่มาของข้อมูล https://www.it24hrs.com/2017/thailand-4-0/