2557...งานว จ ยม ว ตถ ประสงค 1 )...

119
การศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์สําหรับพักผ่อนกลางแจ้งจากผ้าย้อมคราม โดย นางสาวทีราทรน์ ธีรกุลชัยกิจ วิทยานิพนธ์นีÊเป็นส่วนหนึÉงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ภาควิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ Íของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of 2557...งานว จ ยม ว ตถ ประสงค 1 )...

  • การศึกษาและพฒันาผลติภัณฑ์สําหรับพกัผ่อนกลางแจ้งจากผ้าย้อมคราม

    โดย

    นางสาวทีราทรน์ ธีรกุลชัยกจิ

    วทิยานิพนธ์นเีป็นส่วนหนงึของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑติ

    สาขาวชิาการออกแบบผลติภัณฑ์

    ภาควชิาการออกแบบผลติภัณฑ์

    บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธขิองบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • การศึกษาและพฒันาผลติภัณฑ์สําหรับพกัผ่อนกลางแจ้งจากผ้าย้อมคราม

    โดย

    นางสาวทีราทรน์ ธีรกุลชัยกจิ

    วทิยานิพนธ์นเีป็นส่วนหนงึของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑติ

    สาขาวชิาการออกแบบผลติภัณฑ์

    ภาควชิาการออกแบบผลติภัณฑ์

    บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2557

    ลขิสิทธขิองบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • THE STUDY AND DEVELOPMENT OF OUTDOOR RELAX FURNITURE FROM INDIGO

    DYED COTTON CLOTH

    By

    Miss Teeratorn Teerakulchaikit

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Master of Fine Arts Program in Product Design

    Department of Product Design

    Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2014

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 54155317: สาขาวชิาออกแบบผลิตภณัฑ์ ค าส าคญั: เฟอร์นิเจอร์กลางแจง้ / ผา้ยอ้มคราม

    ทีราทรน์ ธีรกุลชยักิจ: โครงการศึกษาและพฒันาผลิตภณัฑส์ าหรับพกัผอ่นกลางแจง้จากผา้ยอ้มคราม. อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์: ผศ. ดร. รัฐไท พรเจริญ. 107 หนา้.

    งานวิจยัมีวตัถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการท าผา้ฝ้ายยอ้มครามและคุณสมบติั

    การป้องกนัรังสียวูีเพื่อใชเ้ป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภณัฑ์พกัผอ่นกลางแจง้ 2) พฒันาผา้ฝ้ายยอ้มครามให้เขา้ยุคสมยัและท าการออกแบบพฒันาผลิตภณัฑ์พกัผอ่นกลางแจง้ 3) ศึกษาความพึงพอใจจากผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมายท่ีมีต่อตน้แบบผลิตภณัฑ ์

    การด าเนินการวิจยัมีล าดับการด าเนินการดังน้ี ขั้นตอนท่ี1 ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัผา้ฝ้ายยอ้มคราม และศึกษาขอ้มูลเบ้ืองตน้เก่ียวกบัผา้ยอ้มจากผูเ้ช่ียวชาญผา้ฝ้ายยอ้มคราม โดยสังเกตแบบมีส่วนร่วมกบัผูเ้ช่ียวชาญ ขั้นตอนท่ี 2 พฒันาผา้ฝ้ายยอ้มครามและท าการออกแบบพฒันาผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้ ขั้นตอนท่ี 3 ค่าการวเิคราะห์ขอ้มูลโดยใช้ค่าร้อยละ(Percentage)ค่าเฉล่ีย(Mean)ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.)และน ามาแสดงในรูปแบบพรรณนา

    จากผลการวิจยัพบวา่ผลิตภณัฑ์พกัผอ่นกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มคราม โดยมีคะแนนภูมิปัญญาผา้ยอ้มครามสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวนัและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไดค้่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดบัดีมาก = 4.10, S.D.= 0.70 รองลงมาคือความสะดวกสบายในการใช้ ง่ายต่อการดูแลรักษา สามารถเคล่ือนยา้ยได้ สามารถนัง่พกัผอ่นในท่ีมีแดดส่องถึงได ้สามารถป้องกนัแสงแดดได ้เช่ือวา่ผลิตภณัฑส์ามารถป้องกนัรังสียวูีไดแ้ละมีรูปแบบท่ีเขา้กบัยคุสมยัอยูใ่นระดบัดี = 7.00, S.D.= 0.71

    ภาควชิาการออกแบบผลิตภณัฑ ์ บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ลายมือช่ือนกัศึกษา............................................ ปีการศึกษา 2557 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์............................................

    X

    X

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ง จ

    54155317: MAJOR: PRODUCTDESIGN KEY WORD: OUTDOOR FURNITURE / INDIGO DYED CLOTH

    TEERATORN TEERAKULCHAIKIT: THE STUDY AND DEVELOPMENT OF DEVELOPMENT OF OUTDOOR RELAX FURNITURE FROM INDIGO DYDED COTTON CLOTH: ASST. PROF. RATTHAI PORNCHAROEN, Ph.D. 107pp.

    Purposes of the research. 1) To study indigenous knowledge in making indigo dyed

    cotton cloth and UV protection feature as a guidance for outdoor leisure products design 2) To improve indigo dyed cloth and design outdoor leisure products 3) To study targeted customer satisfaction towards prototype

    Research processes are as follows; Step 1 , To study secondary data from documents and researches related to indigo dyed cotton cloth, and to study primary information about indigo fabrics from indigo-dyed cotton expert by participant observation method. Step 2, To develop indigo dyed cotton applied in daily life and to design outdoor leisure products. Step 3, To analyze the data by using percentage, mean, and standard deviation methods, and to present in descriptive format. The research reveals that outdoor leisure products from indigo cotton is well accepted by targeted customers. The average score that shows indigo cloth can be applied in daily life and people give value to local wisdom is excellent; = 4.10, S.D.=0.70. Secondly, the average score that represents the conveniences, ease of maintenances, movability, sunny sitting areas, and contemporary design is good; = 7.00, S.D.= 0.71. Department of Product Design Graduate School, Silpakorn University Student’s signature............................................ Academic Year 2014 Thesis Advisors’ signature..............................................................

    X

    X

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กติตกิรรมประกาศ

    วิทยานิพนธนี์สาํเร็จไดด้ว้ยความอนุเคราะห์จากบิดามารดา ครอบครัว อาจารยที์ปรึกษา ครู

    อาจารยทุ์กท่านเพือนๆทุกคนทีทาํใหว้ิทยานิพนธเ์ล่มนีสาํเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี

    ขอบพระคุณบิดามารดาทีใหก้ารสนบัสนุนทุกๆดา้นอยา่งดีเสมอมาจนทาํให้เกิดแรงผลกัดนั

    ใหก้ารศึกษาครังนีสาํเร็จไปไดด้ว้ยดี

    ขอขอบคุณ ผศ.ดร.รัฐไท พรเจริญ อาจารยที์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ทีกรุณาให้ความช่วยเหลือ

    และแนะนาํเป็นอยา่งดีจนวิทยานิพนธฉ์บบันีสาํเสร็จไดอ้ยา่งสมบูรณ์

    ขอขอบพระคุณครูอาจารยทุ์กท่านทงัในอดีตและปัจจุบนัทีไดใ้หค้วามรู้แก่ผูว้ิจยัตลอดจน

    ขอ้คิดทีเป็นประโยชน์ต่างๆ

    ขอขอบคุณผูท้รงคุณวุฒิและผูเ้ชียวชาญดา้นผา้ฝ้ายยอ้มครามแม่พิระและแม่นีรนุช ทีใหก้าร

    ดูแล ใหก้ารตอ้นรับอยา่งดี และกรุณาใหข้อ้มูลในงานวิจยัฉบบันี ทีเป็นประโยชน์อยา่งยงิ

    ขอขอบคุณผูท้รงคุณวุฒิผูเ้ชียวชาญดา้นการออกแบบและการตลาดทีให้ความกรุณาเลือก

    แบบใหค้าํแนะนาํเป็นอยา่งดี

    ผูว้ิจยัหวงัเป็นอยา่งยงิว่าการวิจยัครังนีจะเป็นประโยชน์กบัผูที้สนใจ เพือเป็นแนวทางในการ

    ศึกษาและพฒันาผลิตภณัฑอื์นๆต่อไป

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ

    หนา้

    บทคดัยอ่ภาษาไทย ............................................................................................................................... ง

    บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ .......................................................................................................................... จ

    กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................................ ฉ

    สารบญัตาราง ....................................................................................................................................... ญ

    สารบญัภาพ .......................................................................................................................................... ฎ

    บทที

    1 บทนาํ ......................................................................................................................................... 1

    ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา…….. .................................................................. 1

    วตัถุประสงคข์องงานวิจยั .................................................................................................. 2

    สมมุติฐานของการศึกษา ................................................................................................... 2

    ขอบเขตของงานวิจยั .......................................................................................................... 2

    ประชากรตวัอยา่ง ทีใชใ้นการวิจยั ..................................................................................... 3

    เครืองมือทีใชใ้นการวิจยั.................................................................................................... 3

    ขอบเขตดา้นการออกแบบ ................................................................................................. 3

    ประชากรกลุ่มตวัอยา่งทีใช ้................................................................................................ 3

    ขอบเขตดา้นการศึกษาผลความพึงพอใจ ........................................................................... 3

    วิธีดาํเนินการวิจยั ............................................................................................................... 4

    ประโยชน์ทีคาดว่าจะไดรั้บ ............................................................................................... 4

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ ............................................................................................................... 5

    2 เอกสารทีเกียวขอ้ง ..................................................................................................................... 6

    ตอนที 1 ขอ้มูลเกียวกบัคราม ............................................................................................. 6

    ประวติัความเป็นมาของคราม.............................................................................. 6

    การปลูก การดูแล และการเก็บเกียว .................................................................... 7

    เคมีของสีคราม .................................................................................................... 8

    การสกดัสีคราม ................................................................................................... 10

    การยอ้มคราม ...................................................................................................... 12

    ความเชือและความศรัทธา ................................................................................... 14

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที หนา้

    ตอนที 2 ขอ้มูลเกียวกบัการออกแบบ ................................................................................. 15

    การออกแบบผลิตภณัฑ ์(products design) .......................................................... 15

    การออกแบบเกา้อีพกัผอ่น ................................................................................... 19

    คุณสมบติัของวสัดุสาํหรับเครืองเรือน ................................................................ 21

    วสัดุทีใชใ้นการผลิตเครืองเรือน .......................................................................... 22

    วิธีการในการสร้างลายผา้ดว้ยวิธีต่างๆ ................................................................ 23

    ตอนที 3 งานวิจยัทีเกียวขอ้ง .............................................................................................. 31

    3 วิธีดาํเนินการวิจยั ....................................................................................................................... 32

    ขนัตอนที 1 ศึกษาขอ้มูลเพือใชใ้นการออกแบบ พืนฐานผา้ฝ้ายยอ้มครามและแนว

    ทางการออกแบบ เพือใหเ้ขา้กบัยคุสมยั ......................................................... 32

    ขอบเขตการวิจยั............................................................................................. 32

    ประชากรกลุ่มตวัอยา่งทีใชใ้นงานวจิยั .......................................................... 32

    ดา้นการออกแบบและสร้างเครืองมือออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    จากผา้ฝ้ายยอ้มคราม....................................................................................... 33

    ขนัตอนที ออกแบบพฒันาผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ยอ้มคราม ........................ 33

    ดา้นการออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มคราม……….. 33

    ประชากรกลุ่มตวัอยา่งทีใช ้.......................................................................... 34

    เครืองมือทีใชว้ิจยั ......................................................................................... 34

    วิธีวิเคราะห์ขอ้มูล......................................................................................... 34

    วิธีการเก็บขอ้มูล........................................................................................... 35

    ขนัตอนที 3 วิธีการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผูบ้ริโภค................................................... 35

    ศึกษาความพึงพอใจของผูบ้ริโภคทีสนใจผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้

    ยอ้มคราม....................................................................................................... 36

    เครืองมือทีใชใ้นงานวิจยั ............................................................................. 36

    4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูล................................................................................................................ 37

    ขนัตอนที 1 ศึกษาขอ้มูลเพือใชใ้นการออกแบบพืนฐานผา้ฝ้ายยอ้มคราม และแนวทางการ

    ออกแบบ......................................................................................................... 37

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที หนา้

    ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลและการลงไปมีส่วนร่วมทดลองยอ้มและก่อหมอ้

    คราม ............................................................................................................. 37

    ผลของการศึกษาขอ้มูล เอกสาร และวิจยัทีเกียวขอ้ง .................................... 39

    ขนัตอนที 2 ออกแบบและพฒันาผลิตภณัฑ ์....................................................................... 39

    เปรียบเทียบผลิตภณัฑข์า้งเคียง ..................................................................... 39

    การออกแบบเฟอร์นิเจอร์กลางแจง้นิยมแบ่งเป็น ลกัษณะ ......................... 42

    การสร้างมูลค่าเพิมผลิตภณัฑ ์....................................................................... 45

    วิเคราะห์ทฤษฏีดีองคป์ระกอบ ..................................................................... 46

    สีกบัจิตใจ ..................................................................................................... 47

    การวิเคราะห์การศึกษาทดลองการสร้างลายผา้ ............................................ 47

    การวิเคราะห์ลายกบัเทรนการออกแบบ ....................................................... 61

    การวิเคราะห์การออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้ ................................ 61

    ผลการวิเคราะห์วสัดุผา้และวสัดุโครงสร้างทีเหมาะสมกบัการออกแบบ..... 62

    ขนัตอนที 3 ประเมินความพึงพอใจของผูบ้ริโภคจากผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมาย ................. 66

    5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ ........................................................................................... 73

    สรุปผลการวิจยั ............................................................................................................... 73

    อภิปรายผลการวจิยั ......................................................................................................... 74

    ขอ้เสนอแนะในการวจิยั .................................................................................................. 75

    รายการอา้งอิง ....................................................................................................................................... 76

    ภาคผนวก ............................................................................................................................................. 78

    ภาคผนวก ก เครืองมือทีใชใ้นการวิจยั ............................................................................ 79

    ภาคผนวก ข เอกสารหนงัสือทางราชการ ....................................................................... 89

    ภาคผนวก ค ภาพผลิตภณัฑต์น้แบบและภาพแสดงนิทรรศการ ...................................... 95

    ภาคผนวก ง การเขียนแบบเพือการผลิตและภาพการทาํตน้แบบ .................................... 103

    ประวติัผูว้จิยั ......................................................................................................................................... 107

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญตาราง

    ตารางที หนา้

    1 เปรียบเทียบหมอ้ครามและผลการวิเคราะห์การทดลองการยอ้มครามก่อหมอ้คราม.............. 38

    2 ผลกรวิเคราะห์การสร้างลายดว้ยวิธีมดัหมี ........................................................................... 48

    3 ผลการวิเคราะห์การศึกษาและทดลองสร้างลายวิธีมดัยอ้ม ................................................... 49

    4 ผลการวิเคราะห์ศึกษาและทดลองสร้างลายบนผา้ยอ้มครามโดยวิธีเขียนเทียน .................... 50

    5 ผลการวิเคราะห์ทดลองเทคนิคกระบวนการสร้างลายบนผา้ยอ้มครามวิธีปัก ....................... 51

    6 การวิเคราะห์เทคนิคกระบวนการสร้างลายบนผา้ยอ้มครามโดยใชแ้นวทางชิโบริ ............... 57

    7 แสดงผลการวิเคราะห์วสัดุผา้ ............................................................................................... 62

    8 แสดงผลการวิเคราะห์วสัดุไม ้............................................................................................... 63

    9 แสดงผลการวิเคราะห์วสัดุโลหะ .......................................................................................... 63

    10 แสดงผลการประเมินตน้แบบทงั จากผูเ้ชียวชาญโดยแจงระดบัคะแนนเฉลียดงันี............. 66

    11 แสดแสดงขอ้มูลปัจจยัส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถามจาํนวน 60 คน ............................... 68

    12 แสดงแสดงขอ้มูลความพึงพอใจผูบ้ริโภคทีมีต่อผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้คราม ... 71

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ

    ภาพที หนา้

    1 โครงสร้างของ Indigo blue ................................................................................................ 9

    2 แสดงตวัอยา่งรูปแบบของเกา้อีพกัผอ่นทีจาํหน่ายทวัไปในปัจจุบนั ..................................... 19

    3 แสดงขนาดและสดัส่วนของเกา้อีพกัผอ่น ............................................................................ 21

    4 ผา้ครามมดัหมี ...................................................................................................................... 23

    5 การคน้หมี............................................................................................................................. 24

    6 การมดัหมี ............................................................................................................................. 25

    7 อุปกรณ์ผา้เขียนเทียน ........................................................................................................... 26

    8 การเขียนเทียน ...................................................................................................................... 27

    9 ลายทีเกิดจากการมดั ............................................................................................................. 28

    10 ลายทีเกิดจากการรูด.............................................................................................................. 29

    11 ลายทีเกิดจากการพบั ............................................................................................................ 30

    12 แสดงภาพการยอ้มครามกบัผูเ้ชียวชาญ ................................................................................ 37

    เกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ .......................................................................................................... 39

    ภาพเกา้อีพกัผอ่นกลางแจ ้..................................................................................................... 40

    1 ภาพชุดเกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ .............................................................................................. 40

    1 ภาพเกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ชายหาด ...................................................................................... 41

    1 ภาพเกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ชายหาด ...................................................................................... 41

    ภาพเกา้อีพกัผอ่น (Modern Style) ........................................................................................ 42

    เกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ในลกัษณะ (Classic Style) ................................................................ 43

    เกา้อีพกัผอ่นกลางแจง้ในลกัษณะ (Contemporary Style) ..................................................... 44

    แสดงการวิเคราะห์การเพิมมูลค่าสินคา้ ................................................................................ 45

    2 แสดงการวิเคราะห์องคป์ระกอบศิลป์ ................................................................................... 46

    แสดงการวเิคราะห์สีกบัจิตใจ ............................................................................................... 47

    แสดงการสร้างลายแบบยน่ ................................................................................................... 52

    แสดงการสร้างลายแบบใชร้อยยบัของผา้ ............................................................................. 52

    แสดงการสร้างลายแบบใชไ้ฮเตอร์กดั .................................................................................. 53

    แสดงการสร้างลายแบบพบัแลว้หนีบ ................................................................................... 53

    8 แสดงการสร้างลายแบบหนีบ ............................................................................................... 54

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพที หนา้

    9 แสดงการสร้างลายแบบเยบ็แลว้จึงยอ้ม ................................................................................ 55

    0 แสดงการสร้างลายแบบจุ่มไล่สี ............................................................................................ 55

    1 แสดงการหนีบและยน่ก่อนการยอ้ม ..................................................................................... 56

    2 แสดงการหนีบและยน่ก่อนการยอ้ม ..................................................................................... 56

    แสดงลาย รูปแบบอิสระ (Freeform) .................................................................................... 59

    แสดงลาย รูปแบบเรขาคณิต (Geometric form) .................................................................... 60

    แนวโนม้เทคนิคมดัยอ้มทีสามารถนาํมาพฒันาลวดลายผลิตภณัฑผ์า้ฝ้ายยอ้มครามใหเ้ขา้

    ยคุสมยั.................................................................................................................................. 61

    6 แนวโนม้การออกแบบเฟอร์นิเจอร์กลางแจง้ ........................................................................ 61

    7 แสดงภาแนวทางการออกแบบแบบที 1 ................................................................................ 65

    8 แสดงภาแนวทางการออกแบบที 2 ....................................................................................... 65

    9 แสดงภาแนวทางการออกแบบที 3 ....................................................................................... 66

    40 แสดงเกา้อีตน้แบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มคราม.................................... 69

    41 การใชง้านผลิตภณัฑ ์1 ......................................................................................................... 70

    42 การใชง้านผลิตภณัฑ ์2 ......................................................................................................... 70

    43 การใชง้านผลิตภณัฑ ์3 ......................................................................................................... 71

    44 ภาพผลิตภณัฑต์น้แบบ 1 ...................................................................................................... 96

    45 ภาพผลิตภณัฑต์น้แบบ 2 ...................................................................................................... 97

    46 ภาพผลิตภณัฑต์น้แบบ 3 ...................................................................................................... 98

    47 ภาพผลิตภณัฑต์น้แบบ 4 ...................................................................................................... 99

    48 สูจิบตัรงานแสดงUntitled .................................................................................................... 100

    49 Poster งานแสดงUntitled ..................................................................................................... 101

    50 งานแสดงUntitled ................................................................................................................ 102

    51 งานแสดงUntitled ................................................................................................................ 102

    52 เขียนแบบ ............................................................................................................................. 105

    53 การขึนตน้แบบโครงสร้าง 1 ................................................................................................. 105

    54 การขึนตน้แบบโครงสร้าง 2 ................................................................................................. 107

    55 ตน้แบบโครงสร้าง ............................................................................................................... 107

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทท ี1

    บทนํา

    ความเป็นมาและความสําคญัปัญหา

    ผา้ยอ้มครามเป็นทีทราบกันดีว่าเป็นสีธรรมชาติทีมีมามากกว่า6000ปี การยอ้มคราม

    ไดรั้บฉายาว่าเป็นราชาแห่งสียอ้ม “The king of dye” ผา้ยอ้มครามเป็นสียอ้มธรรมชาติทีเป็นมิตรกบั

    สิงแวดลอ้ม การยอ้มสีครามเป็นการยอ้มเย็น (Indigo era tinctoria )โดยอาศยักระบวนการหมกั

    (Fermented vat dye technique)ประชากรทีอาศยัในเขตร้อนของโลกส่วนใหญ่เคยทาํสีคราม สีคราม

    ทีมีคุณภาพดีคือสีครามทีมาจากเอเชีย เช่น สีครามอินเดียนิยมมากในองักฤษ ปี2475 สีครามลดลง

    เหลือเพียง4% เนืองจากมีการสังเคราะห์สียอ้มเคมีราวศตวรรษที18 อุตสาหกรรมสิงทอเฟืองฟูเกิด

    ผลิตภณัฑ์สิงทอหลากหลายสีสัน และรูปแบบ อีกทงัราคาถูกทาํใหผ้า้ครามเลือนหายไปจากสงัคม

    เมืองเหลืออยูก่็แต่ตามชนบทจึงถูกมองว่าเป็นผา้ชาวนา เมือยา่งเขา้สู่ ศตวรรษที20 ผูค้นเริมตระหนกั

    ว่าสีเคมีนนัแมจ้ะสะดวกสบาย ราคาถูก และสามารถทาํซาํไดเ้หมือนกนัเป็นมาตรฐาน แต่กลบัสร้าง

    มลพิษต่อสิงแวดลอ้ม สียอ้มส่วนใหญ่เป็นออกไซดข์องโลหะหนัก โลหะหนกัหลายชนิดเป็นสาร

    ก่อมะเร็งใส่แลว้รู้สึกร้อนดงันนัจึงหนัมานิยมสียอ้มธรรมชาติ ซึงในขณะ เดียวกนัก็ไดน้าํภูมิปัญญา

    เก่า ๆ ทีไดสื้บทอดกนัมาแต่สมยัโบราณจากเดิมเกือบเลือนหายไปแลว้นนั กลบัมาพฒันาเป็นอาชีพ

    หลกัของลูกหลานในทุกวนันีผา้ยอ้มครามเป็นทีสนใจและตอ้งการมาก แต่ผา้ยอ้มครามคุณภาพดี

    ยงัออกสู่ตลาดนอ้ยขณะทีผา้ยอ้มครามคุณภาพปานกลาง ออกสู่ตลาดจาํนวนมาก ส่วนผา้ยอ้มคราม

    หรือสีครามคุณภาพดีสีจะเขม้หรือจาง ก็ตอ้งสีสดใส สะอาด ติดทนสีไม่ตก ซึงคุณภาพเหล่านีเป็น

    ผลมาจาก คุณภาพของวตัถุดิบและความรู้ความชาํนาญของผูผ้ลิตการเตรียมสีครามและยอ้มสีคราม

    มีเทคนิคพิเศษกว่าการยอ้มสีธรรมชาติอืน ๆ (parkramsk.snru.oros, 2458)

    การนั งพักผ่อนกลางแจ้งเป็นสิงทีคนไทยชืนชอบมาช้านานเห็นได้จากการจัดบ้าน

    สมยัก่อนจะมีมุมพกัผอ่นกลางแจง้คือมีชาญบา้นทีกวา้งขวางมีศาลาเลก็ๆให้นงัพกัผอ่นปัจจุบนัการนั ง

    พกัผอ่นกลางแจง้ในมุมธรรมชาติส่วนตวัดูเป็นเรืองทีไม่ง่ายนกัเพราะพืนทีอยูอ่าศยัแคบลงแต่ก็ใช่ว่า

    จะทาํไม่ไดอ้าจมีมุมพกัผ่อนเล็กๆไวที้บา้นเช่นสวนเลก็ๆระเบียงชาญบา้นเป็นการเปลียนบรรยากาศโดย

    ไม่ตอ้งเดินทางไปไหนการนงัพกัผอ่นกลางแจง้ (baanlaesuan, )

    การนงัพกัผ่อนกลางแจง้นนัหลีกเลียงไม่ไดก้บัการตอ้งสมัผสักบัแสงแดดและรังสียวูีซึง

    เป็นอนัตรายต่อผวิหนงัโดยเฉพาะอยา่งยงิรังสียวูีเอและรังสียวูีบีสามารถทาํใหเ้กิดผวิไหมริ้วรอยก่อน

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    วยั, ความเสียหายต่อดวงตาระบบภูมิคุม้กนัอ่อนแอ, ผนืแพ ้ (Photoallergic ) และผืนเหมือนกบัถูกแดด

    เผาไหม(้Phototoxic reactions) และโรคมะเร็งผิวหนังแพทยแ์ละแพทยผ์ิวหนังจาํนวนมากเตือน

    เกียวกบั มะเร็งผิวหนงั พบว่า 90% ของมะเร็งผิวหนังเป็นผลมาจากแสงแดดและเป็นทีทราบกนัดีว่า

    การรักษาทีดีทีสุดคือ การป้องกนัโดยการปกป้องผวิจากแสงแดด (eucerin, 2558)

    ผา้ยอ้มครามครามมีคุณประโยชน์ดีๆมากมายนอกจากความสวยงาม หนึงในนัน คือ

    คุณสมบติัการป้องกนัรังสียูวี ทีมีผลวิจยัทงัในสหรัฐอเมริกา ญีปุ่นและประเทศไทย ผูว้ิจยัเล็งเห็น

    คุณประโยชน์การป้องกนัรังสียูวีทีมีในผา้ฝ้ายยอ้มคราม โดยนาํมาพฒันาผลิตภณัฑ์เพือให้คุม้กบั

    คุณประโยชน์ของผา้ฝ้ายยอ้มครามในปัจจุบนัผลิตภณัฑจ์ากผา้ฝ้ายยอ้มครามทีมีในทอ้งตลาด ส่วน

    ใหญ่ถูกออกแบบ มาในรูปแบบของเครืองแต่งกาย ของทีระลึก และของตกแต่งบา้น เช่น หมวก

    เสือผา้ ผา้พนัคอ กระเป๋า รองเทา้ หมอน โคมไฟ ผา้ผนื จะเห็นไดว้่าสินคา้ทีวางจาํหน่ายในทอ้งตลาด

    จะมีรูปแบบทีเหมือนกนั หรือมีความแตกต่างกนัไม่มากนกั

    ดังนันผูว้ิจัยจึงมีความสนใจทีจะศึกษาและออกแบบ ผลิตภัณฑ์พักผ่อนกลางแจ้ง

    ประเภทเกา้อีนั งพกัผ่อน ทียงัคงภูมิปัญญาผา้ฝ้ายยอ้มคราม และดึงเอาคุณคุณประโยชน์ของการ

    สามารถป้องกนัรังสียวูขีองผา้ฝ้ายยอ้มครามนาํมาประยุกตใ์ชก้บัผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้เพือเพิม

    มูลค่าและช่องทางการตลาดใหเ้ขา้กบัยคุสมยัปัจจุบนั

    วตัถุประสงค์ของการวจิยั

    1. เพือศึกษาภูมิปัญญาการทาํผา้ยอ้มครามและคุณสมบติัการป้องกนัรังสียวูีเพือใชเ้ป็น

    แนวทางใน

    2. การออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    3. พฒันาผา้ยอ้มครามและทาํการออกแบบพฒันาผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    4. ศึกษาความพึงพอใจจากผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมายทีมีต่อตน้แบบผลิตภณัฑต์น้แบบ

    สมมุตฐิานการศึกษา

    ผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มครามเป็นทียอมรับจากผูบ้ริโภคในระดบัมาก

    ขอบเขตของการศึกษา

    ในการศึกษาครังนีเป็นการวิจยัและศึกษาการออกแบบผลิตภณัฑ ์ทีนาํภูมิปัญญาผา้ฝ้าย

    ยอ้มครามออกแบบเพือเพิมมูลค่า และสามารถนาํมาใชใ้นชีวิตประจาํวนัโดยไดศึ้กษาขอ้มูลจาก

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    งานวิจยัและเอกสารทีเกียวขอ้ง แบบสอบถามผูบ้ริโภคและสงัเกตพฤติกรรมผูบ้ริโภคแบบไม่มีส่วน

    ร่วมและทดลองสามารถจาํแนกประเด็นได ้ดงันี

    ประชากรตวัอย่างทีใช้ในการวจิยั

    1. กลุ่มผูบ้ริโภคทีมีความสนใจในผา้ฝ้ายยอ้มคราม

    2. ผูเ้ชียวชาญผา้ฝ้ายยอ้มครามจาํนวน 2 คน

    ดา้นตวัทุติยภูมิ ไดแ้ก่ เอกสารตาํรางานวิจยัและการสืบคน้ทางอินเตอร์เน็ต ขอ้มูลที

    นาํมาใชใ้นการออกแบบ โดยคน้หาขอ้มูลเกียวกบัผา้ฝ้ายยอ้มคราม และผลิตภณัฑก์ลางแจง้

    เครืองมือทีใช้ในการวจิยัคือ

    การสังเกตแบมีส่วนร่วมและสมัภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ กบัผูเ้ชียวชาญทอ้งถินและ

    ใชแ้บบสอบถามปลายปิดกบัผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมาย

    ขอบเขตด้านการออกแบบ

    ผูว้ิจยัไดศึ้กษาขอ้มูลผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้ และการนาํผา้ฝ้ายยอ้มครามนาํมาปรับ

    ใชใ้ห้เขา้กบัยุคสมยัปัจจุบนั โดยดึงเอาคุณสมบติัของการสามารถป้องกนัรังสียูวีนาํมาประยุกต์ใช้

    กับผลิตภัณฑ์พกัผ่อนกลางแจ้งเพือเพิมมูลค่าและช่องทางการตลาดและศึกษาความต้องการ

    ผูบ้ริโภคโดยทาํการออกแบบผลิตภณัฑ์พกัผ่อนกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มครามโดยแบ่งออกเป็น 3

    แนวทางรวม 3 แบบ

    ประชากรกลุ่มตวัอย่างทีใช้

    ประชากรคือผูท้รงคุณวุฒิและผูเ้ชียวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ผูเ้ชียวชาญ

    ทางดา้นการตลาดเครืองเรือน และผูเ้ชียวชาญทางดา้นผา้ฝ้ายยอ้มคราม

    1. ผูท้รงคุณวฒิุดา้นการออกแบบจาํนวน 3 คน

    2. ผูเ้ชียวชาญดา้นการออกแบบเครืองเรือนจาํนวน 1 คน

    3. ผูเ้ชียวชาญทางดา้นการตลาดเครืองเรือน 1 คน

    ขอบเขตด้านการศึกษาผลความพงึพอใจ

    1. ประชากรกลุ่มตวัอยา่ง

    ประชากรคือ ผูบ้ริโภคทีสนใจในผลิตภณัฑผ์า้ฝ้ายยอ้มคราม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    กลุ่มตวัอยา่งคือ กลุ่มทีอยูใ่นช่วงวยัทาํงาน 25 ปีขึนไป

    2. เครืองมือทีใชใ้นการวิจยัคือใชแ้บบสอบถามประกอบการพิจารณาจากผลิตภณัฑ์

    ตน้แบบจาํนวน 1 ชิน

    3. วิธีเก็บข้อมูล ทําการสอบถามด้วยตัวเองและทําการสอบถามข้อมูลผ่านสือ

    ออนไลนบ์นเวปบอร์ด Google ในช่วงเวลา 10 วนั

    วธิีดําเนินการวจิยั

    1. ศึกษาภูมิปัญญาการทาํผา้ยอ้มครามและคุณสมบติัการป้องกนัรังสียวู ี

    1.1 เพือใชเ้ป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    1.2 ศึกษาคน้ควา้ขอ้มูลประวติัทีเกียวกบัภูมิปัญญาการทาํผา้ครามและขอ้มูลผลิตภณัฑ ์

    ประเภทผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    1.3 ศึกษาคุณสมบติัการป้องกนัรังสียวูีของผา้ฝ้ายยอ้มครามจากงานวิจยั

    1.4 ศึกษารูปแบบผลิตภณัฑเ์ดิมและผลิตภณัฑข์า้งเคียง

    1.5 วิเคราะห์ขอ้มูลเพือสร้างแนวทางการออกแบบ

    2. พฒันาผา้ยอ้มครามและออกแบบพฒันาผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้

    2.1 ทาํการทดสอบสร้างลวดลายผา้ฝ้ายยอ้มครามดว้ยเทคนิคต่างๆ

    2.2 ทาํการออกแบบและพฒันาผลิตภณัฑขึ์นจาํนวน แนวทางแนวทางละ 1 แบบ

    รวม 3แบบ

    2.3 ทาํการคดัเลือกแบบโดยผา่นการพิจารณาจากผูท้รงคุณวุฒิและผูเ้ชียวชาญเกียว

    การออกแบบและผูเ้ชียวชาญทางดา้นการตลาดจาํนวน ท่าน

    2.4 ทาํการสงัเคราะห์ขอ้มูลพฒันาปรับปรุงแบบสรุปแบบใหเ้หลือเพียง แนวทาง

    2.5 ทาํการทดลองสร้างตน้แบบจาํลอง (Mock up) และ ทาํการเขียนแบบเพือการผลิตทาํ

    การสร้างตน้แบบผลิตภณัฑ ์(Prototype) ทดลองพฒันาและปรับปรุง

    3. ศึกษาความพึงพอใจจากผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมายทีมีต่อตน้แบบผลิตภณัฑต์น้แบบ

    3.1 สาํรวจความพึงพอใจทีมีต่อผลิตภณัฑต์น้แบบของผูบ้ริโภคกลุ่มเป้าหมาย

    3.2 สรุปผลการวิจยั เขียนรายงานและนาํเสนอผลการวิจยั

    ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ

    . ผลิตภณัฑที์สามารถใชไ้ดใ้นชีวิตประจาํวนัและสามารถป้องกนัรังสียวูีไดจ้าก

    คุณสมบติั ผา้ฝ้ายยอ้มคราม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    2. ผลิตภณัฑส์ามารถเพิมรายไดเ้พิมมูลค่าและเพิมสร้างช่องทางการตลาดส่งเสริมให ้

    เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย

    3. ความพึงพอใจของผูบ้ริโภคทีมีต่อผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ฝ้ายยอ้มคราม

    4. ผลิตภณัฑต์น้แบบทีพฒันาและออกแบบเพือตอบสนองความตอ้งการของตลาด

    5. ผลิตภณัฑมี์ความเขา้ยคุสมยั

    นิยามศัพท์เฉพาะ

    ผ้าย้อมคราม หมายถึง ผา้อาจทอดว้ยมือหรือเครืองจกัรยอ้มดว้ยสีครามธรรมชาติ

    กลางแจ้ง หมายถึง สถานทีทีมีแสงแดดส่องถึง

    คุณสมบัตป้ิองกนัรังสียูวจีากผ้าฝ้ายย้อมคราม หมายถึง ผา้ฝ้ายทีนาํไปยอ้มสีคราม

    ธรรมชาติแลว้สามารถป้องกนัรังสียวูีไดทุ้กระดบัการยอ้มตงัแต่ดีถึงดีมาก

    ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ผูที้มีความสนใจในผลิตภณัฑผ์า้ฝ้ายยอ้มครามทีมีอายุ

    ตงัแต่25-55ปี(โดยเป็นกลุ่มผูที้มีรายไดจ้ากการทาํงาน)

    โมเดิน สไตล์ (Modern style) หมายถึง สมยัใหม่ตรงขา้มกบัสิงเก่า ความมนัวาวของ

    พืนผวิความโคง้ของโลหะแสดงใหเ้ห็นเทคโนโลยี มีความเรียบง่ายดูเก๋ใชอ้งคป์ระกอบทีดูนอ้ย ใชเ้ส้น

    และองคป์ระกอบเฟอร์นิเจอร์เป็นแบบกราฟิก นาํรูปทรงสามเหลียม สีเหลียม ทรงกลมมาใช ้

    คลาสสิก สไตล์ (Classic Style) หมายถึง เป็นรูปแบบดงัเดิมไม่แสดงออกถึงเทคโนโลยี

    จะเป็นงานไมที้มีการกลึง เซาะร่อง และการแกะรายละเอียด มีการยอ้มสีไมที้เนน้งานประณีต มีการ

    โชวล์ายไมห้รือ ทาํให้ดูเก่าผสมทอง การใชผ้า้บุเฟอร์นิเจอร์พิมพล์ายชดัเจน ผา้ทออย่างประณีตหรือ

    ใชก้ารตอกหมุดทองเหลืองกบัหนงัแท ้

    คอนเทมโพลาลี (Contemporary Style) หมายถึง ผสมผสานกนัระหว่างความ Classic

    และความร่วมสมยั Modern ทีดูแข็งๆจะอ่อนชอ้ยลงเมือใส่ความร่วมสมยัเขา้ไปเพราะความร่วมสมยั

    คาํนึงถึงเรืองของความรู้สึกนอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอย ดีไซน์ทีอยู่ได้นานคือดีไซน์ทีทาํให้

    มนุษยรู้์สึกสบายทงัการและจิตใจ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    6

    บทท ี2

    เอกสารงานวจิยัทเีกยีวข้อง

    การวจิยัเรืองการออกแบบผลิตภณัฑพ์กัผอ่นกลางแจง้จากผา้ยอ้มคราม ผูว้ิจยัไดศึ้กษา

    ภูมิปัญญาทอ้งถินการยอ้มผา้คราม แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยัทีเกียวขอ้งเพือนาํมาเป็นแนวทาง

    และสร้างกรอบความคิดในการวิจยัโดยแบ่งเนือหารายละเอียดดงันี

    ตอนที 1 ขอ้มูลเกียวกบัคราม

    ตอนที 2 ขอ้มูลเกียวกบัการออกแบบ

    ตอนที 3 งานวิจยัทีเกียวขอ้ง

    ตอนที 1 ข้อมูลเกยีวกบัคราม

    1. ประวตัคิวามเป็นมาของคราม

    ครามมีตน้กาํเนิดในแอฟริกา จีน อินเดีย และ ออสเตรเลีย ถูกนาํเขา้ไปในชวาเมือปี

    1923 เพือปลูกเป็นพืชคลุมดินตามเชิงเขาในไร่ชายางและปาล์มนํามนั ขยายเขา้ไปในฟิลิปปินส์

    1927เพือ ปลูกให้สูงประมาณ 35 เซนติเมตรแลว้ตดัเป็นหญา้แห้งรวมกบัหญา้อืนๆทีขึนปนกนัใช้

    เป็นอาหารสัตวก์ารทีครามเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทาํให้จาไมกานาํครามไปปลูกในสวนผลไม ้

    เพือกาํจดั วชัพืชและตดัครามเป็นปุ๋ยพืชส (บุญญา อนุสรณ์รัชดา, 2540: 4)ในประเทศไทย คาดว่า

    ครามอาจเป็นพืชดงัเดิมบนทีราบสูงภาคเหนือและภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ทงันีเพราะชนกลุ่มนอ้ย

    ในพืนทีดงักล่าวมีวฒันธรรมดา้นเครืองนุ่งห่มใชสี้ดาํหรือสีนาํเงินเป็นหลกัเช่น จงัหวดัสกลนครมี

    เผา่ต่างๆไดแ้ก่ ไทญอ้ ไทโยย้ ภูไท ไทกะเลิง ไทโซ่ ไทข่า และไทลาว ทุกเผา่จะมีเสือผา้สีดาํหรือนาํ

    เงินเป็นพืนแตกต่างกนัในรายละเอียดอืนๆเท่านนั อีกทางหนึงอาจมาจากจีนตามวฒันธรรมการทอ

    ผา้แหล่งกาํเนิดของสีครามสีนาํเงินของคราม เป็นสียอ้มจากธรรมชาติทีมีประวติัยาวนานกว่า 1000

    ปี ไดรั้บสมญานามว่าเป็นราชาแห่งสียอ้ม “ the king of dyes” ในอดีตกษตัริยเ์ท่านนัทีมีสิทธิใส่ผา้

    ยอ้มคราม(อนุรัตน์ สายทอง, 2543: 7)ในศตวรรษที 8 มีการนําต้นครามจากประเทศจีนเข้ามา

    เพาะปลูกในญีปุ่น มีการเพาะปลูกกนัอยา่งแพร่หลาย การใชสี้ครามธรรมชาติจึงลดลงเหลือเพียง

    4% ของทวัโลก ในปี 1914 แต่ตน้ครามยงัปลูกกระจายอยูเ่ล็กนอ้ยในอินเดีย แอฟริกา และอเมริกา

    กลาง และยงัมีอยูม่ากในชนบทของชวา สาํหรับเอเชียมีร่องรอยการทาํสีครามอยู่ทุกประเทศ เช่น

    ไทย ลาว พม่า ญีปุ่น และอินเดีย ฯลฯ ในประเทศไทยมีการทาํสีครามในภาคเหนือและภาคอีสานมา

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    ตงัแต่บรรพบุรุษดงัหลกัฐานการกล่าวถึงเผา่ต่างๆเช่นผูไ้ทยขาวผูไ้ทยดาํและผูไ้ทยแดง ตงัชือตามสี

    ของเสือผา้ทีนุ่ง ปัจจุบนัมีการสืบทอดการทาํสีครามอยา่งแพร่หลายเช่น ทีบา้นนาดี อ.พรรณนิคม

    จงัหวดัสกลนคร กลุ่มอนุรักษภู์มิปัญญาไทญอ้ วดัพระธาตุประสิทธิ บา้นหวา้ อาํเภอนาหวา้จงัหวดั

    นครพนม(อนุรัตน์ สายทอง, 2543: 7)บางหมู่บา้นในจงัหวดัชยัภูมิและจงัหวดัสุรินทร์ในหลายๆ

    อาํเภอ จนกระทงัศตวรรษที 19 ก็ไดมี้การทาํสียอ้มผา้สังเคราะห์และสีครามสังเคราะห์ขึนมา สี

    ครามธรรมชาติไม่สามารถแข่งขนัไดจึ้งนําไปสู่จุดจบของการผลิตสีครามธรรมชาติ โดยมีความ

    รํารวยเป็นพืนฐานของโลกแห่งการคา้ขายเขา้มาเป็นตวัดึงดูด ศตวรรษที 20 ผูค้นเริมตระหนกัว่าสี

    เคมีนนัแมจ้ะสะดวกสบาย ราคาถูกและสามารถทาํซาํเหมือนกนัเป็นมาตรฐานแต่กลบัสร้างมลพิษ

    ต่อสิงแวดลอ้มอย่างมาก สียอ้มส่วนใหญ่เป็นออกไซดข์องโลหะหนัก โลหะหนกัหลายชนิดเป็น

    สารก่อมะเร็ง ใส่แลว้รู้สึกร้อนดงันัน จึงหนัมานิยมสียอ้มธรรมชาติ ซึงในขณะเดียวกนัก็ไดน้าํภูมิ

    ปัญญาเก่า ทีไดสื้บทอดกนัมาแต่สมยัโบราณจากเดิมเกือบเลือหายไปแลว้นัน กลบัมาพฒันาเป็น

    อาชีพหลกัของลูกหลานในทุกวันนีผา้ยอ้มครามเป็นทีสนใจและต้องการมากแต่ผา้ยอ้มคราม

    คุณภาพดียงัออกสู่ตลาดนอ้ย ขณะทีผา้ครามคุณภาพ ปานกลางออกสู่ตลาดจาํนวนมาก ส่วนผา้ยอ้ม

    ครามหรือสีครามคุณภาพดี สีจะเขม้หรือจาง ก็ต้องสีสดใส สะอาด ติดทน สีไม่ตก ซึงคุณภาพ

    เหล่านีเป็นผลมาจากคุณภาพของวตัถุดิบและความรู้ความชาํนาญของผูผ้ลิตการ เตรียมสีครามและ

    ยอ้มสีครามมีเทคนิคพิเศษกว่าการยอ้มสีธรรมชาติอืน ๆ

    2. การปลูก การดูแล และการเกบ็เกยีว

    2.1 การเลือกพืนที ในการปลูกครามควรเป็นบริเวณทีมีแสงแดดส่องถึงเพียงพอนาํ

    ไม่ท่วมขงัแต่ใน ปัจจุบนัการผลิตครามเป็นการคา้ชาวบา้นก็นิยมปลูกแซมในทีนาบา้งเป็นบางส่วน

    ซึงสามารถพบเห็นไดม้ากขึน การเตรียมดินดงันีไถกลบเพือใหว้ชัพืชกลายเป็นปุ๋ยพืชสดในดิน ตาก

    ดินเหมือนการปลูกพืชไร่ทวัไป ขุดและยอ่ยดินแลว้คราดใหห้นา้ดินเรียบเสมอกนั หว่านเมลด็คราม

    ทีเตรียมไวใ้หก้ระจายตวัสมาํเสมอกนัทวัๆแปลง (jakkaphong-ladda, 2558)

    2.2 การเตรียมเมลด็ก่อนนําไปปลูก ก่อนการนาํเมลด็ครามไปปลูก ควรนาํฝักครามที

    ไดเ้ก็บไวแ้ลว้มาตาํใหเ้ปลือกแตก จากนนัก็ร่อนเอาแต่ส่วนทีเป็นเมล็ดมาหว่าน หากไม่นาํฝักคราม

    มาตาํเอาแต่เมลด็แลว้ การทีหว่านเป็นฝักเลย ครามจะไม่งอก(jakkaphong-ladda, 2558)

    2.3 การปลูกคราม การปลูก จะปลูกกนั 2 ช่วง คือ ในฤดูฝนและฤดูแลง้ การปลูกใน

    ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน เมือเตรียมดินแลว้ ก็จะปลูกครามโดยการหว่านเมล็ด

    ครามทีไดเ้ตรียมไว ้แต่ปัจจุบนัเมล็ดครามจะหายาก ควรเพาะเมล็ดในถุง เมืองอกเป็นตน้กลา้มีใบ

    จริง 5 ใบขึนไป จึงนาํมาปลูกในแปลงทีเตรียมไวแ้ลว้การปลูกในฤดูแลง้ จะหว่านเมลค็รามในช่วง

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงตน้เดือนธนัวาคมเมือตน้ครามงอกขึนมาจะปล่อยใหเ้จริญเติบโตประมาณ

    4 - 5 เดือนขึนไปก็สามารถนาํตน้ครามไปใชไ้ด ้(jakkaphong-ladda, 2558)

    2.4 ขันตอนการปลูก

    2.4.1 ก่อนการหว่านเมลด็ทุกครังควรทาํให้ดินชุ่มนาํก่อนถา้วนัทีเราปลูกฝนไม่

    ตกก็ควรรดนําก่อนหว่านเมล็ดครามลงไปแต่หากฝนตกก็ให้หว่านเมล็ดครามลงแปลงได้เลย

    (jakkaphong-ladda, 2558)

    2.4.2 ควรหว่านใหไ้ดร้ะยะห่างพอสมควร(jakkaphong-ladda, 2558)

    2.4.3 หลงัหว่านเมลด็แลว้หมนัรดนาํทุกวนัจนกว่าตน้ครามจะงอก

    2.5 การดูแล

    2.5.1 การดูแลเมือต้นครามงอกเมือต้นครามงอกความสูงของต้นไม่เกิ น

    เซนติเมตร หากตน้ครามทีงอกมีระยะระหว่างตน้ใกลก้นัมากเกินไปก็ถอนทิงเพือใหมี้ระยะห่าง ตน้

    ครามจะไดแ้ตกกิงกา้นไดดี้(jakkaphong-ladda, 2558)

    2.5.2 การใส่ปุ๋ยเมือต้นครามโตได้ประมาณ 2 สัปดาห์ ให้สังเกตการณ์เจริญ

    เติบโตหากเห็นว่าตน้ครามโตชา้ก็ควรใส่ปุ๋ยอาจเป็นปุ๋ยคอก(jakkaphong-ladda, 2558)

    2.5.3 การรดนาํ ควรรดนาํอยา่งสมาํเสมอทุกวนั ถา้เราใส่ปุ๋ยใหน้าํอยา่งสมาํ เสมอ

    จะทาํให้ตน้ครามมีใบขนาดใหญ่ สีเขม้ จนกระทงัมีอายไุด ้3-4 เดือน ก็ทาํการเก็บได(้jakkaphong-

    ladda, 2558)

    2.6 การเกบ็เกยีว

    การเตรียมความพร้อมก่อนเก็บเกียวก่อนการเก็บครามทุกครัง ผูเ้ก็บครามตอ้งใส่

    เสือผา้มิดชิดเพราะใบครามมีขนขนาดเลก็ๆทีมองไม่เห็นถา้สมัผสักบัผวิหนงัจะทาํใหร้ะคายเคือง

    และคนัตามร่างกายช่วงเวลาทีเก็บเกียว นิยมเก็บครามในเวลาเชา้มืดก่อนพระอาทิตยขึ์นเนืองจากจะ

    ทาํใหไ้ดป้ริมาณนาํครามมากหากเก็บในเวลาทีพระอาทิตยขึ์นแลว้จะทาํใหค้รามทีเก็บเหียวส่งผลให้

    ไดป้ริมาณนาํครามนอ้ยการเก็บครามถา้ครามบา้นเกียวทงัตน้เหลือแต่ตอเพือครามสามารถแตกกิง

    และแก่พร้อมทีจะตดัในครังต่อไปตน้ครามจะเก็บไดปี้ละ2ครังถา้เป็นครามงอก็จะเก็บใบแก่จดัก่อน

    หรือเกียวทงักิง จากนนัก็ปล่อยใหแ้ตกกิงอีก และสามารถเก็บไดท้งัปี(jakkaphong-ladda, 2558)

    3. เคมขีองสีคราม

    เคมีของสีครามในกระบวนการทาํสีครามธรรมชาติ

    มีชือทางเคมี: “ 2 – (1 , 3 – Dihydro – 3 – oxo - 2H – indol – 2 – ylid – ene )

    - 1 , 2 dihydro – 3H – 3 – one ”

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 9

    ชือทวัไป: Indigo blue หรือ indigotin

    ลกัษณะของครามบริสุทธิ: เป็นผลึกรูปเข็มสีม่วงหรือสีนาํเงิน

    ภาพที 1 โครงสร้างของ Indigo blue

    ทีมา: วิชชาญ เอียดทอง,สีธรรมชาตจิากต้นถัว, เขา้ถึงเมือ 10 มิถุนายน 2888, เขา้ถึงไดจ้าก

    http://www.oamc.ku.ac.th/knowledge/03-july/02.pdf

    สีครามธรรมชาติถูกสกดัจากใบครามสดในรูปของสารตน้ตอ (precursor) หลงัจากนนั

    เกิดการเปลียนแปลงทางเคมีอีกหลายครังจึงเกิดเป็นสีครามเกราะจบัเสือผา้สารตน้ตอในใบครามคือ

    สารอินดิแคน (indicacn หรือ indoxyl-B-D-glucoside) เป็นสารไม่มีสีและไม่ละลายนาํแต่เมือถูก

    แช่ในนาํ เอนไซมช์นิดหนึงในใบคราม คือ บีตา –กลูโคสิเดส (B-glucosidase) จะช่วยทาํใหอิ้นดิ

    แคนแตกออกเป็นสองส่วนคืออินดอกซิล(indox)และกลูโคสสาร 2 ชนิดนีเป็นสารไม่มีสีละลายนาํ

    ไดท้งัคู่จึงละลายในนาํครามซึงมีพีเอชเท่ากนักบันาํทีใชแ้ช่ใบคราม การเตรียมสีครามเป็นการทาํให้

    Indigo blue เปลียนเป็น Indigo white ซึงละลายไดใ้นด่าง การเปลียนแปลงนีเป็นปฏิกิริยารีดกัชัน

    ซึงใชต้วัรีดิวซไ์ดห้ลายชนิดดงักล่าวแลว้อีกวิธีหนึงอาศยัการทาํงานของจุลินทรียร่์วมดว้ย แบคทีเรีย

    ชนิดบาซิลลสั เช่น Bacillus alkaliphylus ร่วมในกระบวนการหมกั ปฏิกิริยารีดักชนัของ Indigo

    blue เกิดขึนทีพีเอช 10.5 - 11เมือเกิดสีครามในนาํยอ้ม โดยสังเกตสีของนาํยอ้มเปลียนจากสีนาํเงิน

    เป็นสีเขียวปนเหลือง จึงทาํการยอ้มผา้ทีชุบนาํแลว้บิดจนหมาด indigo white ทีละลายในนาํยอ้มจะ

    แทรกซึมเขา้เนือฝ้ายจบัเซลลูโลสของใยฝ้ายด้วยพนัธะไฮโดรเจน เมือยกผา้ฝ้ายขึนจากนาํยอ้ม

    สมัผสักบัอากาศ indigo white จะถูกออกซิไดส์โดยออกซิเจนในอากาศกลบัเป็น Indigo blue ถูกขงั

    อยูภ่ายในโครงสร้างของใยฝ้ายดงัเดิม ใยไหมและขนสตัวมี์โครงสร้างทางเคมีเป็นพอลีเพปไทด ์จึง

    ทาํให้ยอ้มดว้ยสีครามไดไ้ม่ดีเท่าฝ้ายซึงมีโครง สร้างทางเคมีเป็เซลลูโลสอย่างไรก็ตามการยอ้มเส้น

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

    http://www.oamc.ku.ac.th/knowledge/03-july/02.pdf

  • 10

    ไหมทีอุณหภูมิตาํ จะดูดซบัสีดีกว่าการยอ้มทีอุณหภูมิสูง แสดงว่าการยอ้มสีครามเป็นกระบวนการ

    คายความร้อน เมือยอ้มทีอุณหภูมิสูงขึนการติดสีจะลดลง การทาํสีครามธรรมชาติเป็นปฏิกิริยาเคมี

    ทุกขนัตอนโดยใชส้ารต้นตอทีมีในใบครามเอนไซม์ในใบครามออกซิเจนในอากาศ แบคทีเรีย

    บาซิลลสัในธรรมชาติ ขีเถา้ และปูนขาว ก็ไดจ้ากธรรมชาติ ปฏิกิริยาต่อเนืองในกระบวนการทาํสี

    ครามและการยอ้มคราม

    4. การสกดัสีคราม

    การสกดัสีครามจาํแนกออกเป็น 2 ลกัษณะ คือ ผลิตจากใบครามสดและผลิตจากใบ

    ครามแหง้

    4.1 การเตรียมสีครามจากใบสด

    ส่วนมากผลิตสีครามจากใบครามสดร้อยละ90 การเก็บใบครามตอ้งเก็บ ตอนเชา้

    มืดก่อนพระอาทิตยขึ์น ขณะทีนาํคา้งยงัมีอยูห่รืออยา่งชาวเกาหลีทีเก็บใบครามไวใ้กลน้าํแข็ง แมก้าร

    แช่ใบครามแช่ในนาํแข็ง เมือไดข้องเหลวสีเขียวสดใชย้อ้มผา้ไดท้นัที

    4.1.1 ชาวเกาหลีมีวิธีการผลิตสีครามจากใบครามสดทีน่าสนใจอีก 2 วิธีไดแ้ก่ใช้

    ในนาํขีเถา้เป็นตวัละลายสกดัสีครามออกจากใบคราม กระทาํโดยแช่ใบครามสดในหมอ้นาํหมกัไว ้

    1-3 วนัแยกกากใบครามออกเติมนาํขีถา้ในอตัราส่วนของ นาํคราม : นาํขีเถา้5 : 5 กวนแรงๆ ดว้ยพาย

    ไมไ้ผ่จนกระทงัเกิดฟองโตขนาดผลมะละกอ จึงหยุดกวนทิงนาํครามไว ้1 สัปดาห์จะไดสี้คราม

    สาํหรับการยอ้มผา้ต่อไปใชปู้นขาวตกตะกอนเนือครามจึงเติมนาํขีเถา้ภายหลงั วิธีนีมกัทาํใกลแ้ม่นาํ

    หรือทะเล เพราะตอ้งอาศยั�