บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. ·...

17
บทที่3 วิธีการดําเนินงาน การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบขับเคลื่อน สําหรับเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติเปน การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาขอมูลความเร็วมุมองศาการโยนกลา และ ระยะการ กระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา นํามาการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือตนแบบเพื่อสรางและหา ประสิทธิภาพของการโยนกลากึ่งอัตโนมัติ โดยมีวิธีการดําเนินงานดังนี3.1. ศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา 3.2. ศึกษาระยะการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา 3.3. ออกแบบและพัฒนาเครื่องมือตนแบบที่สามารถกําหนดแรงและมุมองศาที่จะโยนตน กลาไดอยางเหมาะสม 3.1. การศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา การศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา ผูวิจัยไดออกแบบการทดลองหาความเร็ว ตน และมุมองศาการโยนกลา ตามหลักการเคลื่อนที่โปรเจกไตลที่มีความเร็วตนในแนวราบและ ความเร็วตนในแนวดิ่งไมเปนศูนย จากการสังเกตเกษตรกรในโยนกลาในพื้นที่ตําบลพันเสา ของ เกษตรกร ในการโยนกลาแตละครั้ง จนครบ 10 ครั้งและนํามาหาคาเฉลี่ย โดยเก็บขอมูลบันทึกลง ตารางที่ 1 ตัวอยางตารางบันทึกผลการสังเกต 1) จํานวนตนกลาขาว(n) 2) เวลาในการโยน(t) 3) ระยะตกของตนกลาขาว มากที่สุด(S max ) และนอยที่สุด(S min ) 4) ความสูงการโยนกลา(h) ตารางที่ 3.1 แสดงตัวอยางการบันทึกผลการสังเกตการโยนกลา ครั้งทีจํานวนตนกลา (ตน) เวลาในการโยน (วินาที) ระยะตกของตนกลา(เมตร) ความสูง (เมตร) มากที่สุด นอยที่สุด

Transcript of บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. ·...

Page 1: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

บทที่3

วิธีการดําเนินงาน

การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบขับเคลื่อน สําหรับเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติเปน

การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาขอมูลความเร็วมุมองศาการโยนกลา และ ระยะการ

กระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา นํามาการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือตนแบบเพื่อสรางและหา

ประสิทธิภาพของการโยนกลากึ่งอัตโนมัติ โดยมีวิธีการดําเนินงานดังน้ี

3.1. ศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา

3.2. ศึกษาระยะการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา

3.3. ออกแบบและพัฒนาเครื่องมือตนแบบที่สามารถกําหนดแรงและมุมองศาที่จะโยนตน

กลาไดอยางเหมาะสม

3.1. การศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา

การศึกษาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลา ผูวิจัยไดออกแบบการทดลองหาความเร็ว

ตน และมุมองศาการโยนกลา ตามหลักการเคลื่อนที่โปรเจกไตลที่มีความเร็วตนในแนวราบและ

ความเร็วตนในแนวด่ิงไมเปนศูนย จากการสังเกตเกษตรกรในโยนกลาในพื้นที่ตําบลพันเสา ของ

เกษตรกร ในการโยนกลาแตละครั้ง จนครบ 10 ครั้งและนํามาหาคาเฉลี่ย โดยเก็บขอมูลบันทึกลง

ตารางที่ 1 ตัวอยางตารางบันทึกผลการสังเกต

1) จํานวนตนกลาขาว(n) 2) เวลาในการโยน(t) 3) ระยะตกของตนกลาขาว มากที่สุด(Smax) และนอยที่สุด(Smin) 4) ความสูงการโยนกลา(h)

ตารางที่ 3.1 แสดงตัวอยางการบันทึกผลการสังเกตการโยนกลา

ครั้งที ่จํานวนตนกลา

(ตน) เวลาในการโยน

(วินาท)ี ระยะตกของตนกลา(เมตร) ความสูง

(เมตร) มากที่สุด นอยที่สุด

Page 2: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

23

รูปที่ 3.1 แสดงการเก็บขอมูลการโยนกลาขาว

คํานวณหาความเร็วตนและมุมองศาการโยนกลาสามารถทําไดดังน้ี

การหาความเร็วในการโยนกลา ผูวิจัยสนใจระยะทางในแนวราบที่ตนกลาตกระยะ

มากที่สุดดังน้ันความเร็วในการโยนผูวิจัยใชสมการการเคลื่อนที่ตอไปน้ี

V = s/t (3.1)

เมื่อ v คือ ความเร็ว Smax คือ ระยะตกของตนกลามากที่สุด

t คือ เวลาในการโยน

มุมองศาการโยนกลาที่เกิดข้ึนในการโยนแตละครั้งมีตนกลาขาวมากกวา 1 ตน แต

ละตนมีระยะทางไมเทากันผูวิจัยสนใจตนกลาขาวที่ตกในระยะตกมากที่สุดและนอยที่สุดใน

แตละครั้งโดยนํามาคํานวณหามุมองศาในการตกดังสมการตอไปน้ี

การหามุมองศาการโยนกลาที่ตกระยะนอยที่สุด

1 = tan-1 (h/Smin) (3.2)

เมื่อ 1 คือ มุมองศาการโยนกลาที่ตกระยะนอยที่สุด h คือ ความสูงการโยนกลา Smin คือ ระยะตกของตนกลานอยที่สุด

การหามุมองศาการโยนกลาที่ตกระยะมากที่สุด

2 1

Smin

Smax

ระยะทาง(เมตร)

ความสูง(เมตร)

h

ตนกลาขาว

Page 3: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

24

2= tan-1 (h/Smax) (3.3)

เมื่อ 2 คือ มุมองศาการโยนกลาที่ตกระยะมากที่สุด h คือ ความสูงการโยนกลา Smax คือ ระยะตกของตนกลามากที่สุด

3.2 การศึกษาระยะการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา

การศึกษาระยะการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลาจากการศึกษาขอมูลเชิงเทคนิคในการ

เตรียมตนกลาขาว โดยสํารวจขอมูลจากการลงพื้นที่ ตําบลพันเสา อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก

จํานวน 10 แปลง เก็บขอมูลบันทึกลงตารางที่ 3.2 ตัวอยางตารางบันทึกผลการสํารวจนํามา

สังเคราะห ปริมาณตนกลาตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร ดังสมการที่ 3.4 และ หาระยะการกระจายของตน

กลาขาวที่เหมาะสม

ปริมาณตนกลาตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร = ปริมาณตนกลาขาว / พื้นที่ 1 ไร (3.4)

ตารางที่ 3.2 แสดงตัวอยางการบันทึกผลการสํารวจการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา

แปลงที่

จํานวนที่นา(ไร)

จํานวนกลาขาว(ถาด)

จํานวนหลุมตอ

ถาด

จํานวนตนกลา

จํานวนถาดตอไร

จํานวนตนตอไร

จํานวนตน ตอ พื้นที่ 1 ตารางเมตร

เมตร

ระยะการกระจายตัว

(ซม)

รูปที่ 3.2 แสดงระยะการกระจายตัวที่เหมาะสมของตนกลา

3.3 การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือตนแบบคณะผูวิจัยสามารถแบงออกเปน 2 ข้ันตอนคือ

X

X

Page 4: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

25

3.3.1. การสรางเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

3.3.2 การหาประสิทธิภาพเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

3.3.1 การสรางเครื่องตนแบบระบบโยนกลาก่ึงอัตโนมัติ

รูปที่ 3.3 แสดงโครงสรางเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

การสรางเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติมี สามารถแบงเปน 2 สวน ดังน้ี

1) ระบบโครงสรางและระบบขับเคลื่อน

ระบบโครงสรางและระบบขับเคลื่อน จะเริ่มจากการออกแบบและสรางสวนโครงสรางแบบ

ระบบขับเคลื่อนสามารแบงออกเปน ระบบโครงสรางที่เปนช้ินงานที่อยูกับที่ กับ ระบบขับเคลื่อนเปน

ช้ินงานที่สามารถเคลื่อนที่ไดและเกิดแรงสงในการโยนกลาขาวสามารถอธิบายการออกแบบและการ

สรางไดดังน้ี

1.1) การออกแบบแทนหมุน

1.2) การออกแบบชุดคานเหว่ียง

1.3) การออกแบบชุดดึงคานเหว่ียง

Page 5: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

26

1.1) การออกแบบแทนหมุน

การออกแบบแทนหมุนใหสามารถหมุนไดตามองศาที่กําหนดคือ 90 องศาทางซาย ถึง 90

องศาทางขวา โดยกําหนดใหมีตัวเลขแสดงแตละองศาเพื่อแสดงตําแหนงการหมุนของคานเหว่ียงเพื่อ

กําหนดทิศทางการโยนกลาขาวใหเคลื่อนที่ไปยังทิศที่ตองการดังรูปที่ 3.4 แสดงการออกแบบการหมุน

เครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ

รูปที่ 3.4 แสดงการออกแบบแทนหมุนของเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ

รูปที่ 3.5 แสดงสเกลองศาการหมุนของเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

Page 6: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

27

ที่ยึดแมเหล็ก

1.2) การออกแบบชุดคานเหว่ียง

การออกแบบชุดคานเหว่ียงสามารถออกแบบคานที่มีหนาที่เปนตัวเหว่ียงโดยมีสปริงเปนตัวดึง

ทําใหเกิดแรงเหว่ียง ชุดคานเหว่ียงประกอบดวย คานเหว่ียง, ตลับลูกปนแบบตุกตา, คานรับแรง

กระแทก, สปริง, ถาดโยนกลาขาว, การทํางานของคานเหว่ียง, คานเหว่ียงจะมีสปริงรั้งไวระหวางคาน

เหว่ียงกับโครงเครื่องโยนกลาขาว คานเหว่ียงจะมีลวดสลิงที่ดึงไวโยงไปที่ ชุดดึงคานเหว่ียง เมื่อชุดดึง

คานเหว่ียงทํางานคานเหว่ียงจะถูกดึงลงไปและถูกยึดกับแมเหล็กไฟฟา เมื่อกดปุม Un Look แลว

แมเหล็กไฟฟาจะเปลี่ยนศักยไมเปนไฟฟาคานเหว่ียงก็จะถูกดึงโดยแรงสปริงทําใหคานถูกดึงไปกระทบ

กับคานรับแรงกระแทก ดังรูปที่ 3.6 แสดงการออกแบบชุดคานเหว่ียงเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ

รูปที่ 3.6 แสดงการออกแบบชุดคานเหว่ียงเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

1.3) การออกแบบชุดดึงคานเหว่ียง

การออกแบบชุดดึงคานเหว่ียงสามารถออกแบบชุดกลไกที่ใชในการดึงคานเหว่ียงเพื่อใหคาน

เหว่ียงลงมาในตําแหนงที่พรอมโยนกลาขาว ซึ่งประกอบไปดวยชุดกลไกเก็บเสนลวดสลิง ประกอบไป

ดวย ชุดเฟองขับเคลื่อน ชุดเก็บรอกเสนลวดสลิง ชุดปลดล็อคเฟอง การทํางานของชุดกลไกน้ี เมื่อ

มอเตอรทําการดึงชุดขับเคลื่อนเฟองทํางาน ชุดลอกเก็บเสนลวดสลิงจะดึงคานเหว่ียงมาเก็บไวในที่

ตําแหนงพรอมโยนกลาขาว เมื่อถึงในตําแหนงที่พรอมโยนกลาขาวแลว ชุดปลดล็อคเฟองจะทําการ

แยกออกจากชุดเก็บลอก ทําใหชุดเก็บลอกหมุนไดโดยไมเกี่ยวกับชุดเฟองขับเคลื่อน แลวหลังจากทํา

การโยนกลาขาวแลว ชุดปลดล็อคเฟองจะกลับมาที่ตําแหนงเดิมเพื่อใหชุดลอกเก็บเสนลวดสลิงทํางาน

ไดโดยชุดเฟองขับเคลื่อนดังรูป 3.7 แสดงการออกแบบชุดดึงคานเหว่ียงเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ

แมเหล็กไฟฟา

ลวดสลิง

คานเหว่ียง คานรับแรง

สปริง

ตลับลูกปน

Page 7: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

28

รูปท่ี 3.7 แสดงการออกแบบชุดดึงคานเหว่ียงเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

2) การออกแบบระบบไฟฟาท่ีควบคุมการทํางานกลไกเครื่องโยนกลาขาวก่ึงอัตโนมัติ

การทํางานของระบบไฟฟาที่ควบคุมการทํางานกลไกเครื่องโยนกลาสามารถอธิบายจาก

บล็อกไดอะแกรม ดังรูปที่ 3.8 ดังน้ี

รูปที่ 3.8 แสดงบล็อกไดอะแกรมแสดงการออกแบบระบบไฟฟาที่ควบคุมการทํางานกลไก

ของเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

PIC16F877 Microcontroller

H Bridge

Motor

Driver system

Sensor

Speed Control

Start Switch

Unlock Switch

Lock-Unlock Motor

Magnetic Lock

Page 8: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

29

การทํางานจะเริ่มจากกดสวิตช Start ไมโครคอนโทรลเลอร PIC16F877 สั่งงานไปยัง H-bridge ใหเปดวงจรจายไฟเลี้ยงไปยังมอเตอร (Motor) ดึงคานเหว่ียงกลาขาวลงมายังตําแหนงที่ตองการ สามารถปรับความเร็วในการดึงคานเหว่ียงของมอเตอรได ดวยการปรับ Speed Control เมื่อคานผานจุดเซ็นเซอรโดยรีดสวิตช จะสงคาไปยังไมโครคอนโทรลเลอรเพื่อสั่งมอเตอรใหหยุดหมุน และ สั่งให Magnetic Lock ทํางานเพื่อล็อคคานเหว่ียงกลาขาวใหอยูกับที่พรอมกับดึงสปริงที่ยึดระหวางโครงสรางกับคานเหว่ียงใหยืดออก มอเตอร Lock-Unlock จําทําการปลดล็อคเฟองล็อคระบบขับเคลื่อน Driver system ใหแยกออกจากมอเตอร เมื่อกดสวิตช Unlock ไมโครคอนโทรลเลอรจะสั่ง Magnetic Lock หยุดการทํางานปลดล็อคระหวางแมเหล็กกับคานเหว่ียงทําใหสปริงที่ยืดออกจะหดตัวเขาสูตําแหนงเดิมทําใหคานเหว่ียงโยนกลาขาวที่บรรจุไวในถาดโยนกลาขาว และมอเตอร Lock-Unlock ทําการล็อคเฟองเขากับระบบขับเคลื่อน Driver system

การออกแบบซอฟแวรการทํางานระบบไฟฟาที่ควบคุมการทํางานกลไกเครื่องโยนกลา

สามารถแสดงการทํางานไดจากโฟลวชารต ดังรูปที่ 3.9

รูปที่ 3.9 แสดงโฟลวชารต

กําหนดตัวแปร DUTY SPEED เปนชนิด

Byte กําหนดตัวแปร ST เปนชนิด bit

กําหนดตัวแปร BRAKE แทนPORTB.0

กําหนดตัวแปร START แทน PORTB.1

กําหนดตัวแปร UNLOCK แทน PORTB.2

กําหนดตัวแปร IN A แทน PORTC.0

A

Page 9: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

30

รูปที่ 3.9 (ตอ) แสดงโฟลวชารต

กําหนดใหพอรต A.0 รับคาเปนอนาล็อก

กําหนดพอรต A เปนอินพุต

กําหนดใหพอรต B.0 ถึงพอรต B.3

เปนอินพุต และพอรต B.4 ถึง

พอรต B.7 เปนเอาตพุต

กําหนดใหพอรต C เปน

เอาตพุตทั้งพอรต

กําหนดใหตัวแปร ST

มีคาเปนลอจิก 1

B

A

กําหนดตัวแปร IN B แทน PORTC.3

กําหนดตัวแปร EN แทน PORTC.2

Page 10: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

31

รูปที่ 3.9 (ตอ) แสดงโฟลวชารต

ไมใช

แมเหล็กถาวรเซ็นเซอร

ตรวจจับคล่ืนแมเหล็ก

กดสวิตช START

ใชหรือไม

-รับคาจาก Speed Control เพื่อปรับความเร็วและชาใหมอเตอร

-มอเตอรหมุนดึงคานเหว่ียงใหเขาที ่

1.แมเหล็กหยุดทํางาน

2.มอเตอรหยุดหมุน

3.มอเตอร Lock Un Lock ทํางาน

4.หนวงเวลา 3 วินาท ี

D.0=1 และD.1=1

ใชหรือไม

Loop

สวิตช Un Lock

ถูกกดใชหรือไม

B

-แมเหล็กหยุดทํางาน -ชุดปลดล็อคเฟองหยุดทํางาน

-หนวงเวลา 4 วินาท ี -LED PORTD.7 กระพริบ 3 ครั้ง

หนวงเวลา 50 ms

ใช

ไมใช

ใช

ไมใช

ใช

ไมใช

ใช

Page 11: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

32

3.3.2 การหาประสิทธิภาพเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติแบงออก 3 ดานดังน้ี

1) ประสิทธิภาพดานระยะทาง

2) ประสิทธิภาพดานการกระจายตัว

3) ประสิทธิภาพดานแนวการตกลงพื้น

1) การหาประสิทธิภาพดานระยะทางของเครื่องตนแบบระบบโยนกลากึ่งอัตโนมัติ

สามารถหาไดจากการหา ระยะทางมากที่สุด และ นอยที่สุด ที่เครื่องโยนกลาขาวสามารถโยนได

สามารถแบงได 5 ข้ันตอนดังน้ี

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมกลาขาวโดยการเพาะกลาขาวพันธุในถาดหลุม และ รดนํ้า

ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง จํานวน 15 วัน เลือกตนกลาขาวที่มีความสมบูรณ มีนํ้าหนักใกลเคียงกันระหวาง

2.8-4 กรัม จํานวน 300 ตน จากถาดเดียวกัน

ข้ันตอนที่ 2 การเตรียมสถานที่ทดสอบประสิทธิภาพ โดยกําหนดแนวการโยนจาก

ตําแหนงเครื่องโยนกลาไปยังทิศทางที่จะโยนเปนเสนตรงระยะทาง 20 เมตร กําหนดจุดสังเกต ดวย

ปายบอกระยะทาง ทุกๆ 1 เมตร

ข้ันตอนที่ 3 ติดต้ังเครื่องโยนกลาในตําแหนงที่ระยะทาง 0 เมตรที่กําหนดไว

ข้ันตอนที่ 4 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่

เตรียมไวในข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 10 ตน วัดระยะทางการโยนแตละครั้ง และบันทึกผลการ

ทดลองลงในตารางที่ 3.2 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะทางการตกของกลาขาวใกล

ที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

ตารางที่ 3.3 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกลที่สุด

ของกลาขาว 10 ตน

โยนครั้งท่ี จํานวนกลาขาว

(ตน)

ระยะการตกของตนกลา

ตนท่ีใกลท่ีสุด(เมตร)

ระยะการตกของตนกลา

ตนท่ีไกลท่ีสุด (เมตร)

(A) (B) (C) (D)

คาเฉลี่ยรวม (E)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (F)

ข้ันตอนที่ 5 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่เตรียมไวใน

ข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 20 ตน วัดระยะทางการโยนแตละครั้ง และบันทึกผลการทดลองลงใน

Page 12: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

33

ตารางที่ 3.3 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะทางการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกล

ที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

ตารางที่ 3.4 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกลที่สุด

ของกลาขาว 20 ตน

โยนครั้งท่ี จํานวนกลาขาว

(ตน)

ระยะการตกของตนกลา

ตนท่ีใกลท่ีสุด(เมตร)

ระยะการตกของตนกลา

ตนท่ีไกลท่ีสุด (เมตร)

(A) (B) (C) (D)

คาเฉลี่ยรวม (E)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (F)

กําหนดชอง (A) หมายถึง โยนครั้งที่

กําหนดชอง (B) หมายถึง จํานวนกลาขาว

กําหนดชอง (C) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ใกลที่สุด

กําหนดชอง (D) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ไกลที่สุด

กําหนดชอง (E) หมายถึง ผลคาเฉลี่ยรวม

กําหนดชอง (F) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2) การหาประสิทธิภาพดานการกระจายตัวของเครื่องตนแบบระบบโยนกลา

กึ่งอัตโนมัติ สามารถแบงการโยนกลาขาวเปนจํานวน 2 ตน 3 ตน 4 ตน และ 5 ตน ที่เครื่องโยนกลา

ขาวสามารถโยนได และวัดระยะทางระหวางตนกลาขาวแตละตนที่ตกลงพื้น สามารถแบงการหา

ประสิทธิภาพดานการกระจายตัวของกลาขาวได 4 รูปแบบดังน้ี

รูปแบบที่ 1 หาการกระจายตัวของจํานวนกลาขาว 2 ตน หาไดจาก ระยะการ

กระจายตัวของตนกลาขาวจากจุด (A-B) ระยะทางมากที่สุด และ นอยที่สุด ที่เครื่องโยนกลาขาว

สามารถโยนได และสามารถแบงข้ันตอนการดําเนินงานหาประสิทธิภาพได 4 ข้ันตอนดังตอไปน้ี

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมกลาขาวโดยการเพาะกลาขาวพันธุในถาดหลุม และ รดนํ้า

ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง จํานวน 15 วัน เลือกตนกลาขาวที่มีความสมบูรณ มีนํ้าหนักใกลเคียงกันระหวาง

2.8-4 กรัม จํานวน 20 ตน จากถาดเดียวกัน

ข้ันตอนที่ 2 การเตรียมสถานที่ทดสอบประสิทธิภาพ โดยกําหนดแนวการโยนจาก

ตําแหนงเครื่องโยนกลาไปยังทิศทางที่จะโยนเปนเสนตรงระยะทาง 20 เมตร กําหนดจุดสังเกต ดวย

ปายบอกระยะทาง ทุกๆ 1 เมตร

Page 13: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

34

ข้ันตอนที่ 3 ติดต้ังเครื่องโยนกลาในตําแหนงที่ระยะทาง 0 เมตรที่กําหนดไว

ข้ันตอนที่ 4 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่

เตรียมไวในข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 2 ตน และวัดระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด (A-B) ดัง

แสดงในรูปที่ 3.10 ระยะทางมากที่สุด และ นอยที่สุด วัดระยะการกระจายตัวการโยนแตละครั้ง และ

บันทึกผลการทดลองลงในตารางที่ 3.3 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะทางการตกของ

กลาขาวใกลที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

รูปที่ 3.10 แสดงการกระจายจุดกลาตกลงพื้น A ถึง จุด B

ตารางที่ 3.5 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะการการกระจายตัวตกของกลาขาวจากจุด

(A-B) ใกลที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว 2 ตน

โยนครั้งท่ี จํานวนกลาขาว

(ตน)

ระยะการกระจายตัวของตน

กลาจากจุด A-B (เมตร)

ระยะใกลสุด

(เมตร)

ระยะไกล

สุด(เมตร)

(A) (B) (C) (D) (E)

คาเฉลี่ยรวม (F)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (G)

กําหนดชอง (A) หมายถึง โยนครั้งที่

กําหนดชอง (B) หมายถึง จํานวนกลาขาว

กําหนดชอง (C) หมายถึง ระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด A-B

กําหนดชอง (D) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ใกลที่สุด

กําหนดชอง (E) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ไกลที่สุด

กําหนดชอง (F) หมายถึง ผลคาเฉลี่ยรวม

กําหนดชอง (G) หมายถึง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

รูปแบบที่ 2 หาดานการกระจายตัวของจํานวนกลาขาว 3 ตน หาไดจาก ระยะการ

กระจายตัวของตนกลาจากจุด (A-B), (B-C), (C-A) และ ระยะทางมากที่สุด และ นอยที่สุดที่เครื่อง

Page 14: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

35

โยนกลาขาวสามารถโยนและสามารถแบงข้ันตอนการดําเนินงานหาประสิทธิภาพได 4 ข้ันตอน

ดังตอไปน้ี

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมกลาขาวโดยการเพาะกลาขาวพันธุในถาดหลุม และ รดนํ้า

ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง จํานวน 15 วัน เลือกตนกลาขาวที่มีความสมบูรณ มีนํ้าหนักใกลเคียงกันระหวาง

2.8-4 กรัม จํานวน 30 ตน จากถาดเดียวกัน

ข้ันตอนที่ 2 การเตรียมสถานที่ทดสอบประสิทธิภาพ โดยกําหนดแนวการโยนจาก

ตําแหนงเครื่องโยนกลาไปยังทิศทางที่จะโยนเปนเสนตรงระยะทาง 20 เมตร กําหนดจุดสังเกต ดวย

ปายบอกระยะทาง ทุกๆ 1 เมตร

ข้ันตอนที่ 3 ติดต้ังเครื่องโยนกลาในตําแหนงที่ระยะทาง 0 เมตรที่กําหนดไว

ข้ันตอนที่ 4 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่

เตรียมไวในข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 3 ตน และวัดระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด (A-B),

(B-C), (C-A) ระยะทางมากที่สุด และ นอยที่สุด ดังแสดงในรูปที่ 3.8 วัดระยะการกระจายตัวการโยน

แตละครั้ง และบันทึกผลการทดลองลงในตารางที่ 3.4 แสดงตัวอยางตารางการบนัทึกผลการวัดระยะ

ทางการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

รูปที่ 3.11 แสดงการกระจายจุดกลาตกลงพื้น A ถึง จุด B ถึงจุด C

ตารางที่ 3.6 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะการการกระจายตัวตกของกลาขาวจากจุด

(A-B), (B-C), (C-A) ใกลที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว 3 ตน

Page 15: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

36

โยนครั้ง

ท่ี

จํานวนกลา

ขาว

(ตน)

ระยะการ

กระจายตัว

ของตนกลา

จากจุด A-B

(เมตร)

ระยะการ

กระจายตัว

ของตนกลา

จากจุด B-C

(เมตร)

ระยะการ

กระจายตัว

ของตนกลา

จากจุด C-A

(เมตร)

ระยะ

ใกลสุด

(เมตร)

ระยะ

ไกลสุด

(เมตร)

(A) (B) (C) (D) (E) (F) (G)

คาเฉลี่ยรวม (H)

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (I)

กําหนดชอง (A) หมายถึง โยนครั้งที่

กําหนดชอง (B) หมายถึง จํานวนกลาขาว

กําหนดชอง (C) หมายถึง ระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด A-B

กําหนดชอง (D) หมายถึง ระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด B-C

กําหนดชอง (E) หมายถึง ระยะการกระจายตัวของตนกลาจากจุด C-A

กําหนดชอง (F) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ใกลที่สุด

กําหนดชอง (G) หมายถึง ระยะการตกของตนกลาตนที่ไกลที่สุด

กําหนดชอง (H) หมายถึง ผลคาเฉลี่ยรวม

กําหนดชอง (I) หมายถึง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3) การหาประสิทธิภาพดานแนวการตกลงพื้นของกลาขาวของเครื่องโยนกลาขาว

กึ่งอัตโนมัติสามารถหาไดจากการใช ไมโปรแทรกเตอร (Protractor) หามุมระหวางตนกลาขาวกับ

พื้นดินมี 3 รูปแบบ และสามารถแบงข้ันตอนการดําเนินงานหาประสิทธิภาพได 5 ข้ันตอน

รูปแบบที่ 1 มุมระหวางตนกลาขาวกับพื้นดินทํามุมระหวาง 60-90 องศา

รูปแบบที่ 2 มุมระหวางตนกลาขาวกับพื้นดินทํามุมระหวาง 30-59 องศา

รูปแบบที่ 3 มุมระหวางตนกลาขาวกับพื้นดินทํามุมระหวาง 0-29 องศา

Page 16: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

37

รูปท่ี 3.12 แสดงมุมองศาในการตกของตนกลา

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมกลาขาวโดยการเพาะกลาขาวพันธในถาดหลุม และ รดนํ้า

ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง จํานวน 15 วัน เลือกตนกลาขาวที่มีความสมบูรณ มีนํ้าหนักใกลเคียงกันระหวาง

2.8-4 กรัม จํานวน 300 ตน จากถาดเดียวกัน

ข้ันตอนที่ 2 การเตรียมสถานที่ทดสอบประสิทธิภาพ โดยทําการไถดะ และ ไถ

แปร คือ การพลิกหนาดิน ตากดินใหแหง ตลอดจนเปนการคลุกเคลาฟาง วัชพืช ฯลฯ ลงไปในดิน

เครื่องมือที่ใช อาจเปน รถไถเดินตามจนถึง รถแทรกเตอร และ การคราดหรือใชลูกทุบ คือการกําจัด

วัชพืช ตลอดจนการทําใหดินแตกตัว และเปนเทือกพรอมที่จะโยนกลาขาว

ข้ันตอนที่ 3 ติดต้ังเครื่องโยนกลาขาว

ข้ันตอนที่ 4 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่

เตรียมไวในข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 10 ตน วัดแนวการตกของกลาขาว 90 องศา ของการโยนแต

ละครั้ง และบันทึกผลการทดลองลงในตารางที่ 3.7 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะ

ทางการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกลที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

ตารางที่ 3.7 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลแนวการตกลงพื้นของกลาขาวจํานวน 10 ตน

โยนครั้งท่ี

รูปแบบท่ี 1องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

60-90 องศา

รูปแบบท่ี 2องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

30-59 องศา

รูปแบบท่ี 3องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

0-29 องศา

(A) (B) (C) (D)

คาเฉลี่ยรวม (E)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (F)

Page 17: บทที่3 วิธีการดําเนินงาน - PSRU · 2014. 2. 6. · บทที่3 วิธีการดําเนินงาน ... รูปที่

38

ข้ันตอนที่ 5 การโยนกลาขาวดวยเครื่องโยนกลาขาวกึ่งอัตโนมัติ โดยนํากลาขาวที่เตรียมไวใน

ข้ันตอนที่ 1 มาโยนครั้งละ 20 ตน วัดระยะทางการโยนแตละครั้ง และบันทึกผลการทดลองลงใน

ตารางที่ 3.7 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลการวัดระยะทางการตกของกลาขาวใกลที่สุดและไกล

ที่สุดของกลาขาว ทําการทดลองจนครบ 10 ครั้ง

ตารางที่ 3.8 แสดงตัวอยางตารางการบันทึกผลแนวการตกลงพื้นของกลาขาวจํานวน 20 ตน

โยนครั้งท่ี

รูปแบบท่ี 1องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

60-90 องศา

รูปแบบท่ี 2องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

30-59 องศา

รูปแบบท่ี 3องศา

การตกทํามุม

ระหวาง

0-29 องศา

(A) (B) (C) (D)

คาเฉลี่ยรวม (E)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (F)

กําหนดชอง (A) หมายถึง โยนครั้งที่

กําหนดชอง (B) หมายถึง รูปแบบที่ 1 องศาการตกทํามุมระหวาง 60-90 องศา

กําหนดชอง (C) หมายถึง รูปแบบที่ 2 องศาการตกทํามุมระหวาง 30-59 องศา

กําหนดชอง (D) หมายถึง รูปแบบที่ 3 องศาการตกทํามุมระหวาง 0-29 องศา

กําหนดชอง (E) หมายถึง ผลคาเฉลี่ยรวม

กําหนดชอง (F) หมายถึง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน