แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 ·...

22
แผนบริหารการสอนประจาบทที6 หัวข้อเนื้อหาประจาบท บทที6 การจัดการคลังสินค้า มีหัวข้อดังต่อไปนีความหมายและความสาคัญ ประเภทของคลังสินค้า หน้าที่ของคลังสินค้า หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้า กิจกรรมของคลังสินค้า การเลือกใช้คลังสินค้า ระบบการจัดการคลังสินค้า วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม การจัดการเรียนการสอนบทที6 มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ดังต่อไปนี1.อธิบายความหมายของการคลังสินค้าได้ 2. อธิบายถึงระดับ และขั้นตอนของการจัดการคลังสินค้า 3. สามารถอธิบายถึงประโยชน์การลดต้นทุนในกระบวนการคลังสินค้า 4. สามารถอธิบายถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประโยชน์ที่ได้รับ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน บทที6 มีวิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ดังต่อไปนี1.วิธีสอน 1. ผู้สอนใช้วิธีสอนแบบบรรยาย เปิดวิดิทัศน์ และวิธีการสอนแบบถาม-ตอบ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน สามารถจาแนกได้ดังนี2.1 กิจกรรมก่อนเรียน ผู้เรียนศึกษาบทเรียนที6 2.2 กิจกรรมในห้องเรียน มีดังต่อไปนี2.2.1 ผู้สอนปฐมนิเทศรายวิชา อธิบายแผนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจน กิจกรรมต่างๆ ตามแผนบริหารการสอนประจาบท 2.2.2 ผู้สอนบรรยายเนื้อหาบทที6 และมีกิจกรรมและยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ จากบทเรียน 2.3 กิจกรรมหลังเรียน ผู้เรียนทบทวนเนื้อหาที่ได้เรียนในบทที6 โดยใช้คาถามจากคาถามทบทวนท้ายบท ตลอดจนการศึกษาบทต่อไปล่วงหน้าหนึ่งสัปดาห์ 2.4 ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุดหรือสื่ออีเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สื่อการเรียนการสอนประจาบท สื่อที่ใช้สาหรับการเรียนการสอนเรื่องจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมมีดังต่อไปนี1. แผนการสอนประจาบท 2. Power point ประจาบท

Transcript of แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 ·...

Page 1: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 หัวข้อเนื้อหาประจ าบท บทที่ 6 การจัดการคลังสินค้า มีหัวข้อดังต่อไปนี้ ความหมายและความสาคัญ ประเภทของคลังสินค้า หน้าที่ของคลังสินค้า หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้า กิจกรรมของคลังสินค้า การเลือกใช้คลังสินค้า ระบบการจัดการคลังสินค้า วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม การจัดการเรียนการสอนบทที่ 6 มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ดังต่อไปนี้ 1.อธิบายความหมายของการคลังสินค้าได ้ 2. อธิบายถึงระดับ และขั้นตอนของการจัดการคลังสินค้า 3. สามารถอธิบายถึงประโยชน์การลดต้นทุนในกระบวนการคลังสินค้า 4. สามารถอธิบายถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประโยชน์ที่ได้รับ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน บทที่ 6 มีวิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ดังต่อไปนี้ 1.วิธีสอน 1. ผู้สอนใช้วิธีสอนแบบบรรยาย เปิดวิดิทัศน์ และวิธีการสอนแบบถาม-ตอบ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน สามารถจ าแนกได้ดังนี้ 2.1 กิจกรรมก่อนเรียน ผู้เรียนศึกษาบทเรียนที่ 6 2.2 กิจกรรมในห้องเรียน มีดังต่อไปนี้ 2.2.1 ผู้สอนปฐมนิเทศรายวิชา อธิบายแผนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจน กิจกรรมต่างๆ ตามแผนบริหารการสอนประจ าบท 2.2.2 ผู้สอนบรรยายเนื้อหาบทที่ 6 และมีกิจกรรมและยกตัวอย่างประกอบ ถาม-ตอบ จากบทเรียน 2.3 กิจกรรมหลังเรียน ผู้เรียนทบทวนเนื้อหาที่ได้เรียนในบทที่ 6 โดยใช้ค าถามจากค าถามทบทวนท้ายบท ตลอดจนการศึกษาบทต่อไปล่วงหน้าหนึ่งสัปดาห์ 2.4 ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุดหรือสื่ออีเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สื่อการเรียนการสอนประจ าบท สื่อที่ใช้ส าหรับการเรียนการสอนเรื่องจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมมีดังต่อไปนี้ 1. แผนการสอนประจ าบท 2. Power point ประจ าบท

Page 2: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

3. เอกสารประกอบการสอนประจ าบท 4. หนังสือ ต ารา และเอกสาร ที่เก่ียวข้อง 5. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การวัดผลและการประเมินผลประจ าบท 1. สังเกตการณ์ตอบค าถามทบทวนเพ่ือน าเข้าสู่เนื้อหาในบทเรียน 2.สังเกตตั้งค าถาม และการตอบค าถามของผู้เรียน หรือการท าแบบฝึกหัดในชั้นเรียน 3.วัดเจตคติจากพฤติกรรมการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรม 4.ความเข้าใจและความถูกต้องในการท าแบบฝึกหัด

บทที่ 6 การจัดการคลังสินค้า

(Warehouse Management) แนวคิดหลัก ความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นมากที่สุดในการบูรณาการโลจิสติกส์คือการวางแผนและการจัดการสินค้าคงคลัง ซึ่งธุรกิจในอุดมคติคาดหวังให้ “ผู้ผลิตสามารถคาดการณ์ความต้องการและการผลิตได้ดีจนไม่มีสินค้าคงคลัง” แต่ในความเป็นจริงมีปัจจัยที่ทาให้การคาดการณ์ไม่ถูกต้อง บริษัทจึงต้องผลิตและจัดเก็บสินค้าสารอง (Stock) ที่เพ่ิมขึ้นเพ่ือรองรับกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความต้องการของลูกค้า หากบริษัทสามารถคาดการณ์ได้อย่างถูกต้องกิจกรรมโลจิสติกแบบบูรณาการจานวนมากจะไม่จาเป็นหรือมีผลเพียงเล็กน้อยต่อต้นทุนโลจิสติกแบบบูรณาการ คลังสินค้าส่วนใหญ่จะหายไป บรรจุภัณฑ์จะมีน้อยลงเพราะผลิตภัณฑ์จะย้ายจากโรงงานไปให้กับลูกค้าซึ่งมีการจัดการที่น้อยท่ีสุด การจัดการอุปกรณ์ เช่น รถยก, รถเครน, และ conveyers จะเป็นวัสดุที่ไม่จาเป็น เป้าหมายสาคัญของการจัดการคลังสินค้า คือ การลดสินค้าคงคลังในขณะที่รักษาบริการลูกค้าและระดับการผลิต กับการถือกาเนิดของ "เรียนรู้การผลิต" ความคิดท่ีจะให้สายการผลิตที่ใช้ต้นทุนในสินค้าคงคลังน้อยที่สุด สินค้าคงคลังที่เพ่ิมขึ้นอาจจะราคาถูกกกว่าการปิดโรงงานเนื่องจากไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า ( stock out) แต่การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (stock out) เดียวกันอาจเป็นที่ยอมรับในธุรกิจค้าปลีก กุญแจสาคัญในการจัดการสินค้าคงคลังที่ดีคือการรู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะยอมรับเหตุการณ์การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (stock out) ดังนั้น การจัดการคลังสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพจึงต้องมีการทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ และประเภทของคลังสินค้า รวมถึงการจัดการคลังสินค้าแต่ละรูปแบบว่าเป็นอย่างไร อีกทั้งยังต้องเรียนรู้การจัดระบบสินค้าคงคลังและกรคานวณปริมาณสินค้าคงคลังเพ่ือให้สามารถวางแผนการจัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพ่ือให้นักศึกษาทราบความหมายและความสาคัญของคลังสินค้า 2. เพ่ือให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์รูปแบบการใช้คลังสินค้าที่เหมาะสม 3. เพ่ือให้นักศึกษาทราบหลักการจัดการคลังสินค้าและสินค้าคงคลัง

Page 3: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่ 1.1 ความหมายและความสาคัญของคลังสินค้า หน่วยเรียนรู้ที่ 1.2 ระบบคลังสินค้า หน่วยเรียนรู้ที่ 1.3 การจัดการคลังสินค้า หน่วยเรียนรู้ที่ 1.4 กรณีศึกษา หน่วยเรียนรู้ที่ 1.1 ความหมายและความสาคัญของคลังสินค้า ความหมายของคลังสินค้า คลังสินค้าเป็นแหล่งสารองสินค้าเพ่ือตอบสนองความต้องการสินค้าของลูกค้าท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างกะทันหัน ในบางกรณีคลังสินค้าถูกเปลี่ยนสภาพเป็นศูนย์กระจายสินค้าซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลจากความต้องการของลูกค้ามมากนักซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนในการขนส่ง และเพ่ิมประสิทธิภาพในด้านระยะเวลา ในการขนส่งได้ดีขึ้น ดังนั้น คลังสินค้าจะต้องมีกิจกรรมอ่ืนนอกจากเก็บรักษา เช่น การบรรจุหีบห่อ การประกอบชิ้นส่วนตามคาสั่งซื้อของลูกค้า การเป็นศูนย์ข้อมูลแสดงระดับสินค้าคงคลังที่มีการเชื่อมโยงระบบเข้ากับคอมพิวเตอร์ของห่วงโซ่อุปทานอื่นทั้งด้านผู้ขายและด้านลูกค้า ในปัจจุบันในยุคสารสนเทศไร้พรมแดน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าได้มีการจัดการเปลี่ยนไป โดยใช้การจัดการซัพพลายเชนมาเกี่ยวข้องมากขึ้น มีระบบสารสนเทศพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อรูปแบบการจัดการแบบเดิม โดยอินเตอร์เน็ตทาให้การจัดส่งสินค้าถี่ขึ้นปริมาณสั่งซื้อน้อยลง การตอบสนองลูกค้ารวดเร็วในการเติมเมนูคาสั่งซื้อ การวางผังคลังสินค้าเป็นแบบการไหลทะลุคลัง (Flow through) ควบคุมด้วยระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติเพ่ือควบคุมกระบวนการเคลื่อนย้าย ทาให้การทางานและการจัดส่งรวดเร็วขึ้น1 ความสาคัญของคลังสินค้า หลักการในการจัดการพ้ืนที่คลังสินค้าคือการจัดการให้มีสินค้าคงคลังในคลังสินค้าในจานวนน้อย แต่ขัดแย้งกับหลักการบริหารทางการตลาดที่ธุรกิจต้องสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทันที่ที่ลูกค้าต้องการสินค้าได้อย่างรวดเร็ว ประกอบกับการผลิตสินค้าต้องการวัตถุดิบสารองในปริมาณมากเพ่ือสนับสนุนกระบวนการผลิตและเพ่ือความประหยัดในการลดต้นทุนต่อหน่วย ซึ่งการขาดสินค้าสารองอาจทาให้ต้องปิดสายการผลิต ส่วนในทางการเงินและการบัญชีชอบให้มีสินค้าคงเหลือต่าเพ่ือเพ่ิมการเปลี่ยนสินค้าคงคลังเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนและเป็นการเพ่ิมผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ในมุมมองของ โลจิสติกส์แบบบูรณาการก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกับที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวคือ สินค้าคงคลังที่เพ่ิมขึ้นจะเป็นการเพ่ิมต้นทุนการดาเนินการ ต้นทุนบรรจุภัณฑ์ และต้นทุนในการจัดการวัสดุ ทั้งด้านการเงินและ โลจิสติกแบบบูรณาการทราบถึงความจาเป็นสาหรับสินค้าคงคลัง เหตุผลที่ทาให้ต้องมีการถือครองสินค้าคงคลังจานวนมาก ประการแรก คือ สินค้าคงคลังจะช่วยทาให้เกิดความประหยัดจากการสั่งซื้อวัตถุดิบในปริมาณมาก (Economices of Scale) ประการที่ 2 คือช่วยให้เกิดความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ประการที่ 3 สินค้าคงคลังช่วยให้การผลิตสาหรับความเชี่ยวชาญการผลิต

1 ดร.คานาย อภิปรัชญาสกลุ (2537). สว่นท่ี 3 โลจิสติกส์และการจดัการซพัพลายเชน. โลจิสติกส์เพ่ือการผลิต และการจดัการดาเนินงาน. บริษัท ซี.วาย.ซิซเทิม พริน้ต่ิง จากดั.

Page 4: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

ประการที่ 4 สินค้าคงคลังป้องกันความไม่แน่นอนในความต้องการและในรอบการสั่งซื้อ เช่น ความล่าช้าในการขนส่ง, การสูญเสียและความเสียหาย และระยะเวลาที่เกิดความล่าช้า จนในที่สุดสินค้าคงคลังสามารถที่จะไปสู่ช่องทางการจัดจ าหน่ายได้ ความประหยัดด้วยการสั่งซื้อในปริมาณที่มาก (ECONOMIES OF SCALE) บริษัทได้ตระหนักถึงการประหยัดจากการสั่งซื้อในปริมาณที่มากในกระบวนการผลิต การจัดซื้อและการขนส่งโดยถือสินค้าคงคลัง ถ้ามีการซื้อจานวนมากบริษัทจะได้รับส่วนลด ในทางกลับการขนส่งในปริมาณมากผ่านการใช้อุปกรณ์ที่ดีขึ้นช่วยลดต้นทุนการขนส่งได้ และการผลิตจะดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่องถ้ามีวัตถุดิบในการผลิตมากขึ้น ซึ่งสินค้าคงคลังช่วยลดต้นทุนต่อหน่วยลง ความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน (BALANCING SUPPLY AND DEMAND) ในบางกรณีที่บริษัทจะต้องมีการสะสมสินค้าคงคลัง/วัตถุดิบไว้เพ่ือตอบสนองความต้องการของลูกค้าตามฤดูกาล ซึ่งผู้ผิตจะทราบความต้องการในรอบ 1 ปีล่วงหน้า แต่ประมาณร้อยละ 60 หรือมากกว่านั้นจะต้องการสินค้าในช่วงเทศกาลสาคัญ โดยการผลิตเพ่ือสารอง ผลิตภัณฑ์สามารเก็บไว้ได้ในระดับที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตลอดทั้งปี การลดขีดความสามารถในการผลิตและการรักษาระดับความสัมพันธ์ของแรงงานเป็นการลดต้นทุนลง ถ้าความต้องการค่อนข้างคงที่แต่ปัจจัยนาเข้าเป็นไปตามฤดูกาล เช่น การผลิตผลไม้กระป๋อง ในกรณีนี้สิงค้าคงคลังสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตลอดทั้งปี ความพิเศษ (SPECIALLIZATION) สินค้าคงคลังช่วยให้บริษัทในเครือที่มีความเชี่ยวชาญ แทนการผลิตที่หลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่แต่ละโรงงานสามารถผลิตสินค้าและจัดส่งผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปโดยตรงให้กับลูกค้าหรือคลังสินค้าสาหรับการจัดเก็บ โดยความเชี่ยวชาญแต่ละโรงงานสามารถทาให้ประหยัดโดยการดาเนินการผลิตในปริมาณที่มากได้ตลอดการผลิตที่ยาวนาน ป้องกันความเสียหายอันเกิดจากความไม่แน่นอน (PROTECTION FROM UNCERTAINTIES)เหตุผลหลักที่จะถือสินค้าคงคลังเพ่ือชดเชยความไม่แน่นอนในความต้องการ หากการเพิ่มขึ้นของความต้องการและวัตถุดิบที่ไม่มีเก็บสารองไว้ การป้องกันการปิดสายการผลิตจนกว่าจะมีการส่งวัตถุดิบมา ทาให้เกิดการหยุดชะงักของการทางานในการผลิตซึ่งหมายความว่าผลิตภัณฑ์ไม่สามารถดาเนินการเสร็จสิ้น สุดท้ายหากสั่งซื้อของลูกค้ามีมากกว่าอุปทานสินค้าสาเร็จรูป ซึ่งผลจากการขาดสินค้าสารองทาให้บริษัทต้องสูญเสียลูกค้าได้ การขาดสินค้าสารองที่จะส่งให้แก่ลูกค้าทาให้ลูกค้าตัดสินใจที่จะรอหรือส่งคาสั่งซื้อกลับ (backorder) หรือ สั่งซื้อสินค้าจากที่อ่ืนแทน ด้วยการแข่งขันทางการค้าที่ลูกค้ามีทางเลือกเพ่ิมมากขึ้นทาให้การที่สินค้าหมดและไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าอยู่บ่อยครั้งมีผลต่อขีดความสามารถทางการแข่งขันทางธุรกิจ ซึ่งเกณฑ์ในการตัดสินใจที่ลูกค้าจะใช้เมื่อสินค้าไม่สามารถจัดส่งได้ตามความต้องการของลูกค้าคือ (1) เป็นการขาดแบบชั่วคราวหรือถาวร (2) ทางเลือกใดที่ supplier จะใช้ (3) ผลิตภัณฑ์ที่เลือกใช้ควรเป็นอะไร และ (4) ควรสั่งซื้อจากแหล่งผลิตหรือผลิตภัณฑ์ทดแทน ดังแสดงในรูปที่ 6.1 แสดงให้เห็นถึงการตัดสินใจของลูกค้าที่ท าเมื่อ การไม่มีสินค้าส ารองในคลังสินค้า (Stockout) เกิดข้ึน

Page 5: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

รูปที่ 6.1 การตัดสินใจของลูกค้าเก่ียวกับ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout)2 การลดความขัดแย้ง (BUFFER INTERFACE) สินค้าคงคลังสามารถช่วยลดความขัดแย้งที่สาคัญโดยการสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นประโยชน์ระหว่างเวลาและสถานที่ ความขัดแย้งที่สาคัญ ได้แก่ (1) ผู้จัดจ าหน่ายและการจัดซื้อ (2) การจัดซื้อและการผลิต (3) การผลิตและการตลาด (4) การตลาดและการจัดจ าหน่าย (5) การจัดจ าหน่ายและตัวกลางและ (6) ตัวกลางและลูกค้า มีสินค้าคงคลังที่เชื่อมต่อเหล่านี้ช่วยให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองความต้องการได้และลดการขาดสินค้าส ารอง หน่วยเรียนรู้ที่ 1.2 ระบบคลังสินค้า ประเภทของคลังสินค้า คลังสินค้ามีหลากหลายแบบโดยองค์การจัดไว้เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมของสินค้าบริษัทผู้มี กิจการให้เช่าพ้ืนที่คลังสินค้า จะจัดคลังสินค้าของตนให้เหมาะสมกับสินค้าที่มารับบริการจัดเก็บ และจัดเครื่องมือขนส่งเคลื่อนย้ายสินค้าในการจัดเก็บให้เหมาะสมกับสินค้าที่ใช้บริการ ซึ่งทั่วไปแบ่งประเภทคลังสินค้าได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) คลังสินค้าตามจุดมุ่งหมายในการประกอบกิจการ

2David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

Page 6: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

2) คลังสินค้าตามลักษณะสินค้า และ 3) คลังสินค้าตามการใช้ประโยชน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) คลังสินค้าตามจุดมุ่งหมายในการประกอบกิจการ (1.1) คลังสินค้าสาธารณะของบริษัทเอกชน เป็นธุรกิจการค้าของภาคเอกชนที่จัดขึ้นในรูปของบริษัทจากัด หรือบริษัทมหาชนแล้วแต่กรณี กิจการสาคัญท่ีคลังสินค้าสาธารณะของบริษัทเอกชนดาเนินงาน ได้แก่

- การรับฝากสินค้าโดยผู้ประกอบการคลังสินค้าได้รับเงินค่าตอบแทน หรือประโยชน์อื่นใด - การให้ผู้ฝากกู้ยืมเงินโดยเอาสินค้าที่ฝากนั้นจานาไว้เป็นประกันแก่ผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า โดย

ผู้ประกอบการคลังสินค้าได้รับดอกเบี้ย หรือประโยชน์อื่นใดเป็นค่าตอบแทน - การให้บริการด้านความเย็นในการเก็บรักษาสินค้า รับอบพืชลดความชื้น กะเทาะ คัดผสม หรือด้วย

กรรมวิธีอย่างอ่ืน เพ่ือประโยชน์ของผู้ฝาก โดยผู้ประกอบกิจการคลังสินค้าได้รับ - ค่าตอบแทน หรือประโยชน์อย่างอ่ืนอย่างใด กระท าการใด ๆ ตามแบบวิธีเกี่ยวกับ การศุลกากร การนา

เข้า การส่งออก การขนส่งสินค้า และอาจจะจัดให้มีการประกันภัยซึ่งสินค้าซึ่งตนพึงกระทาตามสัญญาเก็บของในคลังสินค้า เป็นต้น”การจัดตั้งบริษัทจากัดที่ประกอบกิจการคลังสินค้าสาธารณะและการดาเนินงานทางธุรการของกิจการคลังสินค้าอยู่ภายใต้ข้อบังคับของกฏหมายว่าด้วยกิจการค้าขายที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยและผาสุกของสาธารณชน และเงื่อนไขควบคุมคลังสินค้าของกระทรวงพาณิชย์ “

(1.2) คลังสินค้าสาธารณะขององค์การรัฐบาล องค์การของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจทางการค้า จะจัดตั้งขึ้นในรูปของรัฐวิสาหกิจ หรือรัฐพาณิชย์รูปอื่น จุดมุ่งหมายหรือนโยบายหลักในการประกอบกิจการขององค์การเหล่านี้ เพ่ือสนองนโยบายของรัฐบาลในด้านต่างๆ ที่สาคัญ คลังสินค้าสาธารณะขององค์การรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือสนองนโยบายของรัฐบาลด้านเศรษฐกิจ เช่น องค์การอุตสาหกรรมห้องเย็น องค์การคลังสินค้าเป็นต้น การด าเนินธุรกิจคลังสินค้าสาธารณะขององค์การรัฐบาล จะประกอบกิจการเช่นเดียวกับคลังสินค้าสาธารณะของบริษัทเอกชน คือการรับทาการเก็บรักษาสินค้า และให้บริการต่าง ๆ เกี่ยวกับสินค้าที่รับฝากเก็บรักษานั้นเป็นการค้าปกติ และเป็นการให้บริการแก่บุคคลทั่วไป องค์การคลังสินค้า มีวัตถุประสงค์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การคลังสินค้า พ.ศ. 2498 มาตรา 6 ว่า “องค์การมีวัตถุประสงค์ทากิจกรรมทั้งปวงเกี่ยวกับ ข้าว พืชผล และสินค้าต่าง ๆ เพ่ือให้จานวนผลิต คุณภาพ ราคา เหมาะสม และเพียงพอกับความต้องการของรัฐบาลและประชาชนทั่วไป” (1.3) คลังสินค้าสาธารณะของสหกรณ์ สหกรณ์เป็นองค์การของเอกชนที่อยู่ภายใต้การควบคุมและโดยการสนับสนุนของรัฐบาล จัดตั้งขึ้นตามหลักเกณฑ์ของกฏหมายสหกรณ์ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มผลประโยชน์ที่มีเป้าหมายในการดาเนินกิจการร่วมกัน ช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ เช่น สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การประมงเป็นต้น คลังสินค้าสาธารณะของสหกรณ์เป็นของสหกรณ์ที่ประกอบกิจการคลังสินค้าในลักษณะคลังสินค้าสาธารณะ คือ รับทาการเก็บรักษาสินค้าและให้บริการเกี่ยวกับสินค้าเพ่ือบาเหน็จเป็นทางค้า ปกติสินค้าที่รับทาการเก็บรักษาเป็นสินค้าของสมาชิก และเป็นสินค้าเฉพาะอย่างอันเป็นผลผลิตตามอาชีพของสมาชิกของสหกรณ์นั้น ๆ ทั้งนี้เป็นการช่วยเหลือสมาชิกภายในกลุ่ม และเมื่อเกิดผลกาไรจากการประกอบกิจการคลังสินค้า ผลกาไรนั้นก็แบ่งสรรปันผลกลับคืนให้แก่สมาชิกคลังสินค้าสาธารณะของสหกรณ์จัดตั้งขึ้นโดยกฏหมายสหกรณ์กาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดตั้งและดาเนินงานโดยเฉพาะ

Page 7: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

2) คลังสินค้าตามลักษณะสินค้า ประกอบด้วย (2.1) คลังสินค้าพืชผล คลังสินค้านี้จากัดการรับฝากและเก็บรักษาพืชผลแต่ละชนิดไม่ปนกัน เช่น คลังสินค้าไม้แปรรูป คลังเก็บฝ้าย คลังเก็บใบยาสูบ ข้าวเปลือกท่ีจะต้องฝากไว้กับโรงสี และข้าวโพดซึ่งเป็นพืชไร่ที่เสียหายได้ง่าย (2.2) คลังสินค้าที่เก็บรักษาสินค้าเป็นจานวนมาก คลังสินค้าบางชนิดสร้างไว้เฉพาะเพ่ือใช้เก็บสินค้าเป็นจานวนมากและเก็บสินค้าได้เพียงอย่างเดียว เช่น คลังน้ามัน สารเคมีชนิดเหลว น้ามันเชื่อมและหัวน้าเชื้อสาหรับผสมเครื่องดื่มรสต่างๆ คลังสินค้าประเภทนี้รับทาการผสมสินค้าจากโรงงานใหญ่ๆ 2-3 ราย เพ่ือส่งให้ลูกค้ารายใหญ่หนึ่งราย หรือบริการรับฝากของจานวนมากจากผู้ผลิต แล้วกระจายสินค้าให้โรงงาน 2-3 ราย (2.3) คลังสินค้าห้องเย็น ในอุตสาหกรรมเรียกว่าห้องเย็น คลังสินค้านี้ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพันธ์ให้เหมาะสมกับสินค้าที่ใช้จัดเก็บ การเก็บผักผลไม้ต้องการอุณหภูมิ 10°C และการเก็บอาหารทะเลและเนื้อสัตว์ต้องการอุณหภูมิ -15°C ซึ้งจะใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกัน การเก็บเครื่องสาอางและสารเคมีบางชนิดต้องการความเย็นเพียง 15° - 20°C (2.4) คลังสินค้าเครื่องใช้ประจาบ้าน จัดเก็บและบริการเครื่องมือประจาบ้าน ไม่ต้องการเครื่องมือพิเศษ บริษัทขายเครื่องเรือนชอบใช้คลังสินค้าชนิดนี้ (2.5) คลังสินค้าท่ัวไป เหมาะกับการจัดเก็บสินค้าอุปโภคและบริโภค เป็นคลังสินค้าที่บริการจัดเก็บและจัดส่งสินค้าให้กับซุปเปอร์มาเก็ต ซึ่งเป็นศูนย์กระจายสินค้า (2.6) คลังสินค้าทัณฑ์บน เป็นคลังสินค้าเก็บสินค้านาเข้าจากต่างประเทศทีย่ังไม่เสียภาษีอากรขาเข้า น าเข้ามาเพ่ือปรับสภาพสินค้า 3) คลังสินค้าตามการใช้ประโยชน์ 3 สามารถจัดชนิดของสินค้าคงคลังตามประโยชน์ของการใช้งานสินค้าได้ คือ (3.1) สินค้าคงคลังที่อยู่ในระบบหมุนเวียนการจัดส่ง เป็นสินค้าในระบบคงคลังที่มีไว้เพ่ือการบริการส่งให้ลูกค้าในระบบการขาย และการสั่งซื้อของลูกค้าในสถานการณ์ปกติ เป็นสินค้าคงคลังสารองที่ต้องมีให้พอก่อนการส่งของงวดต่อไปของผู้ขายมาถึง จานวนการสั่งซื้อขึ้นกับขนาดการผลิตแต่ละครั้ง เวลานาของการส่งของ การลดราคาต่อการสั่งจานวนมาก และค่าเก็บสินค้าคงคลัง (3.2) สินค้าคงคลังที่อยู่ระหว่างการผลิต ประกอบด้วยวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสาเร็จรูปในระบบการผลิต หรือระบบการเปลี่ยนแปลงสภาพสินค้า สินค้าระหว่าการเดินทางจัดส่ง ซึ่งผู้ซื้อได้ตกตงการซื้อขายไว้แล้ว ถือเป็นทรัพย์สินของผู้ซื้อและมีความรับผิดชอบในการชาระหนี้ตามกฎหมาย ตลอดจนดอกเบี้ยการค้าที่เกิดขึ้น การขนส่งจากต่างประเทศและการซื้อครั้งละจานวนมาก (3.3) สินค้าคงคลังสารอง หรือสินค้าในบริภัณฑ์กันชนของทางราชการ เป็นปริมาณสินค้าที่มีไว้ป้องกันความขาดแคลนที่อาจจะเกิดขึ้นในสถานการณ์ท่ีไม้ได้คาดหวัง เพ่ือป้องกันความขาดแคลนสินค้าในตลาดที่อาจจะเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด (3.4) สินค้าคงคลังตามฤดูกาล เป็นสินค้าที่มีไว้ล่วงหน้าเพ่ือบริการลูกค้าที่ต้องการอุตสาหกรรมบางประเภทต้องลงทุนเยงด้วยเงินทุนมหาศาล เพ่ือเก็บสิค้าไว้ขายในช่วงระยะเวลาอันสั้น เช่น เครื่องนุ่งห่มสาหรับหน้าหนาว ชุดว่ายน้าที่จาหน่ายได้เฉพาะหน้าร้อน ของเล่นสาหรับขายช่วงปลายปี สาหรับสินค้าจาหน่ายเทศกาลปลายปีในต่างประเทศ ต้องผลิตในเดือนกรกฎาคม ส่งของทางเรือในเดือนกันยายน เพ่ือให้ทันแจจกจ่ายสู่คลังสินค้าและจาหน่ายในช่วงปลายปี

3 http://www.cntrans.co.th/k003_typewarehouse.html

Page 8: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

(3.5) สินค้าคงคลังเพ่ือการส่งเสริมการขาย เป็นสินค้าที่เตรียมไว้เพ่ือส่งให้ร้านค้าตามแผนการส่งเสริมการขายที่ฝ่ายตลาดกาหนดไว้ ที่คาดว่าจะมีการจาหน่ายได้มากกว่าในสถานการณ์ปกติ ที่ใช้มากในสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น วีวี ตู้เย็น ยางรถยนต์ สบู่ ยาสีฟัน และอาหารประเภทจานด่วน ความสาเร็จของการส่งเสริมการขายขึ้นกับการสนับสนุนของการส่งกาลังบารุง ได้แก่ การขนส่ง และการจัดเก็บ ที่จะต้องส่งด่วนให้ร้านค้าที่สามารถขายได้มาก (3.6) สินค้าคลังเพ่ือความเสี่ยงการขาดตลาดและการขึ้นราคา สินค้าที่เปลี่ยนแปลงราคาขึ้นลงบ่อยๆ เช่น สินค้าพืชไร่ ได้แก่ เมล็ดกาแฟดิบ ยางพารา เป็นต้น (3.7) สินค้าคงคลังที่หมดความนิยมและขายไม่ได้แล้ว อะไหล่อิเล็กทรอนิกส์ เป็นชิ้นส่วนที่หมดความนิยมได้อย่างรวดเร็ว ที่ผู้ขายต้องระวังอย่างมาก ไม่เก็บของเกินความต้องการองตลาดสินค้าที่อยู่ในระยะอ่ิมตัวต้องระวังจานวนในการเก็บสต็อกอย่างมาก และต้องการผลิตน้อยลง ให้พอเพียงกับความต้องการของตลาดที่ค่อยๆ ลดลง

คลังสินค้าเอกชน คลังสินค้าสาธารณะ 1. การมีคลังสินค้าเป็นของตนเองจะเหมาะสมในกรณีที่มีคาสั่งซื้อเป็นจานวนมากและต่อเนื่อง

1. บางครั้งมีปริมาณสินค้าไม่มากนักหรือสามารถจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าได้ทันทีจึงไม่จาเป็นต้องสร้างคลังสินค้าของตนเอง แต่ใช้วิธีการเช่าจากผู้ประกอบการคลังสินค้าอ่ืนแทน

2. การมีคลังสินค้าเป็นของตนเองต้นทุนจะต่าลงในระยะยาว แม้ว่าจะมีสินค้าที่จัดเก็บเฉพาะฤดูกาล แต่หากสามารถนาไปให้เอกชนอื่นๆ เช่าดาเนินการได้ก็จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการพิจารณาจัดตั้งคลังสินค้า

2. ในบางครั้งเป็นความจาเป็นในการจัดเก็บสินค้าจากวัตถุดิบตามฤดูกาล ผู้ผลิตจาเป็นต้องผลติสนิค้าไว้เมื่อมีวัตถุดบิจานวนมาก และเก็บรักษาไว้ในรูปสินค้าสาเร็จรูปรอการจาหน่าย อาจไม่จาเป็นต้องสร้างคลังสินค้าเอกชนหรือคลังสินค้าส่วนตัว

3. มีความยืดหยุ่นในการดาเนินการดีกว่าการเช่าคลังสินค้าสาธารณะ หากต้องมีการจัดตั้งระบบการจัดการแบบอัตโนมัติ แต่ปัญหาคือค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในการดาเนินงานจะควบคุมยาก และอาจเกิดต้นทุนท่ีไม่แน่นอน

3. การควบคุมค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนสามารถควบคุมได้จากค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่แสดงออกมาเป็นยอดค่าเช่าหรือค่าบริการต่างๆ ทาให้กาหนดงบประมาณในแต่ละช่วงเวลาได้เหมาะสม

4. มีความเสี่ยงต่อการลงทุนมาก ทั้งนี้เนื่องจากปัจจุบันราคาที่ดิน ซึ่งหมายรวมถึงการซื้อ เช่า หรือเซ็ง จะสูงมาก หากต้องการราคาถูก อาจจะได้ทาเลที่ตั้งที่ไกลมาก ขาดแคลนสาธารณูปโภครองรับ

4. เป็นการลดความเสี่ยงต่อการลงทุนในด้านการดาเนินงานคลังสินค้า ในบางครั้งธุรกิจอาจต้องย้ายฐานการผลิตจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง คลังสินค้าเอกชนที่มีอยู่อาจไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้

5. ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิจ หากมีเงินทุนจากัด ต้องนาไปสร้างคลังสินค้าเอกชน กลายเป็นสิ่งที่ต้องนามาพิจารณา

5. การเริ่มต้นที่มีต้นทุนจากัด ผู้ประกอบการอาจเลือกใช้คลังสินค้าสาธารณะเป็นทางเลือกเพื่อนาเงินทุนที่มีไปใช้ในส่วนอ่ืนๆ ท่ีมีความจาเป็นมากกว่า

ตารางที่ 7.1 การเปรียบเทียบลักษณะของการใช้ประโยชน์จากคลังสินค้าเอกชนกับคลังสินค้าสาธารณะ4

หน้าที่คลังสินค้า ระบบคลังสินค้ามีหน้าที่หลักอยู่สองประการคือ การจัดเก็บสินค้าคงคลัง และการจัดการวัสดุ กิจกรรมประกอบด้วยการนาวัสดุขึ้นเก็บและการนาลงจากที่เก็บ การเคลื่ อนย้ายวัสดุไปยังจุดที่กาหนดภายในคลังสินค้าหรือการใช้สถานที่กาหนดให้เป็นจุดส่งของ การจัดเก็บในระบบคลังสินค้า เป็นการกาหนดการรักษาสินค้าคงคลังในช่วงเวลาที่กาหนด การกาหนดจุดเก็บของและระยะเวลาการเก็บรักษาย่อมขึ้นกับวัตถุประสงค์ของสินค้าที่ฝ้าย

4 http://www.technosriracha.ac.th/Logistic/

Page 9: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

คลังสินค้าก าหนดหน้าที่ต้องบริการลูกค้าที่มารับบริการ เริ่มจากการรับของ กาหนดที่จัดเก็บหรือส่งให้ลูกค้าที่มีความต้องการด่วน หรือกาหนดที่เก็บซึ่งกาหนดไว้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของคลังสินค้า เจรียมสินค้าตามใบสั่งซื้อให้ลูกค้า แล้วจัดพาหนะจัดส่งสินค้ามี 5 ประการ 1) การรับของ (Receiving) จากผู้บริการวัตถุดิบหรือสินค้าสาเร็จรูป ผู้ส่งของจะนัดมาที่คลังสินค้าก่อนเพ่ือเตรียมจัดเก็บ 2) การเตรียมเก็บหรือส่งต่อ (Putaway) สินค้าบางอย่างมีการสั่งซื้อรอไว้อยู่แล้ว ผู้บริหารคลังสินค้าต้องสื่อให้ผู้จัดส่งรู้ล่วงหน้าเพื่อการจัดส่งได้ทันที ไม่ต้อจัดเรียงเข้าที่ในคลังสินค้าก่อน โดยสินค้าเหล่านี้เป็นสินค่าที่ส่งข้ามท่า (Cross Docking) 3) การจัดเก็บ (Storage) สินค้าเข้าที่ที่กาหนด ตามโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะกาหนดสินค้าที่ขายมากอยู่ที่ใกล้กว่าสินค้าท่ีขายน้อย เป็นการประหยัดเวลาในการหยิบเก็บเตรียมการจัดส่ง 4) การจัดเตรียมสินค้าตามคาสั่ง (Order picking) คือการนาสินค้าลงจากชั้นวางของมากองเรียงตามที่ลูกค้าสั่งซื้อเป็นเฉพาะรายก่อนนาของขึ้นยานพาหนะขนส่ง ส่วนใหญ่สินค้าจะกองเรียงตรงประตูใกล้ทางออก 5) การจัดส่ง (Shipping) คลังสินค้ามีหน้าที่เตรียมประเภท และจานวนยานพาหนะที่เหมาะสมกับการส่งของสินค้า เป็นพาหนะของบริษัทเองหรือใช้พาหนะที่จัดมาจากภายนอก ตามความเหมาะสม หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้า หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้าได้กาหนดไว้ 4 ประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) การเก็บรักษา (Holding) หน้าที่พื้นฐานของคลังสินค้าคือการเก็บรักษา ส่วนระยะเวลาของการเก็บรักษาจะขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า การกาหนดผังคลังสินค้าและวัสดุที่จะนามาใช้ในการสร้างชั้นจัดเก็บ ขึ้นกับสินค้าที่จะนามาจัดเก็บและรักษา ตัวอย่างเช่นการเก็บรักษาและการบ่มสุราจะต้องบรรจุในถังไม้และเก็บไว้ในคลังสินค้าที่มีอุณหภูมิที่ไม่สูง สินค้าที่นามาจัดเก็บยังมีสภาพหรือสถานะที่แตกต่างกัน เช่น เป็นสินค้าสาเร็จรูปพร้อมนาออกสู่การจาหน่าย ส่วนประกอบรอการประกอบในโรงงาน อะไหล่ที่รอส่วนประกอบอ่ืน และวัตถุดิบที่รอการผลิต เป็นต้น 2) ที่รวบรวมของสินค้าจากที่ต่างๆ (Consolidation) เป็นกิจกรรมของผู้ขายส่งหรือ ศูนย์กระจายสินค้าที่รวบรวมสินค้าจากที่ต่างๆ หลายโรงงานเพ่ือส่งให้กับลูกค้ารายใหม่เพียงรายเดียว ศูนย์รวมสินค้าที่อยู่นอกองค์กร ทาหน้าที่รวมสินค้าจากหลายๆ โรงงานเพื่อให้ลูกค้ารายเดียวซึ่งเป็นการลดค่าขนส่งและประหยัดเวลาในการขนส่ง

รูปที่ 6.2 แสดงคลังสินค้ารวบรวมของสินค้าจากผู้จ าหน่ายหลายราย

โรงงานที่ 1

โรงงานที่ 2

โรงงานที่ 3

คลังสินค้า ลูกค้า

Page 10: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

3) กระจายสินค้าขากโรงงานใหญ่ ให้ผู้ใช้หลายราย เป็นกิจกรรมตรงกันข้ามกับการรวมสินค้าจากที่ต่างๆ เพ่ือกระจายสินค้าได้จากผู้ผลิตรายเดียว คลังสินค้าประเภทนี้มีผู้ผลิตเพียงรายเดียวและลูกค้าจานวนมาก เช่น เหล็กเส้น ปูนซีเมนต์ และบริษัทน้ามัน เป็นต้น

รูปที่ 6.3 คลังสินค้าเป็นผู้กระจายสินค้าให้ลูกค้าหลายราย 4) การรวมสินค้าจากที่ต่างกันหรือสินค้าชนิดต่างกัน จากแหล่งผลิตหลายๆ รายและส่งให้กับลูกค้าเพียง 2-3 ราย คลังสินค้านี้เรียกว่าศูนย์กระจายสินค้า ใช้มากในอุตสาหกรรมอุปโภคและบริโภค

รูปที่ 6.4 แสดงคลังสินค้ารวบรวมของสินค้าจากผู้จาหน่ายหลายแบบและกระจายสินค้าให้ลูกค้าหลายราย กิจกรรมของคลังสินค้า กิจกรรมสาคัญของการจัดการคลังสินค้า

- ตรวจรับและตรวจสอบสินค้าท้ังด้านปริมาณคุณภาพและเก็บสินค้าไว้จนถึงเวลาที่ต้องการใช้ - จ าแนกเก็บสินค้าเป็นหน่วย (Stock Keeping Unit หรือ SKU) โดยทาการบันทึกเป็น - รหัสแท่ง (Bar Code) และเก็บข้อมูลทางด้านปริมาณ - เลือกประเภทสินค้าเพ่ือแยกเก็บตามสภาวะที่เหมาะสมสาหรับสินค้านั้น - เก็บรักษาสินค้าให้คงสภาพพร้อมที่จะนาไปใช้งานได้ - ค้นหาและจัดส่งสินค้าตามความต้องการใช้ที่แจ้งเข้ามา - ติดต่อกับฝ่ายขนส่งเพื่อตกลงกันเรื่องกาหนดเวลา ชนิดของพาหนะ และปริมาณสินค้าท่ีจะบรรทุก - รวบรวม บรรจุสินค้า เตรียมเอกสารกากับสินค้าเพ่ือการขนส่งและทาบัญชี

ลูกค้า 3

ลูกค้า 2 คลังสินค้า

ลูกค้า 1

โรงงาน

โรงงานที่ 2

โรงงานที่ 3

คลังสินค้า

ลูกค้า 1

Page 11: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

- เตรียมรายงานสินค้าคงคลังทั้งการรับหรือการส่งสินค้าออกไปยังฝ่ายขนส่ง การเลือกใช้คลังสินค้า คลังสินค้าอาจจะเป็นของผู้ดาเนินกิจการเอง หรือเช่าจากบริษัททากิจการคลังสินค้า การเลือกใช้คลังสินค้ามีรูปแบบใหญ่ๆ 4 ประเภท คือ คลังสินค้าของบริษัท เช่าพ้ืนที่คลังสินค้า ทาสัญญาเช่าระยะยาว และการเก็บรักษาระหว่างเดินทาง 1) คลังสินค้าของบริษัท เป็นคลังสินค้าที่บริษัทตั้งขึ้นมาเอง สาหรับเก็บวัตถุดิบเพ่ือการผลิตและเก็บสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วเพ่ือเตรียมส่งลูกค้า 2) การเช่าพื้นที่คลังสินค้าสามารถเช่าพ้ืนที่จากบริษัทที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเดียวกันและมีที่คลังสินค้าเหลือใช้ หรือเช่าจากบริษัทที่จกทะเบียนเป็นบริษัทคลังสินค้า บริษัทคลังสินค้าจะรับบริการรับของ จัดเก็บสินค้า นาของขึ้นรถเพ่ือเตรียมจัดส่ง 3) การทาสัญญาเช่าระยะยาว มักทาสัญญาเช่าระยะยาวเป็นปี เช่น ผู้ส่งออกพืชไร่ การเช่าสามารถเช่าจากผู้ดาเนินกิจการคลังสินค้าโดยตรง หรือบริษัทใกล้เคียงท่ีมีพ้ืนที่ทางานเหลือใช้ นามาบริการให้เช่า 4) การเก็บรักษาระหว่างการเดินทาง ได้แก่ การเก็บรักษาในตู้คอนเทนเนอร์ระหว่างการเดินทางจากประเทศ ซึ้งใช้เวลา 3-5 สัปดาห์ สินค้าที่อยู่ในตู้คอนเทนเนอร์เป็นสิทธิของผู้ซื้อแล้วสามารถนาไปขายล่วงหน้า หรือทานิติกรรมได้ การเลือกบริษัทขนส่งทาให้ระยะเวลาการส่งของเปลี่ยนแปลงกาหนดการส่งของได้ การกาหนดตารางเวลาที่เหมาะสมทาให้ลดค่าใช้จ่ายการจัดเก็บลงได้ เช่น ถ้ากาหนดให้เมื่อสินค้าถึงท่าเรือแล้วสามารถส่งให้ลูกค้าได้ทันทีโดยไม่ต้องให้พักค้างในคลังสิค้า ลดค่าขนส่งที่ไม่ต้องขนสินค้ากลับคลังสินค้าของบริษัท แล้วส่งให้ลูกค้าอีกทอดรวมลดค่าขนส่งได้ 2 เที่ยว หน่วยเรียนรู้ที่ 1.3 การจัดการคลังสินค้า คลังสินค้าเป็นจุดเชื่อมต่อทางธุรกิจระหว่างโรงงานของผู้ขายวัสดุกับโรงงานของบริษัทและระหว่างโรงงานกับลูกค้าหรือผู้บริโภค5 ดังนั้น การจัดการคลังสินค้าจึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีความสาคัญ ได้แก่ ต้นทุนอันเกิดจากการจัดการคลังสินค้า และ ต้นทุนสินค้าคงคลัง โดยการจะทราบว่าการจัดการคลังสินค้าดีหรือไม่นั้นสามารถดูได้จากปัญหา/อาการ (Symptoms of Poor Inventory Management) ที่เกิดขึ้นจากการจัดการคลังสินค้าได้แก่ 1. การเพ่ิมขึ้นของจานวน Backorder ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามี การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) จ านวนมาก 2. มีจานวนของ Backorder คงท่ีแต่เงินลงทุนสินค้าคงคลังเพ่ิมข้ึน 3. มีการเปลี่ยนแปลงลูกค้าสูง 4. การเพ่ิมจานวนของการยกเลิกคาสั่งซื้อจากลูกค้าหรือคนกลาง 5. พ้ืนที่ในการจัดเก็บไม่เพียงพอจากสินค้าคงคลังที่มีมากเกินที่จะเก็บได้ 6. การเพ่ิมจานวนเงินและมูลค่าของสินค้าล้าสมัย

5 ไชยยศ ชยัมัน่คง และ ดร. มยขุพนัธุ์ ไชยมัน่คง. (2550). บทท่ี 10 การจดัการคลงัสินค้า. กลยทุธ์โลจิสติกส์และซพัพลายเชนเพื่อการแขง่ขนัในตลาดโลก. หน้า 390.

Page 12: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

ผลจากการจัดการสินค้าคงคลังจะส่งผลต่อระบบการเงินของสินค้าคงคลังที่แสดงออกมาในรูปแบบของ THE DUPONT MODEL, กาไรสุทธิ (NET Profit), อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (Asset Turnover), ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets), ใช้ประโยชน์ทางการเงิน (Financial Leverage) ต้นทุนอันเกิดจากการจัดการคลังสินค้า

รูปที่ 6.5 DuPont Model for ABC Corporation6 วิธีการวัดที่สาคัญอีกวิธีการหนึ่งคือการวัดไปยังผู้ถือหุ้นซึ่งจะทาให้เห็นถึงกาไรสุทธิจากในส่วนของผู้ถือหุ้น ถึงแม้ว่าจะเป็นวิธีการที่ช่วยยืนยันประสิทธิภาพของการบริหารจัดการที่งานในการจัดการการซื้อขายหรือขายสินค้าในคลัง ดังนั้น การวัดวิธีดังกล่าวจึงไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เนื่องจากอัตราส่วนที่วัดได้จะให้ผลที่สูงกว่าค่าที่เป็นจริง ซึ่งการใช้การคานวณแบบ the DuPont model (รูปที่ 6.6) จะพบว่า มีมีกาไรสุทธิหลังหักภาษีจาก 5 ล้านดอลลาร์อัตรากาไรสุทธิร้อยละ 10 ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์อยู่ที่ร้อยละ 10.6 และผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นร้อยละ 19.9 The DuPont model แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้นถ้าบริษัทที่จะขายส่วนหนึ่งของคลังสินค้าราคา 2 ล้านดอร์ลาสหรัฐอเมริกาและใช้เงินเพ่ือลดการต้นทุนในระยะยาว สินค้าคงคลังจะต้องลดลง 1 ล้านดอร์ล่าสหรัฐอเมริกาให้พอดีกับพ้ืนที่จัดเก็บที่น้อยกว่า เพราะสินค้าคงคลังเป็นทุนที่ร้อยละ 10 ของตัวแปรด้านต้นทุนในการดาเนินงาน 100,000 ดอร์ล่าสหรัฐอเมริกาและบัญชีการค้าลดลง 1 ล้านดอร์ล่าสหรัฐอเมริกา สินทรัพย์ทั้งหมดเท่ากับ 44 ล้านดอร์ล่าสหรัฐอเมริกา เช่นเดียวกับหนี้สินรวม อัตราดอกเบี้ยในระยะยาวคิดเป็นร้อยละ 10 ค่าใช้จ่ายคงที่เพ่ือให้ลดลง 200 ถึง 14,800,000 ดอร์ล่าสหรัฐอเมริกา ดังนั้น The DuPont model ที่มีการปรับปรุงใหม่ดังแสดงในรูปที่ 6.6

6 David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

Page 13: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

รูปที่ 6.6 Modified DuPont Model77 โดยการขายคลังสินค้าและการปรับค่าใช้จ่ายสินทรัพย์และหนี้สิน ABC ‘s profit เพ่ิมขึ้น 9.19 ล้านดอร์ล่าสหรัฐอเมริกา ในทานองเดียวกันอัตรากาไรเพ่ิมขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 10.3 ผลตอบแทนจากสินทรัพย์เพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 11.7 และผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ 20.6 ตน้ทุนสินค้าคงคลัง ไม่ว่าจะเป็นสินค้าคงคลังประเภทไหนมักจะมีราคาแพงซึ่งผู้เชี่ยวชาญบางท่านได้ประมาณการต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมดจะมีตั้งแต่ร้อยละ 14 จนถึงมากกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าของผลิตภัณฑ์พ้ืนฐาน ต้นทุนสินค้าคงคลังสามารถมีได้มากถึงร้อยละ 38 ของต้นทุนโลจิสติกส์ จึงไม่น่าแปลกใจที่จะมีความพยายามในการควบคุมสินค้าคงคลังและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง แต่การควบคุมต้นทุนสินค้าคงคลังจะต้องมีความเข้าใจว่าสถานการณ์ของสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลัง (Carrying Cost) และ ต้นทุนการสั่งซื้อ (Ordering costs) โดยต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลัง (Carrying Cost) คือ ต้นทุนในการดาเนินการที่เก่ียวข้องกับผลิตภัณฑ์ทางกายภาพ ในขณะที่ต้นทุนการสั่งซื้อเป็นค่าใช้จ่ายของการวางค าสั่ง (รูปที่ 6.7) ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้ง 2 แบบ มีความสัมพันธ์ที่ผกผันกัน กล่าวคือ บริษัทสามารถดาเนินการสินค้าคงคลังเพ่ิมเติมและสั่งซื้อน้อย หรือ มีคาสั่งบ่อยขึ้นและมีสินค้าคงคลังที่น้อยมักจะทาให้ต้นทุนในการสั่งซื้อลดลง ดังนั้นปัญหาที่สาคัญของการจัดการคลังสินค้าคือการหาต้นทุนรวมต่าสุด

7 David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

Page 14: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

รูปที่ 6.7 Inventory Carrying Costs8 ต้นทุนการดาเนินการ (CARRYING COSTS) ต้นทุนการดาเนินการ (Carrying Cost) เป็นต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บสินค้าทางกายภาพซึ่งมีอยู่ 4 ลักษณะ ประกอบด้วย เงินทุน (capital), พ้ืนที่จัดเก็บ (storage space), การบริการ (service), ความเสี่ยง (risk) โดยต้นทุนทั้งหมดมักจะมากกว่าต้นทุนในการสั่งซื้อ (ordering costs) ต้นทุนถือครองจะถูกคานวณภายใต้เงื่อนไขที่สาคัญ 2 ประการ คือ 1) การคานวณต้นทุนทั้งหมดก่อนการหักภาษี 2) คานวณจากต้นทุนที่แตกต่างจากสินค้าคงคลังที่ถูกรวมกับต้นทุนการดาเนินการไปแล้ว ตัวอย่างเช่น เงินเดือนผู้จัดการคลังสินค้าไม่เป็นต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลัง ต้นทุนด้านเงินทุนหรือโอกาสเปรียบเทียบกับสิ่งที่บริษัทจะได้รับจากการลงทุนอ่ืนๆ ซึ่งส่วนใหญ่ต้นทุนด้านเงินทุนเป็นประเภทต้นทุนการดาเนินการที่มีมากที่สุด ซึ่งบริษัทอาจจะใช้อัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุนเป็นต้นทุนด้านเงินของสินค้าคงคลังในการประมาณการครั้งแรกที่ต้นทุนพ้ืนที่ในการจัดเก็บครอบคลุมถึงต้นทุนในการเคลื่อนย้ายสินค้าในการเข้าออกของสินค้าคงคลัง ซึ่งเพียงต้นทุนผันแปรของค่าเช่าค่าสาธารณูปโภคและพ้ืนที่ หากบริษัทเช่าหรือเช่าพ้ืนที่คลังสินค้าบนต่อหน่วยพ้ืนฐานสาหรับสินค้าคงคลังตามฤดูกาลแล้วต้นทุนจะเป็นต้นทุนพ้ืนที่จัดเก็บ แต่หากบริษัทเป็นเจ้าของคลังสินค้าของตัวเองและไม่จ่ายค่าพรีเมี่ยมที่สามารถระบุตัวในต้นทุนสินค้าคงคลังแล้วต้นทุนก็จะไม่นับรวมต้นทุนพ้ืนที่จัดเก็บหรือต้นทุนการดาเนินการ แต่จะเป็นต้นทุนด้านคลังสินค้าแทน ต้นทุนด้านการบริการสินค้าคงคลังได้แก่การประกันและภาษี ซึ่งบริษัทควรมีนโยบายการประกันสินค้า อย่างไรก็ตามนโยบายการประกันสินค้าบางตัวถูกเขียนได้หลากหลายรูปแบบและมีองค์ประกอบที่เฉพาะเจาะจง ความหลากหลายขององค์ประกอบควรถูกรวมในต้นทุนการให้บริการสินค้าคงคลัง เริ่มตั้งแต่ภาษีสินค้าคงคลัง ซึ่งรัฐส่วนใหญ่มีภาษีสินค้าคงคลัง รัฐส่วนใหญ่ยังมีข้อยกเว้นสินค้าคงคลังเหล่านี้ ข้อยกเว้นมักจะได้รับการยกเว้นสินค้าคงคลังที่ไม่ได้ขายในรัฐ เช่น กฎหมายคลังสินค้าพอร์ตฟรีสร้างโอกาสการหลีกเลี่ยงภาษี

8David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

Page 15: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

สินค้าคงคลัง ตัวอย่างเช่น หลายบริษัทดาเนินการศูนย์กระจายสินค้าใน รัฐ Reno หรือ รัฐ Nevada ที่จะให้บริการตลาดแคลิฟอร์เนีย รัฐ Nevada มีกฎหมาย free port warehouse ที่จะช่วยให้บริษัทหลีกเลี่ยงบางภาษีสินค้าคงคลังแคลิฟอร์เนีย ต้นทุนความเสี่ยงของสินค้าคงคลังหมายรวมถึงต้นทุนสินค้าล้าสมัย , ของเสียหาย, การเคลื่อนย้าย สินค้าล้าสมัยหมายถึงสินค้าที่ไม่สามารถขายในราคาเดิมหรือราคาทุนเดิม ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ดีต้องสามารถใช้ได้หรือผลิตภัณฑ์จานวนมากได้รับการลงวันที่หมดอายุถือเป็นสินค้าล้าสมัย สินค้าประเภทนี้ส่วนใหญ่ได้แก่ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารและเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ ดังนั้น ผู้จัดการ หรือตัวแทนส่งมอบที่มีการเก็บสินค้าประเภทนี้มากกว่าจานวนสินค้าที่ร้านค้าปลีกต้องการจะเป็นการสร้างค่าใช้จ่ายสินค้าล้าสมัย นอกจากนี้ยังมีสินค้าที่อาจได้รับความเสียหายในการจัดเก็บหรือส่ง ซึ่งสาเหตุมากมายที่ทาให้สินค้าคงคลังทางกายภาพหดตัวลงเป็นต้นทุนการเปลี่ยนสถานที่เก่ียวข้องกับการเคลื่อนย้ายจากคลังสินค้าหนึ่งเพ่ือตอบสนองความต้องการของลูกค้า ต้นทุนการด าเนินการมักจะเป็นอัตราร้อยละของมูลค่าของผลิตภัณฑ์ ในการค านวณต้นทุนการดาเนินการของบริษัทจะต้องระบุมูลค่าสินค้าคงคลังที่วัดหมวดหมู่ต้นทุนแต่ละตัวเป็นร้อยละและคูณร้อยละต้นทุนการดาเนินการโดยรวมแต่ละครั้งของมูลค่าสินค้าคงคลัง ถ้าค่าของยางรถยนต์ 100 เหรียญดอร์ลาสหรัฐอเมริกา ต้นทุนการดาเนินการยางที่เป็นสินค้าคงคลังจะขึ้นอยู่กับการคานวณของร้อยละต้นทุนการดาเนินการของสินค้าคงคลัง ตัวอย่างเช่น ต้นทุนการด าเนินการอาจจะมี (1) เงินทุนร้อยละ 10 (2) พ้ืนที่การจัดเก็บร้อยละ 2 (3) บริการสินค้าคงคลังร้อยละ 3 และสินค้าคงคลังบริการร้อยละ 3 (4) ความเสี่ยงร้อยละ 1 จากนั้นรวมสินค้าคงคลังเข้าด้วยกัน เท่ากับร้อยละ 16 แปลงตัวชี้วัดเชิงผลิตภัณฑ์เป็นมูลค่าในรูปของร้อยละจะได้มูลค่าต้นทุนการดาเนินการของยางเป็น 16 เหรียญดอร์ลาสหรัฐอเมริกาต่อปี (0.16 x $100 = $ 16) ดังนั้น ประมาณร้อยละ 10 ของต้นทุนค่าเสียโอกาสที่ลดลงสาหรับบริษัทขนาดใหญ่ภายใต้เงื่อนไขของการจัดทางบประมาณเงินทุน แต่อาจจะนาไปใช้กับธุรกิจขนาดเล็กที่จะจ่ายเงินกู้จากธนาคารถ้าเงินเป็นอิสระ ต้นทุนการสั่งซ้ือ (ORDERING COSTS) ต้นทุนการสั่งซื้อประกอบด้วยต้นทุนในการสั่งซื้อ ต้นทุนการติดตั้งหรือทั้งสองอย่าง ต้นทุนในการสั่งซื้ออาจรวมถึงการจัดเตรียมและการประมวลผลคาขอเพ่ือการเลือกซัพพลายเออร์ที่ตรวจสอบสต็อกการเตรียมการชาระเงินและการตรวจสอบระดับสินค้าคงคลัง ส่วนต้นทุนการติดตั้งจะพิจารณาการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตเพ่ือให้สินค้าที่แตกต่างกัน ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายด้านบุคคลากรรวมทั้งค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ ทุน โดยบริษัทจานวนมากใช้คาสั่งซื้อแบบ Blanket เพ่ือลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ การจ าแนกสินค้าคงคลัง (CLASSIFYING INVENTORY) ระบบการจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลังช่วยจัดสรรเวลาและเงินในการจัดการสินค้าคงคลัง ระบบการจาแนกประเภทสินค้าคงคลังช่วยให้บริษัทสามารถที่จะจัดการกับสายการผลิตที่มีความหลากลหายของผลิตภัณฑ์และความหลากหลายของหน่วยเก็บสต็อก (stock-keeping units: SKU) ในการจาแนกสินค้าคงคลังที่นิยมนามาประยุกต์ใช้มี 2 รูปแบบ ได้แก่ การวิเคราะห์เบื้องต้น คือ ABC analysis และการวิเคราะห์ค่าวิกฤต (critical value analysis: CVA) โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 16: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

ABC ANALYSIS การวิเคราะห์ABC เป็นการจ าแนกผลิตภัณฑ์ตามความส าคัญ ความส าคัญอาจจะมาจากกระแสเงินสด, เวลาน า (lead time), การขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (stockout), ต้นทุนขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (Stockout), ปริมาณการขายหรือการทากาไร เมื่อปัจจัยการจัดอันดับเป็น cosen, ทาลายจุดจะถูกเลือก A, B, C, และอ่ืน ๆ การวิเคราะห์เบื้องต้นใช้กฎหมาย Pareto ซึ่งแยก "สินค้าที่มีความสาคัญมาก" จาก "สินค้าที่มีความสาคัญน้อย" ตัวอย่างที่มีการใช้เป็นประจาซึ่งเกิดจากส่วนใหญ่ของยอดขายมาจากส่วนเล็กๆ ของพนักงานขาย กฎ "80-20" ซึ่งเป็นกฎ Pareto กล่าวว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของการสั่งซื้อมาจากร้อยละ 20 ของลูกค้า

รูปที่ 6.8 ABC Analysis เมื่อปัจจัยการจัดอันดับการเลือกผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในลาดับความส าคัญจากมากไปน้อย ในตัวอย่างนี้ปัจจัยการจัดอันดับเป็นรายได้จากการขายที่เกิดขึ้นจริงและสะสมเปอร์เซ็นต์ของรายได้การขายสาหรับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดมีการคานวณ การจัดรายการจะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้ประเมิน และการจัดหมวดหมู่อาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีประสิทธิภาพการจัดอันดับ การวิเคราะห์ค่าวิกฤต (CRITICAL VALUE ANALYSIS: CVA) การวิเคราะห์ค่าวิกฤต (CVA) ให้ความสาคัญมากขึ้นกับรายการ C แม้ว่าจะจัดอันดับผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับ ABC analysis แต่ CVA วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ตามอัตรา การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ตามปกติจะใช้สาหรับการจัดหมวดหมู่ผลิตภัณฑ์ประมาณ 3-5 ประเภท โดย CVA สามารถประเมินผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. การจัดลาดับความสาคัญด้านบน (Top priority) เป็นรายการที่สาคัญและเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีตลอดเวลา สินค้าจะขาดตลาดไม่ได ้ 2. การจัดลาดับความสาคัญสูง (High priority) เป็นรายการที่จาเป็น แต่มีการควบคุม การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ในปริมาณท่ีจากัด

Page 17: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

3. การจัดลาดับความสาคัญปานกลาง (Medium priority) เป็นรายการจาเป็น แต่สามารถ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) เป็นครั้งคราวได้ 4. การจัดลาดับความสาคัญระดับต่า (Low priority) เป็นรายการที่เป็นที่น่าพอใจ แต่สามารถ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ได ้ 5. การจัดลาดับความสาคัญต่าสุด (Lowest priority) เป็นรายการที่มีความต้องการ แต่สามารถ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ได้บนพื้นฐานกว้าง อัตราการขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (Stockout) เป็นการช่วยในการจัดหมวดหมู่ของแต่ละรายการ โดยการจัดลาดับความสาคัญด้านบน (Top priority) ควรเป็น zero stockouts การจัดลาดับความสาคัญสูง (High priority) มีอัตราที่ร้อยละ 3 ส่วนอัตรา การขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (Stockout) การจัดลาดับความสาคัญปานกลาง (Medium priority) อยู่ที่ร้อยละ 6 อัตราการจัดลาดับความสาคัญระดับต่า (Low priority) อยู่ที่ร้อยละ 10 และการจัดลาดับความสาคัญต่าสุด (Lowest priority) อยู่ที่ร้อยละ 15 รูปแบบการจัดการสินค้าคงคลัง (INVENTORY MANAGEMENT MODELS) 1.รูปแบบการผลักและการดึง (PUSH AND PULL MODELS) รูปแบบการจัดการสินค้าคงคลังสามารถถูกจัดรูปแบบเป็นทั้งผลักหรือดึง รูปแบบการผลักดันตารางคาสั่งให้การผลิตหรือการสั่งซื้อสินค้าในอนาคตของความต้องการของลูกค้า ซึ่งผู้ผลิตผลักดันผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายไปยังตัวกลางและผู้บริโภคขั้นสุดท้าย รูปแบบการผลัก (Push Model) ประกอบด้วย ปริมาณการสั่งซื้อทางเศรษฐกิจ (EOQ) การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRPI) การวางแผนทรัพยากรการผลิต (MRPII) และความต้องการการวางแผนการจัดจาหน่าย (DRP) 2.รูปแบบสินค้าคงคลังแบบดึงจะขึ้นอยู่กับเครื่องหมายสินค้าเมื่อความต้องการของลูกค้าเป็นที่รู้จักกัน สินค้าจะถูกดึงผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายตามคาสั่ง แนวโน้มล่าสุดแสดงให้เห็นการเคลื่อนไหวที่จะใช้รูปแบบการดึงสินค้าคงคลังเพ่ือลดสินค้าคงคลังในทุกช่องทาง ระบบ Just-in-time (JIT) และ ระบบคัมบัง (KANBAN) เป็นระบบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในรูปแบบสินค้าคงคลังแบบดึง รูปแบบการสั่งซ้ือทางเศรษฐกิจปริมาณ (ECONOMIC ORDER QUANTITY MODEL) ในสภาพแวดล้อมที่คาดวัง การคาดการณ์ความต้องการจะเป็นไปได้ง่ายและตรงไปตรง เพียงแค่มองไปที่รูปแบบความต้องการที่ผ่านมาเพ่ือคาดการณ์การบริโภคในอนาคต ภายใต้เงื่อนไขเหล่านี้แบบ EOQ สามารถนามาใช้ในการคานวณเวลาที่จะสั่งซื้อสินค้าและวิธีการสั่งซื้อ สมการ EOQ ขั้นพ้ืนฐานดังนี้

EOQ = √2𝑃𝐷/𝐶𝑉

เมื่อ P = ค่าใช้จ่ายของการวางคาสั่งซื้อ D = ความต้องการประจาปีสาหรับผลิตภัณฑ์ C = ต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลังประจาปีแสดงเป็นร้อยละของต้นทุนของผลิตภัณฑ์ V = ต้นทุนเฉลี่ยหรือมูลค่าหนึ่งหน่วยของสินค้าคงคลัง สมมติฐานการสั่งซื้อทางเศรษฐกิจปริมาณ (ECONOMIC ORDER QUANTITY ASSUMPTION) เงื่อนไขของแบบ EOQ อาศัยหลายสมมติฐาน:

Page 18: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

1. มีอัตราความต้องการอย่างต่อเนื่อง คงท่ี และรู้อัตราความต้องการ 2. รอบเวลา / วงจรการเติมเต็มเป็นที่รู้จักและคงที่ 3. ราคาการจัดซื้อคงที่เป็นอิสระจากปริมาณการสั่งซื้อ 4. ต้นทุนการขนส่งมีค่าคงที่ไม่ว่าจานวนที่เคลื่อนย้ายหรือระยะทาง 5. ไม่มีการขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (Stock-out) 6. ไม่มีสินค้าคงคลังในระหว่างการขนส่ง 7. ส่วนสินค้าคงคลังทั้งหมดเป็นอิสระจากกัน 8. การวางแผนไม่มีที่สิ้นสุด 9. ไม่มีการจากัดปริมาณของเงินทุนที่มีอยู่ สมมติฐานเหล่านี้มักจะหลงทางห่างไกลจากชีวิตจริง ความต้องการอย่างต่อเนื่องจะไม่ค่อยคงที่และเป็นที่รู้จัก เวลานา, ต้นทุนการขนส่ง และราคาที่แตกต่างกันไป กาไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stock-out) ที่เกิดข้ึน การวางแผนที่ระยะยาวถูกจากัด และปริมาณส่วนลดได้อย่างมีนัยสาคัญ นอกจากนี้สินค้าจานวนมากมีการพ่ึงพาซึ่งกันและกัน สินค้าคงคลังในการขนส่งไม่ได้หมายความว่า บริษัท ที่ซื้อบนพ้ืนฐานของการส่งมอบราคาและขายแบบ F.O.B จะมีการวางแผนที่จากัด เช่น เงินทุนที่มีอยู่ อย่างไรก็ตาม EOQ เป็นรูปแบบสินค้าคงคลังเดียวที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย มันเป็นเรื่องง่ายท่ีจะใช้และให้คาตอบที่แน่นอน รูปแบบการ EOQ พ้ืนฐานที่หลากหลานซึ่งเป็นตัวแปรหนึ่งที่ทาให้ปริมาณการสั่งซื้อคงที่ แต่จะแปรผันตามระยะเวลาที่จะแตกต่างกันไป ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในรูแบบปริมาณคงที่ และรูปแบบตัวแปรด้านเวลา การแปรผันของ EOQ คือการตั้งเวลาการสั่งซื้อ (จุดสั่งซื้อใหม่) แต่แตกต่างกันไปตามปริมาณการสั่งซื้อ (ความแปรผันด้านปริมาณแต่เวลาคงที่) เพราะระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงและการคาดการณ์ที่คลาดเคลื่อนมีความสาคัญต่อสินค้ าคงคลังสารอง (safety stock) โดยสินค้าคงคลังสารอง (safety stock) จะช่วยป้องกันไม่ให้บริษัทเกิดการไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (stock-out) เมื่อความต้องการหรือระยะเวลาในการเปลี่ยนแปลงมีมากขึ้นควรมีการสารวจสินค้าคงคลังสารอง (safety stock) ระดับการบริการลูกค้าและสินค้าคงคลังส ารอง (CUSTOMER SERVICE LEVEL and SAFERTY STOCK) สินค้าคงคลังสารองเป็นสินค้าคงคลังที่จัดขึ้นเนื่องจากความไม่แน่นอนของระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง (Lead time) นอกจากนี้ สินค้าคงคลังสารองยังเป็นสินค้าท่ีใช้ชดเชยผลิตภัณฑ์ที่หมดในคลังสินค้า ต้นทุนของสินค้าคงคลังสารองและต้นทุนการไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stock-out) ควรถูกวิเคราะห์เพ่ือตัดสินใจเมื่อมีการเก็บสินค้าไว้เป็นพิเศษ จากการศึกษาพบว่า ลูกค้าจะยอมรับรับการบริการลูกค้าที่ต่ากว่าระดับการบริการลูกค้า การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (stock-out) จะแปรผันตามอุตสาหกรรมและช่องทางสมาชิก บริษัทผู้ผลิต เช่น ฟอร์ดและโตโยต้าจะไม่มีการขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (stock-out) เนื่องจากต้นทุนการหยุดการผลิตและเริ่มต้นการผลิตใหม่ ในขณะที่ร้านค้าปลีก เช่น Wal-Mart และ Sears สามารถทนต่อการไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (stock-out) ได ้ ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehousing Management System) แนวโน้มในการกระจายสินค้าปัจจุบัน เริ่มใช้ระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติ เช่น ซันโยใช้คลังสินค้าอัตโนมัติในการกระจายสินค้า จัดเก็บประมาณหนึ่งหมื่นพาเลท ซึ่งต้องพ่วงระบบการจัดการคลังสินค้ากับหุ่นยนต์ที่อยู่ในรูปเครนขนสินค้า (Stacker Crane) นอกจากนั้นยังควบคุมการจัดเก็บ การรับ การเลือกหยิบสินค้า การจัดส่ง ต่อพ่วงกับระบบการจัดการขนส่ง

Page 19: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

(Transportation Management System) การจัดการลานเก็บสินค้าหรือจอดรถ (Yard Management) มีระบบการจัดการด้านแรงงาน การออกฉลากรหัสแท่ง การบรรจุภัณฑ์ การค้นหาช่องจัดเก็บ ทาให้เกิดการใช้ปริมาตรคลังสูงสุด นอกจากนั้นยังมีการควบคุมกาหนดเวลาในการจัดส่งสินค้าของผู้ขาย ผู้ซื้อ ทาให้เกิดระบบสินค้าผ่านคลัง (Cross Docking) ดังแสดงในรูปที่ 6.9

รูปที่ 6.9 ระบบการจัดการคลังสินค้า (WMS) สินค้าคงคลังของผู้ขายปัจจัยการผลิตที่ได้รับการจัดการ (Vendor-Managed Inventory : VMI) ผู้กระจายสินค้าหรือผู้ซื้อ ในระบบเดิมจะสั่งซื้อสินค้าไปยังผู้ขายปัจจัยการผลิต เมื่อต้องการสินค้าโดยผู้กระจายสินค้ารับทาหน้าที่ในการกาหนดเวลา ขนาดการสั่งซื้อ การวางแผนระดับสินค้าคงคลังในระบบนี้ผู้ผลิตจะทาหน้าที่แทน โดยรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) หรืออินเตอร์เน็ต ซึ่งผู้ผลิตสามารถรับทราบยอดขาย ระดับสต็อคที่ผู้ขายสินค้ามีอยู่ผ่านระบบเรียลไทม์ที่มีอยู่ผู้ผลิตสามารถกาหนดระดับสินค้าคงคลังที่จะเก็บไว้โดยไม่ให้กระทบต่อการผลิต เพ่ิมประสิทธิภาพในซัพพลายเชน เป็นผู้วางแผนการผลิตเอง ทาให้เกิดประโยชน์ทั้งผู้ผลิตและผู้กระจายสินค้า เพ่ิมความเร็วในกระบวนการ ลดความยกพร่องในการป้อนข้อมูล เพราะการสื่อสารทาระหว่างระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ และอินเตอร์เน็ตระหว่างคอมพิวเตอร์ต่อคอมพิวเตอร์ โอกาสประโยชน์สินค้าในสต็อคขาดมีน้อยมาก ต้นทุนการวางแผนและการสั่งซื้อต่าลงเพราะย้ายไปให้ผู้ผลิตดาเนินการเอง การบริการได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นเพราะกระจายสินค้าได้ถูกต้อง ในเวลาที่กาหนด ทาให้ติดตามยอดขายจากจุดที่ขายได้ทันทีลดความบกพร่องในการสั่งสินค้าของผู้กระจายสินค้า ซึ่งเป็นการเริ่มต้นของความร่วมมือช่วงแรกในซัพพลายเชน

Page 20: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

หน่วยเรียนรู้ที่ 1.4 กรณีศึกษา การวิเคราะห์ต้นทุนและการลดต้นทุนโลจิสติกส์ในคลังสินค้า กรณีศึกษา:บริษัทกาวอุตสาหกรรม99 การบริหารต้นทุนที่ดีถือเป็นปัจจัยที่ส าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรที่มีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีคู่แข่งขันเป็นจ านวนมากอย่างอุตสาหกรรมกาว อีกทั้งมีผู้ประกอบการรายใหม่ ๆ พร้อมจะเข้ามาแข่งขันในอุตสาหกรรมตลอดเวลา การสร้างมูลค่าเพ่ิมจากสิ่งที่มีอยู่โดยไม่ต้องลงทุนในทรัพยากรเพ่ิมเติม ถือเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการด าเนินงานให้ดียิ่งขึ้น จากการวิเคราะห์ต้นทุนรายกิจกรรมที่ เกิดขึ้นขององค์กรในการน าทฤษฎีต้นทุนฐานกิจกรรมมาใช้ โครงการวิจัยนี้ยังจะน ามาต่อยอดและน าผลลัพธ์ที่ได้ มาหาแนวทางลดต้นทุนจากกิจกรรมโลจิสติกส์ที่เกิดขึ้น โดยน าวิธีการจัดเส้นทางการหยิบสินค้า (Routing Order Picker) มาประยุกต์ใช้ในการหาวิธีที่จะหยิบสินค้าให้ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุดในต้นทุนที่เหมาะสมที่สุด การก าหนดต้นทุนโลจิสติกส์มีจุดเริ่มต้นจากการน าแนวคิดด้านการตลาดที่กล่าวว่า “ความส าเร็จขององค์กรขึ้นอยู่กับการประเมินความจ าเป็น และความต้องการของตลาดเป้าหมาย รวมทั้งส่งมอบความพึงพอใจเหล่านั้นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เหนือคู่แข่ง” (Lambert และ Ellram, 1998) มาใช้กับหลายองค์กร จนท าให้องค์กรเหล่านั้น สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างโดดเด่น ซึ่งการตอบสนองที่เกิดขึ้นดังกล่าวก่อให้เกิดความหลากหลายโดยขึ้นอยู่กับลักษณะของผลิตภัณฑ์และการบริการ ส่งผลให้ต้นทุนในการตอบสนองลูกค้า (Cost to Serve) แตกต่างกันไปด้วย ส่วนประกอบของต้นทุนโลจิสติกส์ ต้นทุนทางด้านโลจิสติกส์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1) ต้นทุนการขนส่ง (Transportation Cost) ต้นทุนที่เกิดจากกิจกรรมการขนส่งและบริการซึ่งต้นทุนเหล่านี้ยังผันแปรไปตามปริมาณการขนส่ง น้ าหนัก ระยะทาง จุดหมายปลายทาง รวมไปถึงวิธีการขนส่งที่ก่อให้เกิดต้นทุนที่แตกต่างกัน 2) ต้นทุนคลังสินค้า (Warehousing Costs) ต้นทุนที่เกิดจากกิจกรรมภายในคลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า การถ่ายโอนข้อมูลในคลังสินค้า การเลือกสถานที่ตั้ง เช่น โรงงาน คลังสินค้า ซึ่งจะแปรผันไปตามชนิดและปริมาณของสินค้า 3) ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ซึ่งจะผันแปรไปกับปริมาณของสินค้าคงคลังและท าให้เกิดต้นทุนด้านต่าง ๆ อีก เช่น ต้นทุนเงินทุน (Capital Cost) และต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) ต้นทุนในการดูแลสินค้าได้แก่ ค่าประกันภัย และภาษี ต้นทุนพ้ืนที่การจัดเก็บสินค้า ได้แก่ ต้นทุนด้านสถานที่ซึ่งสัมพันธ์กับปริมาณของสินค้า ต้นทุนความเสี่ยงในการจัดเก็บสินค้า ได้แก่ ความล้าสมัย การลักขโมย 4) ต้นทุนการบริหาร (Administration Cost) เกิดจากกิจกรรมหลัก 3 ประเภท คือ (1) ระดับการให้บริการ (Customer Service Level) เป็นเงินที่จ่ายไปเพ่ือสนับสนุนการบริการลูกค้า เช่น ค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องกับการท าให้ค าสั่งซื้อสมบูรณ์ (2) ต้นทุนกระบวนการสั่งซื้อและระบบสารสนเทศ (Order Processing and Information Costs) ได้แก่ ต้นทุนที่เก่ียวข้องกับกระบวนการสั่งซื้อ การกระจายการติดต่อสื่อสาร และการพยากรณ์อุปสงค์ 9ชาคริยา ธาระรูป บณัฑิตวิทยาลยัการจดัการและนวตักรรม สาขาการจดัการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรีุ

Page 21: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

(3) ต้นทุนปริมาณ (Lot Quantity Cost) ซึ่งโดยหลักการแล้วจะขึ้นอยู่กับปริมาณสินค้าที่จัดซื้อจัดหาและผลิต จากการด าเนินการเพ่ือการตอบสนองลูกค้าที่มีความต้องการแตกต่างกัน หลาย ๆ องค์กรจึงเริ่มเปลี่ยนทิศทางการบริหาร โดยมีการวิจัยทางการตลาดเพ่ือศึกษาเรื่องปัจจัยที่สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า เพ่ือน ามาออกแบบสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ตรงตามความต้องการมากขึ้น เพ่ือสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า ดังนั้นเมื่อระดับของลูกค้ามีความแตกต่างกัน ความส าคัญของลูกค้าแต่ละรายย่อมมีความแตกต่างกันไปด้วย องค์กรจะต้องให้ความส าคัญกับลูกค้าที่มีค่ากับองค์กรให้มากที่สุด และให้ความส าคัญกับลูกค้าที่มีค่ากับองค์กรในระดับท่ีลดหลั่นกันไป ส าหรับองค์กรแล้ว การน าแนวคิดเรื่องโลจิสติกส์มาใช้ก็เพ่ือต้องการลดต้นทุนที่เกิดขึ้นรวมทั้งสามารถสร้างสมดุลของต้นทุนกิจกรรมโลจิสติกส์ให้ได้ การด าเนินการหยิบสินค้าในคลังสินค้าตามค าสั่งซ้ือ (Order Picking Operations) การหยิบสินค้าตามใบสั่งซื้อ (Order Picking) คือ การน าสินค้าออกจากที่เก็บเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดยมีการเลือกและหยิบสินค้าในจ านวนที่ต้องการจากที่เก็บสินค้า และจัดท าเอกสารตามที่จ าเป็น โดยวิธีการหยิบสินค้าจะแตกต่างกันข้ึนอยู่กับการจัดวางสินค้า เช่น หยิบแบบคลื่น (Wave Picking), หยิบเป็นชุด (Batch Picking), หยิบเป็นชิ้น (Piece Picking) เป็นต้น การแบ่งพ้ืนที่เพ่ือเก็บสินค้านั้น ออกแบบมาเพ่ืออ านวยความสะดวกและปลอดภัยในการเก็บสินค้า ดังนั้นการหยิบสินค้าซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งในคลังสินค้า ถือว่าเป็นกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายสูงที่สุดในคลังสินค้าโดยทั่วไป จากผลการศึกษาในประเทศอังกฤษพบว่า 63% ของค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานทั้งหมดในคลังสินค้าเป็นค่าใช้จ่ายในการหยิบสินค้า (Edward, 2002) กระบวนการหยิบสินค้า คือ กิจกรรมที่มีความสัมพันธ์กับแรงงานมนุษย์มากที่สุดในคลังสินค้า การหยิบสินค้าในคลังสินค้าเป็นกระบวนการในการน าสินค้าที่ต้องการจากพ้ืนที่จัดเก็บตามความต้องการของลูกค้าที่เข้ามา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วถือเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ความอุตสาหะมากที่สุดในกระบวนการจัดการคลังสินค้า มีการประมาณการไว้ว่าต้องใช้แรงงานมากถึง 60% (Roodbergen, 2001) ของการท ากิจกรรมแรงงานทั้งหมดในคลังสินค้า ท าให้กิจกรรมการหยิบสินค้าเป็นกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในสัดส่วนที่สูงมากของการด าเนินงานคลังสินค้า กระบวนการหยิบสินค้ามีเรื่องของเวลาเข้ามาเป็นข้อจ ากัด การหยิบสินค้าผิดก็พบว่าเป็นหนึ่งในข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อย ยิ่งการหยิบช้าก็จะยิ่งยืดเวลาในการขนส่งออกไป และท าให้เกิดการรอหยิบสินค้าเพ่ือขนส่งในระบบตามมา (Bottleneck) มีผลต่อการกระจายสินค้าขององค์กร หรือถ้าหยิบสินค้าผิดแล้วน าไปส่งถึงลูกค้า ผลที่ได้รับอาจเสียหายเกินกว่าจะประเมินค่าเป็นตัวเงินได้ เพราะฉะนั้นการหยิบสินค้ามีความส าคัญเพราะเกี่ยวเนื่องกับการตอบสนองความต้องการของลูกค้าโดยตรง จึงมีการบริหารจัดการเรื่องการหยิบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าท่ีเป็นไปได้ แบบฝึกหัดท้ายบท 1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายและความสาคัญของการจัดการคลังสินค้า 2. ให้นักศึกษาอธิบายปัจจัยที่ทาให้คลังสินค้าไม่มีคุณภาพ 3. ให้นักศึกษาอธิบายความแตกต่างระหว่างการจัดการคลังสินค้าและสินค้าคงคลัง

Page 22: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6 · 2017-01-05 · หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยเรียนรู้ที่

เอกสารอ้างอิง David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey. ไชยยศ ไชยมั่นคง และ ดร.มยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง. 2537. กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อแข่งขันในตลาดโลก. บริษัท ซี. วาย. ซิซเทม พริ้นติ่ง จากัด ดร.คานาย อภิปรัชญาสกุล (2537). ส่วนที่ 3 โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน. โลจิสติกส์เพื่อการผลิต และ การจัดการดาเนินงาน. บริษัท ซี.วาย.ซิซเทิม พริ้นติ่ง จากัด. ชาคริยา ธาระรูป บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี http://www.logisticscorner.com/index.php?option=com_content&view=article&id=1901:order-picking-operations&catid=38:warehousing&Itemid=92 ค้นคว้า 07 ธันวาคม 2559