แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่...

53
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การคนควาอิสระครั้งนีศึกษาเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของบานปนเตา ตําบลแมสัน อําเภอ หางฉัตร จังหวัดลําปาง ผูศึกษาจะไดนําเอาองคความรูตางๆ ที่เกี่ยวของมาใช ประกอบการศึกษา อันจะนําไปสูความถูกตองสอดคลองกับหัวขอที่ทําการศึกษา อยางชัดเจนและ ตรงประเด็นโดยจะแบงการศึกษาออกเปน 4 หัวขอตามลําดับ ดังนี1. หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2. สภาพพื้นที่ที่ศึกษา 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 4. กรอบแนวคิดของการวิจัย หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ ความหมายของขยะหรือขยะมูลฝอย ขยะ หรือขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งของที่เหลือจากการใชประโยชนซึ่งเกิดจากระบวนการผลิต รวมถึงการใชงานอยางเหมาะสมในระดับหนึ่งของคนทุกกลุมทุกชวงเวลาที่มาจากทุกสถานที่ไดแก อาคารบานเรือน ที่พักอาศัย สถานที่ทําการ โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตร ตลาด รานคา และบน ถนน สามารถ นํามาใชประโยชนไดในอีกรูปแบบหนึ่งที่อาจจะเปนนวัตกรรม เปนพลังงานใหม และ อื่นๆ ตามความเหมาะสมของสิ่งที่เหลือนั้นๆ ของคนทุกกลุมในชวงเวลาตอมา ณ สถานทีใหมหรือ สถานที่เดิมก็ได ยกเวน อุจจาระและปสสาวะของมนุษยซึ่งเปนสิ่งปฏิกูล สิ่งของที่เหลือใช ไดแก กระดาษทุกชนิด ขวด แกว เศษผาทุกชนิด เศษไมเศษอาหาร เศษยางและหนัง เศษกระจก พลาสติก ทุกชนิด กระปองทุกชนิ ด เศษวัสดุกอสราง กิ่งไมใบไมมูลสัตว ซากสัตว ซากพืชผักผลไม ขยะติดเชื้อ และสารเคมี (พิชิต สกุลพราหมณ , 2535, .334;พัฒนามูลพฤกษ , 2539, .15; จตุพร บุนนาค , 2540, .9;สมนึก ชวาล , 2543, .10; วินัย วีระวัฒนานนท และอุทุมพร ไพลิน , 2545, .100; ชนินทร เลิศคณาวนิชกุล และภัทรา ปญญวัฒนกิจ , 2547, .1; เตือนจิต สุดสวาท , 2547, .15; อารมณ บุญเชิดชาย, 2549, .9;และสมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม , 2551, .1) นอกจากนี้ อาจ

Transcript of แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่...

Page 1: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การคนควาอิสระครั้งนี้ ศึกษาเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของบานปนเตา

ตําบลแมสัน อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง ผูศึกษาจะไดนําเอาองคความรูตางๆ ท่ีเก่ียวของมาใช

ประกอบการศึกษา อันจะนําไปสูความถูกตองสอดคลองกับหัวขอท่ีทําการศึกษา อยางชัดเจนและ

ตรงประเด็นโดยจะแบงการศึกษาออกเปน 4 หัวขอตามลําดับ ดังนี้

1. หลักการ แนวคิด และทฤษฎีท่ีเก่ียวของ

2. สภาพพ้ืนท่ีท่ีศึกษา

3. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

4. กรอบแนวคิดของการวิจัย

หลักการ แนวคิด และทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ

ความหมายของขยะหรือขยะมูลฝอย

ขยะ หรือขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งของท่ีเหลือจากการใชประโยชนซ่ึงเกิดจากระบวนการผลิต

รวมถึงการใชงานอยางเหมาะสมในระดับหนึ่งของคนทุกกลุมทุกชวงเวลาท่ีมาจากทุกสถานท่ีไดแก

อาคารบานเรือน ท่ีพักอาศัย สถานท่ีทําการ โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตร ตลาด รานคา และบน

ถนน สามารถ นํามาใช ประโยชนไดในอีกรปูแบบหนึ่งท่ีอาจจะเปนนวัตกรรม เปนพลังงานใหม และ

อ่ืนๆ ตามความเหมาะสมของสิ่งท่ีเหลือนั้นๆ ของคนทุกกลุมในชวงเวลาตอมา ณ สถานท่ี ใหมหรือ

สถานท่ีเดิมก็ได ยกเวน อุจจาระและปสสาวะของมนุษยซ่ึงเปนสิ่งปฏิกูล สิ่งของท่ีเหลือใช ไดแก

กระดาษทุกชนิด ขวด แกว เศษผาทุกชนิด เศษไมเศษอาหาร เศษยางและหนัง เศษกระจก พลาสติก

ทุกชนิด กระปองทุกชนิ ด เศษวัสดุกอสราง ก่ิงไมใบไมมูลสัตว ซากสัตว ซากพืชผักผลไม ขยะติดเชื้อ

และสารเคมี (พิชิต สกุลพราหมณ , 2535, น.334;พัฒนามูลพฤกษ , 2539, น.15; จตุพร บุนนาค ,

2540, น.9;สมนึก ชวาล , 2543, น.10; วินัย วีระวัฒนานนท และอุทุมพร ไพลิน , 2545, น.100;

ชนินทร เลิศคณาวนิชกุล และภัทรา ปญญวัฒนกิจ , 2547, น.1; เตือนจิต สุดสวาท , 2547, น.15;

อารมณ บุญเชิดชาย, 2549, น.9;และสมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม , 2551, น.1) นอกจากนี้ อาจ

Page 2: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

8

เปน เศษสิ่งของท่ีท้ิงแลว หยากเหยื่อ (พจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน พ .ศ. 2542, 2542, น.166

และ1266) ตลอดจนของเหลือท้ิงประเภทท่ีเปนของแข็งเปนสวนใหญอาจจะมีน้ําหรือกากตะกอนปน

มาดวยจํานวนหนึ่ง หรือวัสดุท่ีเหลือใชจากกิจกรรมตางๆ ซ่ึงเปนสิ่งท่ีเราไมตองการและกําจัดออกไป

ยังมีของเสียท่ีเปนพิษ มีสารเคมีท่ีอาจกอใหเกิดอันตรายตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตในรูปการบาดเจ็บและ

การเจ็บปวย โดยท่ีความรุนแรงของสารเคมีจะข้ึนอยูกับชนิด ปริมาณและระยะเวลาของสารนั้น(วันชัย

นิลพัฒน, 2546, น.10;วิสูตร พ่ึงชื่น และสัมฤทธิ์ ทองศรี , 2545, น.177) และตามท่ีกรมควบคุม

มลพิษ, (2553, น.2) ไดใหความหมายวา ขยะหรือมูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร

เศษสินคา เศษวัตถุเถาถุงพลาสติก ภาชนะท่ีใสอาหาร มูลสัตว ซากสัตว หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีเก็บกวาดจาก

ถนน จากตลาด ท่ีเลี้ยงสัตวหรือท่ีอ่ืน และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยท่ีเปนพิษหรือ

อันตรายจากชุมชนหรือครัว เรือน ยกเวนวัสดุท่ีไมใชแลวของโรงงานซ่ึงมีลักษณะและคุณสมบัติท่ี

กําหนดไวตามกฎหมายวาดวยโรงงาน

ประเภทของขยะมูลฝอย

การจําแนกประเภทขยะมูลฝอย จะมีนักวิชาการหรือนักวิจัย แบงไวอยางหลากหลาย ดังนี้

(1) การแบงตามแหลงกําเนิดของขยะมูลฝอย (ปรีดา แยมเจริญวงศ , 2532, น.14-138;

พัฒนา มูลพฤกษ . 2539, น.16; อดิศักดิ์ ทองไขมุกต และคนอ่ืนๆ , 2545, น.21;พัฒนา อนุรักษ

พงศธร, 2547, น.10; สุทธิรักษ สุจริตตานนท , 2550) ไดแก ขยะมูลฝอยจากชุมชน เชน ธุรกิจการ

พาณิชยกรรม ท่ีพักอาศัย สถานท่ีสาธารณะ สถานท่ีราชการ และระบบสาธารณูปโภค เปนตน ซ่ึงมี

ขยะมูลฝอยแหง เชน แกว พลาสติก โลหะ กระดาษ และขยะสด/ขยะมูลฝอยเปยก เชน เศษผักผลไม

เศษอาหาร และสิ่งขับถายของมนุษย ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรมมีขยะท่ีเปนของเสียท่ีไม

เปนอันตราย และขยะท่ีเปนของเสียเปนอันตรายตอชีวิตและสิ่งแวดลอม ไดแก ขยะมูลฝอยท่ัวไป

(General wastes) กับขยะมูลฝอยอันตราย (Hazardous wastes) เชน ซากรถยนต ของเสียท่ีเปน

พิษ ของเสียติดไฟ ของเสียท่ีมีฤทธิ์กัดกรอน สวนกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน , (ม.ป.ป., น.19-21)

กลาววา ขยะจากอุตสาหกรรม (Industrial Waste) เปนเศษวัสดุ ท่ีเกิดจากการผลิตของโรงงาน

อุตสาหกรรม อาจเปนสารอินทรียท่ีเนาเปอยข้ึนอยูกับชนิดของอุตสาหกรรม ซากและสวนประกอบ

ของยานพาหนะท่ีหมดสภาพการใชงานหรือใชงานไมไดแลว เชน ยาง แบตเตอรี่ เปนตน ควรแยก

ชิ้นสวนท่ีสามารถนํามาใชไดกอนนําไปกําจัด และขยะมูลฝอยจากการเกษตรกรรม มีขยะมูลฝอยเปยก

Page 3: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

9

เชน ชานออย ซังขาวโพด ซากพืชซากสัตว มูลสัตว เถาถาน และขยะท่ีเปนอันตราย เชน สารเคมี

ภาชนะบรรจุยาฆาแมลงหรือยาปราบศัตรูพืช

(2) การแบงตามลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย (ปรีดา แยมเจริญวงศ , 2532, น.14-138;

อดิศักดิ์ ทองไขมุกต , 2545, น.21;พัฒนา อนุรักษพงศธร , 2547, น.10และสุทธิรักษ สุจริตตานนท ,

2550) ไดแก ขยะมูลฝอยแหง (Refuse)เชน กระดาษ พลาสติก แกว ผา โลหะ แตวันชัย นิลพัฒน ,

(2546, น.14) กลาวไววาขยะแหง (RubbishWaste) เปนขยะท่ีไมสามารถนํากลับมาใชประโยชนได

อีก หรือถานํากลับมาใชจะไดประโยชนไมคุมคา ไดแก กลองนม เศษกระดาษ กระดาษชําระ

ถุงพลาสติก ไมเสียบลูกชิ้นและไมจิ้มขนม และขยะแหงทําลายความสงางามของสถานท่ี ถามีจํานวน

มากจะเปนท่ีอยูอาศัยของสัตวมีพิษและสัตวท่ีเปนพาหะนําโรค ขยะมูลฝอยเปยก (Garbage) เชน เศษ

ผักผลไม เศษอาหาร ขยะมูลฝอยท่ีเผาไหมได (Combustible waste) เชน กระดาษ ผาหรือสิ่งทอ

ผักผลไม เศษอาหาร หญาและไม ขยะมูลฝอยท่ีเผาไหมไมได (Non-combustible waste) เชน เหล็ก

หรือโลหะอ่ืน แกวหิน กระเบื้อง เปลือกหอย และขยะมูลฝอย /ของเสียอันตราย /ขยะมีพิษ

(Hazardous waste) (วันชัย นิลพัฒน , 2546, น.14)ไดแก ผาอนามัย หลอดไฟ แบตเตอรี่แหง

กระปองสี ขวดน้ํายาลางหองน้ํา หลอดหมึกคอมพิวเตอร บรรจุภัณฑสําหรับใสปุย /ใสยาปราบศัตรูพืช

และใสยาฆาแมลงกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน (ม.ป.ป., น.19-21) กลาววา ขยะติดเชื้อและขยะ

อันตราย (Hazardous Waste) เปนขยะจากสถานพยาบาล หรือสถานท่ีอ่ืนๆ ท่ีตองใชกรรมวิธีทําลาย

เปนพิเศษ ไดแก แบตเตอรี่ กระปองสี พลาสติก ถานไฟฉาย ฟลมถายรูป วัสดุท่ีผานการใชใน

โรงพยาบาล เปนตน การกําจัดขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาลจะทําลายโดยการเผาในเตาเผา สวนขยะ

อันตรายอ่ืนๆ ตองดําเนินการอยางระมัดระวัง

(3) การแบงตามลักษณะของสวนประกอบของขยะมูลฝอย (สุทธิรักษ สุจริตตานนท , 2550;

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2551, น.1-2) ไดแก ผักผลไม และเศษอาหาร เชน เศษผลไม เศษ

ผัก เศษอาหารท่ีเหลือจากการปรุงอาหารและเหลือจากการบริโภค เชน ขาวสุก เปลือกผลไม เนื้อสัตว

ฯลฯ กระดาษและวัสดุหรือผลิตภัณฑจากเหยื่อกระดาษ เชน กระดาษหนังสือพิมพ ถุงกระดาษ ลัง

กลองกระดาษ ใบปลิว เศษกระดาษจากสํานักงาน ฯลฯ พลาสติกและวัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจาก

พลาสติก เชน ถุงพลาสติก ของเลนเด็ก ภาชนะพลาสติก ผลิตภัณฑไฟเบอรกลาส ฯลฯผาและสิ่งทอ

ตางๆ ท่ีทํามาจากเสนใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห เชน ผาไนลอน ลินิน ฝายและขนสัตว เศษผา ผา

เช็ดมือ ถุงเทา ผาข้ีริ้วแกวและวัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจากแกว เชน ขวด หลอดไฟเศษกระจก เครื่องแกว

Page 4: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

10

ไมและวัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจากไม ไมไผฟาง หญา เศษไม เชน กลองไมโตะเกาอ้ี เศษเฟอรนิเจอร

เครื่องเรือนฯลฯ โลหะและวัสดุหรือผลิตภัณฑ ท่ีทําจากโลหะ เชน กระปอง ตะปู ลวดท่ีทําจากโลหะ

กระเบื้อง หินและเศษหิน เปลือกหอย เศษกระดูกสัตวและกางปลาเครื่องปนดินเผาเครื่องเคลือบฯลฯ

ยาง หนัง และวัสดุหรือผลิตภัณฑท่ีทําจากยางและหนัง เชน รองเทา กระเปา ลูกบอลฯลฯ และวัสดุท่ี

ไมอาจจัดกลุมได

(4) การแบงตามลักษณะของการยอยสลายของขยะมูลฝอย (วินัย วีระวัฒนานนท , 2545,

น.100; วุฒิวงศ โตะทอง , 2548) ไดแก ขยะชนิดยอยสลายได นําเศษอาหารมาทําเปนปุย น้ําหมัก

ชีวภาพ กระดาษทุกชนิด และใบไม เศษไม นํามาทําเปนปุยหมักแหงชีวภาพและขยะชนิดยอยสลาย

ไมไดมีเศษแกว เศษกระจก เศษหนัง และยางรถยนต เปนตน

(5) การแบงตามลักษณะของภาชนะรองรับของขยะมูลฝอย (มหาวิทยาลัยกรุงเทพวิทยาเขต

รังสิต, ม.ป.ป.) ไดแก ขยะเสีย สําหรับท้ิงเศษอาหาร ขยะเนาเสียเปนขยะท่ีสามารถยอยสลายได มี

ความชื้นมากและสงกลิ่นเหม็นอยางรวดเร็ว ไดแก เศษพืชผักเปลือกผลไมและเศษอาหาร เปนตน

ขยะประเภทนี้หลังจากแยกกําจัดแลวสามารถไปใชประโยชนในการทําปุยหมัก ขยะยังใชไดสําหรับท้ิง

ขยะท่ีสามารถนํากลับมาใช ใหมได (Recycle) เชน แกวกระดาษ โลหะ พลาสติก บางสวนสามารถ

นําไปแปรรูปเพ่ือผลิตมาใชใหม และ ขยะพิษ สําหรับท้ิงขยะมีพิษหรือขยะท่ีมีอันตราย

ตามคุณลักษณะทางกายภาพ ทางเคมีและทางชีวภาพ เชน ระเบิดไดติดไฟงาย ขยะท่ีมีสารกัดกรอน

เชน ถานไฟฉาย ยาฆาแมลง เครื่องสําอาง น้ํามันเครื่อง หลอดไฟ สีสเปรย

(6) การแบงตามลักษณะทางกายภาพของขยะมูลฝอย (กรมควบคุมมลพิษ , 2553, น.4-6)

ไดแก ขยะยอยสลาย (Compostable waste) หรือมูลฝอยยอยสลาย คือ ขยะมูลฝอยท่ีเนาเสียและ

ยอยสลายไดเร็วสามารถนํามาทําเปนปุยหมักได เชน เศษผัก เปลือกผักผลไม เศษอาหารเศษเนื้อสัตว

ใบไม เปนตน แตจะไมรวมถึงซากหรือเศษของพืช ผัก ผลไมหรือสัตวท่ีเกิดจากการทดลองใน

หองปฏิบัติการ โดยท่ีขยะยอยสลายเปนขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด ถึงรอยละ 64 ของปริมาณ

ขยะท้ังหมด ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste)หรือมูลฝอยท่ียังใชได คือ ของเสียบรรจุภัณฑ หรือ

วัสดุเหลือใช ซ่ึงสามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมได เชน กระดาษแกว เศษพลาสติก กลอง

เครื่องดื่มแบบUHT อะลูมิเนียม เหล็ก เศษโลหะ กระปองเครื่องดื่ม ยางรถยนตท่ีใชแลว เปนตน โดย

มีข้ันตอนในการทําความสะอาดและผานการฆาเชื้อโรคแลวจึงนํากลับมาใชใหมอีกครั้งหรือนํามาแปร

สภาพ หรือนํามาเปนวัตถุดิบในการสรางเปนผลิตภัณฑใหม และมีการเลือกใชสินคา ท่ีทํามาจากวัสดุรี

Page 5: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

11

ไซเคิลดวย (ชุติมา อ้ึงภาภรณ , 2539, น.3; สมพงษ บุรินทราธิกุล , 2540, น.2 และวันชัย นิลพัฒน,

2546, น.14) สําหรับขยะรีไซเคิลนี้เปนขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณมากเปนอันดับ 2 ในกองขยะ ประมาณ

รอยละ 30 ของปริมาณขยะมูลฝอยท้ังหมด ขยะอันตราย (Hazardous waste) หรือมูลฝอยอันตราย

คือ ขยะมูลฝอยท่ีมีองคประกอบหรือปนเปอนวัตถุอันตรายชนิดตางๆ ไดแก วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ

วัตถุออกซิไดซ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ีทําใหเกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุท่ีกอใหเกิดการระคายเคือง วัตถุท่ี

ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกรอน วัตถุอยางอ่ืนไมวาจะเปนเคมีภัณฑ หรือสิ่งอ่ืน

ใดท่ีอาจทําใหเกิดอันตรายแกบุคคลพืชสัตว สิ่งแวดลอมหรือทรัพยสิน เชน หลอดไฟฟลูออเรสเซนต

ถานไฟฉาย แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนท่ี ภาชนะบรรจุสารกําจัดศัตรูพืช กระปองสเปรยบรรจุสีหรือ

สารเคมี เปนตน ขยะอันตรายนี้ เปนขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณนอยท่ีสุด พบประมาณรอยละ 3 ของ

ปริมาณขยะมูลฝอยท้ังหมด และขยะท่ัวไป (General waste) หรือขยะมูลฝอยท่ัวไป คือ ขยะมูลฝอย

ประเภทอ่ืนนอกจากขยะยอยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย มีลักษณะท่ียอยสลายยากและไม

คุมคาสําหรับการนํากลับมาใชประโยชนใหม เชน หอพลาสติกใสขนม พลาสติกหอลูกอม ถุงพลาสติก

บรรจุผงซักฟอก ถุงพลาสติกเปอนเศษอาหาร ซองบะหม่ี ก่ึงสําเร็จรูป โฟมหรือฟอยลเปอนอาหาร

เปนตน สําหรับขยะท่ัวไปนี้เปนขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณใกลเคียงกับขยะอันตราย จะพบประมาณรอย

ละ3 ของปริมาณขยะท้ังหมดในกองขยะ สวนกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน ,(ม.ป.ป., น.19-21)

กลาววา ขยะท่ัวไป (General Waste)เปนขยะจากถนนหนทาง สํานักงาน การกอสราง ไดแก แกว

กระดาษ เศษไม ก่ิงไม ฟางขาว ถุงพลาสติก กระเบื้อง ยาง เศษอิฐ กรวด ทราย เศษปูนและหิน

ขยะประเภทนี้ไมเกิดการยอยสลายและเนาเหม็น ควรคัดแยกขยะท่ีสามารถนําไปใชใหมได กอนนําไป

กําจัด

(7) การแบงตามลักษณะและประเภทของขยะมูลฝอย (ระเบียบ ชาญชาง , 2541 : 21-22;

ชนินทร เลิศคณาวนิชกุล, 2547) ไวดังนี้

(7.1) ขยะสด (Garbage) ไดแก เศษอาหาร เศษพืชผัก เศษเนื้อสัตว เศษผลไม กระดูกและ

กางฯลฯสวนมากจะเกิดจากกิจกรรมการปรุงอาหาร การรับประทานอาหารจากครัวเรือน ตลาดสด

สถานท่ีจําหนายอาหาร โรงอาหาร สถานท่ีจัดเลี้ยงอาหาร ฯลฯ ขยะสดมีสวนประกอบเปนอินทรียสาร

(Organic matter) ท่ีสลายตัวไดเปนสวนใหญมีความชื้นปะปนอยู ประมาณรอยละ 40-70 ถาปลอย

ท้ิงไวนานเกินไปโดยไมนําไปกําจัดจะเกิดการสลายตัวเนาเปอยจากปฏิกิริยาของจุลินทรียทําให เกิด

กลิ่นเหม็นรบกวน และเปนแหลงเพาะเชื้อโรคได ขยะสดชนิดตางๆ เม่ือปลอยท้ิงคางไว ระยะหนึ่งจะมี

Page 6: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

12

น้ําสีเหลืองกลายเปน น้ําโสโครกท่ีสงกลิ่นเหม็นรุนแรงและเปนท่ีนารังเกียจ น้ําสีเหลือง (Leachate)

จากขยะจะมีคาบีโอดีคอนขางสูงมาก ถาไหลลงสูแหลง น้ําในปริมาณมากๆ อาจทําให เกิดมลภาวะ

ทางน้ําไดสวนกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน , (ม.ป.ป.,น.19-21) กลาววาขยะอินทรีย (Organic

Waste) เปนขยะจากครัวเรือน ภัตตาคาร โรงอาหาร ตลาดสด เกษตรกรรม ไดแก เศษผลไม เศษอาหาร

เศษผัก เศษเนื้อ ซากสัตว มูลสัตว ขยะประเภทนี้เปนพวกท่ียอยสลายและ เนาเปอยไดงาย เพราะวา

เปนสารประกอบอินทรีย ท่ีมีความชื้นคอนขางสูงมีกลิ่นเหม็น กําจัดโดยการนํามาทําเปนปุยหมัก

และวันชัย นิลพัฒน (2546 : 14) กลาววา ขยะเปยก (GarbageWaste) เปนขยะท่ีมีความชื้นสูง

สามารถยอยสลายไดงายใชเวลายอยสลายสั้น จึงเปนตัวการท่ีสําคัญในการแพรกระจายของเชื้อโรค

ชนิดตางๆ สงกลิ่นเนาเหม็นรบกวนเปนบอเกิดของแมลงและสัตวมีพิษตางๆเนื่องจากขยะเปยก

ประกอบดวยสารอินทรีย (Organic Matter) จึงทําใหเกิดการยอยสลายไดในระยะเวลาสั้น สัตวท่ีเปน

พาหะในการนําเชื้อโรคไดแก สุนัข แมลงวัน แมลงสาบ หนูและสัตวมีพิษจึงชอบเขาไปอยูอาศัยทํารัง

และหากินในแหลงท่ีมีขยะเปยกสะสมอยู

(7.2) ขยะแหง (Rubbish) ไดแก เศษวัสดุท่ียอยสลายยากหรือบางชนิดยอยสลายไมไดเลย

(Nonputresible materials) ถาแบงตามคุณลักษณะของการเผาไหม สามารถแบงไดเปน 2 กลุม

คือ 1) ขยะแหงท่ีเผาไหมได (Combustible materials) ไดแก กระดาษ เศษไม กลองไม ผาข้ีริ้ว

สิ่งทอ เสื้อผาเกาหรือชํารุด พลาสติก เศษหญา ใบไม 2) ขยะแหงท่ีเผาไหมไมได (Non-combustible

materials) ไดแก เศษแกวเศษชามโองแตก ขวดเปลา กระปองบรรจุอาหาร เศษโลหะ กระเบื้อง

เศษหิน เครื่องปนดินเผา เหล็ก

(7.3) เถา (Ashes) เปนเศษหรือกากท่ีเหลืออยูหลังจากการเผาไหมแลว เชน การเผาไหม

ของเชื้อเพลิงแข็ง พวกไมฟน การเผาไหมจากไฟปาถานไม ถานหิน แกลบ ซากของพืชและเถาถาน

จากการเผาขยะมูลฝอยตางๆเปนตน จะเกิดเปนเถาเหลือตองนําไปกําจัดตอไป เชน นําไปถมท่ีลุม

มิฉะนั้นจะเกิดปญหารบกวนเชนเดียวกับฝุน

(7.4) ขยะจากอุตสาหกรรม (Industrial Refuse) หมายถึง เศษวัสดุท่ีเกิดจากกระบวนการ

ผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ซ่ึงตองใชวัตถุดิบตางๆ มาทําการผลิต เชน โรงงานผลไมกระปอง ขยะท่ี

เกิดข้ึน จะเปนพวกเปลือกเมล็ด และเศษเนื้อของผลไม ซ่ึงเปนพวกอินทรียสารท่ีสลายตัวไดงาย

ถาปลอยท้ิงไวนานๆ จะเกิดกลิ่นเหม็นรบกวน และอาจจะเกิดผลกระทบตอดินและแหลง น้ําได สวน

Page 7: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

13

ขยะจากเครื่องปนดินเผาจาก โรงแกวจะมีพวกเศษแกวและเศษเครื่องปนดินเผา ซ่ึงเปนขยะท่ีไม

สลายตัว

(7.5) ซากสัตว (Dead animals) ไดแก สัตวท่ีเกิดจากการถูกยานพาหนะชนหรือ ทับตาย

หรือเปนโรคตาย (ไมนับสวนท่ีมนุษยฆาเพ่ือเปนอาหาร เพราะเศษท่ีเหลือจากการใชเปนอาหาร ถือวา

เปนขยะสด )ไดแก สุนัข แมว หมู วัว ควาย เศษเนื้อจากตลาดสดซากสัตวเหลานี้ตองรีบนําไปกําจัด

โดยเร็ว เชน การฝง การเผาทําลาย มิฉะนั้นจะเกิดการเนาเหม็นสงกลิ่นรบกวน สรางทัศนะอุจาด และ

นาสมเพชแกผูพบเห็น นอกจากนี้ถาสัตวตายเนื่องจากโรคตางๆ เชน แอนแทรกซ (Anthrax)โรคกลัว

น้ําจะอันตรายมากเพราะเชื้อจะเขาสูคนได

(7.6) ขยะจากถนน (Street Refuse) ไดแก เศษดิน ฝุนละออง มูลสัตว เศษกระดาษ

เศษใบไม เศษหญาแหงท่ีท้ิงตามถนน และเศษขยะท่ีผูเดินเทาหรือผูท่ีอยูบนพาหนะท้ิงลงบนถนนหรือ

ขางถนน เชน เศษแกว ถุงพลาสติก เศษกระเบื้อง เปลือกผลไม ฯลฯ ขยะจากถนนควรไดรับการ

รวบรวมและนําไปกําจัดเปนประจํา มิฉะนั้นจะเกิดการ ฟุงกระจายและเปรอะเปอนไดงาย ในขณะท่ี

ฝนตกลงมาน้ําฝนจะไหลชะลางขยะตางๆ จากถนนลงสูทอระบายน้ําทําใหเกิดการอุดตันได

(7.7) ขยะจากการเกษตรกรรม (Agricultural Refuse)ไดแก ขยะท่ีเกิดจากกิจกรรมดาน

การเกษตร เชน ฟาง เศษหญา แกลบ เศษใบพืช เศษอาหารสัตว มูลสัตวฯลฯ สวนมากเปน

อินทรียวัตถุท่ีสลายตัวได หากปลอยท้ิงไวจะเกิดการหมักหมมเปนแหลงเพาะพันธุแมลงและสัตวนํา

โรคบางชนิดได เชน แมลงวัน หนู เกิดกลิ่นเหม็นรําคาญ

(7.8) ของใชท่ีชํารุด (Bulky Waste) หมายถึง สิ่งของเครื่องใชท่ีมีขนาดใหญ แตมีสภาพ

ชํารุดเสื่อมสภาพหรือหมดอายุการใชงาน เชน เฟอรนิเจอรเกาท่ีชํารุด เตาหุงตมท่ีชํารุด ยางรถยนต

เกา ฯลฯ

(7.9) ซากรถยนต (Abandoned Vehicles)หมายถึง ยานพาหนะเกาท่ีไมใชแลว รถยนตนั่ง

และรถบรรทุก ทําใหไมนาดู รกรุงรัง สิ้นเปลืองพ้ืนท่ี เปนท่ีอยูอาศัยของหนูและแมลง

(7.10) เศษสิ่งปลูกสราง (Construction & Demolition Wastes) หมายถึง เศษวัสดุสิ่งของ

ท่ีเกิดจากการกอสราง และการรื้อถอนอาคารสิ่งกอสรางตางๆ เชน ข้ีเลื่อย เศษไม เศษกระเบื้อง

เศษหิน ทราย ปูนซีเมนต เศษโลหะ เสาคอนกรีต ฯลฯ

Page 8: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

14

(7.11) ขยะพิเศษ (Special Wastes)หมายถึง เศษสิ่งของท่ีมีอันตราย มีการปนเปอนของ

เชื้อโรค วัตถุท่ีระเบิดไดเศษสิ่งของท่ีปนเปอนดวยสารกัมมันตรังสี เชน กระปองสี ถานไฟฉาย

แบตเตอรี่รถยนต ฯลฯ

(7.12) กากตะกอนของน้ําโสโครก (Sewage Treatment Residues) หมายถึง เศษดิน กรวด

ทราย และวัตถุอ่ืนท่ีมีอนุภาคเล็กๆ สวนใหญเปนพวกกากตะกอนและโคลนตม ซ่ึงเหลือคางจากการ

บําบัดคุณภาพของ น้ําดิบใหเปนน้ําประปาและการบําบัดคุณภาพ น้ําโสโครก รวมถึงกากตะกอนท่ีสูบ

ถายจากถังเกรอะและหลุมสวมดวย

หลักการกําจัดขยะมูลฝอย

การกําจัดขยะมูลฝอยมีหลายวิธี มีท้ังวิธีท่ีถูกสุขลักษณะบางไมถูกสุขลักษณะบาง ไดแก

การท้ิงใน ท่ีดินท่ีวางเปลา ใชถมท่ี ท้ิงในแม น้ําลําคลองฝงกลบ การเผาไหม ทําปุยหมัก (กรมควบคุม

มลพิษ, 2553,น.7-17) ไดกลาววา ในภาพรวมของประเทศมีปริมาณขยะมูลฝอยตลอดท้ังป ประมาณ

13-15 ลานตัน มีการนําขยะกลับมาใชใหมประมาณ 3.86 ลานตัน หรือรอยละ 26 ซ่ึงขยะเหลานี้

มีแหลงกําเนิดมาจากบานเรือน โรงงาน โรงพยาบาล สถานศึกษา รานคา สถานประกอบการและ

ตลาด แบงเปน 2 สวน คือ สวนท่ีนําไปกําจัด โดย วิธีฝงกลบ ใชเตาเผา เทกองกลางแจง และสวนท่ี

นํากลับมาใชใหม โดยการคัดแยก วัสดุรีไซเคิล นําไปขาย ซาเลง หรือรานรับซ้ือของเการอยละ 81

การทําปุยหมักชีวภาพหรือปุยอินทรีย เพ่ือผลิตกาซชีวภาพรอยละ 16 และผลิตพลังงานไฟฟาและ

เชื้อเพลิงทดแทนรอยละ 3 การกําจัดขยะมูลฝอย โดยการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม ในหลักการ

3Rs คือ

1) Reduce ใชนอยหรือลดการใช โดยใชเทาท่ีจําเปน เชน ใชถุงผาแทนการใชถุงพลาสติกใน

การใสของใชถุงพลาสติกขนาดใหญใบเดียวแทนการใชถุงพลาสติกใบเล็กหลายใบ ใชแกว น้ํา เซรามิก

แทนแกวพลาสติกหรือแกวกระดาษ ตามท่ีภานุ พิทักษเผา , (2549) ไดกลาววาหลีกเลี่ยงสิ่งของท่ียอย

สลายยาก หรือใชใหนอยลง ไดแก พลาสติกและโฟม ซ่ึงสุนีย มัลลิกะมาลย และนันทพล กาญจนวัฒน ,

(2543, น.8) หมายถึง การลดปริมาณขยะดวยการเลือกบริโภคผลิตภัณฑท่ีทําใหเกิดขยะนอยท่ีสุด

2) Reuse ใชซํ้า การใช ซํ้าเปนแนวทางในการใชประโยชนจากทรัพยากรท่ีมีอยางรูคุณคา

โดยการนําผลิตภัณฑท่ีใชงานไปแลวแตยังสามารถใชงานได นํากลับมาใชอีก เชน การใชถานไฟฉาย

แบบชารจใหม (Rechargable Battery)การใชกระดาษซํ้า ท้ัง 2 หนา และใชกระดาษหนาท่ี 3 ไดอีก

เชน นํามาพับเปนรูปทรงตางๆ ใชเปนสื่อการเรียนการสอนพับเปนถุงใสสินคาท่ีเปนของใชชนิดแหง

Page 9: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

15

และทําเปนกระดาษพิมพอักษรเบรลล (Braille Code) สําหรับผูพิการทางสายตา เปนตน การนําขวด

แกวเกามาทําความสะอาดกลับมาใชบรรจุภัณฑใหมในระบบโรงงาน การนําขวดแกวมาทําเปนแจกัน

ใสดอกไม นําขวดโหลแกวมาใสกาแฟ หรือ น้ําตาลทราย ฯลฯ ถุงพลาสติก ใชแลวนํามาใสขยะ

นําขวดน้ําพลาสติกมาทําท่ีรดน้ําตนไมแบบน้ําหยด นํายางรถยนตใชแลวมาทําเปนเครื่องเลนเด็กและ

หรือนํามาทําเปนถังขยะมูลฝอยแหง ตามท่ีภานุ พิทักษเผา , (2549) ไดกลาววาการใช ซํ้า เพ่ือให

มีการใชวัสดุตางๆ อยางคุมคากอนท้ิง เชนการใชกระดาษท้ัง 2 หนา การนํากลองพลาสติกมาบรรจุ

ของตางๆและการซอมแซมวัสดุสิ่งของท่ีชํารุดแทนการท้ิงแลวไปหาซ้ือของใหมมาใช ซ่ึงสุนีย

มัลลิกะมาลย, (2543, น.8) หมายถึง การนําผลิตภัณฑท่ีไมใชแลวกลับมาใชใหม โดยคนเดิมหรือผูอ่ืน

3) Recycle แปรรูปใชใหม สําหรับบรรจุภัณฑบางประเภทอาจจะใชซํ้าไมได จะมีการนําไป

ขายใหกับซาเลงหรือรานรับซ้ือของเกา สงไปขายตอใหกับโรงงานสําหรับแปรรูป เพ่ือนําไปผลิตเปน

บรรจุภัณฑตางๆ เชน การนําขวดพลาสติก PET มาหลอมเปนเม็ดพลาสติก หรือตีเปนเสนใยสําหรับ

นํามาทอเสื้อแทนฝาย นําเศษกระดาษมาแปรรูปเปนเหยื่อกระดาษเพ่ือผลิตกระดาษใหมในรูปแบบ

กระดาษสารีไซเคิลนํามาใชเปนกระดาษหอของขวัญ ตกแตงเปนกระดาษวาดภาพและเพนทสี

รองเทาแตะใชสอยในบานเรือนฯลฯ นําเศษแกวมาหลอมแลวข้ึนรูปขวดแกวใหม นําเศษอะลูมิเนียม

มาหลอมเปนผลิตภัณฑอะลูมิเนียม รวมท้ังกระปองอะลูมิเนียม และการนําเศษไม เศษเหล็กมา

ดัดแปลงทําเฟอรนิเจอร ซ่ึงสิงห อินทรชูโต (อางถึงใน วุฒิวงศ โตะทอง, 2548) การกําจัดขยะท่ัวไป

และขยะอันตราย ตองมีการลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะและการนําขยะกลับมาใชใหม (Recycle)

ซ่ึงสุนีย มัลลิกะมาลย , (2543, น.8) หมายถึง การแปลงผลิตภัณฑท่ีท้ิงแลวเปนผลิตภัณฑใหม และ

เพ่ิมอีก 2 Rs คือ Reject หมายถึง การปฏิเสธการใชผลิตภัณฑท่ียากตอการกําจัด และ Response

หมายถึงผูท้ิงขยะตอบรับท่ีจะมีสวนรวมในการคัดแยกขยะ เพ่ือลดปริมาณขยะ

การจัดการขยะมูลฝอยดวยวิธีการลดปริมาณขยะ โดยการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยกอน

ท้ิงและนําขยะบางประเภทกลับมาใชประโยชนใหม (ภาณี คูสุวรรณ , 2546, น.130-131) ไดกลาวถึง

วิธีการลดและใชประโยชน โดยใชวิธี 5R ไดแก การใชอยางประหยัด (Reduce) การนําไปแปรรูปเพ่ือ

นํากลับมาใชใหม (Recycle) การซอมแซมวัสดุท่ีชํารุด (Repair) การหลีกเลี่ยงวัตถุท่ีมีพิษ (Reject)

และการนํากลับมาใชซํ้า(Reuse) สวนระบบกําจัดขยะมูลฝอย มีหลายวิธี ไดแก การฝงกลบ (landfill)

การเผาทําลายดวยความรอน แยกประเภทอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม ใบไม นําไปหมักทําปุย (วินัย

วีระวัฒนานนท, 2545, น.104) การหมักทําปุย เปนเทคโนโลยีหลักในการกําจัดขยะชุมชน และมีผล

Page 10: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

16

พลอยได คือ ไดพลังงานกลับมาในรูปของ ความรอนหรือกาซชีวภาพ (วิชชา ชาครพิพัฒน , 2550,

บทคัดยอ) การนําไปท้ิงทะเล และการแยกเศษอาหารนําไปเปนอาหารสัตว (เตือนจิต สุดสวาท , 2547,

น.29 และภานุ พิทักษเผา , 2549, น.1) สอดคลองกับสมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม (2551,

น.5-7) ไดกลาววาการกําจัดขยะมูลฝอยมีหลายวิธี ไดแก การนําขยะไปหมักทําปุย (Composting

Method) การนําขยะไปเทกองกลางแจง หรือการนําขยะไปท้ิงไว ตามธรรมชาติ (Open Dump)

การเผาดวยความรอนสูง หรือการกําจัดโดยใชเตาเผา (Incineration) การฝงกลบตามหลักสุขาภิบาล

(Sanitary landfill) และการนําขยะสดไปเลี้ยงสัตว (Hog Feeding) และสอดคลองกับสุทธิรักษ

สุจริตตานนท, (2550) ไดกลาววา วิธีกําจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกตอง คือ การเผาในเตาเผาขยะ

เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการจัดการขยะ

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดสรุปเทคโนโลยี

การกําจัดขยะมูลฝอยเปน 3 ประเภทใหญๆ ดังนี้

1) ระบบหมักทําปุย เปนการยอยสลายอินทรียสารโดยกระบวนการทางชีววิทยาของ จุลินทรี

เปนตัวการยอยสลายใหแปรสภาพเปนแรธาตุท่ีมีลักษณะคอนขางคงรูปมีสีดําคอนขางแหงและ

สามารถใชในการปรับปรุงคุณภาพของดิน กระบวนการหมักทําปุยสามารถแบงเปน 2 กระบวนการ

คือกระบวนการหมักแบบใชออกซิเจน (Aerobic Decomposition)ซ่ึงเปนการสรางสภาวะท่ีจุลินทรี

ชนิดท่ีดํารงชีพโดยใชออกซิเจนยอยสารอาหารแลวเกิดการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วและกลายสภาพ

เปนแรธาตุเปนกระบวนการท่ีไมเกิดกาซกลิ่นเหม็น สวนอีกกระบวนการเปนกระบวนการหมักแบบไม

ใชออกซิเจน(Anaerobic Decomposition) เปนการสรางสภาวะใหเกิดจุลินทรีชนิดท่ีดํารงชีพโดยใช

ออกซิเจนเปนตัวชวยยอยสารอาหารและแปรสภาพกลายเปนแรธาตุกระบวนการนี้มักจะเกิดกาซท่ีมี

กลิ่นเหม็น เชน กาซไขเนา (Hydrogen Sulfide: H2S) แตกระบวนการนี้จะมีผลดีท่ีเกิดกาซมีเทน

(Methane gas) ซ่ึงเปนกาซท่ีสามารถนําไปใชประโยชนเปนเชื้อเพลิงได

2) ระบบการเผาในเตา เปนการทําลายขยะมูลฝอยดวยวิธีการเผาทําลายในเตาเผาท่ีไดรับ

การออกแบบกอสรางท่ีถูกตองและเหมาะสม โดยตองใหมีอุณหภูมิในการเผาท่ี 850 - 1,200 องศา

เซลเซียส เพ่ือใหเกิดการทําลายท่ีสมบูรณท่ีสุดแตในการเผามักกอใหเกิดมลพิษดานอากาศไดแก

ฝุนขนาดเล็ก กาซพิษตางๆ เชน ซัลเฟอรไดออกไซด( Sulfur dioxide: SO2) เปนตน นอกจากนี้แลว

ยังอาจเกิดไดออก ซิน (Dioxins) ซ่ึงเปนสารกอมะเร็งและเปนสารท่ีกําลังอยูในความสนใจของ

Page 11: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

17

ประชาชนดังนั้นจึงจําเปนจะตองมีระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและดักมิใหอากาศท่ีผานปลองออก

สูบรรยากาศมีคาเกินกวาคามาตรฐานคุณภาพอากาศจากเตาเผาท่ีกําหนด

3) ระบบการฝงกลบอยางถูกสุขาภิบาล เปนการกําจัดขยะมูลฝอยโดยนําไปฝงกลบในพ้ืนท่ี

ท่ีไดจัดเตรียมไวซ่ึงเปนพ้ืนท่ีท่ีไดรับการคัดเลือกอยางถูกตองตรงหลักวิชาการท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม

สิ่งแวดลอม วิศวกรรม สถาปตยกรรม และการยินยอมจากประชาชน มีการออกแบบและกอสรางโดย

มีการวางมาตรการปองกันผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนเชนการปนเปอนของน้ําเสียจากกองขยะมลฝอยซ่ึง

ถือวาเปนน้ําเสียท่ีมีคาความสกปรกสูงไหลซึมลงสูชั้นน้ําใตดินทําใหคุณภาพน้ําใตดินเสื่อมสภาพลงจน

สงผลกระทบตอประชาชนท่ีใชน้ําเพ่ือการอุปโภคและบริโภคนอกจากนี้ยังตองมีมาตรการปองกันน้ํา

ทวม กลิ่นเหม็น และผลกระทบตอสภาพภูมิทัศน รูปแบบการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล อาจใช

วิธีขุดใหลึกลงไปในชั้นดินหรือการถมใหสูงข้ึนจากระดับพ้ืนดินหรืออาจจะใชผสมสองวิธีซ่ึงจะข้ึนอยู

กับสภาพภูมิประเทศ

รูปแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย

รูปแบบการบริหารจัดการเปนการแกไขปญหาขยะมูลฝอย เนื่องจากขยะมูลฝอยเปนตนเหตุ

ท่ีทําใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอมในการทําใหดินเสีย อากาศเสียและน้ําเสีย ซ่ึงสงผลตอสุขภาพ

ของประชาชน ในพ้ืนท่ีนั้นๆ ดังนั้นการแกไขปญหาขยะมูลฝอยตองแกไขท่ีตนเหตุหรือจุดท่ีทําใหเกิด

ขยะมูลฝอย นั้นคือ ผูสรางขยะมูลฝอยหรือคนนั่นเอง การแกปญหากับคนตองเริ่มตนดวยการสราง

จิตสํานึกใหรูจักความรับผิดชอบและการมีสวนรวมในการชวยกันรักษาความสะอาดท้ังในบานและ

นอกบานรวมถึงสถานท่ีสาธารณะ ดวยการรูจักแยกขยะกอนท้ิงการนําขยะบางอยางท่ีดีมาใช ซํ้า และ

ท้ิงขยะใหเปนท่ีเปนทาง ซ่ึงเปนการเอ้ืออํานวยความสะดวกใหกับพนักงานเก็บขยะไดรวดเร็วข้ึนใน

รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนตอไปนี้

1) รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนวัดประยูรและชมุชนซอยวิเชียร ตําบล คูคต อําเภอ

ลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี เปนชุมชนท่ีอยูในโครงการทดลองใชรูปแบบการคัดแยกขยะของโครงการ

จัดการขยะชุมชน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) รวมมือกับ สํานักงานเทศบาลตําบล

คูคต ในการเก็บขนขยะตามรูปแบบของการวิจัย ทดลองใชรูปแบบการคัดแยกขยะชุมชน โดยการ

แนะนํา รณรงคใหประชาชนในชุมชนรวมมือกันคัดแยกขยะเปนเวลา 2 เดือน ภาพของความสกปรก

รกรงุรังและไมเปนระเบียบเรียบรอยของชุมชน เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน คือ สะอาด ไมมีขยะ

Page 12: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

18

ตกคาง เปนปรากฏการณท่ีประชาชนในชุมชนสัมผัสได จึงยอมรับวาการคัดแยกขยะกอนท้ิงสงผล

ใหปริมาณขยะลดลงไดจริง ทําใหภาระในการเก็บขนขยะของทองถ่ินลดนอยลงไป จนสามารถจัดเก็บ

ขนขยะไมใหเหลือตกคางในชุมชนได (สุนีย มัลลิกะมาลย, 2543, น.77-87) ไดศึกษาความตอเนื่องใน

การดําเนินการคัดแยกขยะ ปญหาอุปสรรคตางๆ ท่ีเกิดข้ึน แนวทางการแกปญหา ฯลฯ เพ่ือเปน

แบบอยางสําหรับชุมชนอ่ืน โดยมีรูปแบบการคัดแยกขยะ 2 ประเภทใหญๆ คือ

(1.1) ขยะธรรมดา ประกอบดวย ขยะมีมูลคา เชน แกว โลหะ กระดาษ พลาสติก ขยะสารอินทรีย

เปนขยะเศษอาหาร พืช ผัก ใบไมตางๆ ท่ีเปนของสด และขยะท้ิง เปนขยะท่ีผานการคัดแยก ขยะท่ีมี

มูลคาและขยะสารอินทรียออกไปแลว สวนท่ีเหลือ คือ ขยะท่ีไมตองการ ดังนั้นจึงเปนสวนท่ีจะท้ิงไป

(1.2) ขยะอันตราย เปนขยะท่ีมีสารมีพิษ ตกคางอยู เชน ถุงปุยเคมี กระปองสเปรย กระปอง

ยาฆาแมลง หลอดไฟ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ เปนตน เปนประเภทขยะท่ีตองคัดแยกท้ิงตางหากออกไป

สําหรับขยะมีมูลคา เม่ือคัดแยกแลวจะเก็บไวเพ่ือแลกหรือขายของเกาเปนรายไดเพ่ิมข้ึนก็ได

หรือเก็บไวมอบเปนรางวัลแกพนักงานเก็บขนขยะก็ไดตามความสมัครใจ สวนขยะอินทรียจะท้ิงหรือ

จะนําไปทําปุยหมัก ใชเองถามีพ้ืนท่ีวางเพียงพอ ซ่ึงการแยกขยะประเภทนี้ออกจากขยะท้ิงเพราะไม

ตองการใหเกิดการเนาเสียรวมไปในขยะท้ิง และหากมีการคัดแยกขยะสารอินทรียอยางชัดเจนเปน

ปริมาณมาก ทางทองถ่ินอาจจะดําเนินโครงการทําปุยหมักตอไปก็ได สวนขยะอันตรายนั้นมีพิษในตัว

จึงไมควรท้ิงรวมกับขยะอ่ืน เพราะจะสรางผลกระทบตอดินในท่ีฝงกลบ จึงควรแยกเพ่ือทองถ่ินจะได

นําไปกําจัดดวยวิธีการเฉพาะตอไป

ตารางวันเวลาท่ีกําหนด ในการเก็บขนขยะตามประเภทขยะ ดังนี้

ขยะมีมูลคา เก็บทุกวันอาทิตย

ขยะสารอินทรีย เก็บทุกวันจันทร พุธ และศุกร

ขยะท้ิง เก็บทุกวันอังคาร พฤหัสบดี และเสาร

ขยะอันตราย เก็บทุก 2 อาทิตย หรือเดือนละครั้ง ตามปริมาณขยะ

ปจจัยสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความรวมมือตามกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการ

คัดแยกขยะ คือ

(1.1) การรณรงคเพ่ือใหเกิดความรวมมือ

(1.1.1) การประชาสัมพันธ เริ่มตนดวยแผนพับท่ีมีคําอธิบายพรอมรูปภาพประกอบ การใชรถ

โฆษณาในชวงวันหยุดราชการหรือวันเสาร วันอาทิตย ในชวงเวลาเชา กระจายเสียงเชิญชวนให

Page 13: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

19

ประชาชนรวมมือในการคัดแยกขยะ การใชเสียงตามสาย การใชสื่อบุคคล โดยวิธีปากตอปาก ดวยการ

ใหผูนําชุมชนกรรมการหมูบาน ครู นักเรียน พระสงคท่ีรับรูและเขาใจการคัดแยกขยะ แจงและเชิญ

ชวนชาวบานเขารวม การคัดแยกขยะกอนท้ิง

(1.1.2) การสรางความเขาใจ รับรู และมีสวนรวมในการคัดแยกขยะ ดวยการจัดเสวนาผูนํา

ชุมชน เพ่ือใหผูนํา ชุมชนนํากระบวนการการคัดแยกขยะไปเผยแพร ชักชวนประชาชนในชุมชนใหเขา

มามีสวนรวมในการคัดแยกขยะดวย

(1.2) การรวมมือกับราชการสวนทองถ่ิน ดวยการจัดใหมีระบบเก็บขนขยะตามประเภทท่ี

ประชาชนท้ิงรวม ท้ังการจัดใหมีถังขยะตามปร ะเภทขยะท่ีคัดแยกเปนถังขยะรวม อํานวยความ

สะดวกและใหการสนับสนุนการประชาสัมพันธและรณรงคใหประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกขยะ

ดวย

(1.3) การจัดวันเริ่มตนคัดแยกขยะ หลังจากท่ีมีการประชาสัมพันธปจจัยเสริมในการมีสวน

รวมในการคัดแยกขยะในชุมชนวัดประยูรและซอยวิเชียร

(1.3.1) ผูนําชุมชน เปนกลไกสําคัญในการริเริ่มกิจกรรม

(1.3.2) ความเห็นใจตอสภาพการทํางานของพนักงานเก็บขนขย ะกับขยะท่ีมีปริมาณมากถา

ประชาชนในชุมชนไมคัดแยกขยะ

(1.3.3) การติดตามสอบถามความตอเนื่องในการคัดแยกขยะ

(1.4) การติดตอประสานงานกับทองถ่ิน

ปญหาอุปสรรคในการคัดแยกขยะในชุมชนวัดประยูร มีปญหาอุปสรรคในเรื่องความรวมมือและการให

ความสําคัญตอการคัดแยกขยะของกลุมบานเชาและหอพักจะมีนอยมาก ภาชนะรองรับขยะประเภทท่ี

คัดแยกแลวนํากลับไปท้ิงรวมกันและมีประชาชนบางสวนนําขยะไปท้ิงในพ้ืนท่ีท่ีวาง สวนชุมชนซอย

วิเชียรมีปญหาอุปสรรคในเรื่องทองถ่ินควรจะมีการบริการภาชนะรองรับขยะประเภทท่ีคัดแยกแลว

และวางไวตามจุดตางๆ เพ่ืออํานวยความสะดวกแกชุมชน สงเสริมสนับสนุนใหชุมชนทําการคัดแยก

ขยะดวยการประชาสัมพันธและการเตรียมความพรอมในการเก็บขนขยะท่ีมีความชัดเจน

2) รูปแบบการจัดการขยะในชุมชนวัดกลางเขตบางกะป กรุงเทพมหานคร คือ การจัดการ

ธนาคารขยะชุมชนวัดกลาง เปนการใชการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชนเพ่ือแกไขปญหาขยะท่ี

เกิดข้ึนในชุมชนในการจัดการแบบยั่งยืนสําหรับการมีสวนรวมของสมาชิก ในชุมชนจะตองเกิดจาก

ความสมัครใจเริ่มตั้งแตข้ันตอนคิดริเริ่มคนหาปญหาและหาสาเหตุของปญหาของชุมชนวางแผน

Page 14: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

20

ดําเนินกิจกรรมลงทุนและปฏิบัติงาน และติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ปจจัยท่ีทําใหสมาชิก

ในชุมชนวัดกลางเขามามีสวนรวมในโครงการธนาคารขยะมี 11 ประการ คือ รูปแบบของโครงการ

การประชาสัมพันธ สื่อมวลชน ความพรอมของประชาชนในชุมชน การสนับสนุนจากภายนอก

ผูบริหารโครงการ ความเขมแข็งของชุมชน ความตองการแกไข ปญหาของชุมชน ผลประโยชนท่ีคาด

วาจะไดรับ ความตองการการยอมรับจากสังคม และความตองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไวใหชน

รุนหนา(รวิกานต แสนไชย, 2544,บทคัดยอ)

3) รูปแบบการจัดการขยะในเขตเทศบาลเมืองวารินชําราบจังหวัดอุบลราชธานีใชวิธีการ

นําขยะไปท้ิงในถังขยะของเทศบาล มีการเก็บทุกวันมีการใหความรูเก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอยท่ีถูก

หลักสุขาภิบาล ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรม ไดแก ระดับความรูเก่ียวกับการกําจัด ขยะมูลฝอย ปญหา

และอุปสรรค พบวามีปญหาเรื่องเวลาในการเก็บขยะของรถเก็บขยะเทศบาล ในบางพ้ืนท่ีท้ิงชวงหลาย

วันทําใหมีขยะตกคางกอใหเกิดกลิ่นเหม็นรบกวนและเปนบอเกิดของเชื้อโรค เจาหนาท่ีเก็บขนขยะใช

เวลาในการเก็บขยะอยางรวดเร็วจึงเก็บขยะไมหมดและตกเรี่ยราดเกิดความสกปรก แมบานขาด

ความรูเก่ียวกับการแยกขยะมูลฝอยกอนนําไปท้ิงถังขยะมีไม เพียงพอและมีขนาดบรรจุนอยเกินไป

ขอเสนอแนะในการกําจัดขยะมูลฝอยใหเทศบาล ฯควรมีการรณรงคใหความรูในเรื่องการแยกขยะ

การกําจัดขยะมูลฝอยแกประชาชนใหมากข้ึน ควรเพ่ิมจํานวนถังขยะใหเพียงพอ ควรแยกถังขยะแตละ

ประเภท และจัดท่ีสําหรับท้ิงขยะอันตรายพรอมกับติดปายบอกไวอยางชัดเจน (วัชรี คลธา , 2544,

บทคัดยอ)

4) รูปแบบการจัดการขยะในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีจังหวัดนครราชสีมาคือ การนํา

ขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมการจัดการขยะมูลฝอยในปจจุบันไมมีการคัดแยกองคประกอบท้ิงรวมลงใน

ถังท่ีตั้งไวเปนจุดๆ มีรถเก็บขยะมูลฝอย การกําจัดในข้ันสุดทายใชวิธีฝงกลบ องคประกอบของขยะมูล

ฝอยท่ีมีมาก คือ เศษอาหาร พลาสติก กระดาษ แกว และเศษไม /ใบไม การวิเคราะหประสิทธิภาพ

โครงการแยกขยะมูลฝอย พบวา ในกลุมหอพักบุคลากรมีอัตราการนํากลับคืนสูงกวากลุมอ่ืน สามารถ

นํากลับมาใชใหมไดรายไดจากการขายขยะมูลฝอยท่ีนํากลับมาใชใหม (เกียรติพงษ ศรีสวาง , 2545,

บทคัดยอ)

5) รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตมีนบุรีกรุงเทพมหานคร คือ ประชาชน

สวนใหญมีความรูเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย การรับรูขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย

และการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย ประชาชนสวนใหญมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

Page 15: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

21

ดานการลดการเกิดขยะและดานการนํากลับมาใชใหมและการคัดแยกประเภทขยะ (ณัฐรดี คงดั่น ,

2546,บทคัดยอ)

6) รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของมหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อําเภอองครักษ จังหวัด

นครนายก มีปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนเฉลี่ยในชวงวันทําการ 7,946.66 กิโลกรัมตอวัน หรือมี

ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีจะตองจัดการ สูงสุดวันละประมาณ๘ ตัน คิดเปนอัตราการผลิตขยะมูลฝอย

เฉลี่ย 1.3 กิโลกรัมตอคนตอวัน โดยองคประกอบของขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณมากท่ีสุด ไดแก เศษผัก

ผลไม/เศษอาหาร องคประกอบขยะมูลฝอยท่ีมีปริมาณรองลงมา ไดแกพลาสติก กระดาษ โฟมและผา

สวนระบบการจัดการขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัย ไดจัดใหมีภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 2 ประเภท

สําหรับขยะเปยกและขยะแหง การเก็บและขนสงขยะมูลฝอยใชรถยนตบรรทุกขยะแบบอัดทายของ

มหาวิทยาลัย ขนสงขยะมูลฝอยไปกําจัด ณ สถานท่ี เทกองและฝงกลบขององคการบริหารสวนตําบล

ทรายมูล อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายกสําหรับแนวทาง ในการจัดการขยะมูลฝอย คือ การลด

ปริมาณขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกขยะมูลฝอยกอนท้ิงลงภาชนะ 4 ประเภท คือขยะยอยสลาย ขยะ

รีไซเคิล ขยะอันตรายและขยะท่ัวไป ภาชนะรองรับมีขอความตามประเภทและสัญลักษณอยางชัดเจน

มีการนําขยะมูลฝอยไปใชประโยชนตามประเภทของขยะ แยกขยะอันตรายและมี การจดักิจกรรม

สงเสริมสนับสนุนการลดและการแยกขยะมูลฝอย (ประภาพร แกวสุกใส, 2549, น.101-106)

7) รูปแบบการกําจัดขยะของกรุงเทพมหานคร มี 2 วิธี คือ การทําปุยหมักดวยวิธี Compost

และใชระบบฝงกลบท่ีบอฝงกลบอําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม และบอฝงกลบอําเภอพนมสาร

คาม จังหวัดฉะเชิงเทรา การฝงกลบเปนวิธีการกําจัดขยะท่ีงายและตนทุน ต่ํากวาวิธีอ่ืน มีการนํามา

ผลิตกระแสไฟฟ าจากกาซชีวภาพ แตในระยะยาวจะมีปญหาจากพ้ืนท่ีฝงกลบ และจะสงกลิ่นเหม็น

รบกวน ดังนั้นการกําจัดขยะโดยใชเทคโนโลยีระบบ Anaerobic Digestion และระบบเผาทําลายดวย

ความรอน ยอมเปนสิ่งท่ีเปนไปไดในอนาคตอันใกล การผลิตพลังงานไฟฟาท่ีไดจากระบบกําจัดขยะมูล

ฝอยจะมีความเปนไปไดมากข้ึน (วิชชา ชาครพิพัฒน, 2550,บทสรุป)

แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน

1. ความหมายของชุมชน

พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ .ศ.2542 (2542, น.368) บัญญัติวา ชุมชน หมายถึง หมูชน

หรือกลุมคนท่ีอยูกันเปนสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยูในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชนรวมกัน

Page 16: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

22

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2552, น.34) สรุปวา ชุมชน หมายถึง กลุมคนท่ีอาศัย

อยูในพ้ืนท่ีเดียวกันหรือตางพ้ืนท่ีกันก็ได แตกลุมบุคคลเหลานั้น จะตองมีความสนใจรวมกัน

(Common Interest) มีความสัมพันธกัน (Relationship) มีการกระทําระหวางกัน (Interaction)

มีความรูสึก (Sense)และพ้ืนฐานชีวิตอยางเดียวกัน

สํานักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา , (2552, น.63) สรุปวา ชุมชน หมายถึง กลุมคนท่ีอยูรวมกัน

ในพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่ง ซ่ึงมีอาณาบริเวณแนนอนเปนท่ีอยูอาศัยของคน โดยมีความผูกพันกับพ้ืนท่ีแหง

นั้น และยึดเหนี่ยวกันเปนปกแผนและม่ันคง มีการติดตอสัมพันธกันผานระบบการติดตอสื่อสารในทาง

ใดทางหนึ่ง เพ่ือทํากิจกรรมบางอยางและเชื่อมโยงใหเกิดการใชชีวิตรวมกัน มีวัตถุประสงคและ

เปาหมายของสมาชิกมีความเก่ียวของสัมพันธกันอยางใกลชิดและมีความรูสึกเปนเจาของชุมชน

รวมกันโดยมีโครงสราง ระบบการบริหารจัดการกฎระเบียบ มีความตระหนักหรือจิตสํานึกรวมกันท่ีจะ

ดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องในลักษณะของหุนสวนกัน มีการเรียนรูรวมกันภายใตระบบท่ี

เชื่อมโยงกันเปนเครือขาย

สรุปวา ชุมชน หมายถึงกลุมบุคคลท่ีมีความผูกพันกัน อาศัยอยูบนพ้ืนท่ีเดียวกัน มีวิถีชีวิต

ใกลเคียงกัน มีจิตสํานึกในการดําเนินกิจกรรมรวมกัน เพ่ือตอบวัตถุประสงคและเปาหมายเดียวกัน

2. องคประกอบของชุมชน

สํานักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา(2552, น.66-67) สรปุไว ดังนี้

1) สมาชิกชุมชน คือ บุคคลหรือกลุมคนท่ีรวมกันเปนสมาชิกของชุมชนดวยจิตสํานึกรวมกันมี

ความสัมพันธกัน เอ้ืออาทรกัน

2) องคกรชุมชน คือ กลุมคนท่ีมีการจัดระเบียบ มีวัตถุประสงควิธีการดําเนินงานเพ่ือบรรลุ

วัตถุประสงครวมกัน

3) ขอบเขต เปนพ้ืนท่ีสําหรับอยูอาศัย สมาชิกมีการใชพ้ืนท่ีสาธารณะประโยชนในการทํา

กิจกรรมรวมกัน

4) การบริหารจัดการของชุมชน มีการดําเนินงานเพ่ืออํานวยความสะดวกใหแกชุมชนใน

รูปแบบตางๆ ประกอบดวย การวางแผนดําเนินการในกิจกรรมตางๆ การจัดโครงสรางกลุมสมาชิก

เพ่ือแบงความรับผิดชอบ เลือกผูนําท่ีมีภาวะผูนําเปนผูกําหนดทิศทางการปฏิบัติรวมกัน ตลอดจนการ

ประสานงานกับหนวยงานและเครือขายในการพัฒนาชุมชน และการควบคุมตรวจสอบและ

ประเมินผลของกิจกรรม

Page 17: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

23

5) ระบบความสัมพันธ เปนมิติความสัมพันธของชุมชนระหวางสมาชิกตอสมาชิกในลักษณะ

เครือญาติ หุนสวน เพ่ือนบาน และมิติความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติท่ีสะทอนออกมาในรูปวิถี

ชีวิต

6) ระบบการติดตอสื่อสารของชุมชน มีการติดตอสื่อสารระหวางสมาชิกในชุมชน เชื่อมโยง

ความรูความเขาใจในขอมูลขาวสารไดตรงกัน

7) ทุนของชุมชน ประกอบดวยทุนทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ีใชประโยชนรวมกัน ทุน

ทางเศรษฐกิจ และทุนทางสังคม ซ่ึงเปนเอกลักษณของชุมชนท่ีมีความหลากหลาย สมาชิกของชุมชน

ยอมรับและดําเนินชีวิตรวมกันไดอยางมีความสุข

8) การมีผลประโยชนรวมกันของชุมชน ผลของการดําเนินกิจกรรมภายในชุมชนมีการแบงปน

ผลประโยชนอยางเปนธรรม เปนท่ีพอใจและเห็นความสําคัญของการรวมแรงรวมใจมีจิตอาสาในการ

พัฒนาชุมชนพรอมกับยอมรับการเปลี่ยนแปลงจากสังคมภายนอก

3. ปจจัยท่ีทําใหเกิดการมีสวนรวมของชุมชน

Koufman (1949, p.5) ไดศึกษาปจจัยท่ีเก่ียวกับการพัฒนาชุมชน พบวา อายุ เพศ

การศึกษา ขนาดของครอบครัว อาชีพ รายไดและระยะเวลาอยูอาศัยในทองถ่ิน มีความสัมพันธกับ

การมีสวนรวมของประชาชน

ประยูร ศรีประสาธน, (2542, น.5) ไดกลาววา ปจจัยของการมีสวนรวม มี 3 ปจจัย คือ

1) ปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุเพศ

2) ปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจไดแก การศึกษา อาชีพ รายได และการเปนสมาชิกกลุม

3) ปจจัยดานการสื่อสาร ไดแก การรับขาวสารจากสื่อมวลชนและสื่อบุคคล

สรุปวา ปจจัยของการมีสวนรวม ตองมี อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได ระยะเวลาในการ

อาศัยอยูในทองถ่ินนั้นๆ การรับรูขาวสารและการสื่อสารในชุมชน

4. ข้ันตอนการมีสวนรวมของชุมชน

Fornaroff (1980, p.104)กลาวถึงข้ันตอนการมีสวนรวม มีดังนี้

1) การวางแผน รวมถึงการตัดสินใจในการกําหนดเปาหมาย กลวิธี ทรัพยากรท่ีตองใช และ

การติดตามประเมินผล

2) การดําเนินงาน

3) การใชบริการจากโครงการ

Page 18: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

24

4) การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน

อภิญญา กังสนารักษ (2544, น.14-15) กลาววา ข้ันตอนการมีสวนรวม มี 4 ข้ันตอน ดังนี้

1) ข้ันการริเริ่มโครงการมีสวนรวมในการคนหาปญหาและสาเหตุของปญหาภายในชุมชน

รวมตัดสินใจรวมกําหนดความตองการและรวมลําดับความสําคัญของความตองการ

2) ข้ันการวางแผน มีสวนรวมในการกําหนดวัตถุประสงค วิธีการ แนวทางการดําเนินงาน

รวมถึงทรัพยากรและแหลงวิทยากรท่ีจะใชในโครงการ

3) ข้ันการดําเนินโครงการมีสวนรวมในการทําประโยชนใหแกโครงการ โดยรวมชวยเหลือ

ดานทุนทรัพย วัสดุอุปกรณ และแรงงาน

4) ข้ันการประเมินผลโครงการ เพ่ือใหรูวาผลจากการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนด

ไวหรือไม โดยสามารถกําหนดการประเมินผลเปนระยะตอเนื่องกันหรือประเมินผลรวมท้ังโครงการใน

คราวเดียวกันก็ได

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2547) สรุปข้ันตอนการมีสวนรวมใน 2 ลักษณะ ดังนี้

ลักษณะท่ี 1 มี 4 ข้ันตอน ไดแก การคิด การตัดสินใจ การวางแผนและการลงมือปฏิบัติ

ลักษณะท่ี 2 มี 5 ข้ันตอน ไดแกการกําหนดปญหา การวางแผน การดําเนินงาน การประเมินผล

และการบํารุงรักษาเพ่ือการพัฒนาใหคงไว

อคิน รพีพัฒน(2547, น.49) ไดแบงข้ันตอนการมีสวนรวม เปน 4 ข้ันตอน ดังนี้

1) การกําหนดปญหา สาเหตุของปญหา ตลอดจนแนวทางแกไข

2) การตัดสินใจเลือกแนวทาง วางแผนพัฒนา และแกไขปญหา

3) การปฏิบัติงานในกิจกรรมการพัฒนาตามแผน

4) การประเมินผลงานกิจกรรมการพัฒนา

สรุปวา ข้ันตอนการมีสวนรวมเริ่มตนท่ีการคนหาสาเหตุของปญหา หาจุดเดน จุดท่ีควร

พัฒนากําหนดปญหา ตัดสินใจในการเลือกแนวทาง วางแผนพัฒนา ลงมือปฏิบัติ ประเมินผลตาม

วัตถุประสงคเพ่ือนําผลมาปรับปรุงแกไข

5. การศึกษาบริบทของชุมชน

สํานักวิจัย พัฒนา และอุทกวิทยา (2552, น.74) สรุปไววา การศึกษาบริบทของชุมชนเปน

แนวทางพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการทําความเขาใจสภาพของชุมชน และเปนการกระตุนใหสมาชิกในชุมชน

ไดศึกษาตนเอง เพ่ือสรางความตระหนักถึงสภาพปญหาและความตองการของชุมชนอันจะนําไปสู

Page 19: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

25

โครงการตางๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนของตนเอง รวมท้ังเปนพ้ืนฐานของการรวมกลุมของสมาชิกเพ่ือ

นําไปสูการชวยเหลือกันเองทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมตามวิถีทางประชาธิปไตย

แนวคิดเกี่ยวกับจิตสํานึก

1 ความหมายของจิตสํานึก

เกษม ตันติผลาชีวะ , นายแพทย(2540) ไดกลาววา จิตสํานึก (Conscious)หมายถึง ภาวะท่ี

ตื่นและมีความรูสึก สามารถตอบสนองตอสิ่งเราได

ไตรรงค เฉวียงหงส (2544, น.7)สรุปวา จิตสํานึก (Consciousness)หมายถึง ลักษณะของ

จิตใจท่ีเก่ียวของกับการรับรู ความคิดและความรูสึกของคนเราตอสิ่งเราท่ีเกิดข้ึน แลวมีความโนมเอียง

ทางจิตใจท่ีตระหนักหรือมีความสนใจ ตั้งใจท่ีจะเลือกปฏิบัติตอสิ่งเราเหลานั้นอยางไร

John Lock (อางถึงใน สุรพงษ ชูเดช , 2544, น.15) ไดกลาววา จิตสํานึก (Conscious

mind) คือ การท่ีคนเรารูวา เรากําลังทําอะไร คิดอะไร จิตท่ีสมบูรณ สําหรับจิต(mind) มีสวนท่ีเปน

ความคิด ความรูสึกการรับรู การจํา สวนหนึ่งของจิตควบคุมการกระทําของกาย (body)

Wilhelm Wund(ascited in Roediger,1987,p.6) ไดกลาววา จิตสํานึก (Conscious)ของ

มนุษยประกอบดวยการรูสึก (Sensation) อารมณ (Feeling) และจินตนาการ (Image)

วิทยา เชียงกูล(2552,น.54)จิตสํานึก (Conscious or Consciousness) หมายถึงสติการรูตัว

รับรูทางดานประสาทสัมผัส ความคิดและความรูสึกของตัวเอง ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอม

ภายนอกในขณะใดขณะหนึ่ง

สรุปวา จิตสํานึก (Conscious or Consciousness) เปนความรูสึกนึกคิดและความตระหนัก

(Awareness)ถึงความรับผิดชอบ (Responsibility) ในสิ่งท่ีเปนหนาท่ีท่ีตองปฏิบัติ ซ่ึงเกิดมาจาก

ภายในจิตใจอยางเปนธรรมชาต ิ

2 ลักษณะของจิตสํานึกในภาพรวม

William (อางถึงใน ไตรรงค เฉวียงหงส , 2544, น.25) ลักษณะของจิตสํานึกในภาพรวม มี 5

ประการ ดังนี้

1) มีอัตวิสัย (subjectivity)เปนความคิดตางๆ เฉพาะตัวบุคคล

2) มีการเปลี่ยนแปลง (change) จิตสํานึกมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ไมใชเปนเพียงสิ่ง

ท่ีเกิดข้ึนชั่วขณะนั้น แตเปนการมองเห็นความแตกตางในสิ่งท่ีผานมาคลายกับเหตุการณเฉพาะหนา

Page 20: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

26

3) มีความตอเนื่อง (continuity)เปนกระแสความคิดท่ีจะสรางภาพจากเหตุการณในอดีตมา

เชื่อมโยงกับเหตุการณปจจุบัน

4) มีความตั้งใจ (intentionality)เปนความรูสึกตอบางสิ่งบางอยางท่ีเปนความตองการ ความ

สนใจหรือความตั้งใจท่ีจะทําสิ่งนั้นๆ

5) มีการเลือก (selectivity)การเกิดความตระหนักในสิ่งเรา ท้ังภายนอกและภายใน ตอง

เลือกท่ีจะใหความสนใจในสิ่งนั้น เชน การรับรู การจดจํา และการตัดสินใจเลือก

3 ลักษณะเฉพาะท่ีมีความสัมพันธกับจิตสํานึก จําแนกได 8 ประการ ดังนี้

1) การรับรูจากประสาทสัมผัส (sensory perception) เปนความรูสึกในการรับรูจาก

เหตุการณภายนอก เชนการมองเห็น การไดยิน การสัมผัส และการไดยิน สวนการรับรูภายใน เชน

ความรูสึกถึงการเคลื่อนไหวของรางกาย ของแขนขา และความรูสึกถึงความเจ็บปวด

2) จินตนาการของจิตใจ (mental imagery) เปนความคิดในใจท่ีมีผลตอการรับรูถึง

ประสบการณแลวเกิดเปนจินตนาการถึงสิ่งท่ีมีลักษณะคลายกัน การแสดงออกของสิ่งนั้นๆและมีผลท่ี

เกิดข้ึนตามมา

3) ความคิดภายใน (inner speech) เปนการบรรยายทางความคิด ซ่ึงเปนผลมาจากความคิด

รวบยอด และเปนจิตสํานึกข้ันสะทอน

4) ความคิดรวบยอด (conceptual) เปนความคิดเห็นทางนามธรรมตอเหตุการณตางๆ

5) การระลึกได (remembering) เปนความทรงจําท่ีคอนขางยาวนาน ความแตกตางและการ

อธิบายถึงประสบการณท่ีแตกตางไดดี

6) ความรูสึกทางอารมณ (emotional feeling) เปนการตอบสนองทางจิตวิทยา เชน ความสุข

ความโกรธ ความกลัว เปนตน

7) การตัดสินใจ (volition)เปนการแสดงออกจากการตัดสินใจนําไปสูการปฏิบัติ เปนความ

เชื่อในการเลือกปฏิบัติของแตละบุคคล

8) ความตระหนักในตน (self-Awareness) เปนความตระหนักของบุคคลท่ีจะนําไปสูอัตมโน

ทัศนท่ี มีความตระหนักในการปฏิบัติตอสิ่งหนึ่ง

4 การปลูกฝงจิตสํานึก

ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา (2523 : 133) กลาววา การปลูกฝงจิตสํานึก ประกอบดวย

1) การสรางความพรอมใหเกิดความตระหนัก

Page 21: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

27

2) ปอนขอมูลและสรางการรวมตัวของความคิดในการแกปญหา

3) ฝกการวางแผนและนําไปปฏิบัติ

4) ประเมินผลการปฏิบัติและการเสริมแรง

แนวคิดและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ

การศึกษาความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ ควรทําความเขาใจแนวคิดเก่ียวกับ

การบริหารเปนเบื้องตนกอน กลาวคือ สืบเนื่องจากมนุษยเปนสัตวสังคม ซ่ึงหมายถึงมนุษยโดยธรรมชาติ

ยอมอยูรวมกันเปนกลุม ไมอยูอยางโดยเดี่ยวแตอาจมีขอยกเวนนอยมากท่ีมนุษยอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง

เชน ฤษี การอยูรวมกันเปนกลุมของมนุษยอาจมีไดหลายลักษณะและเรียกตางกัน เปนตนวา ครอบครัว

(Family) เผาพันธุ (Tribe) ชุมชน (Community) สังคม (Society) และประเทศ (Country) เม่ือมนุษย

อยูรวมกันเปนกลุมยอมเปนธรรมชาติอีกท่ีในแตละกลุมจะตองมี “ผูนํากลุม” รวมท้ังมี “แนวทางหรือ

วิธีการควบคุมดูแลกันภายในกลุม” เพ่ือใหเกิดความสุขและความสงบเรียบรอย สภาพเชนนี้ไดมีวิวัฒนาการ

ตลอดมาโดยผูนํากลุมขนาดใหญ เชน ในระดับประเทศของภาครัฐ ในปจจุบันอาจเรียกวา “ผูบริหาร”

ขณะท่ีการควบคุมดูแลกันภายในกลุมนั้น เรียกวา การบริหาร (Administration) หรือการบริหารราชการ

(Public Administration) ดวยเหตุผลเชนนี้ มนุษยจึงไมอาจหลีกเลี่ยงจากการบริหารหรือการบริหาร

ราชการไดงาย และทําใหกลาวไดอยางม่ันใจวา “ท่ีใดมีประเทศ ท่ีนั่นยอมมีการบริหาร”

คําวา การบริหาร (Administration) มีรากศัพทมาจากภาษาลาติน “Administered” หมายถึง

ชวยเหลือ (Assist) หรืออํานวยการ (Direct) การบริหารมีความสัมพันธหรือมีความหมายใกลเคียงกับ

คําวา “Minister” ซ่ึงหมายถึงการรับใชหรือผูรับใช หรือผูรับใชรัฐ คือ รัฐมนตรีสําหรับความหมายดั้งเดิม

ของคําวา Administer หมายถึง การติดตามดูแลสิ่งตางๆ

Page 22: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

26

สวนคําวา การจัดการ (Management) นิยมใชในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจซ่ึงมีวัตถุประสงคใน

การจัดตั้งเพ่ือมุงแสวงหากําไร (Profits) หรือกําไรสูงสุด (Maximum profits) สําหรับผลประโยชนท่ีจะ

ตกแกสาธารณะถือเปนวัตถุประสงครองหรือเปนผลพลอยได ( By Product) เม่ือเปนเชนนี้จึงแตกตาง

จากวัตถุประสงคในการจัดตั้งหนวยงานภาครัฐท่ีจัดตั้งข้ึนเพ่ือใหบริการสาธารณะท้ังหลาย (Public

services) แกประชาชน การบริหารภาครัฐทุกวันนี้หรืออาจเรียกวาการบริหารจัดการ (Management

Administration) เก่ียวของกับภาคธุรกิจมากข้ึน เชนการนําแนวคิดผูบริหารสูงสุด ( Chief Executive

Officer) หรือ ซีอีโอ (CEO) มาปรับใชในวงราชการการบริหารราชการดวยความรวดเร็ว การลดพิธีการ

ท่ีไมจําเปนการลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการ และการจูงใจดวยการใหรางวัลตอบแทน เปนตน

นอกเหนือจากการท่ีภาครัฐไดเปดโอกาสใหภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจเขามารับสัมปทานจากภาครัฐ

เชน ใหสัมปทานโทรศัพทมือถือ การขนสง เหลา บุหรี่ อยางไรก็ดีภาคธุรกิจก็ไดทําประโยชนใหแก

สาธารณะหรือประชาชนไดเชนกัน เชน จัดโครงการคืนกําไรใหสังคมดวยการลดราคาสินคา ขายสินคา

ราคาถูกหรือการบริจาคเงินชวยเหลือสังคม

การบริหาร บางครั้งเรียกวา การบริหารจัดการ หมายถึง การดําเนินงาน หรือการปฏิบัติงานใดๆ

ของหนวยงานของรัฐ และ/หรือ เจาหนาท่ีของรัฐ (ถาเปนหนวยงานภาคเอกชน หมายถึงของหนวยงาน

และ/หรือ บุคคล) ท่ีเก่ียวของกับคน สิ่งของและหนวยงาน โดยครอบคลุม เรื่องตาง ๆ เชน (1) การบริหาร

นโยบาย (Policy) (2) การบริหารอํานาจหนาท่ี (Authority) (3) การบริหารคุณธรรม (Morality)

(4) การบริหารท่ีเก่ียวของกับสังคม (Society) (5) การวางแผน (Planning) (6) การจัดองคการ

(Organizing) (7) การบริหารทรัพยากรมนุษย (Staffing) (8) การอํานวยการ (Directing) (9) การประสานงาน

(Coordinating) (10) การรายงาน (Reporting) และ (11) การงบประมาณ (Budgeting) เชนนี้

เปนการนํา “กระบวนการบริหาร” หรือ “ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญตอการบริหาร” ท่ีเรียกวา แพ็มส-โพสคอรบ

(PAMS-POSDCoRB) แตละตัวมาเปนแนวทางในการใหความหมาย

พรอมกันนี้ อาจใหความหมายไดอีกวา การบริหารหมายถึง การดําเนินงาน หรือ การปฏิบัติงานใดๆ

ของหนวยงานของรัฐ และหรือ เจาหนาท่ีของรัฐ ท่ีเก่ียวของกับ คน สิ่งของและหนวยงาน โดยครอบคลุม

เรื่องตางๆ เชน ( 1) การบริหารคน (Man) (2) การบริหารเงิน (Money) (3) การบริหารวัสดุอุปกรณ

(Material) (4) การบริหารงานท่ัวไป (Management) (5) การบริหารการใหบริการประชาชน (Market)

(6) การบริหารคุณธรรม ( Morality) (7) การบริหารขอมูลขาวสาร ( Message) (8) การบริหารเวลา

(Minute) และ (9) และการบริหารการวัดผล (Measurement) เชนนี้ เปนการนํา “ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญ

ตอการบริหาร” ท่ีเรียกวา 9M แตละตัวมาเปนแนวทางในการใหความหมาย

การใหความหมายท้ัง 2 ตัวอยางท่ีผานมานี้เปนการนําหลักวิชาการดานการบริหาร คือ

“กระบวนการบริหาร” และ “ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญตอการบริหาร ” มาใชเปนแนวทางหรือกรอบแนวคิด

ในการใหความหมายซ่ึงนาจะมีสวนทําใหการใหความหมายคําวาการบริหารเชนนี้ครอบคลุมเนื้อหา

Page 23: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

27

สาระสําคัญท่ีเก่ียวกับการบริหารชัดเจน เขาใจไดงาย เปนวิชาการ และมีกรอบแนวคิดดวย นอกจาก

2 ตัวอยางนี้แลวยังอาจนําปจจัยอ่ืนมาใชเปนแนวทางในการใหความหมายไดอีก เปนตนวา 3M ซ่ึง

ประกอบดวย การบริหารคน (Man) การบริหารเงิน (Money) และการบริหารงานท่ัวไป (Management)

และ 5ป ซ่ึงประกอบดวย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด ประสานงานและประชาสัมพันธ

เพ่ือชวยเพ่ิมความเขาใจการบริหารมากข้ึน จึงขอนําความหมายคําวา การบริหารการจัดการ

และการบริหารจัดการ มาแสดงไวดวย เชน

สมพงศ เกษมสินในป พ.ศ. 2514 มีความเห็นวา การบริหาร หมายถึงการใชศาสตรและศิลป

นําเอาทรัพยากรบริหาร ( Administrative Resource) เชน คน เงินวัสดุสิ่งของ และการจัดการ

มาประกอบการตามกระบวนการบริหาร ( Process of Administration) เชน POSDCoRB Model

ใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ (สมพงศ เกษมสิน , การบริหาร (พิมพครั้งท่ี 3,

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเกษมสุวรรณ, 2514), หนา 13-14.)

สมพงศ เกษมสินในป พ.ศ. 2523 กลาวไววา คําวา การบริหารนิยมใชกับการบริหารราชการ

หรือการจัดการเก่ียวกับนโยบาย ซ่ึงมีศัพทบัญญัติวา รัฐประศาสนศาสตร ( Public Administration)

และคําวา การจัดการ ( Management) นิยมใชกับการบริหารธุรกิจเอกชนหรือการดําเนินการตาม

นโยบายท่ีกําหนดไว สมพงศ เกษมสิน ยังใหความหมายการบริหารไววา การบริหารมีลักษณะเดนเปน

สากลอยูหลายประการ ดังนี้

1. การบริหารยอมมีวัตถุประสงค

2. การบริหารอาศัยปจจัยบคุคลเปนองคประกอบ

3. การบริหารตองใชทรัพยากรการบริหารเปนองคประกอบพ้ืนฐาน

4. การบริหารมีลักษณะการดําเนินการเปนกระบวนการ

5. การบริหารเปนการดําเนินการรวมกันของกลุมบุคคล

6. การบริหารอาศัยความรวมมือรวมใจของบุคคล กลาวคือ ความรวมใจ (Collective

Mind) จะกอใหเกิดความรวมมือของกลุม (Group Cooperation) อันจะนําไปสูพลังของกลุม

(Group Effort) ท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงค

7. การบริหารมีลักษณะการรวมมือกันดําเนินการอยางมีเหตุผล

8. การบริหารมีลักษณะเปนการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานกับวัตถุประสงค

9. การบริหารไมมีตัวตน ( Intangible) แตมีอิทธิพลตอความเปนอยูของมนุษย (สมพงศ

เกษมสิน, การบริหาร (พิมพครั้งท่ี 7, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2523), หนา 5-6.)

อนันต เกตุวงศในป พ.ศ. 2523 ใหความหมายการบริหาร วาเปนการประสานความพยายาม

ของมนุษย (อยางนอย 2 คน) และทรัพยากรตางๆ เพ่ือทําใหเกิดผลตามตองการ (อนันต เกตุวงศ ,

การบริหารการพัฒนา (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2523 หนา 27.)

Page 24: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

28

ไพบูลย ชางเรียนในป พ.ศ. 2532 ใหความหมายการบริหารวา หมายถึงระบบท่ีประกอบไป

ดวยกระบวนการในการนําทรัพยากรทางการบริหารท้ังทางวัตถุและคนมาดําเนินการเพ่ือบรรลุ

วัตถุประสงคท่ีกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ไพบูลย ชางเรียน, วัฒนธรรมการบริหาร

(กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, 2532), หนา 17.)

ติน ปรัชญพฤทธิ์ในป พ.ศ. 2535 มองการบริหารในลักษณะท่ีเปนกระบวนการ โดยหมายถึง

กระบวนการนําเอาการตัดสินใจและนโยบายไปปฏิบัติสวนการบริหารรัฐกิจ หมายถึง เก่ียวของกับ

การนําเอานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (ติน ปรัชญพฤทธิ์, ศัพทรัฐประศาสนศาสตร (กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535), หนา 8.)

บุญทัน ดอกไธสง ในป พ.ศ. 2537 ใหความหมายวา การบริหาร คือการจัดการทรัพยากร

ท่ีมีอยูใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดเพ่ือตอบสนองความตองการของบุคคล องคการ หรือประเทศ หรือ

การจัดการเพ่ือผลกําไรของทุกคนในองคการ (บุญทัน ดอกไธสง , การจัดองคการ (พิมพครั้งท่ี 4 ,

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2537, หนา 1.)

วิรัช วิรัชนิภาวรรณในป พ.ศ. 2545 แบงการบริหาร ตามวัตถุประสงคหลักของการจัดตั้ง

หนวยงานไว 6 สวน ดังนี้

สวนท่ีหนึ่ง การบริหารงานของหนวยงานภาครัฐ ซ่ึงเรียกวา การบริหารรัฐกิจ ( Public

Administration) หรือการบริหารภาครัฐ มีวัตถุประสงคหลักในการจัดตั้ง คือการใหบริการสาธารณะ

(Public Services) ซ่ึงครอบคลุมถึงการอํานวยความสะดวกการรักษาความสงบเรียบรอย ตลอดจน

การพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ เปนตนการบริหารสวนนี้เปนการบริหารของหนวยงานของ

ภาครัฐ ( Public or Governmental Organization) ไมวาจะเปนหนวยงานท้ังในสวนกลาง

สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ินเชน การบริหารงานของหนวยงานของสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง

กรม หรือเทียบเทาการบริหารงานของจังหวัดและอําเภอ การบริหารงานของหนวยการบริหารทองถ่ิน

หนวยงานบริหารเมืองหลวง รวมตลอดท้ังการบริหารงานของหนวยงานของรัฐวิสาหกิจ เปนตน

สวนท่ีสอง การบริหารงานของหนวยงานภาคธุรกิจ ซ่ึงเรียกวา การบริหาร ธุรกิจ ( Business

Administration) หรือการบริหารภาคเอกชนหรือการบริหารของหนวยงานของเอกชนซ่ึงมีวัตถุประสงคหลัก

ของการจัดตั้งเพ่ือการแสวงหากําไร หรือการแสวงหากําไรสูงสุด (Maximum Profits) ในการทําธุรกิจ

การคาขาย การผลิตอุตสาหกรรม หรือใหบริการเห็นตัวอยางไดอยางชัดเจนจากการบริหารงานของ บริษัท

หางรานและหางหุนสวนท้ังหลาย

สวนท่ีสาม การบริหารของหนวยงานท่ีไมสังกัดภาครัฐ (Non-Governmental Organization)

ซ่ึงเรียกยอวา หนวยงาน เอ็นจีโอ ( NGO.) เปนการบริหารงานของหนวยงานท่ีไมแสวงหาผลกําไร

(Non-profit Administration) มีวัตถุประสงคหลักในการจัดตั้ง คือการไมแสวงหาผลกําไร (Non-Profit)

เชนการบริหารของมูลนิธิและสมาคม

Page 25: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

29

สวนท่ีสี่ การบริหารงาน ของหนวยงานระหวางประเทศ ( International Organization)

มีวัตถุประสงคหลักของการจัดตั้ง คือ ความสัมพันธระหวางประเทศ เชนการบริหารงานของสหประชาชาติ

(United Nations Organization) องคการคาระหวางประเทศ (World Trade Organization) และกลุม

ประเทศอาเซียน (ASEAN)

สวนท่ีหา การบริหารงานขององคกรตามรัฐธรรมนูญการบริหารงานขององคกรสวนนี้เกิดข้ึน

หลังจากประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) โดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

ไดกําหนดใหมีองคกรตามรัฐธรรมนูญข้ึน เชน การบริหารงานของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ คณะกรรมการการเลือกตั้งและผูตรวจการแผนดิน

ของรัฐสภา เปนตน องคกรดังกลาวนี้ถือวาเปนหนวยงานของรัฐเชนกัน แตมีลักษณะพิเศษ เชน

เกิดข้ึนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกลาวและมีวัตถุประสงคหลักในการจัดตั้งเพ่ือปกปอง

คุมครองและรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชนตลอดจนควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของหนวยงาน

ของรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐ

สวนท่ีหก การบริหารงานของหนวยงานภาคประชาชนมีวัตถุประสงคหลักในการจัดตั้งเพ่ือ

ปกปองรักษาผลประโยชนของประชาชนโดยสวนรวมซ่ึงเปนประชาชนสวนใหญของประเทศและถูก

เอารัดเอาเปรียบตลอดมา เชน การบริหารงานของหนวยงานของเกษตรกร กลุมผูใชแรงงาน และกลุม

ผูใหบริการ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, การบริหารเมืองหลวงและการบริหารทองถ่ิน : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

ฝรั่งเศส ญี่ปุน และไทย (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโฟรเพซ, 2545), หนา 36-38.)

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ ในป พ.ศ. 2545 มีความเห็นวา การบริหารในฐานะท่ีเปนกระบวนการ

หรือกระบวนการบริหาร เกิดไดจากหลายแนวคิด เชน โพสคอรบ ( POSDCoRB) เกิดจากแนวคิดของ

ลูเทอร กูลิค (Luther Gulick)และ ลินดอลเออรวิค (LyndallUrwick) ประกอบดวยข้ันตอนการบริหาร

7 ประการ ไดแก การวางแผน (Planning) การจัดองคการ (Organizing) การบริหารงานบคุคล (Staffing)

การอํานวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การรายงาน (Reporting) และการงบประมาณ

(Budgeting) ขณะท่ีกระบวนการบริหารตามแนวคิดของ เฮ็นรี ฟาโยล ( Henry Fayol) ประกอบดวย

5 ประการ ไดแก การวางแผน (Planning) การจัดองคการ (Organizing) การบังคับการ (Commanding)

การประสานงาน (Coordinating) และการควบคุมงาน (Controlling) หรือรวมเรียกวา พอคค (POCCC)

(วิรัช วิรัชนิภาวรรณ , การบริหารเมืองหลวงและการบริหารทองถ่ิน : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส

ญี่ปุน และไทย (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโฟรเพซ, 2545), หนา 39.)

เฮอรเบิรต เอ. ไซมอน (Herbert A. Simon) กลาวถึง การบริหารวา หมายถึง กิจกรรมท่ีบุคคล

ตั้งแต 2 คนข้ึนไป รวมกันดําเนินการเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค (Herbert A. Simon, Administrative

Behvior (New york : Macmillian, 1947), p. 3.)

เฟรดเดอรริค ดับบลิว. เทเลอร (Frederick W. Taylor) ใหความหมายการบริหารไววา

Page 26: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

30

งานบริหารทุกอยางจําเปนตองกระทําโดยมีหลักเกณฑซ่ึงกําหนดจากการวิเคราะหศึกษาโดยรอบคอบ

ท้ังนี้เพ่ือใหมีวิธีท่ีดีท่ีสุดในอันท่ีจะกอใหเกิดประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งข้ึนเพ่ือประโยชนสําหรับ

ทุกฝายท่ีเก่ียวของ (Frederick W. Taylor อางถึงใน สมพงศ เกษมสิน , การบริหาร (พิมพครั้งท่ี 7,

กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2523), หนา 27.)

ปเตอรเอฟ. ดรัคเกอร (Peter F. Drucker) กลาววา การบริหาร คือศิลปะในการทํางาน

ใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอ่ืน การทํางานตางๆ ใหลุลวงไปโดยอาศัยคนอ่ืนเปนผูทําภายในสภาพ

องคการท่ีกลาวนั้นทรัพยากรดานบุคคลจะเปนทรัพยากรหลักขององคการท่ีเขามารวมกันทํางานใน

องคการซ่ึงคนเหลานี้จะเปนผูใชทรัพยากรดานวัตถุอ่ืนๆ เครื่องจักร อุปกรณ วัตถุดิบเงินทุน รวมท้ัง

ขอมูลสนเทศตางๆ เพ่ือผลิตสินคาหรือบริการออกจําหนายและตอบสนองความพอใจใหกับสังคม

(Peter F. Drucker อางถึงใน สมพงศ เกษมสิน , การบริหาร (พิมพครั้งท่ี 7, กรุงเทพมหานคร : ไทย

วัฒนาพานิช, 2523), หนา 6.)

แฮรโรลดคูนตซ (Harold Koontz) ใหความหมายของการจัดการ หมายถึง การดําเนินงาน

ใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตั้งไวโดยอาศัยปจจัยท้ังหลาย ไดแก คน เงิน วัสดุสิ่งของ เปนอุปกรณ

การจัดการนั้น (Harold Koontz อางถึงใน สมพงศ เกษมสิน, การบริหาร (พิมพครั้งท่ี 7, กรุงเทพมหานคร :

ไทยวัฒนาพานิช, 2523), หนา 6.)

ธงชัย สันติวงษ ในป พ.ศ. 2543 กลาวถึงลักษณะของงานบริหารจัดการไว 3 ดาน คือ

1) ในดานท่ีเปนผูนําหรือหัวหนางาน งานบริหารจัดการ หมายถึงภาระหนาท่ีของบุคคลใด

บุคคลหนึ่งท่ีปฏิบัติตนเปนผูนําภายในองคการ

2) ในดานของภารกิจหรือสิ่งท่ีตองทํางานบริหารจัดการ หมายถึง การจัดระเบียบทรัพยากร

ตาง ๆ ในองคการและการประสานกิจกรรมตางๆ เขาดวยกัน

3) ในดานของความรับผิดชอบ งานบริหารจัดการ หมายถึง การตองทําใหงานตาง ๆ สําเร็จ

ลุลวงไปดวยดีดวยการอาศัยบุคคลตางๆ เขาดวยกัน (ธงชัย สันติวงษ , องคการและการบริหาร (พิมพ

ครั้งท่ี 11, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2543), หนา 21-22.)

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ ในป พ.ศ. 2548 กลาวไววา การบริหารจัดการ (Management Administration)

การบริหารการพัฒนา (Development Administration) แมกระท่ังการบริหารการบริการ ( Service

Administration) แตละคํามีความหมายคลายคลึงหรือใกลเคียงกันท่ีเห็นไดอยางชัดเจนมีอยางนอย

3 สวน คือ หนึ่ง ลวนเปนแนวทางหรือวิธีการบริหารงานภาครัฐท่ีหนวยงานของรัฐ และ/หรือเจาหนาท่ี

ของรัฐ นํามาใชในการปฏิบัติราชการเพ่ือชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารราชการสอง มีกระบวนการ

บริหารงานท่ีประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ การคิด (Thinking) หรือการวางแผน (Planning) การดําเนินงาน

(Acting) และการประเมินผล (Evaluating) และสามมีจุดหมายปลายทาง คือการพัฒนาประเทศไปใน

ทิศทางท่ีทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนรวมท้ังประเทศชาติมีความเจริญกาวหนาและม่ันคงเพ่ิมข้ึน

Page 27: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

31

สําหรับสวนท่ีแตกตางกันคือ แตละคํามีจุดเนนตางกัน กลาวคือการบริหารจัดการเนนเรื่องการนําแนวคิด

การจัดการของภาคเอกชนเขามาใชในการบริหารราชการ เชน การมุงหวังผลกําไร การแขงขัน ความรวดเร็ว

การตลาด การประชาสัมพันธการจูงใจดวยคาตอบแทน การลดข้ันตอน และการลดพิธีการ เปนตน

ในขณะท่ีการบริหารการพัฒนาใหความสําคัญเรื่องการบริหารรวมท้ังการพัฒนานโยบาย แผน แผนงาน

โครงการ ( Policy, Plan, Program, Project) หรือกิจกรรมของหนวยงานของรัฐสวนการบริหาร

การบริการเนนเรื่อง การอํานวยความสะดวกและการใหบริการแกประชาชน (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ ,

การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององคกรตามรัฐธรรมนูญและหนวยงานของรัฐ

(กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติธรรม, 2548), หนา 5.)

สรุป การบริหารและการบริหารจัดการมีแนวคิดมาจากธรรมชาติของมนุษยท่ีเปนสัตวสังคม

ซ่ึงจะตองอยูรวมกันเปนกลุม โดยจะตองมีผูนํากลุมและมีแนวทางหรือวิธีการควบคุมดูแลกันภายใน

กลุมเพ่ือใหเกิดความสุขและความสงบเรียบรอย ซ่ึงอาจเรียกวาผูบริหารและการบริหาร ตามลําดับ

ดังนั้น ท่ีใดมีกลุมท่ีนั่นยอมมีการบริหาร

คําวาการบริหารและการบริหารจัดการ รวมท้ังคําอ่ืนๆ อีก เปนตนวา การปกครอง (Government)

การบริหารการพัฒนา การจัดการ และการพัฒนา (Development) หรือแมกระท่ัง คําวา การบริหาร

การบริการ (Service Administration) การบริหารจิตสํานึกหรือการบริหารความรูผิดรูชอบ (Consciousness

Administration) การบริหารคุณธรรม ( MoralityAdministration) และการบริหารการเมือง

(Politics Administration) ท่ีเปนคําในอนาคตท่ีอาจถูกนํามาใชไดคําเหลานี้ ลวนมีความหมาย

ใกลเคียงกันข้ึนอยูกับผูมีอํานาจในแตละยุคสมัยจะนําคําใดมาใชโดยอาจมีจุดเนนแตกตางกันไปบาง

อยางไรก็ตาม ทุกคําท่ีกลาวมานี้เฉพาะในภาครัฐ ลวนหมายถึง (1) การดําเนินงาน การปฏิบัติงาน

แนวทาง (Guideline) วิธีการ (Method) หรือมรรควิธี ( Means) ใดๆ (2) ท่ีหนวยงานของรัฐและ/

หรือเจาหนาท่ีของรัฐนํามาใชในการบริหารราชการหรือปฏิบัติงาน (3) ตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว (4)

เพ่ือนําไปสูจุดหมายปลายทาง (End หรือ Goal) หรือการเปลี่ยนแปลงในทิศทางท่ีดีข้ึนกวาเดิมเชนมี

วัตถุประสงคเพ่ือนําไปสูจุดหมายปลายทางเบื้องตน ( Primary Goal) คือ ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพ

ในการบริหารราชการหรือชวยเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติราชการใหเปนไปในทิศทางท่ีดีกวาเดิม หรือมี

วัตถุประสงคเพ่ือนําไปสูจุดหมายปลายทางสูงสุด (Ultimate Goal) คือ การพัฒนาประเทศท่ีประเทศชาติ

และประชาชนอยูเย็นเปนสุขอยางยั่งยืน เปนตน และทุกคําดังกลาวนี้ อาจมองในลักษณะท่ีเปนกระบวนการ

(Process) ท่ีมีระบบและมีหลายข้ันตอนในการดําเนินงานก็ได

Page 28: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

32

การมีสวนรวม

1. ความหมายของการมีสวนรวม

วิลาวัลย เสนารัตน และ คนอ่ืนๆ (2541, น.36) ไดใหความหมายของการมีสวนรวมของ

ชุมชน วา การใหคนในชุมชนมีสวนเก่ียวของโดยสมัครใจในกิจกรรมทุกข้ันตอน เริ่มตั้งแตการเขารวม

ประเมินปญหา ตัดสินใจรวมกันในการวางแผนแกปญหา ลงมือแกไข และประเมินผล ซ่ึงกระบวนการ

ท้ังหมดตองตั้งอยูบนพ้ืนฐานของความเชื่อ ทัศนคติ และวัฒนธรรมของชุมชน

สมนึก ปญญาสิงห (2541, น.23) ไดกลาววา การมีสวนรวมเปน กุญแจสําคัญของยุทธศาสตร

การพัฒนาชนบทท่ีตองมีการลงมือปฏิบัติตามปรัชญาและกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมอยาง

จริงจัง ท่ีตั้งอยูบนพ้ืนฐานขององคประกอบ คือ ความรวมมือรวมใจ (cooperation)การประสานงาน

(coordination) ความรับผิดชอบรวมกัน (responsibility)ความพยายามรวมกัน (collective effort)

ความสัมพันธท่ีราบรื่นและกลมกลืนกัน (harmonious relations) การมีจิตใจมุงม่ันรวมกันทํางาน

(spirit of partnership) และ การลงมือปฏิบัติดําเนินการรวมกัน (action or implementation)

ขวัญชัย วงศนิติกร (2542, น.29) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวมประกอบดวย 3

มิติ ไดแก มิติท่ี 1 การมีสวนรวมในการตัดสินใจมิติท่ี 2 การมีสวนรวมในการเสียสละ การพัฒนาและ

การลงมือปฏิบัติ และมิติท่ี 3 การมีสวนรวมในการแบงปนผลประโยชนและประเมินผล

ชืน่ใจ บูชาธรรม(2542, น.8)ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวม หมายถึง ความรวมมือ

ของประชาชนในอันท่ีจะเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนา ท้ังนี้เกิดจากความพอใจสวนตนท่ีจะ

รวมมือกับบุคคลในกลุมท่ีมีแนวทางการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน

สุนีย มัลลิกะมาลย (2543, น.17-18) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวมของประชาชน

ในการจัดการขยะหมายถึงการลดปริมาณขยะดวยการคัดแยกขยะกอนท้ิง เพ่ือใหขยะบางประเภทได

นํากลับไปใชประโยชนใหม อันจะสงผลใหเหลือขยะท่ีจะท้ิงจริงนอยลง และความสําเร็จของการคัดแยก

ขยะนี้ข้ึนอยูกับความรวมมือของประชาชนในฐานะท่ีเปนผูผลิตและผูท้ิงขยะกระบวนการมีสวนรวม

ของประชาชนในการจัดการขยะมี ดังนี้

1) รวมรับรู หมายถึง รับรูสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนของตน รับรูถึงวิธีการจัดการเพ่ือ

แกไขปญหา ลดผลกระทบของปญหาและปูองกันปญหาในกระบวนการนี้สื่อ ขอมูลขาวสาร วิธีการ

เผยแพรหรือเขาถึง ขอมูลขาวสารและแหลงขอมูลขาวสาร ยอมเปนสวนสําคัญท่ีผูเก่ียวของควร

Page 29: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

33

คํานึงถึง เพราะการใหประชาชน ไดรวมรับรูยอมมีความตระหนักถึงปญหาในการพิจารณาวาตนจะ

เขาไปมีสวนรวมดวยวิธีใดไดบาง

2) รวมคิดและแสดงความคิดเห็น เปนผลสืบเนื่องมาจากการรับรูขอมูล เม่ือประชาชนเกิด

ความตระหนักแลวยอมเปนชองทางท่ีจะใหประชาชนเขามามีสวนรวมคิดและแสดงความคิดเห็นถึง

วิธีการท่ีจะนําไปสูการแกไขปรับปรุง การมีสวนรวมในข้ันตอนนี้ยอมนํามาซ่ึงการมีสวนรวมในข้ันตอน

ตอไป

3) รวมดําเนินการ เม่ือวิธีการท่ีจะนําไปสูการแกไขปรับปรุงและป องกันปญหาเกิดจากการมี

สวนรวมของประชาชนในชุมชน ก็เทากับเปนการยอมรับ ปญหา ของพวกเขา ดังนั้นหากจะตองให

พวกเขาเขามารวมดําเนินการตามกิจกรรมท่ีไดมาแลว ความเปนไปไดยอมมีมาก

4) รวมติดตามตรวจสอบความเขมแข็งและความตอเนื่องในการดําเนินการ ยอมตองอาศัย

ปจจัย ความรวมมือของประชาชนในชุมชนท่ีจะติดตามและตรวจสอบวา ในการดําเนินการนั้นมีปจจัย

ใดบาง ท่ีเปนปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการเพ่ือจะไดแกไขไดทันทวงที

5) รวมรับผิดชอบ ความสําเร็จและความลมเหลวของกิจกรรมหรือโครงการยอมข้ึนอยูกับการ

รวมรับผิดชอบของประชาชนในชุมชนมิใชเปนผู ริเริ่มโครงการหรือผูนําชุมชน การยอมท่ีจะมีสวนรวม

รับผิดชอบยอมสะทอนถึงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนในทุกระดับ

6) รวมขยายผล การจัดการขยะเปนตัวอยางท่ีเห็นไดชัดวา หากชุมชนใดมีการ จัดการขยะ

อยางมีประสิทธิภาพแลวและมีการชักชวนดวยวิธีการใดก็ตาม รวมถึงการชวยเหลือในการจัดการขยะ

ของชุมชนอ่ืนๆ ยอมนํามาซ่ึงการขยายผลของการจัดการขยะ ใหสามารถใชไดหลายชุมชนมากข้ึนซ่ึง

ชุมชนมีการจัดการขยะอยางถูกวิธีไดจํานวนมากชุมชนเทาใด ยอมสงผลดีตอการแกไขปญหา

สิ่งแวดลอมไดมากเทานั้น

ไตรรงค เฉวียงหงส (2544, น.9) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวมหมายถึง การท่ี

บุคคลเขาไปมีสวนเก่ียวของกับกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งขององคกรทางสังคมเพ่ือรวมมือกันในการ

ทํากิจกรรมตางๆ เพ่ือใหบรรลุจุดมุงหมายหรือเปนไปในทิศทางเดียวกันซ่ึงในการเขารวมกันทํา

กิจกรรมเหลานั้นจะมีระดับการมีสวนรวมท่ีแตกตางกันไป ตั้งแตการเขารวมรับฟงและเสนอความ

คิดเห็น จนกระท่ังถึงข้ันการเขามามีสวนรวมท่ีแทจริง นั่นคือการลงมือปฏิบัติหรือการใหความรวมมือ

ในทุกข้ันตอนของกระบวนการตางๆ

Page 30: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

34

สุวัช พานิชวงษ (2546, น.20) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการ

ท่ีเกิดจากความรวมมือระหวางบุคคล กลุมและสังคม ท่ีจะประกอบกิจกรรม หรือปฏิบัติงานรวมกัน

ดวยความสมัครใจโดยมีเปาหมายและผลประโยชนรวมกัน ทุกคนมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ

เสียสละ ลงมือปฏิบัติ และประเมินผลรวมกัน เปนการสนองความตองการท่ีกอใหเกิดการยอมรับและ

การรวมมือกันทุกฝาย

ฐิตาพร ประเสริฐสุด (2548, น.37) ไดสรุปความหมายของการมีสวนรวม ไววา การเก่ียวของ

กันของบุคคลดานจิตใจและอารมณในสถานการณเดียวกัน มีหนาท่ีรับผิดชอบรวมกันเพ่ือปรับปรุง

สถานะความเปนอยูไปสูวัตถุประสงคท่ีกําหนดในกิจกรรมทุกข้ันตอนตั้งแตตนจนสิ้นสุดกระบวนการ

ดวยความสมัครใจในการรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมวางแผน รวมดําเนินการปฏิบัติ รวมประเมินผล

และรวมกันรับผลประโยชนดวยความสมัครใจ เสียสละ บนรากฐานของระบบความเชื่อ ทัศนคติและ

วัฒนธรรมองคกร

จินตนา สุจจานันท (2549, น.48) ไดใหความหมายของคําวาการมีสวนรวมของประชาชน

หมายถึงกระบวนการดําเนินงานรวมพลังประชาชนกับองคกรของรัฐหรือองคกรเอกชน เพ่ือประโยชน

ในการพัฒนาหรือแกปญหาของชุมชน โดยใหสมาชิกในชุมชนนั้นๆเขามารวมกันวางแผนปฏิบัติและ

ประเมินงาน เพ่ือแกไขปญหาของชุมชน การมีสวนรวมของประชาชนจึงไมใชเปนการใหขอมูล

ชาวบาน เพ่ือประกอบการวางแผนเทานั้น หรือเปนการเปดโอกาสใหชาวบานเขาไปเปนสมาชิก รวม

เสียสละเงินและแรงงาน ปฏิบัติตามในสิ่งท่ีถูกกําหนดมาจากราชการเทานั้น

สัจจา บรรจงศิริ (2549, น.21) ไดสรุปความหมายของการมีสวนรวม ไววา การมีสวนรวม

เปนกระบวนการคิด การพิจารณาตัดสินใจจนเปนผลของการนําไปปฏิบัติอยางเปดเผยและเต็มใจ มี

สวนรวมในการศึกษาคนควาหาสาเหตุของปญหารับผิดชอบในเรื่องตางๆอันจะมีผลกระทบมาถึงตัว

ของประชาชนเอง ซ่ึงจะทําใหเกิดความพอใจและลดความขัดของท่ีจะเกิดข้ึนระหวางเจาหนาท่ีของรัฐ

กับประชาชน

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2552, น.9) สรุปวา การมีสวนรวมของประชาชน

ตามหลัก ธรรมาภิบาลท่ีภาครัฐจะตองเปดโอกาสใหประชาชนและผูเก่ียวของทุกภาคสวนรับรู รวมคิด

รวมตัดสินใจเพ่ือสรางความโปรงใสและเพ่ิมคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐใหดีข้ึนและเปนท่ียอมรับ

ของทุกฝาย

Page 31: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

35

สํานักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา (2552, น.10) ไดใหความหมายของคําวา การมีสวนรวมของ

ประชาชนหรือชุมชน หมายถึง กิจกรรมท่ีหนวยงานภาครัฐสนับสนุนใหประชาชนหรือชุมชนเขา

มารวมคิดรวมตัดสินใจ รวมดําเนินการ รวมรับผลประโยชนและรวมประเมินผล เพ่ือเปนกลไกและ

เครือขายการขับ เคลื่อนการบริหารจัดการทรัพยากรของประเทศ

สรุปวา การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึงประชาชนในแตละชุมชนตองเขามามีสวนรวม

ในกระบวนการจัดการหรือดําเนินกิจกรรมของชุมชน(องคกร)รวมกันในทุกข้ันตอนหรือในบางข้ันตอน

ตั้งแตการรับรู (Perception) การแสดงความเห็น (Brainstorming) การรวมกันคิด (Thinking) การ

รวมกันตัดสินใจ(Decision making) การรวมกันดําเนินการ (interaction) การติดตามและตรวจสอบ

(Check) การรวมกันรับผิดชอบ (Responsibility) การยอมรับผลไดและผลเสีย (Stakeholder) และ

แกไขปญหารวมกัน เพ่ือพัฒนาชุมชน (องคกร )ของตนเองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ได

บัญญัติถึงการมีสวนรวมของประชาชนเก่ียวกับสิ่งแวดลอมตามความในมาตรา ๖๖ กลาววา บุคคลซ่ึง

รวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถ่ิน หรือชุมชนทองถ่ินดั้งเดิม ยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี

ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ินและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การ

บํารุงรักษา และการใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม รวมท้ังความหลากหลายทาง

ชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน และมาตรา ๖๗ กลาววา สิทธิของบุคคลท่ีจะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชน

ในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง

ชีวภาพและในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพ่ือให ดํารงชีพอยูไดอยางปกติ

และตอเนื่องในสิ่งแวดลอม ท่ีจะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิต

ของตน ยอมไดรับความคุมครองตามความเหมาะสม

2. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวม

อรทัย กกผล, (๒๕๕๑) ไดกลาววา การมีสวนรวมเกิดจากแนวคิดสําคัญ ๓ ประการ ดังนี้

(1) ความสนใจและความกังวลรวมกัน เกิดจากความสนใจและความกังวลสวนบุคคล ซ่ึงมี

ความเห็น ท่ีพองสอดคลองดวยกันกลายเปนความสนใจและความกังวลรวมกันของสวนรวม

(2) ความเดือดรอนและความไมพึงพอใจรวมกันท่ีมีตอเหตุการณนั้นๆ ผลักดันใหมีการ

วางแผนและ ลงมือปฏิบัติรวมกัน

(3) การตกลงใจรวมกันท่ีจะเปลี่ยนแปลงชุมชนใหเปนไปตามความคิดเห็นของคนสวนใหญ

ท่ีมีสวนเก่ียวของในกิจกรรมของชุมชน

Page 32: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

36

สรุปวา แนวคิดในการมีสวนรวมของประชาชน เปนการรับรูปญหา สาเหตุและความตองการ

ไดแกการรวมเสนอปญหาการสํารวจขอมูลเพ่ือคนหาสาเหตุของปญหา การสํารวจความตองการของ

ชุมชน ฯลฯ การคนหาแนวทางและการวางแผนดําเนินงานเพ่ือแกไขปญหา ไดแก การรวมกัน

เรียงลําดับความสําคัญของปญหาการกําหนดแผนและโครงการเพ่ือแกปญหา การจัดทําแผนและ

โครงการ มีการศึกษาความเปนไปได ของแผนและโครงการ พรอมกับทบทวนแผนและโครงการมีการ

ตัดสินใจรวมกันในการใชทรัพยากรอยางจํากัดเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุด ไดแก การออกแรงรวมกัน

การรวมกันบริจาคสิ่งของและ /หรือบริจาคเงินทอง เปนตน การรวมกันปฏิบัติตามนโยบายและ

แผนงานโครงการ เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย ไดแก การรวมกัน ใหความรูการแกไขปญหาและคําแนะนํา

หรือขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอชุมชน มีสวนรวมในการควบคุม ติดตามและประเมินผลของ

โครงการท่ีทําและท่ีแลวเสร็จ รวมกันประชาสัมพันธโครงการท่ีจัดทําการมีสวนรวมตองใหทุกฝายท่ี

เก่ียวของหรือมีสวนไดสวนเสีย ไดเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอนและมีความรูสึกเปนเจาของในทุก

กิจกรรมจนเกิดผลสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพ

3 องคประกอบของการมีสวนรวม

ประกอบดวยวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายท่ีมีความชัดเจนวาทําเพ่ืออะไร กิจกรรมท่ีมีรูปแบบ

และลักษณะอยางไร และบุคคลหรือกลุมเปาหมายท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงคและกิจกรรมนั้นๆ

4. กระบวนการมีสวนรวม

กระบวนการมีสวนรวมควรใชกับประเด็นท่ีมีความสําคัญและมีความจําเปน ไดแก การตัดสินใจ

และผลกระทบท่ีสําคัญ การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอคนบางคนการตัดสินใจจะมีผลกระทบตอ

ผลประโยชนของกลุมคนบางกลุมการตัดสินใจท่ีเก่ียวของกับเรื่องท่ีมีความขัดแยงกันมากอนแลวและ

ความจําเปนเพ่ือใหมีการสนับสนุนตอผลการตัดสินใจ โดยบุคคลท่ีเขามามีสวนรวมตองมีความสนใจใน

ประเด็นนั้น ๆตองมีอิสรภาพ ความเสมอภาค ความสามารถและรูจักพิจารณาประเด็นสําคัญของกิจกรรม

การมีสวนรวมเปนการกระจายโอกาสใหมีบุคคลในกลุมเขามารวมกันบริหารเก่ียวกับการตัดสินใจใน

เรื่องตางๆ รวมท้ังการจัดสรรทรัพยากรท่ีจะสงผลกระทบตอวิถีชีวิตและความเปนอยู โดยการใหขอมูล

การแสดงความคิดเห็นการใหคําแนะนําใหคําปรึกษา การรวมวางแผน รวมปฏิบัติ ตลอดจนการดูแล

ผลประโยชนรวมกัน เปนการสรางฉันทามติ ทํางานรวมกันอยางโปรงใสตรวจสอบไดหลีกเลี่ยงขอ

ขัดแยงไดดี ชวยทําใหเกิดความนาเชื่อถือความชอบธรรมคลายความกังวลและสรางคานิยมท่ีดี เปน

การพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสรางสรรคของสาธารณชน

Page 33: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

37

5. ระดับการมีสวนรวม แบงไดเปน 5 ระดับ ดังนี้

1) ระดับการใหขอมูลขาวสาร (Inform) เปนการมีสวนรวมในระดับ ต่ําสุดและรับรูทางเดียว

ไดแก การรับรูวาเกิดอะไร ท่ีไหน ในลักษณะการใหขอมูลทางเดียวจากรัฐบาลสูประชาชน

2) ระดับการปรึกษาหารือ (Consult) เปนการมีสวนรวมในการใหขอมูล ขอเท็จจริง ความรูสึก

ความคิดเห็นประกอบการตัดสินใจ ไดแกประชาชนมีบทบาทในฐานะการใหขอมูลการแสดงประชามติ

เชน การสํารวจความคิดเห็น การประชุมสาธารณะ เปนตน

3) ระดับการเขามามีบทบาท (Involve) เปนการมีสวนรวมในการเปดโอกาสใหประชาชน

เขามารวมคิด รวมทํา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอมูลระหวางสวนราชการกับประชาชนอยางมี

จุดมุงหมายท่ีชัดเจน ไดแก การประชุมเชิงปฏิบัติการ การประชุมระดมความคิดเห็น เปนตน

4) ระดับสรางความรวมมือ (Collaboration) เปนการใหบทบาทของประชาชนในระดับสูง

โดยการใหประชาชนเขามาทํางานรวมกันในกระบวนการของการตัดสินใจ ไดแก การเปนคณะกรรมการรวม

ระหวางภาครัฐกับภาคเอกชน การเปนคณะท่ีปรึกษาฝายประชาชน เปนตน

5) ระดับการใหอํานาจแกประชาชน (Empower) เปนการใหบทบาทแกประชาชนในระดับ

สูงสุดเพราะใหประชาชนเปนผูตัดสินใจแลวภาครัฐดําเนินการตามการตัดสินใจนั้น โดยรัฐมีบทบาทใน

การหาขอมูลสรางความเขาใจและเสนอทางเลือกใหประชาชนตัดสินใจซ่ึงมักจะเปนเรื่องท่ีมีผลกระทบ

ตอประชาชนโดยตรง

6. วิธีการสรางการมีสวนรวม การสรางการมีสวนรวมของประชาชนประกอบดวย

1) วิธีการในการรับและใหขอมูล

(1.1) การรับฟงปญหาท่ีเกิดข้ึนท้ังจากประชาชนท่ีอยูอาศัยในทองถ่ิน ผูนําชุมชนหรือผูนํา

ทางความคิดภายในชุมชน โดยผูนําขององคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจลงไปเปนผูรับฟงขอมูลขาวสาร

หรือปญหาท่ีเกิดข้ึนหรือมีตัวแทนลงไปรับฟง

(1.2) การใหขอมูลขาวสารโดยใชสื่อมวลชนและสื่อตางๆ ท่ีเปนหนังสือพิมพ วิทยุ และ

โทรทัศน

(1.3) การใหขอมูลขาวสารโดยใชสื่อสิ่งพิมพและการเผยแพรท่ีเปนใบปลิว แผนพับและปาย

ประกาศ

(1.4) การไปทัศนศึกษาดูงานในโครงการพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะเดียวกัน เพ่ือรับทราบความ

คิดเห็นและเปนการใหขอมูลกับประชาชน

Page 34: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

38

(1.5) การจัดนิทรรศการ และการสาธิต

(1.6) จัดตั้งศูนยขอมูลขาวสารเพ่ือรับทราบความคิดเห็นและเปนการใหขอมูลกับประชาชน

2) วิธีการของการมีสวนรวม

(2.1) การประชุมสาธารณะ และการประชุมกลุมยอย

(2.2) การประชุมเชิงปฏิบัติการ

(2.3) กิจกรรมในเชิงปฏิบัติการ ไดแก การลงไปทดลองใหชุมชนไดเห็นจริง

(2.4) การสํารวจทัศนคติของชุมชน และความคิดเห็นของชุมชน

(2.5) จัดใหมีโทรศัพทสายดวน (Hotline) เพ่ือรับฟงความคิดเห็น

(2.6) จัดใหมีเจาหนาท่ีประสานงานของชุมชนเพ่ือการทํางานในชุมชน

7. ประโยชนของการมีสวนรวม

1) การลดความขัดแยงในการดําเนินโครงการซ่ึงจะทําใหลดคาใชจายและลดการสูญเสียเวลา

เม่ือการตัดสินใจใดๆ ไดรับการยอมรับจากทุกฝาย

2) เพ่ิมความรอบคอบในการตัดสินใจชวยใหเกิดการพิจารณาทางเลือกใหมในการตัดสินใจทํา

ใหการตัดสินใจมีความรอบคอบมากข้ึน

3) ทําใหผูรับผิดชอบโครงการสามารถดําเนินโครงการท่ีจะเกิดข้ึนไดงายหรือสะดวกมากข้ึน

เนื่องจากไมมีความขัดแยงกับประชาชน

4) เกิดฉันทามติ ลดความขัดแยงทางความคิด การเผชิญหนา ระหวางกลุม และเกิดความ

ชอบธรรมในการตัดสินใจใดๆ

5) ลดความหวงกังวลของประชาชนท่ีมีตอโครงการได

6) ประชาชนเกิดความรูสึกเปนเจาของและมีความ กระตือรือรนในการชวยใหโครงการสามารถ

ดําเนินการไปไดอยางมีสวนรวมตั้งแตเริ่มตน

7) ชวยทําใหเจาหนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถ่ินมีความใกลชิดกับประชาชนมากข้ึน

การมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการขยะชุมชน

บทบาทหนาท่ีการม่ีสวนรวมของประชาชนในการจัดการกับปญหาขยะมูลฝอยอยางครบ

วงจร จึงไดรับการยอมรับจากรัฐ ประชาชนจึงมีสิทธิ์ในการมีสวนรวมในปญหาขยะมลฝอย ตั้งแต

รวมคนหาปญหา พิจารณาปญหาและจัดลําดับความสําคัญของปญหารวมคนหาสาเหตุของปญหา

Page 35: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

39

รวมคนหาและพิจารณาแนวทางการแกไขปญหารวมกิจกรรมเพ่ือแกไขปญหาและรวมประเมินผล

กิจกรรมการพัฒนา

การมีสวนรวมอยางแทจริงจะตองเปดโอกาสใหทกคนทุกกลุมในหมูบานมีสวนเก่ียวของใน

การตัดสินใจท่ีจะดําเนินการใดๆ เพ่ือตัวเขาและเพ่ือหมูบานของเขาโดยตัวของเขาเอง ซ่ึงลักษณะการ

ทํางานดังกลาวจะมีลักษณะของ “หุนสวน” ระหวางเจาหนาท่ีรัฐกับประชาชนซ่ึงจะเปนผูไดรับผล

ท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนาการทํางานลักษณะนี้จะตองเริ่มโดยการรวมกลุมประชาชนตามกิจกรรมพัฒนา

ท่ีจัดข้ึนและคอยๆ เพ่ิมความสามารถและความรับผิดชอบในการดําเนินการตามกระบวนการพัฒนา

ใหแกประชาชนจนในท่ีสุดใหประชาชนสามารถดําเนินงานดวยตนเองตามลําพังไดโดยท่ีเจาหนาท่ีรัฐ

จะตองมีความตั้งใจและจริงใจท่ีจะสนับสนุนการปฏิบัติงานของประชาชนอยางตอเนื่องและอดทน

ข้ันตอนของการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาสังคมมีดังนี้ (สถาบันดํารงราชานุภาพ :

2540)

1) การมีสวนรวมในการคนหาปญหาและสาเหตุของปญหา ข้ันตอนนี้เปนข้ันตอนแรกท่ีมี

ความสําคัญท่ีสุดเพราะถาประชาชนยังไมสามารถเขาใจปญหาและสาเหตุของปญหาดวยตัวของเขา

เองกิจกรรมตางๆ ท่ีตามมาก็ไรประโยชน เพราะประชาชนจะขาดความเขาใจและมองไมเปน

ความสําคัญของกิจกรรมนั้นสิ่งหนึ่งท่ีแนนอนท่ีสุดคือ ประชาชนเปนผูอยูกับปญหาและรูจักปญหาของ

ตนดีท่ีสุดแตอาจจะมองปญหาของตนไมชัดเจนจนกวาจะมีเพ่ือนมาชวยตนวิเคราะหถึงปญหาและ

สาเหตุของปญหา

2) การมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินงาน การวางแผนดําเนินกิจกรรมเปนข้ันตอน

ตอไปท่ีขาดไมไดเพราะถาหากเจาหนาท่ีตองการแตผลงานการพัฒนาวัตถุใหเสร็จสิ้นโดยฉับไวก็จะ

ดําเนินการวางแผนงานดวยตนเองผลท่ีตามมากคือตอไปเม่ือขาดเจาหนาท่ีประชาชนก็ไมสามารถจะ

ดําเนินการวางแผนงานไดดวยตนเอง อาจจะมีความยากลําบากท่ีจะผลักดันใหเจาหนาท่ีทําหนาท่ีเปน

เพียงเพ่ือนของประชาชนในการวางแผน เพราะประชาชนอาจจะมีการศึกษานอยแตถาไมใหเขาเขา

รวมในข้ันตอนนี้โอกาสท่ีประชาชนจะไดรับการศึกษาและพัฒนาตนเองในการวางแผนดําเนินงานก็จะ

หมดไปเพราะฉะนั้นเจาหนาท่ีจะตองทําใจใหไดวาการศึกษาใดก็ตามตองเริ่มจากความยาก งาย เร็ว

ชา จากระดับของผูท่ีจะรับการศึกษาไมใชจากระดับความรูความสามารถของเจาหนาท่ี

3) การมีสวนรวมในการลงทุนปฏิบัติงาน ประชาชนมีแรงงานและมีประสบการณท่ีสามารถ

เขารวมในกิจกรรมข้ันนี้ไดเพราะในกิจกรรมพัฒนาบางประเภทถาหากใหประชาชนรวมลงทุนใน

Page 36: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

40

กิจกรรมจะทําใหเขามีความรูสึกเปนเจาของ เกิดการบํารุงรักษา รักและหวงแหน ในทางตรงขามถา

เขาไมมีสวนรวมในข้ันตอนนี้ถาการลงทุนและการปฏิบัติงานท้ังหมดมาจากภายนอกถาเกิดอะไร

เสียหายเขาก็ไมเดือดรอนมากนัก เพราะเม่ือไมใชของเขาเขาก็จะไมบํารุงรักษา ไมรักไมหวงแหน

นอกจากนั้นการเขารวมปฏิบัติงานดวยตนเองจะทําใหเขาเรียนรูการดําเนินกิจกรรมอยางใกลชิดและ

สามารถดําเนินกิจกรรมชนิดนั้นดวยตนเองตอไปได

4) การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ประชาชนควรมีสวนรวมในการติดตาม

และประเมินผลงานเพ่ือท่ีจะสามารถบอกไดวางานท่ีทําไปนั้นไดรับผลดี ไดรับประโยชนหรือไมอยางไร

ดังนั้นในการประเมินผลควรท่ีจะตองมีท้ังประชาชนในชุมชนนั้นเองและคนนอกชุมชนชวยกัน

พิจารณาวากิจกรรมท่ีกระทําลงไปนั้นเกิดผลดีหรือไมดีอยางไร ซ่ึงจะทําใหประชาชนเห็นคุณคาของ

การทํากิจกรรมนั้นรวมกัน

การมีสวนรวมถือไดวาเปนการแสวงหาขอตกลงรวมกันของผูมีสวนไดสวนเสีย ไมเฉพาะผูนํา

ชุมชนฝายเดียวเทานั้น ดวยเหตุนจึงมีขอสรุปท่ีเกิดจากทุกฝาย ผูนําชุมชนเพียงแตอํานวยความสะดวก

ในการเตรียมการใหเกิดการมีสวนรวม และ นําผล หรือขอตกลงไปปฏิบัติ ความสําคัญของการมี

สวนรวมในมิติตางๆประกอบดวย

1) เพ่ิมคุณคาในการตัดสินใจเพ่ือแกไขปญหาของชุมชนหากเปนการตัดสินใจฝายเดียว

โดยเฉพาะการตัดสินใจแกไขปญหาของผูนําชุมชนหรือหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของอาจไมเปน

ท่ียอมรับของสมาชิกในชุมชน

2) ลดเวลาและคาใชจายของหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถ่ินในการแกไขปญหา

สามารถชวยลดความลาชาท่ีเกิดจากความขัดแยงไดมาก ในกรณีท่ีไมมีการแกไขดวยการมีสวนรวม

ปญหาอาจลุกลามขยายความรุนแรงเพ่ิมข้ึนได

3) สรางฉันทามติ ความชอบธรรมรวมกันของสมาชิกในชุมชนตอการแกไขปญหาเพราะการมี

สวนรวมท่ีตองอาศัยความรวมมือของทุกฝายโดยเฉพาะสมาชิกในชุมชนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

และสวนราชการท่ีเก่ียวของ

4) เพ่ิมความงายตอการปฏิบัติตามแนวทางการแกไขปญหา การแสวงหาทางออกในการ

แกไขปญหาของชุมชน มีการระดมความคิดเห็นตอแนวทางปฏิบัติ ข้ันตอนวิธีการซ่ึงเปนผลดีตอ

การนําไปปฏิบัติตามแนวทางท่ีชัดเจนและทุกฝายเห็นพองตองกัน

Page 37: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

41

5) หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาระหวางกันของคูกรณีพิพาท หากมีความขัดแยงของสมาชิกใน

ชุมชน โดยเฉพาะปญหามลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ยอมเปนความเสี่ยงตอการเกิด

การเผชิญหนาระหวางคูกรณีพิพาทระหวางกันได

6) ดํารงไวซ่ึงความนาเชื่อถือของผูนําชุมชน และ/หรือองคกรปกครองสวนทองถ่ิน การตัดสินใจ

ของผูนําชุมชนซ่ึงมีลักษณะของการประนีประนอมมาก และอาจจะไมนํามาซ่ึงการหาขอตกลงรวมกันได

อันทําใหการแกไขปญหาไมเกิดผลเปนรูปธรรม

ความสําเร็จของการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน มีสวนรวม และความยั่งยืน อาจวัดได

ท่ีปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนท่ี เกิดข้ึนนอย ท่ีสุด ครัวเรือนไม สรางภาระให ทองถ่ิน ในการ กําจัด

อีกตอไปการรณรงค ให ประชาชนมีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือนหรือจาก แหลงกําเนิด

จะเปนอีกแนวทางหนึ่งท่ีจะชวยให ทองถ่ินสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนเพ่ือ นําไปกําจัด

ไดอยางมีมีประสิทธิภาพและทันตอเวลา ไมมีขยะมูลฝอยตกคางเกิดข้ึนการรณรงคการลดและคัดแยก

ขยะมูลฝอยจากครัวเรือน เก่ียวของ กับพฤติกรรมของครัวเรือน เปนหลัก หากสมาชิกในครัวเรือน

เห็นความสําคัญ มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยท่ี ถูกตอง องคกรปกครองสวนทอง ถ่ินควรรวม

วางแผนการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามประเภทของขยะมูลฝอยท่ีไดมีการคัดแยกไวแลวดวยเชนเดียวกัน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ไดเผยแพรแนวทางปฏิบัติในการ รณรงคการลดและคัดแยก

ขยะมูลฝอยจากครัวเรือน สําหรับทองถ่ิน ดังนี้

1) สงเสริมการ คัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือน ควรเลือก ทําเฉพาะชุมชนยอย ท่ีพิจารณา

แลวเห็นวามี ศักยภาพใน การรวม โครงการได เพ่ือ ใหเปนชุมชนนํารอง โดยมี จํานวน ครัวเรือน

เปาหมายประมาณ 40-60 ครัวเรือน

2) สงเสริมให ครัวเรือนใชถุงบรรจุขยะมูลฝอยแบบแยกสี โดย ใหถุงสีเขียวเปนขยะมูลฝอย

ท่ีสามารถ นํากลับมาใช ประโยชนได และถุงสี ดําเปน ขยะมูลฝอยท่ัวไป ท้ังนี้ องคกรปกครองสวน

ทองถ่ินควรแจกถุงบรรจุ ให กับครัวเรือนในพ้ืนท่ี เปาหมาย เพ่ือ สรางแรง จูงใจท่ีดี อีกท้ัง เปนการ

ประเมินพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยควบคูไปดวย

3) จัดเก็บถุงบรรจุขยะมูลฝอย ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินกําหนดวันและเวลาในการเก็บ

ขนขยะมูลฝอยท่ีสามารถ นํากลับมาใช ประโยชนได เพ่ือ จําหนายเปนราย ไดให กับครัวเรือนในพ้ืนท่ี

เปาหมาย อนึ่งในการกําหนดวันเก็บขยะมูลฝอยประเภทรีไซเคิลได หรือขยะมูลฝอยท่ี เปนขยะมูลฝอย

อันตรายนั้น ไมควรเก็บถ่ีจนเกินไป เนื่องจากอาจมีปริมาณขยะมูลฝอยนอย ดังนั้นเพ่ือใหเหมาะสมกับ

Page 38: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

42

สภาพทองถ่ินแตละ อยางนอย ควรจัดเก็บเดือนละ 1-2 ครั้งก็เพียงพอ และไม เปนการสิ้น เปลือง

งบประมาณในการดําเนินงาน

4) การลดปริมาณขยะมูลฝอยจากครัวเรือน สามารถดําเนินการไดในรูปแบบของการสงเสริม

ใหครัวเรือนจัดทํากลองคอนกรีต (ครัวเรือนท่ีมี พ้ืนท่ีวางเพียงพอ ) หรืออาจใชเปนถังหมักขยะมูลฝอย

ขนาดบรรจุ 20 ลิตรแทนก็ได โดย ให นํามูลฝอยอินทรีย ประเภทเศษผัก ผลไม เศษอาหารมาหมัก

รวมกันในภาชนะนี้ เพ่ือใหเกิดการยอยสลายเปนปุยหมัก องคกรปกครองสวนทอง ถ่ินอาจสงเสริมและ

สนับสนนุโดยการแจกสารเรงการยอยสลาย (EM) เพ่ือใหเกิดแรงจูงใจแกครัวเรือนท่ี เขารวมโครงการ

สําหรับขยะมูลฝอยท่ีหมัก แลวก็จะเปนปุยสําหรับ การบํารุงตนไม องค กรปกครองสวนทอง ถ่ินอาจมา

รับซ้ือเพ่ือจําหนายตอไป ก็ได แนวคิดนี้หากได ดําเนินการอยางจริงจังและ มีผูรับผิดชอบโดยตรงแลว

จะชวยใหครัวเรือนเห็นความสําคัญของการลดปริมาณขยะมูลฝอย และยังชวยเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ

อีกประการหนึ่งดวย

ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ

1) ทฤษฎีประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (Participatory Theory of Democracy)

สุนีย มัลลิกะมาลย, (2535, น.12-13) กลาวถึงทฤษฎีการมีสวนรวมของ Rousseau วา

(1.1) การมีสวนรวมตองอยูบนพ้ืนฐานของเสรีภาพในการตัดสินใจวาจะเลือกในการมีสวน

รวมหรือไมขอสําคัญคือจะตองไมมีใครเปนนายใคร หรือเปนนายแหงชีวิตใคร

(1.2) กระบวนการมีสวนรวมนั้นจะตองอยูบนพ้ืนฐานความเสมอภาคและความสามารถใน

การพ่ึงพาตนเอง ซ่ึงจะทําใหเกิดความตระหนัก รับรูในความสําคัญของการมีสวนรวมของตนเอง

2) ทฤษฎ ีY ของแมคเกรเกอร (McGregor’s Theory Y)

มุกดา ศรียงค , (2545) กลาววา ทฤษฎี Y ของแมคเกรเกอรมีแนวคิดและหลักการ ดาน

มนุษยสัมพันธ โดยเชื่อวามนุษยเปนผูท่ีชอบสังคมอยูคนเดียวไมไดตองมีความสัมพันธเก่ียวของใน

ระบบสังคมชวยเหลือเก้ือกูลกัน มีการพัฒนาตนเอง มนุษยมักจะรูจักตนเองดีและรูจักขีด

ความสามารถของตนในชุมชน (องคกร) ผูนําตองมีความรูสึกท่ีดีตอประชาชนในชุมชน และควรสราง

บรรยากาศท่ีเอ้ือใหผูปฏิบัติงานมีความรูสึกรับผิดชอบและมีสวนรวมในการดําเนินงานไปสูเปาหมาย

ท้ังท่ีเปนเปาหมายสวนบุคคลและเปาหมายสวนรวม แตละคนมีโอกาสแสดงความสามารถในการ

ปฏิบัติงานของตนเพียงบางสวน ซ่ึงชุมชน (องคกร ) แตละแหงควรใหโอกาสแตละคนไดแสดง

ความสามารถในการปฏิบัติงานใหมากท่ีสุด ถาผูนําสรางบรรยากาศใหคนในชุมชน (องคกร ) เกิด

Page 39: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

43

ความรูสึกรับผิดชอบและมีสวนรวมในงาน มีโอกาสแสดงความสามารถไดเต็มท่ีจะสงผลดีตองานและ

ความรูสึกผูกพันกับชุมชน (องคกร)

3) ทฤษฎีความตองการ (ERG Theory)

Alfred Adler, (อางถึงใน ขนิษฐา วิเศษสาธร และมุกดา ศรียงค , 2537, น.212) กลาววา

ทฤษฎี ERG เปนทฤษฎีการจูงใจทฤษฎีหนึ่งท่ีใหความสําคัญกับความตองการ Alfred Adler ไดแบง

ความตองการของมนุษยไว 3 ประเภท คือ

(3.1) ความตองการในการดํารงชีวิต (Existence Needs)เปนความตองการทางวัตถุและ

สามารถตอบสนองใหพึงพอใจไดโดยมีปจจัยจากสิ่งแวดลอมตางๆ ไดแก อาหาร เครื่องดื่ม รายไดจาก

การทํางาน

(3.2) ความตองการความสัมพันธกับผูอ่ืน(Relatedness Needs)เปนความตองการมีสัมพันธภาพ

กับคนอ่ืนท่ีมีความสําคัญตอตัวเขา ไดแก เพ่ือนรวมงาน ผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชาครอบครัว

และเพ่ือนๆ

(3.3) ความตองการการเจริญเติบโต(Growth Needs)เปนความตองการในการพัฒนาตนเอง

ในดานความสามารถ ความเฉลียวฉลาด ความมีอํานาจในการกระทําอยางใดอยางหนึ่งท่ีมีความสําคัญ

ตอบุคคลอ่ืน

4) ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory)

มุกดา ศรียงค , (2545) กลาวถึงทฤษฎีความคาดหวังของ Vroom วาเปนทฤษฎีท่ีใชในการ

อธิบายกระบวนการจูงใจในคุณคาของการทํางานของมนุษย ท่ีเนนความพยายามและความสามารถ

มักจะเรียกวา VIE Theory มีรายละเอียด ดังนี้

(4.1) V = Valance เปนการสรางความคาดหวังโดยมีแรงดึงดูด ท่ีผูบริหารตองคัดเลือก

บุคคลท่ีมีความสามารถ ตองใหการอบรมพวกเขา ตองใหการสนับสนุนพวกเขาดวยทรัพยากร

ท่ีจําเปนและระบุเปาหมายการทํางานท่ีชัดเจน

(4.2) I = Instrumentality เปนการรับรูในความสัมพันธของผลลัพธ (รางวัล)ท่ีไดเกิดความ

เชื่อมโยงกันระหวางรางวัลกับผลงาน ซ่ึงผูบริหารควรกําหนดความสัมพันธระหวางผลการปฏิบัติงาน

กับรางวัลใหชัดเจนและเนนย้ําในความสัมพันธโดยการใหรางวัลเม่ือบุคคลนั้นมีความสามารถ

จนบรรลุผลสําเร็จในการปฏิบัติงาน

Page 40: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

44

(4.3) E = Expectancy เปนความคาดหวังถึงความเปนไปไดของผลลัพธ (รางวัล)ท่ีตองการ

ท่ีเชื่อมโยงระหวางผลงานกับคุณคาจากผลลัพธท่ีเขาไดรับ ผูบริหารควรทราบถึงความตองการของ

แตละบุคคล และมีความพยายามในการใหรางวัลท่ีสอดคลองกับความตองการของบุคคล เพ่ือใหเขา

รูสึกถึงคุณคาของผลลัพธท่ีเขาไดรับจากความพยายามของเขา

5) ทฤษฎีความขัดแยง (Conflict Theory)

Admin, (2010) กลาวถึงทฤษฎีความขัดแยงของ Lewis A. Coser วาความขัดแยงกอใหเกิด

ท้ังทางบวกและทางลบ และไดอธิบายวาความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของระบวนการขัดเกลาทางสังคม

ไมมีกลุมทางสังคมกลุมใดกลุมหนึ่งท่ีมีความสมานสามัคคีอยางสมบูรณ เพราะความขัดแยงเปนสวน

หนึ่งของมนุษยท้ังในความเกลียดและความรักตางก็มีความขัดแยงท้ังสิ้นความขัดแยงสามารถ

แกปญหาความแตกแยกและทําใหเกิดความสามัคคีภายในกลุมได เพราะในกลุมมีท้ังความเปนมิตร

และความเปนศัตรูอยูปนกัน ความขัดแยงเปนตัวสนับสนุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สามารถ

ทําใหสังคมเปลี่ยนชีวิตความเปนอยูจากดานหนึ่งไปสูดานหนึ่งไดถาหากสมาชิกในสังคมไมมีความพึง

พอใจตอสังคมท่ีเขาอยู เขาจะพยายามทําการเปลี่ยนแปลงสถานการณนั้นๆ ใหเปนไปตามเปาหมาย

ของเขาได นอกจากนี้ความขัดแยงยังสามารถทําใหเกิดการแบงกลุมลดความเปนปรปกษ พัฒนาความ

ซับซอนของโครงสรางในกลุม ท้ังในดานความขัดแยงและความรวมมือ และสรางความแปลกแยกออก

จากกับกลุมตางๆได

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยทําการศึกษาโดยยึดหลักของทฤษฎีประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม

Participatory Theory of Democracy) ทฤษฎี Y ของแมคเกรเกอร (McGregor’s Theory Y)

ทฤษฎี ความตองการ (ERG Theory) ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory) และทฤษฎี

ความขัดแยง (Conflict Theory) เปนการกลาวถึงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนท่ีตั้งอยูบน

พ้ืนฐานของแรงจูงใจ ความตองการ ความคาดหวัง ซ่ึงในแตละสังคมตางก็มีความขัดแยงจะเหมือน

หรือตางกันก็ได ผูนําตองใชหลักเสรีภาพและความสมัครใจ การตัดสินใจในการเขามามีสวนรวมในการ

จัดกิจกรรมของชุมชนใหบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคของโครงการใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

6) ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพ (Efficiency) และ ประสิทธิผล ( Effectiveness) เปนคําท่ีถูกนํามาใชกันอยาง

แพรหลาย จากการประมวลเอกสาร พบวา มีผูใหความหมายเก่ียวกับคําท้ังสอง ไวในความหมายตางๆ

ดังนี้

Page 41: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

45

ความหมายของประสิทธิภาพ Millet, (อางถึงใน แสวง รัตนมงคลมาศ , 2514 : 99) ไดให

ทัศนะเก่ียวกับ ประสิทธิภาพวา ( Efficiency) หมายถึง ผลการปฏิบัติงานท่ีกอเกิดความพึงพอใจ

แกมวลมนุษย และไดรับผลกําไรจากการปฏิบัติงานนั้นดวย ( Human Satisfaction and Benefit

Produced)

Simon, (อางถึงใน แสวง รัตนมงคลมาศ , 2514 : 99) ใหทัศนะเก่ียวกับประสิทธิภาพไว

คลายคลึงกัน คือ ถาพิจารณาวางานใดมีประสิทธิภาพสูงสุดใหดูจากความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา

(Input) กับผลผลิต ( Output) ท่ีไดรับออกมาเพราะฉะนั้น ตามทัศนะนี้ประสิทธิภาพนี้จึงเทากับ

ผลผลิตลบดวยปจจัยนําเขาและถาเปนการบริหาร ราชการและองคกรของรัฐก็ควรบวกความพึงพอใจ

ของผูรับบริการ (Satisfaction) เขาไปดวย ซ่ึงอาจเขียนเปนสูตร ดังนี้

E = (0-1) + S

E = EFFICIENCY คือ ประสิทธิภาพของงาน

0 = OUTPUT คือ ผลผลิตหรืองานท่ีไดรับออกมา

I = INPUT คือ ปจจัยนําเขาหรือทรัพยากรทางการบริหารท่ีใชไป

S = SATISFACTION คือ ความพึงพอใจในผลงานท่ีออกมา

ประสิทธิภาพในวงการธุรกิจ หมายถึง การจัดการท่ีไดรับผลกําไรหรือขาดทุนสําหรับ

การบริหารงานราชการในทางปฏิบัติวัดประสิทธิภาพไดยากมากวิธีวัดประสิทธิภาพ ในวงราชการจึงหมายรวมถึง

ผลการปฏิบัติงานท่ีทําใหเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นประสิทธิภาพในทางราชการจะตองพิจารณาถึง

คุณคาทางสังคมจึงไมจําเปนตองประหยัดหรือมีกําไร เพราะงานบางอยางถาจะทําอยางประหยัด

อาจไมมีประสิทธิภาพก็ได (อุทัย หิรัญโต, 2525 : 123)

ประสิทธิภาพ หมายถึง การมีสมรรถนะสูงสามารถมีระบบการทํางานท่ีกอใหเกิดผลไดสูงสุด

โดยท่ีผลผลิตท่ีมีมูลคาสูงกวาของทรัพยากรท่ีใชไป (ธงชัย สันติวงษ และ ชัยยศ สันติวงษ, 2535 : 314)

ประสิทธิภาพ เปนสิ่งท่ีบงบอกผลงานของคนงาน (ปฏิบัติงาน) ในชวงระยะเวลาหนึ่ง

ซ่ึงใชเปนเครื่องวัดวามีการใชทรัพยากรขององคกรหรือหนวยงานเหมาะสมเพียงไร (วิทยากร เชียงกูล ,

2540 : 173)

ประสิทธิภาพ ถือวาเปนสวนหนึ่งของประสิทธิผล มีความสัมพันธกับประสิทธิผลการวัด

ประสิทธิภาพโดยท่ัวไปจะวัดเปนอัตราสวนของผลผลิตตอปจจัยนําเขาในการผลิตหรือคาใชจายตอ

หนวยและมักเปนเรื่องเศรษฐกิจ เกณฑการวัดประสิทธิภาพแบบนี้ อาจคลาดเคลื่อนไดเพราะไมได

คํานึงถึงดานคุณภาพแตคํานึงถึงปริมาณในรูปของกําไรหรือผลผลิตสูงสุดเพียงดานเดียว ดังนั้น

การวัดประสิทธิภาพจึงตองวัดความแตกตางดานคุณภาพของผลผลิตดวย (จินดาลักษณ วัฒนสินธุ ,

2530 : 70)

Page 42: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

46

ปจจัยในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ

ปจจัยสําคัญในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพนั้น สมยศ นาวีการ ( 2544 : 14) กลาววา

มีปจจัย 7 ประการท่ีมีอิทธิพลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในองคการ คือ

1. กลยุทธ (Strategy) คือ กลยุทธเก่ียวกับการกําหนดภารกิจการพิจารณาจุดออน จุดแข็ง

ภายในองคการ โอกาส และอุปสรรคภายนอก

2. โครงสราง (Structures) โครงสรางขององคการท่ีเหมาะสมจะชวยในการปฏิบัติงาน

3. ระบบ (Systems) ระบบขององคการท่ีจะบรรลุเปาหมาย

4. แบบ (Styles) แบบของการบริหารเพ่ือบรรลุเปาหมายขององคการ

5. บุคลากร (Staff) ผูรวมองคการ

6. ความสามารถ (Skill)

7. คานิยม (Shared Values) คานิยมรวมของคนในองคการ

7) ทฤษฎีความคาดหวังของ Victor H. Vroom

Vroom ไดพัฒนาทฤษฎีการจูงใจแบบกระบวนการท่ีเรียกวา ทฤษฎีความคาดหวังข้ึนมา

ปจจัยหลักของทฤษฎีของ Vroom คือ ความคาดหวัง ความพอใจ ผลลัพธ และสื่อกลาง ตามทฤษฎี

ของ Vroom แรงจูงใจ คือ ผลรวมของความพอใจกับความหมายท่ีคิดไวแสดงในรูปสมการ ดังนี้

แรงจูงใจ = ผลของความพึงพอใจ + ความคาดหมาย

ซ่ึงหมายถึง แรงจูงใจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งตอการกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน ตอการประเมินผลงาน

ขององคกรท่ีเก่ียวของกับชีวิตความเปนอยูของตน หรือแรงจูงใจท่ีบุคคลจะเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม

ขององคกรใด จะเปนผลท่ีเกิดจากทัศนคติองคกรหรือการทํางานขององคกรนั้นรวมกัน ความคาดหวัง

ท่ีเขาคาดหมายไวถามีทัศนคติท่ีดีตอองคกร ตอผลงานขององคกร และไดรับการตอบสนองท้ังรูปธรรม

และนามธรรมเปนไปตามท่ีคาดหมายไว แรงจูงใจท่ีจะมีความรูสึกพึงพอใจก็จะสูง แตในทางกลับกัน

ถามีทัศนคติในเชิงลบตองานและการตอบสนองไมเปนไปตามท่ีคาดหมาย แรงจูงใจท่ีจะมีความรูสึก

พึงพอใจต่ําไปดวย (Vroom H. Victor, อางถึงใน ณัฏฐพันธ เขจรนันทน, 2551 : 90)

สรุปไดวา ความพึงพอใจของประชาชนข้ึนอยูกับการไดรับการตอบสนองความตองการหรือ

ความคาดหวังท่ีตั้งไวมากนอยเพียงใด เม่ือความคาดหวังของประชาชนไดรับการตอบสนองมากก็จะ

เกิดความพึงพอใจสงผลตอทัศนคติท่ีดี แตเม่ือใดท่ีความคาดหวังของประชาชนไมไดรับการตอบสนอง

ก็จะเกิดความรูสึกไมพึงพอใจดวยเชนกัน

แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ ( Satisfaction) เปนทัศนคติท่ีเปนนามธรรมไมสามารถมองเห็นเปนรูปราง

การท่ีเราจะทราบวาบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม สามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่ีคอนขาง

สลับซับซอน จึงเปนการยากท่ีจะวัดความพึงพอใจโดยตรง แตสามารถวัดไดโดยทางออม โดยการวัด

Page 43: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

47

ความคิดเห็นของบุคคลเหลานั้น และการแสดงความคิดเห็นนั้นจะตองตรงกับความรูสึกท่ีแทจริง

จึงสามารถวัดความพึงพอใจนั้นได

ราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายวา “ความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ” (ราชบัณฑิตยสถาน,

2546 : 775)

สุนีย ธีรดากร, 2543 : 153 ไดใหความหมายวา “ความพึงพอใจ เปนทัศนคติท่ีเปนนามธรรม

เปนสภาพจิตใจท่ีเกิดจากประสบการณ อันทําใหบุคคลมีทาทีตอสิ่งหนึ่งในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง

อาจแสดงทาทีออกมาในทางท่ีพอใจ เห็นดวย หรือไมพอใจ ไมเห็นดวยก็ได”

สภาพพ้ืนท่ีท่ีศึกษา

บานปนเตา ตําบลแมสัน อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง เปนหนวยปกครองสวนทองท่ี

ท่ีข้ึนตรงตอตําบลแมสัน โดยเปนหมูบานลําดับท่ี 7 และข้ึนตรงตอท่ีทําการปกครองอําเภอหางฉัตร

จังหวัดปาง และอยูในพ้ืนท่ีรับผิดชอบการบริหารราชการสวนทองถ่ินขององคการบริหารสวนตําบล

แมสัน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองคการบริหารสวนตําบล ลงวันท่ี 16 ธันวาคม 2539

อยูในการกํากับดูแลของนายอําเภอหางฉัตร ผูวาราชการจังหวัดลําปาง และกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจ

อํานานหนาท่ีภายใตระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของ

1.สภาพท่ัวไป

1.1 ท่ีตั้ง

บานปนเตา เปนหมูบานท่ี 7 ของตําบลแมสัน อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง อยูหางจาก

ท่ีวาการอําเภอหางฉัตร ประมาณ 10 กิโลเมตร

1.2 เนื้อท่ี

มีพ้ืนท่ีประมาณ 18.2 ตารางกิโลเมตร

1.3 ภูมิประเทศ

ลักษณะพ้ืนท่ีสวนใหญเปนภูเขาและเนินเขา ติดกับ อุทยานแหงชาติปาแมยาว และมีท่ีราบ

เชิงเขาซ่ึงเปนพ้ืนท่ีในการเกษตร มีความลาดเอียงจากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงเปนภูเขาสูง

ลงสูทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศใตซ่ึงเปนท่ีลาบลุม มีอาณาเขตติดตอกับตําบลและอําเภอขางเคียง

ดังนี้

- ทิศเหนือ ติดตอกับพ้ืนท่ี ตําบลเวียงตาล อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

- ทิศใต ติดตอกับพ้ืนท่ี ตําบลเมืองยาว อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

- ทิศตะวันออก ติดตอกับพ้ืนท่ี ตําบลใหมพัฒนา เกาะคา จังหวัดลําปาง

Page 44: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

48

- ทิศตะวันตก ติดตอกับพ้ืนท่ี ตําบลเวียงตาล อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

1.4 จํานวนประชากรและจํานวนครัวเรือน

จํานวนประชากร รวมท้ังสิ้น 454 คน โดยแยกเปน ชาย 221 คน หญิง 233 คน มีจํานวน

ครัวเรือน 203 ครัวเรือน

2. สภาพทางเศรษฐกิจ

2.1 อาชีพ

ประชากรในตําบลแมสัน โดยเฉพาะบานปนเตา สวนใหญมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ทํานา ทําสวน รับจาง เปนอาชีพหลัก สวนอาชีพรองไดแก อาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม

ในตําบล หรือในอําเภอหรือจังหวัด และอาชีพคาขาย

- การทํานาขาว เพ่ือการบริโภค และเพ่ือการจําหนาย

- คุณภาพของดิน เปนดินรวนปนดินเหนียวเหมาะสมในการปลูกขาว ปลูกผัก มะมวง

มะขาม ลําไย หญาเลี้ยงสัตว

- แหลงน้ําท่ีใชในการเพาะปลูก คือ หวยแมยาว หวยแมสัน อางเก็บน้ําแมไพร อางเก็บน้ํา

แมสัน และ อางเก็บน้ําแมยาว

- หนวยธุรกิจบานปนเตา ไดแก ศูนยสาธิตการตลาด 1 แหง ปมน้ํามันแบบ อัตโนมัติ

1 แหง รานคาของเกา 1 แหง โรงสีขาว 1 แหง รานขายของเบ็ดเตล็ด 5 แหง

3. สภาพทางสังคม

3.1 การศึกษา

- โรงเรยีนประถมศึกษา 1 แหง

1. โรงเรียนบานปนเตา

- ท่ีอานหนังสือพิมพประจําหมูบาน 1 แหง

- ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก - แหง

- หอกระจายขาวในหมูบานและเสียงตามสาย 1 แหง

3.2 สถาบันและองคการทางศาสนา

- วัด/สํานักสงฆ มีจํานวน 2 แหง คือ

1. วัดบานปนเตา

2. สํานักสงฆปาชาบานปนเตา

Page 45: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

49

3.3 การสาธารณสุข

- ศูนยสาธารณสุขมูลฐานหมูบาน 6 แหง

- อัตราการมีและใชสวมราดน้ํา 100 เปอรเซ็นต

3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

- สายตรวจชมุชน 1 แหง

4. การบริการพ้ืนฐาน

4.1 การคมนาคม

- การคมนาคมและขนสง ระหวางตําบล หมูบาน มีถนนลาดยางใชสัญจร ใชจักรยานยนต

หรือรถยนตในการเดินทางไดอยางท่ัวถึง และประชาชนสัญจรไดสะดวกทุกฤดูกาล

- การติดตอระหวางหมูบานในตําบล ทุกหมูบานมีถนนท่ีใชในการคมนาคมในทุกฤดูกาล

ประชาชนสัญจรไดสะดวก

4.2 การโทรคมนาคม

- โทรศัพทสาธารณะ 11 แหง

4.3 ระบบประปา

- ประปาหมูบาน 1 แหง

4.4 ระบบไฟฟา

- มีไฟฟาใชครบทุกครัวเรือน 100 เปอรเซ็นต

4.5 แหลงน้ําธรรมชาติ

- แมน้ํา 1 แหง

- ลําคลอง 5 แหง

- หวย 9 แหง

- หนอง 2 แหง

4.5 แหลงน้ําท่ีสรางข้ึน

- ฝาย 1 แหง

- อางเก็บน้ํา 2 แหง

- บอบาดาลสาธารณะ 1 แหง

- บอน้ําสาธารณะ 1 แหง

Page 46: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

50

- บอน้ําตื้น 201 แหง

5. จุดเดนของพ้ืนท่ี

- ตําบลแมสันมีสภาพทางกายภาพ สวนใหญเปนภูเขาและเนินเขา โดยมีพ้ืนท่ีติดกับ

อุทยานแหงชาติปาแมยาวท่ีราบเชิงเขา ใชในการเกษตรกรรม

- แหลงน้ําธรรมชาติ คือ หวยแมสัน และ หวยแมยาว ซ่ึงแหลงน้ําเหลานี้สามารถนํามาใช

ประโยชนในดานการเกษตรกรรมได แตไมเพียงพอตลอดป เพราะในฤดูแลงจะประสบปญหาการขาด

แคลนน้ําและสภาพตื้นเขิน

- ตําบลแมสันมีการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมพ้ืนบานอยางเหนียวแนน

- ตําบลแมสันมีแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติท่ีสําคัญคือ อางเก็บน้ําแมสัน และอางเก็บน้ํา

แมยาว

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

วิภาเพ็ญ เจียสกุล (2536 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ

ประชาชนในเขตพ้ืนท่ีชั้นกลางของกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ประชาชนในครัวเรือนมี

พฤติกรรมการจัดการขยะ มูลฝอยพึงประสงครอยละ 44.0 โดยมีการท้ิงขยะแบบแยกประเภทเปน

ขยะเปยกและขยะแหงรอยละ 39.5 และมีการแยกประเภทกระดาษออกจากขยะมูลฝอยอ่ืน เพ่ือ

จําหนายและนํากลับมาใชอีก ประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาสูงมีรายไดสูงมีท่ีอยูอาศัยแบบบานเดี่ยว มี

อาชีพรับราชการมีการรับรูสถานการณปญหาขยะมูลฝอยระดับมากจะมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูล

ฝอยดีกวาประชาชนท่ีมีการศึกษาระดับต่ํากวา มีรายไดต่ํากวามีท่ีอยูอาศัยแบบอ่ืน มีอาชีพอ่ืนและมี

การรับรูสถานการณปญหาขยะมูลฝอยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ในขณะท่ีประชาชนท่ีมี

ความรู เก่ียวกับขยะมูลฝอยแตกตางกัน มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยไมแตกตางกัน เม่ือแยก

พิจารณาเฉพาะ พฤติกรรมการท้ิงขยะ พบวาประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาสูงจะมีพฤติกรรมการท้ิง

ขยะ ดีกวาประชาชนท่ีมีการศึกษาระดับต่ํากวาอยางมีนัยสํา คัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สวนประชาชน

ท่ีมีรายได ลักษณะท่ีอยูอาศัย อาชีพ ความรูเก่ียวกับขยะมูลฝอยและการรับรูสถานการณปญหาขยะ

มูลฝอยแตกตางกัน มีพฤติกรรมการท้ิงขยะไมแตกตางกัน

วิรัช ชมชื่น (2537 : บทคัดยอ) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนใน

เขตเทศบาลเมืองนครปฐม ผลการศึกษา พบวาปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

Page 47: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

51

ของประชาชน ไดแกจํานวนสมาชิกในครัวเรือน รายไดเฉลี่ยตอเดือน การรับรูขาวสารและความรู

เก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธเชิงบวกตอพฤติกรรมการจัดการขยะสวนระยะเวลาท่ี

อยูอาศัยมีความสัมพันธเชิงลบตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย และปญหาในการกําจัดขยะมูล

ฝอยประเภทเศษอาหาร เศษผัก เปลือกไม สวนขยะมูลฝอย

ประเภทขวดแกว กระปอง ไมมีการแยกประเภทกําจัดโดยการท้ิงรวมกับขยะชนิดอ่ืนในถังใบเดียวกัน

จินตนา เปยสวน (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาความรู ความตระหนัก และการปฏิบัติตัวของ

แมบานเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในแฟลตขาราชการกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา

พบวา พฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของกลุมแมบานในแฟลตขาราชการกองทัพบกสวนกลาง มีการ

แยกประเภทมูลฝอย โดยการแยกมูลฝอยเศษอาหารดวยการใสถุงพลาสติก และมูลฝอยอ่ืนๆ ใสถังถึง

รอยละ 33.40 แยกประเภทถังท่ีเก็บมูลฝอยเปนถังมูลฝอยสดและถังมูลฝอยแหง รอยละ 25.90

สําหรับแมบานท่ีแยกมูลฝอยออกเปนมูลฝอยสด มูลฝอยแหง และมูลฝอยอันตราย มีรอยละ 1.90

แตแมบานท่ียังไมไดแยกประเภทมูลฝอย ยังคงมีสูงรอยละ 36.60

สมศักดิ์ จันทวัฒนา และคณะ (2541 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาการจัดการการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมในการท้ิงขยะของครัวเรือน “กรณีศึกษาหมูบานอาคเนยนิเวศน” ในเขตบางซ่ือ กรุงเทพมหานคร

ผลการศึกษา พบวา ประชากรในหมูบานอาคเนยนิเวศน มีความรูความเขาใจในประเภทและการแยก

ขยะมูลฝอยมากข้ึน อีกท้ังจากการประเมินและการวัดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจริงท่ีกรุงเทพมหานคร

จัดเก็บจากหมูบานอาคเนยนิเวศนมีน้ําหนักลดลง เฉลี่ยรอยละ 15-20 แสดงวา พฤติกรรมการท้ิงขยะ

ของประชาชนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงหลังจากมีการติดตามอยางตอเนื่อง ประชากรในหมูบานอาคเนย

นิเวศนใหความสนใจและใหความรวมมือเปนอยางดี จะเห็นไดวาการจัดการเปนสิ่งสําคัญและมีผลตอ

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแยกขยะของครัวเรือนอยางชัดเจน

นิรมล เทียนชัย (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการท้ิง การเก็บรวบรวม การกําจัดมูลฝอยของ

ครัวเรือน และการจัดการมูลฝอยของสุขาภิบาล ตําบลคลองใหญ จังหวัดตราด ผลการศึกษา พบวา

การเกิดขยะมูลฝอยในครัวเรือนสวนใหญเกิดจากการประกอบอาหารรอยละ 83.40 และมูลฝอยพวก

พลาสติกรอยละ 6.50 พฤติกรรมการท้ิงขยะมูลฝอยไมมีการแยกท้ิงลงในถังรอยละ 38.50 ถังมูลฝอย

ท่ีใชไมมีฝาปดมีขนาด 20.50 ลิตร การกําจัดขยะมูลฝอยโดยการนําไปท้ิงในถังขยะมูลฝอยสาธารณะ

ของสุขาภิบาล ตําบลคลองใหญรอยละ 54.30 ถังขยะมูลฝอยสาธารณะมีไมเพียงพอและการกําจัดมูล

ฝอยไมถูกหลักสุขาภิบาล พฤติกรรมการท้ิง การเก็บรวบรวม และการกําจัดมูลฝอยมีความสัมพันธกัน

Page 48: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

52

และความรูเก่ียวกับการจัดการมูลฝอยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการท้ิง การเก็บรวบรวม และการ

กําจัดมูลฝอยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

กษมา จิตตไทย (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาแนวทางกําหนดจุดขนถายเพ่ือการจัดการขยะ

มูลฝอยในเขตเทศบาลเมืองปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พบวา ถนนแคบ สภาพพ้ืนผิวจราจรไมได

มาตรฐานท่ีจะรองรับการขนถาย ในบางพ้ืนท่ีไมสัมพันธกับขนาดของรถเก็บขยะมูลฝอยทําใหไม

สามารถเขาไปเก็บขนขยะมูลฝอยภายในพ้ืนท่ีดังกลาวได

ชัชกูล รัตนวิบูลย (2543 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ

ประชาชนในชุมชนเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ประชาชนในชุมชนเขตสาย

ไหมท่ีมีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ระยะเวลา ท่ีอยูอาศัยในชุมชน และรายไดเฉลี่ยในครอบครัวตอ

เดือนแตกตางกัน มีความสัมพันธ กับ พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ยกเวนปจจัยดานเพศ จํานวนสมาชิกในครัวเรือนของแตละครอบครัว สื่อตางๆ

และประเภทชุมชนท่ีพักอาศัยไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย และประชาชนท่ี

มีความรูความเขาใจเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกันมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ

จัดการขยะมูลฝอยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

สุนีย มัลลิกะมาลย และนันทพล กาญจนวัฒน ( 2543 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาการมีสวนรวม

ของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน พบวา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน

ปญหาขยะนํามาซ่ึงผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพอนามัย ความเปนอยูท่ีดี คุณภาพท่ีดีของประชาชน

และสิ่งแวดลอม โดยมีสาเหตุสําคัญมาจากผลพวงการบริโภคของประชาชน ทําใหปริมาณขยะเพ่ิม

มากข้ึนจนเกินขีดความสามารถของราชการสวนทองถ่ิน ท่ีจะกําจัดใหหมดไปได ปญหาจึงสะสม

จนถึงปจจุบัน แตอยางไรก็ตามปญหานี้จะไดรับการแกไขดวยวิธีการตางๆ และหนึ่งในวิธีการนั้นก็คือ

การลดปริมาณขยะดวยการใหผูท้ิงขยะคัดแยกขยะกอนท้ิง ขยะสวนหนึ่งท่ีคัดแยกจะเปนขยะมีมูลคา

นําไป reuse หรือ recycle ได ขยะสวนหนึ่งนําไปทําเปนปุยหมักได จึงคงเหลือสวนท่ีจะท้ิงนอยลง

การคัดแยกขยะจําเปนตองใหประชาชนผูท้ิงขยะยอมรับวิธีการคัดแยกและยอมปฏิบัติตาม นั้นคือ

การใหประชาชนมีสวนรวมในการคัดแยกขยะกอนท้ิง ซ่ึงการวิจัยนี้ พบวามีแนวทางในการดําเนินการ

ได 2 แนวทาง คือ การใชกลไกทางการศึกษา โดยใหนักเรียนและครูเปนผูมีสวนรวมในการคัดแยก

ขยะ ภายใตโครงการการคัดแยกขยะ ดวยการใหนักเรียนแยกขยะมาจากบานและนําขยะมีมูลคา เชน

กระดาษ ขวดแกว มาโรงเรียนเพ่ือรวบรวมขายยังรานขายของเกา ขยะมีมูลคาบางประเภท ครูก็จะ

Page 49: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

53

สอนใหนํามาแปลงใชใหมโดยใชวิธีการงายๆ เชน กระดาษทําเปนโคมไฟ พลาสติกทําเปนดอกไม เปน

ตน สําหรับขยะท่ีขายนั้น นักเรียนเจาของขยะไดรับสิ่งตอบแทนเปน คะแนนความดี และสะสมไวใน

ธนาคารเรียกวาธนาคารความดี เพ่ือจะไดเอาไปแลกเปลี่ยนเปนสิ่งของภายหลัง อีกลักษณะหนึ่งของ

กลไกทางการศึกษา นี่คือโครงการ 3 พลังรวมใจรีไซเคิล มีวิธีการ คือ ใหนักเรียนคัดแยกขยะ ท่ีบาน

และโรงเรียนตามประเภทท่ีกําหนดให และนําขยะมีมูลคามามอบโรงเรียนเพ่ือนําไปขายเอาเงินไวใช

ในกิจกรรมตางๆของโรงเรียน แลวขยายผลการคัดแยกขยะไปสูชุมชนดวยการหาสมาชิกคัดแยกขยะ

เพ่ิมโดยเริ่มจากนักเรียน ครูในโรงเรียน และชุมชน การใชกลไกทางชุมชน โดยใชการรณรงค

ประชาสัมพันธ และใหความรูแกคนในชุมชนใหทําการคัดแยกขยะอยางตอเนื่อง โดยราชการสวน

ทองถ่ินสนับสนุนการคัดแยกขยะดวยการจัดหาอุปกรณจัดเก็บขยะและเก็บขนขยะใหถูกประเภทท่ีได

คัดแยกไว จากการวิจัยสรุปผลไดวา การคัดแยกขยะกอนท้ิงสามารถลดปริมาณขยะลงไปได ซ่ึงชวย

แกไขปญหาขยะ ท้ังนี้การมีสวนรวมของประชาชน ครูชุมชน นักเรียน เปนปจจัยสําคัญท่ีกอใหเกิด

ประสิทธิผล

สุภาพร เนียมหอม (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาประชาคมเมืองกับการจัดการขยะมูลฝอย :

ศึกษาเฉพาะกรณีเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ประชาคมเมืองท่ีอาศัยอยูใน

หมูบานสกุลทิพย มีอายุ 31 - 50 ป อาชีพรับราชการและพนักงานบริษัท การศึกษาระดับปริญญาตรี

ท้ังเพศชายและเพศหญิงมีจิตสํานึกและการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยอยูในระดับท่ีนาพอใจ

ท่ีตองการใหชุมชนและสังคมเมืองมีความสะอาดข้ึน

รวิกานต แสนไชย (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการแบบ

ยั่งยืน : กรณีศึกษาธนาคารขยะชุมชนวัดกลาง เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร พบวา รูปแบบการ

จัดการธนาคารขยะชุมชนวัดกลาง เปนการใชการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชนเพ่ือแกไขปญหาขยะ

ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนเปนการจัดการแบบยั่งยืน เพราะมีความสัมพันธกันระหวางสังคม เศรษฐกิจ และ

สิ่งแวดลอม สําหรับการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชนจะตองเกิดจากความสมัครใจเริ่มตั้งแตข้ันตอน

คิดริเริ่มคนหาปญหาและหาสาเหตุของปญหาของชุมชน วางแผนดําเนินกิจกรรมลงทุนและปฏิบัติงาน

และติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ปจจัยท่ีทําใหสมาชิกในชุมชนวัดกลางเขามามีสวนรวมใน

โครงการธนาคารขยะมี 11 ประการ คือ รูปแบบของโครงการการประชาสัมพันธ สื่อมวลชน ความ

พรอมของประชาชนในชุมชนการสนับสนุนจากภายนอก ผูบริหารโครงการ ความเขมแข็งของชุมชน

ความตองการแกไขปญหาของชุมชน ผลประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ความตองการการยอมรับจาก

Page 50: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

54

สังคมและความตองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไวใหชนรุนหนา สวนรูปแบบการดําเนินงานของ

ธนาคารขยะชุมชนวัดกลาง เปนกลยุทธหนึ่งของการจัดการขยะมูลฝอยท่ีดีและเหมาะสมสําหรับ

ชุมชนในระดับทองถ่ินท้ังในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด

วัชรี คลธา (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมของแมบานในเขตเทศบาล

เมืองวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษา พบวา กลุมแมบานสวนใหญมีอายุ 36-51 ป

การศึกษาระดับประถมศึกษา รายได 1,000 - 10,000 บาท และอาชีพแมบาน ไดรับขอมูลขาวสาร

ดานการกําจัดขยะมูลฝอยจากโทรทัศน ใชวิธีการนําขยะไปท้ิงในถังขยะของเทศบาล มีการเก็บทุกวัน

มีความรูเก่ียวกับการกําจัดขยะในระดับคอนขางสูง มีความคิดเห็นตอการกําจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกหลัก

สุขาภิบาลในระดับปานกลาง และมีพฤติกรรมท่ีถูกตองในระดับปานกลาง ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรม

ไดแก ระดับความรูเก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอย ปญหาและอุปสรรค พบวา มีปญหาเรื่องเวลาในการ

เก็บขยะของรถเก็บขยะเทศบาล ในบางพ้ืนท่ีท้ิงชวงหลายวันทําใหมีขยะตกคางกอใหเกิดกลิ่นเหม็น

รบกวนและเปนบอเกิดของเชื้อโรค เจาหนาท่ีเก็บขนขยะใชเวลาในการเก็บขยะอยางรวดเร็วจึงเก็บ

ขยะไมหมดและตกเรี่ยราดเกิดความสกปรก แมบานขาดความรูเก่ียวกับการแยกขยะมูลฝอยกอน

นําไปท้ิงถังขยะมีไมเพียงพอและมีขนาดบรรจุนอยเกินไปขอเสนอแนะในการกําจัดขยะมูลฝอยให

เทศบาล ควรมีการรณรงคใหความรูในเรื่องการแยกขยะ การกําจัดขยะมูลฝอยแกประชาชนใหมาก

ข้ึน ควรเพ่ิมจํานวนถังขยะใหเพียงพอ ควรแยกถังขยะแตละประเภท และจัดท่ีสําหรับท้ิงขยะอันตราย

พรอมกับติดปายบอกไวอยางชัดเจน

เกียรติพงษ ศรีสวาง (2545 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาการนํากลับมาใชใหมของขยะมูลฝอย

ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พบวา การจัดการขยะมูลฝอยในปจจุบันไมมีการคัดแยก

องคประกอบท้ิงรวมลง ในถังท่ีตั้งไวเปนจุดๆ มีรถเก็บขยะมูลฝอย การกําจัดในข้ันสุดทายใชวิธี

ฝงกลบ องคประกอบของขยะมูลฝอยท่ีมีมาก 5 อันดับแรก คือ เศษอาหารรอยละ 56.29 พลาสติก

รอยละ 16.09 กระดาษรอยละ 10.93 แกวรอยละ 5.26 และเศษไม/ใบไม รอยละ 3.45 การวิเคราะห

ประสิทธิภาพโครงการแยกขยะมูลฝอย พบวา ในกลุมหอพักบุคลากรมีอัตราการนํากลับคืนสูงกวา

กลุมอ่ืน สวนการวิเคราะหทางการเงินของขยะมูลฝอยท่ีสามารถนํากลับมา ใชใหมไดประมาณรายได

จากการขายขยะมูลฝอยท่ีนํากลับมาใชใหมไดในชวงท่ีดําเนินโครงการ คือ 858 บาท และผลการ

ทดสอบแนวทางการวางถังแยกขยะมูลฝอยมี ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ในกรณีของการแยกพลาสติกในกลุมหอพักบุคลากร

Page 51: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

55

ณัฐรดี คงดั่น (2546 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน

ในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ประชาชนสวนใหญมีความรูเก่ียวกับการจัดการ

ขยะมูลฝอย การรับรูขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย และการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูล

ฝอย อยูในระดับดี สวนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนโดยรวมอยูในระดับดี เม่ือ

พิจารณาในแตละดาน พบวา ประชาชนสวนใหญมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการลดการ

เกิดขยะ อยูในระดับปานกลาง และมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการนํากลับมาใชใหมและ

การคัดแยกประเภทขยะอยูในระดับดีปจจัยสวนบุคคลท่ีมีตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวม

ไดแก ระดับการศึกษา พบวา ประชาชนท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีพฤติกรรมการจัดการขยะ

มูลฝอยโดยรวมดีกวาประชาชนท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปท่ี 6 หรือเทียบเทา เม่ือพิจารณาใน

แตละดาน พบวา ปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการลดการเกิดขยะ

คือ ระดับการ ศึกษาและจํานวนสมาชิกในครัวเรือน ปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยดานการคัด แยกประเภทขยะ คือ ระดับการศึกษา รายไดในครัวเรือนตอเดือน และการมี

สวนรวม ในการจัดการขยะมูลฝอย สวนดานการนํากลับมาใชใหม ไมมีปจจัยสวนบุคคลใดมีอิทธิ พล

ตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยสวนปจจัยกระตุนท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

ดานการคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย คือ การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย สวนปจจัยกระตุน

อ่ืนๆไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวม

ยุพิน ระพิพันธุ (2544 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องความรู ทัศนคติ และการจัดการท่ีสงผลตอการ

มีสวนรวมของชุมชนในการ จําแนกประเภทขยะมูลฝอยท่ี ใช ในชีวิตประจําวันกอน ท้ิงในเขตเทศบาล

เมืองพนัสนิคมในจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา ความรูเก่ียวกับขยะ

มูลฝอย ระยะเวลาท่ีอยูในชุมชนมีผลตอการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย เชนเดียวกับนพรัตน

ใจผอง (2544) ศึกษาเรื่อง “การจัดการขยะมูลฝอย เจาหนาท่ีมีความรูในการจดัการขยะมูลฝอย

และการปฏิบัติเพ่ือการจัดการ ขยะอยางถูก วิธี และนฤเทพ สิทธิชาญคุณะ (2541) ไดทําการศึกษา

เรื่องการมีสวนรวมของประชาชนในการ กําจัด ขยะมูลฝอย กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร พบวา

ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครมีสวนรวมในการกําจัดขยะมูลฝอยในระดับปานกลาง รอยละ 71.2

จากการวิเคราะหหาความสัมพันธ พบา ท่ีอยู อาศัย อาชีพ การศึกษา การรับรู ขาวสารเก่ียวกับขยะมูล

ฝอย จิตสํานึกตอการมีสวนรวมความรูความเขาใจเรื่องขยะมูลฝอย ทัศนะตอพนักงาน เก็บขยะไมมี

ผลตอการมีสวนรวมของประชาชนตอการกําจัดขยะมูลฝอย

ยุวมาลย ทวีวัลย (2540) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการและความตระหนักของประชาชนในหมู

บานจัดสรรท่ี มีตอปญหา ขยะมูลฝอย ศึกษากรณี อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ผลการศึกษา

พบวา การกําจัดขยะเปยก โดยการท้ิงรวมกับขยะประเภทอ่ืนและขยะอันตราย ไดแก ถานไฟฉาย

Page 52: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

56

แบตเตอรี่ รถยนต หลอดไฟ ถูก กําจัดโดยการท้ิงรวมกับขยะอ่ืน เนื่องจาก กลุมตัวอยาง มีความรูความ

เขาใจเก่ียวกับปญหา เก่ียวกับขยะมูลฝอยในระดับดี

ชัยยุทธ โยธามาตย (2539) ศึกษาเรื่อง “การมีสวนรวมของประชาชนในการ กําจัดขยะมูล

ฝอย ศึกษาเฉพาะกรณีเขตเทศบาล ตําบลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ” ผลการศึกษา พบวา

ระดับการศึกษา รายได การ เปนสมาชิกกลุมทาง สังคมความรู ความเขาใจในเรื่องขยะมูลฝอย และ

ความคิดเห็นตอปญหาขยะมูลฝอยมีความสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมของประชาชนในการ กําจัด

ขยะมูลฝอย

จินตนา เปยสวน (2540) ศึกษาเรื่อง ความรูความตระหนักตนของ แมบาน เก่ียวกับการ

จัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน แฟลตขาราชการกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา พฤติกรรม

การคัดแยกขยะมูลฝอยมีสูง โดยแยกตามประเภทของถังเก็บชนิดตางๆ

การคัดแยกขยะจําเปนตองมีรูปแบบท่ีชัดเจน ซ่ึง รังสรรค ปนทอง (2534 : 6) ไดจําแนก

รูปแบบการคัดแยกขยะจากการใชประโยชนขยะ 5 ลักษณะ คือ

1) การใช ประโยชนจากขยะโดยเจาของเคหะสถาน ไดแก ขวดแกว หนังสือ พิมพ กระดาษ

ภาชนะพลาสติกชํารุด เศษโลหะ ยางรถยนต เปนตน

2) การใชประโยชนจากขยะโดยเจา ของรานอาหารหรือภัตตาคาร สวน ใหญเปนขยะสดหรือ

ขยะเศษอาหารและขวดแกว

3) การใชประโยชนจากขยะโดยเจาหนาท่ีท่ีเก็บขนขยะ ไดแก ขวดแกว พลาสตกิ โลหะ

4) การใชประโยชนจากขยะโดยผูคนหาจากกองขยะ ไดแก ขวดแกว กระดาษ พลาสติก

โลหะ หนัง ยาง

(5) การใชประโยชนจากขยะโดยโรงงานหมักทําปุยกรุงเทพมหานคร ไดแก ขยะผสมท่ีมี

พืชผักผลไมหรือเศษอาหารเจือปนในอัตราท่ีสูง

กรอบแนวคิดของการวิจัย

เพ่ือใหการศึกษาวิจัยครั้งนี้ปรากฏภาพท่ีชัดเจนยิ่งข้ึน โดยจะแสดงถึงความสัมพันธระหวาง

ตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ดังนี้

1. ตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ ไดแก การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของบานปนเตา ตําบล

แมสัน อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

Page 53: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ ...it.nation.ac.th/studentresearch/files/56033310521662.pdf · 2016. 11. 7. · 8 เป น เศษสิ่งของที่ทิ้งแล

57

2. ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิใ์นการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของบานปนเตา ตําบลแมสัน

อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

จากการศึกษาองคความรูท่ีเก่ียวของกับงานวิจัย การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี

และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับ ผลสัมฤทธิ์ ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของบานปนเตา ตําบลแมสัน

อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง ผูศึกษาไดกรอบแนวคิดของการวิจัย ดังนี ้

ตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัยเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของบานปนเตา

ตําบลแมสัน อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย

ของบานปนเตา ตําบลแมสัน

อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

ผลสัมฤทธิ์ของการ

บริหารจัดการขยะ

มูลฝอยของบานปนเตา

ตําบลแมสัน

อําเภอหางฉัตร

จังหวัดลําปาง

ปญหาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับ

การบริหารจดัการขยะมูลฝอยของ

บานปนเตา ตําบลแมสัน

อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง

สถานภาพท่ัวไป

- เพศ

- อายุ

- การศึกษา

- อาชีพ

- รายไดตอเดือน

- ปริมาณขยะตอ

ครัวเรือน