COLLECTIVE REVIEW NEGATIVE PRESSURE WOUND THERAPY (NPWT)medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective...

22
1 COLLECTIVE REVIEW NEGATIVE PRESSURE WOUND THERAPY (NPWT) จัดทําโดย นายแพทย์วันเฉลิม จงสิริวัฒนา อาจารย์ทีปรึกษา ผู ้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิง โอสรี อัครบวร ภาควิชาศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Transcript of COLLECTIVE REVIEW NEGATIVE PRESSURE WOUND THERAPY (NPWT)medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective...

  • 1

    COLLECTIVE REVIEW

    NEGATIVE PRESSURE WOUND THERAPY (NPWT)

    จดัทาํโดย

    นายแพทย์วนัเฉลมิ จงสิริวฒันา

    อาจารย์ที�ปรึกษา

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญงิ โอสรี อคัรบวร

    ภาควชิาศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์

    มหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์

  • 2

    การรักษาแผลโดยวิธสุีญญากาศ

    (Negative pressure wound therapy)

    การรักษาแผลโดยวิธีสุญญากาศ (Negative pressure wound therapy (NPWT), Vacuum-assisted

    wound closure (V.A.C.®), Topical Negative Pressure (TNP), Vacuum Sealing Technique (VST), Sealed

    Surface Suction (SSS)) คือการรักษาแผลดว้ยระบบปิดที�ความดนัตํ�ากวา่บรรยากาศ (Subatmospheric

    pressure) มีทั�งแบบต่อเนื�อง และแบบไม่ต่อเนื�อง (continuously or intermittently) ซึ� งเป็นวิธีการรักษาแผลที�

    เป็นที�นิยมในปัจจุบนั1 รายงานการรักษาแผลดว้ยวิธีนี� ครั� งแรกตั�งแต่ปีค.ศ. 1993 โดย Fleischmann W. และ

    คณะ ในการรักษาแผลจากกระดูกหกัแบบเปิด (Open fracture)2 ต่อมา ทั�ง Morykwas และคณะ และ Argenta

    และคณะ3-4 ไดร้ายงานการรักษาโดยวิธีสุญญากาศกบับาดแผลทุกชนิด รวมทั�งบาดแผลเรื� อรัง (Chronic

    wounds) หรือบาดแผลที�รักษายาก (Difficult wounds) ซึงปัจจุบนัมีขอ้มูลในสัตวท์ดลองมากมาย สนบัสนุน

    วา่การรักษาแผลโดยวธีิสุญญากาศนั�นมีประโยชนก์วา่การรักษาแผลแบบปกติหลายดา้น5-9 แต่อย่างไรก็ตาม

    ขอ้มลูในมนุษยน์ั�นยงัไม่มีขอ้มลูชดัเจนเนื�องจากการมีความหลากหลายในงานวิจยั (Heterogeneity) ในชนิด

    ของแผล วิธีการรักษา และวตัถุประสงคข์องงานวิจยั (Primary and secondary end points)

    อุปกรณ์ และระบบสุญญากาศ (Device and placement)

    ปัจจุบนัมีระบบสุญญากาศสาํเร็จรูปจาํหน่ายมากมายหลายรูปแบบ โดยหลกัการการทาํแผลโดยวิธี

    สุญญากาศคือการใชฟ้องนํ�า Open cell foam dressing ที�นิยมคือ Open-pore Polyurethane foamหรืออาจใช้

    ผา้ก๊อซปิดแผล จากนั�นปิดดว้ย Semiocclusive adhesive cover ผา่นทางสายระบายต่อเขา้กบัระบบกกัเกบ็นํ�า

    จากแผล และระบบดูด Suction pump เพื�อสร้างความดนัใตต่้อบรรยากาศ10

    รูปภาพที� 1 แสดงการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศ

  • 3

    Open cell foam dressing11

    การทาํแผลสุญญากาศโดยใช ้Open cell foam dressing หรือที�เรียกวา่ Argenta-Morykwas method

    นั�น มี Foam dressing ใหเ้ลือกใชห้ลากหลายรูปแบบ ซึ�งมีคุณสมบติัแตกต่างกนัดงันี�

    Reticulated Black Foam (Polyurethane foam)

    เป็น Open cell foam dressing ที�นิยมใชก้นัมากที�สุด มีส่วนช่วยในการกระตุน้การสร้างเนื�อเยื�อใหม่

    จากลกัษณะโครงสร้างที�มีรูพรุนขนาดใหญ่ (Macrostrain) มีขนาดรูพรุน 400-600 µm

    White foam (Polyvinylalcohol)

    มีความหนาแน่นมากกว่าฟองนํ�าชนิด Polyurethane foam เหมาะกบัแผลที�มีลกัษณะเป็นโพรงลึก

    และติดแผลนอ้ยกวา่จึงเหมาะกบัการปิดแผลปลูกถ่ายผิวหนงั (Skin graft)

    Silver Reticulated Foam

    คือ Polyurethane foam ที�มีส่วนผสมของธาตุเงิน (Ag) จึงสามารถฆ่าเชื�อแบคทีเรียได ้จากการศึกษา

    ในหลอดทดลองพบวา่สามารถกาํจดัเชื�อ S.aureus และ P. aeruginosa ไดห้ลงัจากแผลสมัผสัฟองนํ�า

    เป็นเวลา 30 นาที และสามารถออกฤทธิ� ไดน้านถึง 72 ชั�วโมง12

    Green Foam

    Dorafshar AH และคณะไดร้ายงานผลการทาํแผลดว้ยวิธีสุญญากาศเปรียบเทียบกนัระหว่างการใช้

    ผา้ก๊อซปิดแผล (CharikerJeter method) และ Open cell foam dressing พบวา่การใช ้Open cell foam dressing

    ทาํใหแ้ผลเลก็ลง และมีเลือดมาเลี�ยงไดดี้กวา่การใชผ้า้ก๊อซ แต่เมื�อเทียบระยะเวลาการหายของแผลแลว้ไม่

    แตกต่างกนั ในขณะเดียวกนัการใชผ้า้ก๊อซผูป่้วยจะมีอาการปวดขณะเปลี�ยนแผลนอ้ยกว่า13

    รูปภาพที� 2 แสดงภาพของ Open cell foam dressing (ซา้ย: Polyurethane foam, ขวา: Silver

    Reticulated Foam )

    ระบบสุญญากาศ (Mode of vacuum)11

    ปัจจุบนัระบบสุญญากาศมีทั�งหมด 3 ระบบ ไดแ้ก่ 1. ระบบต่อเนื�อง (Continuous mode) 2. ระบบไม่

    ต่อเนื�อง (Intermittent mode) 3. ระบบผนัแปร (Variable mode) โดยระบบที�เป็นที�นิยมมากที�สุดคือระบบ

    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Dorafshar%20AH%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892

  • 4

    ต่อเนื�องคือการใชร้ะบบสุญญากาศที�ความดนัคงที�เช่น -80 มม.ปรอท มีขอ้ดีคืออาการปวดนอ้ยกวา่ ยึดติดกบั

    แผลไดดี้กวา่ และเหมาะกบัการปิดแผลปลกูถ่ายผิวหนงัและเนื�อเยื�อ (Skin grafts and flaps) แต่ระบบที�ทาํให้

    เนื�อเยื�อเติบโตเร็วที�สุดคือระบบไม่ต่อเนื�อง คือการใชร้ะบบสุญญากาศแบบเปิด-ปิดสลบักนั เช่น 0-80-0-80

    มม.ปรอท ทาํใหเ้หมือนมีการดูดเนื�อเยื�อเป็นระยะๆ แต่ระบบนี�จะทาํใหผู้ป่้วยปวดแผลมากกวา่จึงไมเ่ป็นที�

    นิยมสุดทา้ยคือระบบผนัแปรคือการใชค้วามดนัสุญญากาศสูงสลบัตํ�า เช่น 10-80-10-80 มม.ปรอท ทาํให้

    ความดนับรรยากาศเป็นลบตลอดเวลาช่วยใหค้วามปวดลดลง

    วิธีการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศ (How to apply NPWT)10,14

    เตรียมแผลให้เหมาะสม โดยตดัเนื�อตายและสิ�งปนเปื� อนออก หา้มเลือดใหห้ยดุสนิท ทาํความ

    สะอาดผิวหนงัโดยรอบและเชด็ใหแ้หง้ หากผวิหนงัโดยรอบบอบบางใหใ้ชว้สัดุทาํแผลที�สามารถ

    ปกป้องผิวหนงัปิดทบัไว ้

    ตดัแต่งฟองนํ�า Open cell foam dressing หรือผา้ก๊อซใหพ้อดีกบัขนาดแผล จากนั�นวางไวบ้นแผล

    โดยไมใ่หฟ้องนํ�าหรือผา้ก๊อซเกินจากขอบแผล

    ปิดฟองนํ�า Open cell foam dressing หรือผา้ก๊อซดว้ยวสัดุปิดแผลโดยปิดขอบแต่ละดา้นบนผิวหนงั

    ห่างจากฟองนํ�าประมาณ 3-5 ซม. การปิดวสัดุปิดแผลไม่ควรผิดตึงจนเกินไป จากนั�นสร้างรูเพื�อ

    ติดตั�งระบบสุญญากาศบนวสัดุปิดแผล โดยปลายของสายต่อเขา้กบัระบบเก็บนํ�าจากแผล

    หากบนเนื�อแผลมีลกัษณะค่อนขา้งยุย่ หรือมีอวยัวะที�บอบบางเช่นอวยัวะภายใน เส้นเอน็ ควรมีวสัดุ

    ปิดแผลเป็น Interposition layer ระหว่างแผลและฟองนํ�า วสัดุดงักล่าวควรไม่ติดกบัเนื�อแผล

    ยกตวัอย่างเช่น Mesh หรือ Petrolatum gauze

    รูปภาพที� 3 แสดงระบบสญุญากาศ

    a คือ ระบบตอ่เนื�อง

    b คือ ระบบไมต่่อเนื�อง

    c คือ ระบบผนัแปร

  • 5

    ต่อสายเขา้กบัระบบ Suction pump เพื�อสร้างความดนัใตบ้รรยากาศที�ความดนั -50 ถึง -175 มม.

    ปรอท (ความดนัใตบ้รรยากาศที�แนะนาํคือ -80 มม.ปรอท) ซึ�งหลงัจากต่อเขา้ระบบสุญญากาศแลว้

    ขนาดของฟองนํ�าจะเลก็ลงถึงร้อยละ 80

    การเปลี�ยนแผล (How to change dressing)

    ควรเปลี�ยนแผลและระบบสุญญากาศทุก 24-36 ชั�วโมง ขึ�นอยูก่บัลกัษณะแผล การลอกฟองนํ�าหรือ

    ผา้ก๊อซควรทาํดว้ยความระมดัระวงัเนื�องจากอาจติดกบัเนื�อแผลได ้หากฟองนํ�าหรือผา้ก๊อซติดกบัเนื�อแผล

    ควรแช่ฟองนํ�าดว้ยนํ�าเกลือก่อนลอกจะทาํใหล้อกไดง่้ายขึ�น หากคนไขมี้อาการปวดมากขณะเปลี�ยนแผล

    ควรใหย้าแกป้วดก่อนเปลี�ยนแผล และสามารถลดอาการปวดไดโ้ดยการใชย้าชา Xylocaine ชนิดที�ไม่มี

    epinephrine แช่บนฟองนํ�าก่อนแกะได ้10

    แผลที�รักษาโดยวิธีสุญญากาศ ตอนเปลี�ยนแผลอาจมีกลิ�นได ้แต่หากนาํเนื�อเยื�อไปเพาะเชื�อมกัพบ

    เชื�อปริมาณนอ้ย10 การขจดักลิ�นสามารถทาํไดโ้ดยการลา้งแผลดว้ยนํ�าเกลือ หรือใช ้Interposition layer ที�มี

    ส่วนประกอบของเงิน (Ag) หรือเปลี�ยนแผลใหถ้ี�กว่าเดิมเช่นทุก 24-48 ชั�วโมง

    กลไกการหายของแผลโดยวิธีสุญญากาศ (Mechanism of action)

    กลไกการหายของแผลปกติมีอยู ่4 ระยะคือ Hemostasis, Inflammation, Proliferation และ

    Remodeling โดยมีหลายปัจจยัที�ทาํใหก้ารหายของแผลชา้ลง ทั�งปัจจยัโดยรวม (Systemic factors) เช่นภาวะ

    ทุพโภชนาการ ภาวะขาดเลือด หรือปัจจยัเฉพาะที� (Local wound factors) เช่น เนื�อเยื�อบวม (Tissue edema)

    มีสารคดัหลั�งมาก (Excessive exudates) หรือแผลติดเชื�อ (wound infection) เป็นตน้15-21

    ซึ� งจากการศึกษาในสตัวท์ดลองพบวา่การรักษาโดยวิธีสุญญากาศนั�นช่วยทาํใหแ้ผลหายเร็วขึ�นทั�ง

    จากปัจจยัโดยตรง (Direct effects) และปัจจยัโดยออ้ม (Indirect effects)5-9 ดงันี�

    ปัจจยัโดยตรง (Direct effects)22-23

    1. การรักษาแผลโดยวิธีสุญญากาศช่วยทาํใหแ้ผลมีความชุ่มชื�นอยูใ่นระดบัที�เหมาะสม เนื�องจาก

    แรงดนัใตบ้รรยากาศทาํให้สารคดัหลั�งที�แผล เนื�อเยื�อ และ Interstitial space ลดลง ทาํใหล้ดภาวะ

    เนื�อเยื�อบวมได ้

    2. แรงดนัใตบ้รรยากาศผา่นชั�นฟองนํ�าทาํขอบของแผลเลก็ลง และแผลตื�นขึ�น ส่งผลให้ขนาดของแผล

    เล็กลง โดยมีปัจจยัสาํคญัคือ Tissue deformation ของแผล ยิ�งมี Tissue deformation มากยิ�งกระตุน้

    ภาวะ Remodeling ของแผลที�ระดบั Cell มากขึ�น โดย Tissue deformation นั�นจะสัมพนัธ์กบัความ

    แขง็ของเนื�อเยื�อ เช่นหากเป็นแผลเป็นจะมีความยืดหยุ่นนอ้ยทาํใหไ้ม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษา

  • 6

    ปัจจยัโดยออ้ม (Indirect effects)

    1. เพิ�มเลือดมาเลี�ยงแผล (Increased blood flow) จากการทดลองพบวา่ภายใตค้วามดนัใตบ้รรยากาศที�

    เหมาะสมสามารถเพิ�มเลือดมาเลี�ยงแผลได ้แต่หากความดนัเป็นลบมากเกินไป (มากกว่า - 175 มม.

    ปรอท) จะทาํใหเ้ลือดที�มาเลี�ยงแผลลดลง24-26

    2. ลดการตอบสนองต่อการอกัเสบของแผล (Diminished inflammatory response)

    จากการศึกษาพบวา่การทาํแผลแบบสุญญากาศสามารถลดทั�ง Systemic mediators of inflammation

    (เช่น interleukins, monocytes) และ Local mediators of inflammation ได ้27 และจากการศึกษาใน

    มนุษยพ์บว่า การทาํแผลแบบสุญญากาศสามารถลด Matrix metalloproteinase (MMP) ซึ�งเป็น

    เอนไซมห์ลกัของกระบวนการ Proteolysis ลงได ้28

    3. ลดปริมาณเชื�อแบคทีเรีย

    ในการทดลองระยะแรกพบว่าการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศสามารถลดเชื�อแบคทีเรียได ้แต่ต่อมา

    ผลการวิจยัมีทั�งที�สามารถลด และไมล่ดจาํนวนเชื�อแบคทีเรีย29-30 อยา่งไรก็ตามพบวา่การทาํแผลโดย

    วิธีสุญญากาศทาํใหส้ภาพแผลดีขึ�นแมว้า่จาํนวนเชื�อแบคทีเรียไม่ไดล้ดลงก็ตาม31

    4. เปลี�ยนแปลงชีวเคมีของแผล (Changes in wound biochemistry)

    การทดลองในสัตวพ์บว่าการทาํแผลแบบสุญญากาศช่วยใหเ้พิ�มการสร้างคอลลาเจน (Increased

    collagen organization) และเพิ�ม Expression ของ Vascular endothelial growth factor (VEGF) และ

    fibroblast growth factor-232

    รูปภาพที� 4 แสดงกลไกการหายของแผลโดยวิธีสุญญากาศ โดยการทาํใหแ้ผลหดเลก็ลง ดูด

    ของเหลวออกจากแผล และเพิ�มเลือดมาเลี�ยงที�แผลใหม้ากขึ�น

    ขอ้บ่งชี� (Indications)

    การรักษาแผลโดยวิธีสุญญากาศ สามารถใชไ้ดก้บัแผลหลากหลายชนิดทั�งแบบฉบัพลนั และเรื�อรัง

    หรือใชใ้นแผลช่องทอ้งแบบเปิด (Open abdomen) แผลเบาหวาน (Diabetic foot ulcers) หรือใชห้ลงั

  • 7

    ศลัยกรรมตกแต่งได ้(Reconstructive surgery) เช่นแผลไฟไหม ้(Burns) แผลปลูกถ่ายผิวหนงัและเนื�อเยื�อ

    (Skin graft and flap)1,33

    ขอ้บ่งหา้ม (Contraindications)34

    แผลเปิดที�มีอวยัวะสาํคญั (Exposed vital structures)

    ไม่ควรทาํแผลแบบสุญญากาศบนแผลเปิดที�มีอวยัวะสาํคญัโดยตรงไดแ้ก่ อวยัวะภายใน หลอดเลือด

    หลอดเลือดเทียม เนื�องจากมีความเสี�ยงที�จะทาํใหเ้กิดรูเชื�อมของลาํไส ้(enteric fistula) หรือหลอด

    เลือดบาดเจบ็ได ้35 ควรทาํแผลจนกระทั�งมีเนื�อเยื�อปกคลุม(granulation) อวยัวะเหล่านี� ก่อน จึง

    สามารถทาํแผลแบบสุญญากาศได ้

    แผลติดเชื�อ (Ongoing infection)

    ควรรักษาภาวะติดเชื�อก่อนใหดี้ขึ�นก่อนแลว้จึงทาํแผลแบบสุญญากาศ

    แผลที�มีเนื�อตาย (Devitalized tissue)

    การทาํแผลแบบสุญญากาศบนแผลที�มีเนื�อตายเพิ�มโอกาสติดเชื�อของแผลได ้8 ควรตดัแต่งเนื�อตาย

    ใหห้มดก่อนทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศ

    แผลที�เกิดจากมะเร็ง (Malignant tissue)

    การทาํแผลสุญญากาศสามารถเร่งการสร้างเนื�อเยื�อของกอ้นมะเร็งได ้และเนื�อเยื�อของกอ้นมะเร็ง

    มกัจะบอบบาง เสี�ยงต่อแผลเลือดออกได ้8

    ผิวหนงับอบบาง (Fragile skin)

    ผูป่้วยสูงอายุ ผูป่้วยที�ใชย้าสเตียรอยดเ์ป็นประจาํ หรือผูป่้วยโรคเนื�อเยื�อเกี�ยวพนั มีโอกาสที�ผิวหนงั

    จะเป็นแผลจากแรงดูดของระบบสุญญากาศได ้

    ผูป่้วยที�แพว้สัดุปิดแผล

    แผลขาดเลือด (Ischemic wounds)

    แมว้า่การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศจะทาํใหเ้ลือดมาเลี�ยงแผลมากขึ�น แต่จากการศึกษาพบว่าการทาํ

    แผลแบบสุญญากาศบนแผลขาดเลือดไม่ไดช่้วยใหแ้ผลหายเร็วขึ�น5

    ประโยชนข์องการทาํแผลแบบสุญญากาศเปรียบเทียบกบัการทาํแผลแบบปกติ

    (Advantages compared to traditional wound care modalities)

    การทาํแผลแบบปกติดว้ยผา้ก๊อซและนํ�าเกลือตอ้งทาํแผลบ่อยกว่า สัมพนัธ์กบัอาการปวดที�มากกวา่

    และบางครั� งการทาํแผลอาจเช็ดเอาเนื�อเยื�อดีออกไปพร้อมกบัเนื�อตายได ้

    การทาํแผลแบบสุญญากาศทาํไดง่้ายกว่า และทาํไดก้บัแผลเกือบทุกแบบ และเกือบทุกตาํแหน่ง และ

    วสัดุปิดแผลไม่หลุดง่าย 36-38

  • 8

    ลดความซับซอ้นของศลัยกรรมตกแต่ง (reconstructive surgery) ได ้เช่นการทาํแผลแบบสุญญากาศ

    ในแผลเปิดขนาดใหญ่ใหมี้ขนาดเลก็ลงก่อนแลว้จึงค่อยปิดบาดแผล10

    ทาํใหแ้ผลเบาหวาน ตื�นและปิดไดเ้ร็วขึ�น เพิ�มคุณภาพชีวิตของผูป่้วยโรคเบาหวานใหดี้ขึ�นได ้39

    ขอ้เสียของการทาํแผลแบบสุญญากาศเปรียบเทียบกบัการทาํแผลแบบปกติ

    (Disadvantages compared to traditional wound care modalities)

    ผูป่้วยถูกจาํกดัการเคลื�อนไหวหรือจาํเป็นตอ้งดูแลระบบเครื�องสุญญากาศ แต่ปัจจุบนัมีเครื�องสร้าง

    ระบบสุญญากาศแบบพกพา (Portable suction pump) ทาํใหไ้ม่จาํกดัการเคลื�อนไหวของผูป่้วย

    การทาํแผลระบบสุญญากาศมีค่าใช่จ่ายสูงกวา่การทาํแผลแบบปกติ

    การนาํไปใช ้(CLINICAL APPLICATIONS)

    ปัจจุบนัมีงานวิจยัแบบ Systematic reviews หลายชิ�นที�จะพยายามประเมินประสิทธิภาพของการทาํ

    แผลแบบสุญญากาศ14,33,40-47 แต่ไม่มีงานวิจยัใดเลยที�สามารถสรุปไดอ้ยา่งชดัเจน เนื�องจากแต่ละงานวิจยัมี

    รูปแบบการวิจยั ลกัษณะของแผลและวตัถุประสงคข์องงานวิจยัที�แตกต่างกนั บทความชิ�นนี� จึงใชข้อ้มูลที�มี

    ในปัจจุบนัมาเขียนแยกตามชนิดของแผล ไดแ้ก่

    แผลฉบัพลนั (Acute wound) เช่น อุบติัเหตุ ไฟไหม ้หรือ หลงัตกแต่งแผล

    (Acute injury: trauma, burns, surgical debridement)

    แผลช่องทอ้งแบบเปิด (Open abdomen)

    แผลช่องอกแบบเปิด (Open sternum)

    แผลเรื� อรัง (Chronic wound)

    แผลในผูป่้วยเบาหวาน

    (Wounds in diabetic patients: ulcers, postoperative wounds)

    แผลฉบัพลนั เช่น อุบติัเหตุ ไฟไหม ้หรือ แผลหลงัตดัเนื�อตาย

    (Acute injury: trauma, burns, surgical debridement)33,43-44

    แผลฉบัพลนัมกัเกิดจากอุบติัเหตุเป็นหลกั มกัเป็นแผลเปิดขนาดใหญ่ซึ� งจาํเป็นตอ้งทาํแผลเป็น

    เวลานาน หรืออาจตอ้งผา่ตดัซํ� าหลายครั� ง แผลอาจอยูใ่นตาํแหน่งที�ทาํแผลไดย้าก มีรายงาน case report

    หลายชิ�น48-50 สนบัสนุนการทาํแผลสุญญากาศในแผลเปิดแบบซบัซอ้น (complex wounds) วา่ไดผ้ลดีกว่าการ

    ทาํแผลแบบปกติ เช่น Mouës CM และคณะ29 รายงานผลการรักษาโดยวิธีสุญญากาศเทียบกบัการทาํแผลดว้ย

  • 9

    moist saline dressings พบว่าการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศทาํใหข้นาดของแผลเลก็ลงมากกว่าอย่างมี

    นยัสาํคญัทางสถิติ (ร้อยละ 3.8 เทียบกบัร้อยละ 1.7 ต่อวนั)

    ในกลุ่มผูป่้วยอุบติัเหตุ การทาํแผลแบบสุญญากาศนั�นใหผ้ลดีในแง่ของความง่ายในการทาํแผล ลด

    จาํนวนครั� งของการเปลี�ยนแผลและลดความซบัซอ้นของการผา่ตดัศลัยกรรมตกแต่งได ้51-54

    ในแผลไฟไหมน้ั�นมีเพียงงานวิจยัในสัตวท์ดลองเท่านั�นที�แสดงใหเ้ห็นวา่การทาํแผลแบบ

    สุญญากาศเพิ�มเลือดมาเลี�ยงแผลบริเวณ stasis zone และลดการลุกลามของแผลไฟไหม ้55 อยา่งไรกต็าม

    Kamolz LP และคณะ56 ไดร้ายงานการทาํแผลไฟไหมแ้บบสุญญากาศในมนุษย ์วา่สามารถทาํไดอ้ยา่ง

    ปลอดภยั และสงัเกตวา่สามารถลดอาการบวมของแผลและเพิ�มเลือดไปเลี�ยงที�แผลได ้

    แผล Fasciotomy

    แผลฉบัพลนัจากอุบติัเหตุมกัมีการบาดเจบ็ของหลอดเลือด หรือเนื�อเยื�อบาดเจบ็อยา่งรุนแรง ทาํใหมี้

    ความจาํเป็นตอ้งทาํ fasciotomy เพื�อป้องกนัหรือรักษาภาวะ Compartment syndrome ของแขนและขามี

    รายงานวา่การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศสามารถลดเวลาการปิดแผล fasciotomy ไดส้ั�นกวา่การทาํแผลแบบ

    ปกติอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติ และไม่พบการติดเชื�อของแผล 57-59

    Kakagia D และคณะ และ Fowler JR และคณะไดร้ายงานวา่การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศนั�นปิด

    แผลไดช้า้กวา่การทาํแผลดว้ยวิธี Shoelace Technique แต่ทั�ง 2 งานวิจยั เป็นงานวิจยัแบบยอ้นหลงัร่วมกบัมี

    ผูป่้วยจาํนวนนอ้ย60-61 จึงควรมีงานวิจยัศึกษาเปรียบเทียบเพิ�มเติม

    แผลช่องทอ้งแบบเปิด (Open abdomen)

    แผลช่องทอ้งแบบเปิดมกัเกิดตามหลงัอุบติัเหตุรุนแรงทาํใหปิ้ดช่องทอ้งไม่ไดเ้นื�องจากลาํไสบ้วม

    การปิดช่องทอ้งทนัทีอาจทาํใหเ้กิดภาวะความดนัในช่องทอ้งสูงได ้(Abdominal Compartment Syndrome)

    การปิดช่องทอ้งโดยวิธีสุญญากาศทาํใหค้วามดนัในช่องทอ้งลดลงได ้หรือใชใ้นกรณีที�ตอ้งการปิดช่องทอ้ง

    ไวช้ั�วคราวเพื�อประเมินซํ�า (Second look operation) การปิดช่องทอ้งดว้ยวิธีสุญญากาศพบวา่สามารถช่วยปิด

    ช่องทอ้งแบบเปิดไดท้ั�งในระยะแรก (acute) และระยะทา้ย (Late)ได ้(มากกวา่ 9 วนั)48,62 การปิดหนา้ทอ้ง

    ดว้ยวิธีสุญญากาศทาํใหส้ามารถปิดช่องทอ้งไดเ้ร็วกว่าวิธีปิดช่องทอ้งชั�วคราว (Temporary abdominal

    closure) อื�นๆ อีกทั�งยงัสามารถลดอตัราการเสียชีวิตไดอี้กดว้ย63

    ปัจจุบนัมีวิธีการปิดช่องทอ้งดว้ยระบบสุญญากาศแบบ ABThera dressing: Open abdomen negative

    pressure therapy system ซึ� งเป็นวิธีการปิดแผลแบบสุญญากาศโดยใส่วสัดุดูดซบัของเสียในช่องทอ้ง พบว่า

    สามารถช่วยเพิ�ม Microvascular blood flow มายงัผนงัลาํไสช่้วยใหแ้ผลปิดเร็วขึ�น แลว้ช่วยใหน้ํ�าในช่องทอ้ง

    ลดลง เทียบกบัการปิดแผลดว้ยวิธีสุญญากาศแบบปกติ การทาํแผลแบบปกติ และการปิดช่องทอ้งชั�วคราว

    แบบปกติ64-66 มีรายงานในสัตวท์ดลองว่าการดูดของเสียในช่องทอ้งอาจทาํใหล้ดสารการอกัเสบ (pro-

  • 10

    inflammatory cytokines) ลงได ้สมัพนัธ์กบัการเกิดการทาํงานของอวยัวะลม้เหลว (organ failure) นอ้ยลง67

    Demetriades D. และคณะ68ไดร้ายงานผลการศึกษาการปิดช่องทอ้งดว้ยระบบสุญญากาศแบบ ABThera

    dressing เทียบกบัการปิดช่องทอ้งดว้ยวิธีสุญญากาศแบบ Baker's (Barker’s vacuum-packing technique) ใน

    ผูป่้วยอุบติัเหตุช่องทอ้งแบบเปิดอยา่งนอ้ย 48 ชั�วโมง พบว่าการปิดช่องทอ้งดว้ยระบบสุญญากาศแบบ

    ABThera dressing สามารถปิดช่องทอ้งที� 30 วนัไดดี้กวา่ (ร้อยละ 69 และร้อยละ 51 (p = 0.03)) และมีอตัรา

    การตายที� 30 วนั ตํ�ากวา่อย่างมีนยัสําคญัทางสถิติ (ร้อยละ 14 และร้อยละ 30 (p = 0.01))

    รูปภาพที� 5 แสดงวิธีการปิดช่องทอ้งดว้ยระบบสุญญากาศแบบ ABThera dressing

    แผลช่องอกแบบเปิด (Open sternum)

    Post-sternotomy mediastinitis เป็นภาวะแทรกซอ้นที�พบไดน้อ้ยภายหลงัการผ่าตดัหวัใจ แต่เป็น

    ภาวะแทรกซอ้นที�อนัตรายมีโอกาสเสียชีวิตได ้การรักษาจาํเป็นตอ้งผ่าตดัตดัเนื�อตายออกร่วมกบัการใหย้า

    ฆ่าเชื�อทางหลอดเลือดดาํ การทาํแผลดว้ยวิธีสุญญากาศทาํใหส้ามารถปิดช่องโหว่ของผนงัช่องอกชั�วคราว

    ระหวา่งรักษาได ้33,45-46

    แผลเรื� อรัง (Chronic wounds)

    มีงานวิจยัหลายชิ�นสนบัสนุนว่าการทาํแผลเรื� อรังโดยวิธีสุญญากาศไดป้ระโยชนใ์นกลุ่มที�แผล

    เรื�อรังที�มีเลือดมาเลี�ยงดี ดงันั�นผูป่้วยที�มาดว้ยแผลเรื� อรังบริเวณแขนขาร่วมกบัชีพจรเบาหรือคลาํไม่ไดค้วร

    ส่งตรวจหลอดเลือดโดยวิธีไม่รุกราน (Noninvasive vascular testing) ก่อนทาํแผลดว้ยระบบสุญญากาศ37, 69

    บาดแผลจากโรคของหลอดเลือดดาํอุดตนั (Venous stasis ulcers) ถึงแมแ้ผลจะบวม และมีสิ�งคดั

    หลั�งมาก แต่ควรรักษาแผลดว้ยการทาํแผลแบบปกติร่วมกบัการปิดแผลแบบ compression therapy ไม่ควรใช้

    การทาํแผลแบบสุญญากาศ69

    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Demetriades%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252

  • 11

    แผลเบาหวาน (diabetic foot ulcers)

    Noble-Bell G และคณะไดท้าํ systematic review เปรียบเทียบกบัทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศ กบัการ

    ทาํแผลแบบปกติในผูป่้วยแผลเบาหวานที�เทา้ พบวา่การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศสามารถลดระยะเวลาการ

    หายของแผลไดดี้กวา่การทาํแผลแบบปกติ และไม่พบภาวะแทรกซอ้นที�รุนแรง41

    แผลกดทบั (Pressure ulcers)

    มีการศึกษาหลายการศึกษาพบวา่การทาํแผลกดทบัโดยวิธีสุญญากาศเปรียบเทียบกบัการทาํแผล

    ปกตินั�น การหายของแผลไม่แตกต่างกนัโดยวดัจากขนาดของแผลที�เลก็ลง อยา่งไรกต็ามการศึกษาเหล่านี�

    พบวา่การทาํแผลแบบสุญญากาศรบกวนผูป่้วยนอ้ยกวา่ และสามารถช่วยประหยดัเวลาและแรงงานได ้37-38, 70

    การปิดแผลปลูกถ่ายผิวหนงั และเนื�อเยื�อ (Skin graft/flap fixation)

    ปัจจุบนัไดมี้การใชว้ิธีการปิดแผลแบบสุญญากาศในแผลที�ไดร้ับการปลูกถ่ายผิวหนงัหรือเนื�อเยื�อ

    มากขึ�น การปิดแผลดว้ยความดนัใตบ้รรยากาศช่วยยึดผิวหนงัหรือเนื�อเยื�อที�ปลกูถ่ายใหอ้ยูก่บัที� อีกทั�งยงัช่วย

    ดูดซบันํ�าเหลืองจากแผลทาํใหผ้ิวหนงัที�ปลูกถ่ายแนบกบัแผลไดดี้ขึ�น สามารถเพิ�มโอกาสสาํเร็จและ

    ประสิทธิภาพของการปลูกถา่ยผิวหนงัและเนื�อเยื�อได ้อีกทั�งยงัสามารถลดโอกาสการตายของผิวหนงัที�ปลูก

    ถ่าย และจาํนวนครั� งของการปลกูถ่ายผิวหนงัไดอี้กดว้ย51-52,71-76

    Nguyen TQ. และคณะ77ไดท้าํการศึกษาแบบ RCTs เปรียบเทียบการปิดแผลปลกูถ่ายผิวหนงัโดยวิธี

    สุญญากาศดว้ยก๊อซ และ open cell foam dressing เป็นเวลา 4-5 วนั พบวา่ทั�ง 2 กลุ่มมีอตัราการติดของ

    ผิวหนงัปลูกถ่ายไม่แตกต่างกนั (ร้อยละ 96.12 เทียบกบัร้อยละ 96.21)

    รูปภาพที� 6 แสดงการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศบนแผลที�ไดรั้บการปลูกถ่ายผิวหนงั

    ภาวะแทรกซอ้นที�มีโอกาสเกิดขึ�น (Complications)

    การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศค่อนขา้งปลอดภยั แต่มีภาวะแทรกซอ้นบางอย่างสามารถเกิดขึ�นได้

    โดยเฉพาะแผลที�มีเนื�อเยื�อไม่แขง็แรง หรือแผลเปิดที�มีอวยัวะสาํคญัอยู่ ภาวะแทรกซอ้นเหล่านี�ไดแ้ก่

    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Nguyen%20TQ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25162948

  • 12

    ภาวะเลือดออก (Bleeding)

    ภาวะเลือดออกเป็นภาวะแทรกซอ้นที�รุนแรงที�สุดของการทาํแผลแบบสุญญากาศ โดยปกติแลว้การ

    เปลี�ยนแผลอาจมีเลือดออกไดเ้ลก็นอ้ย ซึ� งสามารถหยุดไดโ้ดยการกด แต่ในผูป่้วยบางรายเช่นผูป่้วยที�มีความ

    ผิดปกติของการแข็งตวัของเลือด หรือผูป่้วยที�กินยาตา้นการแขง็ตวัของเลือด หรือแผลเปิดที�มีหลอดเลือด

    หรือหลอดเลือดเทียมอยู่ อาจทาํใหเ้กิดภาวะเลือดออกรุนแรงจนเสียชีวิตได ้35

    การติดเชื�อ (Infection)

    การติดเชื�อภายหลงัการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศมกัเกิดจากการทาํแผลที�ไม่เหมาะสม เช่นตดัเนื�อ

    ตายไม่หมด หรือปิดบนแผลที�ติดเชื�อ ซึ� งหากทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศแลว้แผลมีลกัษณะติดเชื�อควรหยดุการ

    ทาํแผลดว้ยวิธีสุญญากาศ แลว้ทาํแผลโดยวิธีปกติร่วมกบัการใหย้าปฏิชีวนะ

    รูเชื�อมของลาํไส้ (Enterocutaneous fistula)

    มีรายงานวา่การปิดแผลดว้ยวิธีสุญญากาศสามารถรักษาภาวะรูเชื�อมของลาํไส้ได ้อยา่งไรกต็ามการปิดแผล

    ช่องทอ้งดว้ยวิธีสุญญากาศที�ไม่เหมาะสมเช่นการปิดแผลบนลาํไสโ้ดยตรง อาจก่อใหเ้กิดภาวะรูเชื�อมของ

    ลาํไสไ้ดเ้ช่นกนั 78-81

    การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัหยดของเหลว

    (Negative Pressure wound therapy with instillation (NPWTi))

    เดิมทีแผลปนเปื� อน และแผลสกปรกเป็นขอ้บ่งหา้มของการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศเพราะเชื�อวา่

    การทาํแผลสุญญากาศบนแผลเหลา่นี�นั�น เพิ�มโอกาสเกิดแผลติดเชื�อได ้34 แต่แผลปนเปื� อน หรือแผลสกปรก

    เป็นแผลที�พบไดบ่้อยเช่นภายหลงัอุบติัเหตุ ไฟไหม ้หรือภายหลงัการผา่ตดั82 และแผลติดเชื�อมกัเป็นแผล

    เรื�อรังเนื�องจากภาวะติดเชื�อมีผลต่อการหายของแผล83 จึงมีความพยายามรักษาแผลปนเปื� อนหรือแผลสกปรก

    ดว้ยวิธีสุญญากาศ

    การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัหยดของเหลว (Negative Pressure wound therapy with

    instillation (NPWTi)) คือการทาํโดยสุญญากาศแบบหนึ�งที�ใชร่้วมกบัของเหลวหยอดแผล (topical solutions)

    เช่น ยาลา้งแผล (cleanser) ยาฆ่าเชื�อ(antiseptic) หรือยาปฏิชีวนะ การทาํแผลวิธีนี� คือการหยอดนํ�าเขา้ไปใน

    แผลผา่นสายระบายขณะที�ระบบสุญญากาศปิดอยู ่แช่ยาไวร้ะยะเวลาหนึ�งแลว้ดูดออกโดยระบบสุญญากาศ

    สามารถทาํซํ�าหลายๆครั� งในแต่ละวนั83

  • 13

    รูปภาพที� 7 แสดงการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัการหยดของเหลว

    Gabriel และคณะ85 ไดร้ายงานผลการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัการหยดของเหลวดว้ย silver

    nitrate เทียบกบัการทาํแผลโดยใชผ้า้ก๊อซชุบนํ�าเกลือ (moist gauze bandages) ในแผลติดเชื�อ 15 ราย พบวา่

    การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัการหยดของเหลวใชเ้วลาในการรักษาสั�นกวา่ และแผลหายเร็วกวา่84 มี

    รายงานการทาํแผลวิธีนี� ในแผลติดเชื�อที�มีกระดูกติดเชื�อ (Osteomyelitis) ภายหลงัอุบติัเหตุสาํเร็จดว้ยเช่นกนั

    Kim PJ และคณะ86 ไดท้าํการศึกษาระหวา่งการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัการหยดของเหลว

    เปรียบเทียบกบัการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศอย่างเดียวในผูป่้วย 142 รายพบวา่ การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศ

    ร่วมกบัการหยดของเหลวมีจาํนวนครั� งที�ตอ้งเขา้หอ้งผา่ตดัเพื�อทาํแผลนอ้ยกวา่ อยู่โรงพยาบาลสั�นกว่า และ

    ระยะเวลาที�ปิดแผลไดส้ั�นกว่าการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศอย่างเดียว

    ของเหลวที�ใชห้ยอดแผล (Topical solutions)

    มีการใชข้องเหลวหลายชนิดทั�งยาฆ่าเชื�อเช่น polyhexanide, 12.5% Dakin’s solution, acetic acid

    solution นํ�าเกลือ 0.9%NaCl, Ringer lactate solution นํ�าก๊อกปลอดเชื�อ(sterile tap water) และยาปฏิชีวนะ

    ต่างๆเช่น vancomycin, gentamicin, tobramycin, doxycycline and cephalosporins83

    จากการศึกษาพบวา่การหยอดนํ�าก๊อกปลอดเชื�อใหผ้ลการรักษาไม่ต่างจากการใชน้ํ�าเกลือ 0.9%NaCl

    ในแผลติดเชื�อแบบฉบัพลนั (acute contaminated wounds) รวมถึงแผลกระดูกหักแบบเปิดที�มีการติดเชื�อ83

    และยงัพบว่าการใชส้บู่หรือยาปฏิชีวนะหยอดแผลไดผ้ลไม่ต่างจากการใชน้ํ�าเกลือสามญั ในแผลกระดูกสัน

    อกแบบเปิด (Open sternum wound) นั�นพบว่าการหยอดดว้ย Dermacyn® (Oculus Innovative Sciences,

    Petaluma, CA) นั�นไดผ้ลการรักษาดีกวา่ povidone-iodine83

    สาํหรับแผลเนื�อเยื�ออ่อนแบบเปิดชนิดที�ไม่ลึกถึงกระดูกนั�น (soft tissue wound without bone

    participant) พบวา่การใช ้polyhexanide (Prontosan®) นั�นทาํใหแ้ผลหายเร็วกวา่การใช ้Providone-iodine

    หรือ silver nitrate และการใชน้ํ� าก๊อกปลอดเชื�อก็ใหผ้ลการรักษาที�ปลอดภยั และไม่แตกต่างกบัการใช้

  • 14

    นํ�าเกลือ87-88 อีกทั�ง Moscati RM และคณะยงัรายงานวา่การใชน้ํ� าเกลือหยอดแผลให้ผลการรักษาไมแ่ตกต่าง

    กนักบั นํ�าเกลือผสม 1% povidone-iodine88-89

    ในแผลติดเชื�อเรื� อรัง แผลที�ตอ้งตดัเนื�อตายหลายครั� ง (serial debridement) หรือแผลที�ระบายนํ�าได้

    ไม่ดีนั�น ควรใช ้polyhexanide จะดีที�สุด83

    สาํหรับในแผลปนเปื� อน (Contaminated wound) เป็นที�ทราบกนัดีวา่เสี�ยงต่อการติดเชื�อไดสู้ง

    สมัพนัธ์กบัระดบัความปนเปื� อนของแผล มีรายงานหลายชิ�นใชก้ารทาํแผลแบบสุญญากาศร่วมกบัการหยอด

    ยาฆ่าเชื�อ พบวา่สามารถลดอตัราการติดเชื�อใหต้ํ�าลงได ้90-92

    แมก้ระทั�งแผลที�ไม่ติดเชื�อแต่มีความเสี�ยงต่อการติดเชื�อ เช่น แผลจากอุบติัเหตุ แผลที�จาํเป็นตอ้ง

    ผา่ตดัสาํรวจอีกครั� ง (second look operation) แผลโดนกดั แผลในคนสูงอาย ุหรือภูมิคุม้กนับกพร่อง การทาํ

    แบบโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัการหยดนํ�ากย็งัไดป้ระโยชน ์

    โดยสรุปจะเห็นไดว้า่ การใช ้polyhexanide (Prontosan®) นั�นทาํใหแ้ผลหายเร็วกวา่การใช ้

    Providone-iodine หรือ Silver nitrate ในแผลแผลเนื�อเยื�ออ่อนแบบเปิดชนิดที�ไม่ลึกถึงกระดูกและการใชน้ํ�า

    ก๊อกปลอดเชื�อกเ็ป็นวิธีที�ประหยดั ปลอดภยั และใหผ้ลการรักษาไม่ต่างจากการใช ้นํ�าเกลือ หรือ นํ�าเกลือ

    ผสม 1% povidone-iodine แต่อยา่งไรกต็ามการทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศร่วมกบัหยดของเหลวนั�น ยงัขาด

    ขอ้มลูการศึกษาแบบ RCTs หรือ multicenter มารองรับ

    สรุป

    การทาํแผลโดยวิธีสุญญากาศคือการทาํแผลดว้ยระบบปิดที�ความดนัตํ�ากวา่บรรยากาศ

    (Subatmospheric pressure) จากการศึกษาพบวา่สามารถทาํใหท้าํแผลซบัซอ้นไดง่้ายขึ�น ลดจาํนวนครั� งและ

    เวลาในการทาํแผล ทาํใหแ้ผลหายเร็วขึ�น และยงัสามารถช่วยทาํใหคุ้ณภาพชีวิตของผูป่้วยดีขึ�น สามารถ

  • 15

    ใชไ้ดก้บัแผลหลายรูปแบบ เช่นแผลจากอุบติัเหตุ แผลเบาหวาน หรือแมก้ระทั�งแผลปนเปื� อนเป็นตน้ มีขอ้บ่ง

    หา้มในแผลขาดเลือด แผลเปิดที�มีอวยัวะสาํคญั (Exposed vital structures) แผลมะเร็ง แผลที�จาํเป็นตอ้งตดั

    เนื�อตาย หรือมีการติดเชื�อ หรือผูป่้วยแพว้สัดุปิดแผล

    อยา่งไรกต็ามปัจจุบนัยงัขาดการขอ้มูลศึกษาแบบ RCTs, meta-analysis และ systematic review มา

    รองรับเนื�องจากแต่ละการศึกษามีความหลากหลายในงานวิจยั (heterogeneity) ในชนิดของแผล วิธีการรักษา

    และวตัถุประสงคข์องงานวิจยั (primary and secondary end points)

    REFERENCES

    1. Capobianco CM, Zgonis T. An overview of negative pressure wound therapy for the lower extremity. Clin

    Podiatr Med Surg 2009; 26619.

    2. Fleischmann W, Strecker W, Bombelli M, Kinzl L. Vacuum sealing as treatment of soft tissue damage in

    open fractures. Unfallchirurg 1993; 96:488.

    3. Morykwas MJ, Argenta LC, Shelton-Brown EI, McGuirt W. Vacuum-assisted closure : a new method for

    wound control and treatment : animal studies and basic foundation. Ann Plast Surg 1997;38(6):553-62.

    4. Argenta LC, Morykwas MJ. Vacuum-assisted closure : a new method for wound control and treatment :

    clinical experience. Ann Plast Surg 1997; 38(6): 563-77.

    5. Orgill DP, Manders EK, Sumpio BE, Lee RC, Attinger CE, Gurtner GC, et al. The mechanisms of action

    of vacuum assisted closure: more to learn. Surgery 2009; 146:40.

    6. Morykwas MJ, Argenta LC, Shelton-Brown EI, McGuirt W. Vacuum-assisted closure: a new method for

    wound control and treatment: animal studies and basic foundation. Ann Plast Surg 1997; 38:553.

    7. Pollak AN. Use of negative pressure wound therapy with reticulated open cell foam for lower extremity

    trauma. J Orthop Trauma 2008; 22:S142.

    8. Whelan C, Stewart J, Schwartz BF. Mechanics of wound healing and importance of Vacuum Assisted

    Closure in urology. J Urol 2005; 173:1463.

    9. Scherer SS, Pietramaggiori G, Mathews JC, Prsa MJ, Huang S, Orgill DP. The mechanism of action of the

    vacuum-assisted closure device. Plast Reconstr Surg 2008; 122:786.

    10. Payne JL, Ambrosio AM. Evaluation of an antimicrobial silver foam dressing for use with

    V.A.C. therapy: morphological, mechanical, and antimicrobial properties. J Biomed Mater Res B Appl

    Biomater 2009 ;89(1):217-22.9.

    http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/1http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/1http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/26http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/26http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/11http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/11http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Lee%20RC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19541009http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Attinger%20CE%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19541009http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Gurtner%20GC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19541009http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/12http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/12http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/13http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/13http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/14http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/14http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/15http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/15http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Prsa%20MJ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=18766042http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Huang%20S%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=18766042http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Orgill%20DP%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=18766042http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Payne%20JL%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19274724http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Ambrosio%20AM%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19274724http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Evaluation+of+an+Antimicrobial+Silver+Foam+Dressing+for+Use+With+V.A.C.1+Therapy%3A+Morphological%2C+Mechanical%2C+and+Antimicrobial+Propertieshttp://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Evaluation+of+an+Antimicrobial+Silver+Foam+Dressing+for+Use+With+V.A.C.1+Therapy%3A+Morphological%2C+Mechanical%2C+and+Antimicrobial+Properties

  • 16

    11. Malmsjö M1, Ingemansson R. Effects of green foam, black foam and gauze on contraction, blood flow

    and pressure delivery to the wound bed in negative pressure wound therapy. J Plast Reconstr Aesthet Surg

    2011; 64(12):e289-96.

    12. Venturi ML, Attinger CE, Mesbahi AN, Hess CL, Graw KS. Mechanisms and clinical applications of the

    vacuum-assisted closure (VAC) Device: a review. Am J Clin Dermatol 2005; 6:185.

    13. Dorafshar AH, Franczyk M, Karian L, Teven C, Wroblewski K, Gottlieb LJ, et al. A prospective

    randomized trial comparing subatmospheric wound therapy with a sealed gauze dressing and the standard

    vacuum-assisted closure device. Ann Plast Surg 2012; 69(1):79-84.

    14. Ubbink DT, Westerbos SJ, Nelson EA, Vermeulen H. A systematic review of topical negative pressure

    therapy for acute and chronic wounds. Br J Surg 2008; 95:685.

    15. Bucalo B, Eaglstein WH, Falanga V. Inhibition of cell proliferation by chronic wound fluid. Wound

    Repair Regen 1993; 1:181.

    16. Banwell PE. Topical negative pressure therapy in wound care. J Wound Care 1999; 8:79.

    17. Wysocki AB, Staiano-Coico L, Grinnell F. Wound fluid from chronic leg ulcers contains elevated levels

    of metalloproteinases MMP-2 and MMP-9. J Invest Dermatol 1993; 101:64.

    18. Sapico FL, Ginunas VJ, Thornhill-Joynes M, Canawati HN, Capen DA, Klein NE, et al. Quantitative

    microbiology of pressure sores in different stages of healing. Diagn Microbiol Infect Dis 1986; 5:31.

    19. Hunt TK. The physiology of wound healing. Ann Emerg Med 1988; 17:1265.

    20. Falanga V. Growth factors and chronic wounds: the need to understand the microenvironment. J Dermatol

    1992; 19:667.

    21. Genecov DG, Schneider AM, Morykwas MJ, Parker D, White WL, Argenta LC. A controlled

    subatmospheric pressure dressing increases the rate of skin graft donor site reepithelialization. Ann Plast

    Surg 1998; 40:219.

    22. Kairinos N, Voogd AM, Botha PH, Kotze T, Kahn D, Hudson DA. Negative-pressure wound therapy II:

    negative-pressure wound therapy and increased perfusion. Just an illusion? Plast Reconstr Surg 2009;

    123:601.

    23. Ichioka S, Watanabe H, Sekiya N, et al. A technique to visualize wound bed microcirculation and the

    acute effect of negative pressure. Wound Repair Regen 2008; 16:460.

    24. Kairinos N, Voogd AM, Botha PH, et al. Negative-pressure wound therapy II: negative-pressure wound

    therapy and increased perfusion. Just an illusion? Plast Reconstr Surg 2009; 123:601.

    25. Ichioka S, Watanabe H, Sekiya N, et al. A technique to visualize wound bed microcirculation and the

    acute effect of negative pressure. Wound Repair Regen 2008; 16:460.

    http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/2http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/2http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Hess%20CL%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=15943495http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Graw%20KS%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=15943495http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Dorafshar%20AH%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Franczyk%20M%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Karian%20L%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Teven%20C%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Wroblewski%20K%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Gottlieb%20LJ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=25866892http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21712704http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/3http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/3http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/4http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/4http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/5http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/6http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/6http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/7http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/7http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Canawati%20HN%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=3709093http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Capen%20DA%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=3709093http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Klein%20NE%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=3709093http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/8http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/9http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/9http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/10http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/10http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/10http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Parker%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=9523602http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=White%20WL%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=9523602http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Argenta%20LC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=9523602http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/18http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/18http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/18http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Kotze%20T%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19182619http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Kahn%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19182619http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Hudson%20DA%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19182619http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/19http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/19http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/18http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/18http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/19http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/19

  • 17

    26. Morykwas MJ, Faler BJ, Pearce DJ, Argenta LC. Effects of varying levels of subatmospheric pressure on

    the rate of granulation tissue formation in experimental wounds in swine. Ann Plast Surg 2001; 47:547.

    27. Norbury, K. Vacuum-assisted closure therapy attenuates the inflammatory response in porcine acute

    wound healing model. Wounds 2007; 19:97.

    28. Greene AK, Puder M, Roy R, et al. Microdeformational wound therapy: effects on angiogenesis and

    matrix metalloproteinases in chronic wounds of 3 debilitated patients. Ann Plast Surg 2006; 56:418.

    29. Mouës CM, van den Bemd GJ, Heule F, Hovius SE. Comparing conventional gauze therapy to vacuum-

    assisted closure wound therapy: a prospective randomised trial. J Plast Reconstr Aesthet Surg 2007;

    60:672.

    30. Mouës CM, Vos MC, van den Bemd GJ, et al. Bacterial load in relation to vacuum-assisted closure wound

    therapy: a prospective randomized trial. Wound Repair Regen 2004; 12:11.

    31. Boone D, Braitman E, Gentics C, Afthinos J, Latif J, Sordillo E, et al. Bacterial burden and wound

    outcomes as influenced by negative pressure wound therapy. Wounds 2010;22(2):32-7.

    32. Jacobs S, Simhaee DA, Marsano A, et al. Efficacy and mechanisms of vacuum-assisted closure (VAC)

    therapy in promoting wound healing: a rodent model. J Plast Reconstr Aesthet Surg 2009; 62:1331.

    33. Bovill E, Banwell PE, Teot L, et al. Topical negative pressure wound therapy: a review of its role and

    guidelines for its use in the management of acute wounds. Int Wound J 2008; 5:511.

    34. Sumpio BE, Allie DE, Horvath KA, et al. Role of negative pressure wound therapy in treating peripheral

    vascular graft infections. Vascular 2008; 16:194.

    35. White RA, Miki RA, Kazmier P, Anglen JO. Vacuum-assisted closure complicated by erosion and

    hemorrhage of the anterior tibial artery. J Orthop Trauma 2005; 19:56.

    36. Braakenburg A, Obdeijn MC, Feitz R, et al. The clinical efficacy and cost effectiveness of the vacuum-

    assisted closure technique in the management of acute and chronic wounds: a randomized controlled trial.

    Plast Reconstr Surg 2006; 118:390.

    37. Joseph, E, Hamori, CA, Bergman, S, et al. A prospective randomized trial of vacuum-assisted closure

    versus standard therapy of chronic non-healing wounds. Wounds 2000; 12:60.

    38. Ford CN, Reinhard ER, Yeh D, et al. Interim analysis of a prospective, randomized trial of vacuum-

    assisted closure versus the healthpoint system in the management of pressure ulcers. Ann Plast Surg 2002;

    49:55.

    39. Blume PA, Walters J, Payne W, et al. Comparison of negative pressure wound therapy using vacuum-

    assisted closure with advanced moist wound therapy in the treatment of diabetic foot ulcers: a multicenter

    randomized controlled trial. Diabetes Care 2008; 31:631.

    http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/20http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/20http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/22http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/22http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/23http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/23http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/23http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/24http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/24http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/25http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/25http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/28http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/28http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/33http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/33http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/34http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/34http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/29http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/29http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/29http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/31http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/31http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/31http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/32http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/32http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/32

  • 18

    40. Ubbink DT, Westerbos SJ, Evans D, et al. Topical negative pressure for treating chronic wounds.

    Cochrane Database Syst Rev 2008; :CD001898.

    41. Noble-Bell G, Forbes A. A systematic review of the effectiveness of negative pressure wound therapy in

    the management of diabetes foot ulcers. Int Wound J 2008; 5:233.

    42. Expert Working Group. Vacuum assisted closure: recommendations for use. A consensus document. Int

    Wound J 2008; 5 Suppl 4:iii.

    43. Wasiak J, Cleland H. Topical negative pressure (TNP) for partial thickness burns. Cochrane Database Syst

    Rev 2007; :CD006215.

    44. Kanakaris NK, Thanasas C, Keramaris N, et al. The efficacy of negative pressure wound therapy in the

    management of lower extremity trauma: review of clinical evidence. Injury 2007; 38 Suppl 5:S9.

    45. Sjögren J, Malmsjö M, Gustafsson R, Ingemansson R. Poststernotomy mediastinitis: a review of

    conventional surgical treatments, vacuum-assisted closure therapy and presentation of the Lund University

    Hospital mediastinitis algorithm. Eur J Cardiothorac Surg 2006; 30:898.

    46. Pham CT, Middleton PF, Maddern GJ. The safety and efficacy of topical negative pressure in non-healing

    wounds: a systematic review. J Wound Care 2006; 15:240.

    47. Mendonca DA, Papini R, Price PE. Negative-pressure wound therapy: a snapshot of the evidence. Int

    Wound J 2006; 3:261.

    48. Kirby JP, Fantus RJ, Ward S, et al. Novel uses of a negative-pressure wound care system. J Trauma 2002;

    53:117.

    49. Garner GB, Ware DN, Cocanour CS, et al. Vacuum-assisted wound closure provides early fascial

    reapproximation in trauma patients with open abdomens. Am J Surg 2001; 182:630.

    50. Hofmann P, Friess P, Findeisen M, Tomcik P. [Case report of successful therapy of necrotizing fasciitis

    using a device of vacuum assisted closure]. Zentralbl Chir 2006; 131 Suppl 1:S72.

    51. Barendse-Hofmann MG, van Doorn L, Steenvoorde P. Circumferential application of VAC on a large

    degloving injury on the lower extremity. J Wound Care 2009; 18:79.

    52. DeFranzo AJ, Argenta LC, Marks MW, et al. The use of vacuum-assisted closure therapy for the

    treatment of lower-extremity wounds with exposed bone. Plast Reconstr Surg 2001; 108:1184.

    53. DeFranzo AJ, Marks MW, Argenta LC, Genecov DG. Vacuum-assisted closure for the treatment of

    degloving injuries. Plast Reconstr Surg 1999; 104:2145.

    54. Meara JG, Guo L, Smith JD, et al. Vacuum-assisted closure in the treatment of degloving injuries. Ann

    Plast Surg 1999; 42:589.

    http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/35http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/35http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/36http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/36http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/37http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/37http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/38http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/38http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/39http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/39http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/40http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/40http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/40http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/41http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/41http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/42http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/42http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/44http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/44http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/45http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/45http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/46http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/46http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/47http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/47http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/48http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/48http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/49http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/49http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/50http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/50

  • 19

    55. Morykwas MJ, David LR, Schneider AM, et al. Use of subatmospheric pressure to prevent progression of

    partial-thickness burns in a swine model. J Burn Care Rehabil 1999; 20:15.

    56. Kamolz LP, Andel H, Haslik W, et al. Use of subatmospheric pressure therapy to prevent burn wound

    progression in human: first experiences. Burns 2004; 30:253.

    57. Yang CC, Chang DS, Webb LX. J. Vacuum-assisted closure for fasciotomy wounds following

    compartment syndrome of the leg. Surg Orthop 2006;15(1):19-23.

    58. Zannis J, Angobaldo J, Marks M, DeFranzo A, David L, Molnar J, et al. Comparison

    of fasciotomy wound closures using traditional dressing changes and the vacuum-assisted closure device.

    Ann Plast Surg. 2009;62(4):407-9

    59. Saziye K, Mustafa C, Ilker U, Afksendyios K. Comparison of vacuum-assisted closure device and

    conservative treatment for fasciotomy wound healing in ischaemia-reperfusion syndrome: preliminary

    results. Int Wound J. 2011;8(3):229-36

    60. Fowler JR1, Kleiner MT, Das R, Gaughan JP, Rehman S. Assisted closure of fasciotomy wounds: A

    descriptive series and caution in patients with vascular injury. Bone Joint Res. 2012;1(3):31-5

    61. Kakagia D, Karadimas EJ, Drosos G, Ververidis A, Trypsiannis G, Verettas D. Wound closure of

    leg fasciotomy: comparison of vacuum-assisted closure versus shoelace technique. A randomised study.

    Injury. 2014;45(5):890-3.

    62. Rotondo MF, Schwab CW, McGonigal MD, et al. 'Damage control': an approach for improved survival in

    exsanguinating penetrating abdominal injury. J Trauma 1993; 35:375.

    63. Roberts DJ, Zygun DA, Grendar J, Ball CG, Robertson HL, Ouellet JF, et al. Negative-pressure wound

    therapy for critically ill adults with open abdominal wounds: a systematic review. J Trauma Acute Care

    Surg. 2012;73(3):629-39.

    64. Lindstedt S1, Malmsjö M, Hlebowicz J, Ingemansson R. Comparative study of the microvascular blood

    flow in the intestinal wall, wound contraction and fluid evacuation during negative pressure wound

    therapy in laparostomy using the V.A.C. abdominal dressing and the ABTheraopen abdomen negative

    pressure therapy system. Int Wound J. 2015 ;12(1):83-8

    65. Demetriades D, Fabian TC, Kaplan MJ, Miles WS, Schreiber MA, Holcomb JB, et al. Prospective study

    examining clinical outcomes associated with a negative pressure wound therapy system and Barker's

    vacuum packing technique. World J Surg. 2013 ;37(9):2018-30.

    66. Olona C, Caro A, Duque E, Moreno F, Vadillo J, Rueda JC, et al. Comparative study of open abdomen

    treatment: ABThera™ vs. abdominal dressing™.Hernia. 2015;19(2):323-8

    http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/51http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/51http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/53http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/53http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Yang%20CC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=16603108http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Chang%20DS%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=16603108http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Webb%20LX%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=16603108http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16603108http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16603108http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Zannis%20J%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Angobaldo%20J%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Marks%20M%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=DeFranzo%20A%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=David%20L%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Molnar%20J%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19325346http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Saziye%20K%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=21401883http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Mustafa%20C%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=21401883http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Ilker%20U%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=21401883http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Afksendyios%20K%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=21401883http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21401883http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Fowler%20JR%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Kleiner%20MT%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Das%20R%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Gaughan%20JP%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Rehman%20S%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23610668http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Kakagia%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Karadimas%20EJ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Drosos%20G%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Ververidis%20A%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Trypsiannis%20G%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Verettas%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22377275http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22377275http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/63http://www.uptodate.com/contents/negative-pressure-wound-therapy/abstract/63http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Roberts%20DJ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Zygun%20DA%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Grendar%20J%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Ball%20CG%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Robertson%20HL%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Ouellet%20JF%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=22929494http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Derek+J.+Roberts+npwthttp://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Derek+J.+Roberts+npwthttp://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Demetriades%20D%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Fabian%20TC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Kaplan%20MJ%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Miles%20WS%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Schreiber%20MA%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Holcomb%20JB%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23674252http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Olona%20C%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Caro%20A%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Duque%20E%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Moreno%20F%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Vadillo%20J%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Rueda%20JC%5BAuthor%5D&cauthor=true&cauthor_uid=24756917http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24756917

  • 20

    67. Kubiak BD, Albert SP, Gatto LA, Snyder KP, Maier KG, Vieau CJ, Roy S, Nieman GF: Peritoneal

    negative pressure therapy prevents multiple organ injury in a chronic porcine sepsis and

    ischemia/reperfusion model. Shock 2010, 34:525–534.

    68. Demetriades D, Fabian TC, Kaplan MJ, Miles WS, Schreiber MA, Holcomb JB, et al. Prospective study

    examining clinical outcomes associated with a negative pressure wound therapy system and Barker's

    vacuum packing technique. World J Surg. 2013 ;37(9):2018-30.

    69. Vuerstaek JD, Vainas T, Wuite J, et al. State-of-the-art treatment of chronic leg ulcers: A randomized

    controlled trial comparing vacuum-assisted closure (V.A.C.) with modern wound dressings. J Vasc Surg

    2006; 44:1029.

    70. Wanner MB, Schwarzl F, Strub B, et al. Vacuum-assisted wound closure for cheaper and more

    comfortable healing of pressure sores: a prospective study. Scand J Plast Reconstr Surg Hand Surg 2003;

    37:28.

    71. Jeschke MG, Rose C, Angele P,