ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส...

29
ตอนที1 การนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ที่มาและความสําคัญของการสังเกตการสอน เปาหมายการปฏิรูปการศึกในทศวรรษที่สอง (.. 2552-2561) มุงเนนการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูและการสงเสริมการมีสวนรวม ของทุกภาคสวน ทั้งนี้เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ไมวาจะอยางไรก็ตาม คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเปนสิ่งสําคัญที่ทุกฝายที่มีสวนรวมในการจัดการศึกษาตองตระหนัก และดําเนินการจนบรรลุผลในที่สุด ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเปนกลไกสําคัญที่จะชวยใน การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของคนไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสอดรับกับ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ใหเชื่อมโยงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พุทธศักราช 2553 ขอ 5 ใหสถานศึกษาดําเนินการประกันคุณภาพภายในอยางตอเนื่องเปนประจําทุกปโดยเนนผูเรียน เปนสําคัญ และในการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษามัธยมศึกษา ประจําปการศึกษา 2557 ดานระบบการเรียนรูกําหนดใหครูตองไดรับการสังเกตการสอนและนิเทศการสอนในชั้นเรียน อยาง นอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง ซึ่งการดําเนินการดังกลาวจะประสบผลสําเร็จไดนั้นครูถือเปนปจจัยสําคัญ เนื่องจากครูเปนผูนําหลักสูตรสูการปฏิบัติจริงในชั้นเรียนและการจัดการเรียนรูในหองเรียนขึ้นอยูกับ ความรู ความสามารถ ประสบการณและเทคนิควิธีการของครูแตละคน โดยลักษณะที่แทจริงของ การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการที่ยุงยากซับซอนและตองการพัฒนาปรับปรุงใหดียิ่ง ๆ ขึ้น อยาง ตอเนื่องและเปนระบบ ถึงแมวาครูสวนใหญจะมีความรู และประสบการณทําการสอนมานานแลว ก็ตาม แตสภาวะของสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหเกิดองคความรูใหมที่มามีสวนเกี่ยวของกับคนในสังคม โลก ดังนั้นครูในฐานะที่เปนผูพัฒนาคน จึงตองพัฒนาตนเองใหทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อนําองคความรูไปจัดการเรียนรูใหกาวหนาและทันสมัยอยูเสมอ การพัฒนาพฤติกรรมการจัด การเรียนรูของครูนั้นอาจทําไดหลายวิธี แตวิธีหนึ่งที่นาจะสงผลโดยตรงทําใหครูสามารถปรับปรุง การจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ คือกระบวนการนิเทศการสอนดังทีวัชรา เลาเรียนดี (2553) กลาววา การนิเทศการสอนเปนกระบวนการหนึ่งของการจัดการศึกษาที่มุงปรับปรุง กระบวนการสอน กระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน และสงเสริมพัฒนาความเจริญกาวหนาในวิชาชีพ ครูอยางตอเนื่อง ที่สงผลโดยตรงตอผลการเรียนรูของผูเรียน ในการพัฒนาพฤติกรรมการจัดการ เรียนการสอนตองอาศัยวิธีการหลากหลายวิธี และวิธีการหนึ่งที่จะชวยเหลือครูใหสามารถปรับปรุง และพัฒนาตนเอง พัฒนางานการจัดการเรียนการสอนในวิชาชีพของตนเองไดอยางตอเนื่องและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด ตอผูเรียน คือ การนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ซึ่งกลิ๊กแมนและ คณะ (Glickman and others 2001) ไดใหความหมายของการสังเกตการสอนไววา เปนการปฏิบัติ ในการบันทึก และการตัดสินผลจากการบันทึก ดังนั้น เมื่อมีการสังเกตการสอนก็ยอมตองมี การบันทึก รวบรวมขอมูลมีการวิเคราะหขอมูลจากการสังเกต แปลความหมายขอมูลและแจงผล ใหกับครูผูรับการนิเทศทราบเพื่อการปรับปรุงพัฒนาที่สอดคลองกับปญหาและความตองการของครู

Transcript of ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส...

Page 1: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

ตอนท่ี 1

การนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน

ท่ีมาและความสําคัญของการสังเกตการสอน

เปาหมายการปฏิรูปการศึกในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) มุงเนนการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูและการสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ท้ังนี้เพ่ือใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ไมวาจะอยางไรก็ตามคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเปนสิ่งสําคัญท่ีทุกฝายท่ีมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตองตระหนักและดําเนินการจนบรรลุผลในท่ีสุด ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเปนกลไกสําคัญท่ีจะชวยในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของคนไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหสอดรับกับ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง ใหเชื่อมโยงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พุทธศักราช 2553 ขอ 5 ใหสถานศึกษาดําเนินการประกันคุณภาพภายในอยางตอเนื่องเปนประจําทุกปโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ และในการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษามัธยมศึกษา ประจําปการศึกษา 2557 ดานระบบการเรียนรูกําหนดใหครูตองไดรับการสังเกตการสอนและนิเทศการสอนในชั้นเรียน อยางนอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวจะประสบผลสําเร็จไดนั้นครูถือเปนปจจัยสําคัญ เนื่องจากครูเปนผูนําหลักสูตรสูการปฏิบัติจริงในชั้นเรียนและการจัดการเรียนรูในหองเรียนข้ึนอยูกับความรู ความสามารถ ประสบการณและเทคนิควิธีการของครูแตละคน โดยลักษณะท่ีแทจริงของ การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการท่ียุงยากซับซอนและตองการพัฒนาปรับปรุงใหดียิ่ง ๆ ข้ึน อยางตอเนื่องและเปนระบบ ถึงแมวาครูสวนใหญจะมีความรู และประสบการณทําการสอนมานานแลว ก็ตาม แตสภาวะของสังคมโลกท่ีเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วท้ังทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหเกิดองคความรูใหมท่ีมามีสวนเก่ียวของกับคนในสังคมโลก ดังนั้นครูในฐานะท่ีเปนผูพัฒนาคน จึงตองพัฒนาตนเองใหทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม เพ่ือนําองคความรูไปจัดการเรียนรูใหกาวหนาและทันสมัยอยูเสมอ การพัฒนาพฤติกรรมการจัด การเรียนรูของครูนั้นอาจทําไดหลายวิธี แตวิธีหนึ่งท่ีนาจะสงผลโดยตรงทําใหครูสามารถปรับปรุง การจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ คือกระบวนการนิเทศการสอนดังท่ี วัชรา เลาเรียนดี (2553) กลาววา การนิเทศการสอนเปนกระบวนการหนึ่งของการจัดการศึกษาท่ีมุงปรับปรุงกระบวนการสอน กระบวนการเรียนรูในชั้นเรียน และสงเสริมพัฒนาความเจริญกาวหนาในวิชาชีพครูอยางตอเนื่อง ท่ีสงผลโดยตรงตอผลการเรียนรูของผูเรียน ในการพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนตองอาศัยวิธีการหลากหลายวิธี และวิธีการหนึ่งท่ีจะชวยเหลือครูใหสามารถปรับปรุงและพัฒนาตนเอง พัฒนางานการจัดการเรียนการสอนในวิชาชีพของตนเองไดอยางตอเนื่องและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ตอผูเรียน คือ การนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ซ่ึงกลิ๊กแมนและคณะ (Glickman and others 2001) ไดใหความหมายของการสังเกตการสอนไววา เปนการปฏิบัติในการบันทึก และการตัดสินผลจากการบันทึก ดังนั้น เม่ือมีการสังเกตการสอนก็ยอมตองมีการบันทึก รวบรวมขอมูลมีการวิเคราะหขอมูลจากการสังเกต แปลความหมายขอมูลและแจงผลใหกับครูผูรับการนิเทศทราบเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาท่ีสอดคลองกับปญหาและความตองการของครู

Page 2: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

2

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนรูของครูใหสามารถสงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหบังเกิดผลการเรียนรูในท่ีสุด ดังนั้นสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จึงกําหนดนโยบายแหงคุณภาพการศึกษา คือ การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียน จึงกําหนดแนวทางการพัฒนาครูเพ่ือใหครูจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน การสังเกตการสอน เปนเทคนิคท่ีนําไปใชไดผลเปนอยางดีในการนิเทศการศึกษา และเปนท่ีนิยมนําไปใชในการนิเทศ โดยความเปนจริงการนิเทศการศึกษาจําเปนจะตองนําเทคนิคการสังเกตไปใชอยูดวยเสมอ แตจะตองนําไปใชอยางถูกตองเหมาะสม เชน การสังเกตการสอนวิชาคณิตศาสตร ผลจากการสังเกตจะทําใหเห็นสภาพปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ซ่ึงจะทําใหเห็นขอดีและขอเสียของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ซ่ึงผูนิเทศจะตองมีความรูอยางลึกซ้ึง ในวิชาคณิตศาสตร และเขาใจเทคนิคและกระบวนการของการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรและสามารถใหคําแนะนําไดอยางถูกตองเหมาะสม ซ่ึงครูสามารถนําคําแนะนํานั้นไปใชในการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีคุณภาพยิ่งข้ึน ดังนั้น การสังเกตการสอนจึงเปนการติดตามผลของการนําแผนการจัดการเรียนรูไปใช

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการวัดผลประเมินผลการเรียนรู ซ่ึงจะสงผลตอคุณภาพการเรียนรู

ของผูเรียน

วัตถุประสงคของการนิเทศการสอน

เพ่ือพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนรูของครูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการทําหนาท่ี

นิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน

เปาหมาย

1. เปาหมายเชิงปริมาณ

1.1 รอยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัด ไดรับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

1.2 รอยละ 100 ของครู ท่ีมีปญหาในการจัดการเรียนรูไดรับการพัฒนาคุณภาพ

2. เปาหมายเชิงคุณภาพ

2.1 ครูมีกระบวนการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2.2 นักเรียนไดรับการพัฒนาคุณภาพใหเปนคนเกง คนดี และดํารงชีวิตอยูในสังคม

ไดอยางมีความสุข

Page 3: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

3

ขอบเขตของการนิเทศการสอน

1. ผูนิเทศ

ผูนิเทศ หมายถึง ผูท่ีทําหนาท่ีใหคําแนะนําชวยเหลือ สงเสริมสนับสนุน ใหผูรับ

การนิเทศ คือ ครูผูสอนสามารถปฏิบัติงานจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตอผูเรียน ประกอบดวย

1.1 ผูบริหารโรงเรียน

1.2 รองผูอํานวยการฝายวิชาการ

1.3 ครูแกนนํา

2. ผูรับการนิเทศ

ผูรับการนิเทศ หมายถึง ครูผูสอนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา

ใน 5 กลุมสาระการเรียนรูหลักและผูท่ีมีปญหาในการจัดการเรียนการสอน ทําใหมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผลการเรียนการสอนต่ํา ของแตละกลุมสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูละ 1 คน

รวม 5 คน

3. เรื่องท่ีนิเทศ

วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายคุณภาพ

การศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 กําหนดคุณภาพ 3 ประการ คือ

3.1 การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

3.2 การจัดการเรียนรูเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

3.3 การจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดีมีคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. กิจกรรมนิเทศ

นิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน

5. ข้ันตอนการนิเทศดวยวิธีการสังเกตการสอน

5.1 ข้ันกอนการสังเกตการสอน

5.2 ข้ันการสังเกตการสอนในชั้นเรียน

5.3 ข้ันหลังการสังเกตการสอน

6. เครื่องมือนิเทศ

6.1 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู

6.2 แบบประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูดวยวิธีการสังเกตการสอน

Page 4: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

4

ระยะเวลา สหวิทยาเขตวางแผนดําเนินการระหวางวันท่ี 1 กรกฏาคม – 30 กรกฏาคม 2558

สถานท่ีดําเนินการ ทุกโรงเรียนในสหวิทยาเขต ของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โรงเรียนละ 5 คน ตามกลุมสาระการเรียนรูหลัก

งบประมาณ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จัดสรรงบประมาณใหโรงเรียนในสหวิทยาเขต โรงเรียนละ 1,500 บาท แนวทางการดําเนินงานของสหวิทยาเขต

1. ศึกษารายละเอียดการดําเนินงานการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน จากเอกสารแนวทางการดําเนินงานการนิเทศการสอน 2. ประชุมวางแผนการดําเนินการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน 3. คัดเลือกผูนิเทศการสอนจากผูบริหารสถานศึกษา รองผูอํานวยการฝายวิชาการ และครูแกนนํา 4. แตงตั้งคณะกรรมการนิเทศการสอนของสหวิทยาเขต 5. โรงเรียนในสหวิทยาเขตเสนอรายชื่อครูผูรับการนิเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในกลุมสาระการเรียนรูหลัก กลุมสาระการเรียนรูละ 1 คน รวมโรงเรียนละ 5 คน 6. กําหนดระยะเวลาในการนิเทศการสอนดวยการสังเกตการสอน 7. สงรายชื่อคณะกรรมการนิเทศการสอน และตารางการนิเทศ ใหกับกลุมนิเทศฯ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (ภายในวันท่ี 20 มิถุนายน 2558) 8. คณะกรรมการนิเทศการสอน ศึกษาแนวทางการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอนจากคูมือการ นิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน 9. ประสานกับโรงเรียนท่ีรับการนิเทศ เก่ียวกับกําหนดการนิเทศ การเตรียมเครื่องมือแบบประเมินตางๆ การเตรียมแผนการจัดการเรียนรู ระยะเวลาในการสอน และรายชื่อครูผูรับการนิเทศ อ่ืนๆ (แบบประเมินตางๆ โรงเรียนเตรียมไวใหคณะกรรมการ) 10. ดําเนินการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ตามข้ันตอนท่ีกําหนด 11. บันทึกรายละเอียดในแบบประเมินตางๆ ใหครบถวน 12. ประชุมสรุปผลการดําเนินงานการนิเทศการสอน 13. รายงานผลการนิเทศการสอนและสงแบบประเมินตางๆ ใหกับกลุมนิเทศฯ สํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (ภายในวันท่ี 15 สิงหาคม 2558)

14. สงเอกสาร หลักฐานการเบิกจายงบประมาณ ใหกับกลุมบริหารการเงินและสินทรัพย

Page 5: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

5

การสรุปรายงานผลการดําเนินงาน

สหวิทยาเขตดําเนินการนิเทศการสอน ใหเสร็จสิ้นภายในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2558 และ

รายงานผลการดําเนินงานพรอมเอกสารการประเมินท้ังหมด (สงแบบนิเทศการสอน 1-4)

ใหกับกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต 9 ภายในวันท่ี 15 สิงหาคม 2558

Page 6: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

6

ตอนท่ี 2

หลักการและแนวคิดท่ีเกี่ยวของกับการ สังเกตการสอน

แนวคิดและหลักการนิเทศการสอน การนิเทศการสอน เปนกระบวนการปฏิบัติงานรวมกันระหวางผูทําหนาท่ีนิเทศและผูรับ การนิเทศโดยการชวยเหลือ สนับสนุน สงเสริม ใหคําแนะนํา เพ่ือท่ีจะพัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนของครู เพ่ือใหไดมาซ่ึงผลสัมฤทธิ์สูงสุดในการเรียนของนักเรียน

หลักการสําคัญของการนิเทศการสอน การนิเทศการสอนภายในโรงเรียนจะตองยึดหลักสําคัญดังตอไปนี้

1. ผูบริหารโรงเรียนจะตองถือวาการนิเทศการสอนเปนความรับผิดชอบของผูบริหารโรงเรียนโดยตรง สําหรับการดําเนินนิเทศการสอนนั้นผูบริหารอาจจะดําเนินการเองหรือมอบหมายใหผูอ่ืนดําเนินการแทนก็ได 2. การนิเทศการสอนจะสําเร็จลงไดจําเปนจะตองอาศัยความรวมมือกันท้ัง 3 ฝาย คือ ฝายบริหาร ผูนิเทศและผูรับการนิเทศ หากขาดความรวมมือจากฝายใดฝายหนึ่ง การนิเทศการสอน จะไมมีโอกาสพบกับความสําเร็จไดเลย 3. จะตองตระหนักถึงความเขาใจวา การนิเทศการสอนภายในโรงเรียนนั้นเปนการทํางานรวมกัน เพ่ือชวยพัฒนาเพ่ือนรวมงานใหสามารถจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน การนิเทศการสอนไมใชเปนการบังคับ ขูเข็ญ หรือคอยจับผิดแตประการใด 4. บุคลากรภายในโรงเรียนจะตองมีการยอมรับและใหเกียรติซ่ึงกันและกัน ในสภาพ ความเปนจริงแลวไมมีใครท่ีจะมีความเชี่ยวชาญทุก ๆ ดาน ดังนั้นจึงนาจะไดแลกเปลี่ยนและถายเทความเชี่ยวชาญใหแกเพ่ือนรวมงานเพ่ือใหทุกคนในหนวยงานมีความรู ทักษะ ความสามารถสูงข้ึน 5. การนิเทศการสอนจะตองเกิดข้ึนจากความจําเปนในการแกปญหาหรือสนองนโยบาย หรือความตองการในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 6. การสรางเสริมกาลังใจของผูบริหารโรงเรียนจะมีผลโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครูผูสอน ดังนั้นจึงถือวาการสรางเสริมกาลังใจของผูบริหารโรงเรียนจะสงผลตอความสัมฤทธิ์ผลของการนิเทศการสอนภายในโรงเรียนดวย

บุคลากรในการนิเทศการสอนภายในโรงเรียน ดังท่ีกลาวมาแลววาการนิเทศการสอนภายในโรงเรียนประกอบดวยบุคคล 3 ฝาย คือ 1. ผูบริหารโรงเรียน 2. ผูนิเทศ อาจเปนผูท่ีไดรับมอบหมาย เชน รองผูอํานวยการฝายวิชาการ หัวหนาสายชั้น หัวหนากลุมสาระการเรียนรู หรือ ครูแกนนํา 3. ผูรับการนิเทศ ในกรณีท่ีเปนครูผูสอนในระดับเดียวกัน อาจจะตกลงรวมกันในลักษณะการนิเทศการสอนแบบเพ่ือนนิเทศเพ่ือนโดยใหฝายใดฝายหนึ่งเปนผูนิเทศ อีกฝายหนึ่งเปนผูรับการนิเทศ

Page 7: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

7

การนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน การสังเกตการสอนเปนข้ันตอนหนึ่งท่ีสําคัญของกระบวนการนิเทศการสอน หรือรูปแบบ

การนิเทศการสอนแบบหนึ่ง การสังเกตการสอน ดําเนินการได 2 ลักษณะ คือ 1. การสังเกตการสอนอยางเปนทางการ ซ่ึงจะตองมีการวางแผน เตรียมการกอน การสังเกต กําหนดจุดมุงหมายท่ีจะสังเกต เตรียมความพรอมของครูและผูนิเทศกอนการสังเกตการสอน 2. การสังเกตอยางไมเปนทางการ เปนการสังเกตการสอนโดยท่ัว ๆ ไป ไมเฉพาะเจาะจง จุดใดจุดหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อาจจะไมตองมีการเตรียมการหรือบอกลวงหนา การสังเกตการสอนเปนกระบวนการและข้ันตอนท่ีสําคัญของการนิเทศการสอน ทุกรูปแบบ ท่ีผูนิเทศและผูรับการนิเทศดําเนินการในหองเรียน เพ่ือท่ีจะปรับปรุงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู กระบวนการของการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ประกอบดวย 3 ข้ันตอน ดังนี้ ข้ันท่ี 1 ข้ันกอนการสังเกตการสอน ข้ันท่ี 2 ข้ันการสังเกตการสอนในชั้นเรียน ข้ันท่ี 3 ข้ันหลังการสังเกตการสอน

การสังเกตการสอน การสังเกตการสอนเปน 2 ลักษณะ คือ การสังเกตการสอนเชิงปริมาณ และการสังเกต

การสอนเชิงคุณภาพ 1. การสังเกตการสอนเชิงปริมาณ (Quantitative Observation) หมายถึง วิธีการสังเกต และบันทึกเหตุการณตาง ๆ ในชั้นเรียน พฤติกรรมท่ีปฏิบัติหรือปรากฏ และสิ่งตาง ๆ ท่ีปรากฏใน ชั้นเรียน ซ่ึงมีความหมาย เหตุการณและพฤติกรรมชัดเจน จําแนกกลุมได การใชเครื่องมือสังเกต การสอนเชิงปริมาณจะตองวัดไดเปนจํานวนครั้งหรือความถ่ีของเหตุการณหรือพฤติกรรม ท่ีปรากฏ ในชวงเวลาท่ีกําหนด 2. การสังเกตการสอนเชิงคุณภาพ (Quantitative Observation) หมายถึง วิธีการสังเกต และบันทึกเหตุการณและพฤติกรรมตาง ๆ ตลอดจนสภาพทางกายภาพภายในชั้นเรียน โดยทําการบันทึกแบบพรรณนาความในลักษณะขอความสั้น ๆ หรือเปนความเรียงยอ ๆ ตั้งแตตนจนจบหรือในเวลาท่ีกําหนด ในสภาพการจัดการเรียนการสอนประกอบดวย การปฏิบัติ พฤติกรรมของครู และนักเรียนท่ีควรสังเกตและบันทึกท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการสังเกตการสอนควรผสมผสานท้ังเครื่องมือเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเขาดวยกันจะไดขอมูลท่ีมีความหมายและมีประโยชนตอการปรับปรุงการเรียนการสอนมากยิ่งข้ึน แบบสังเกตการสอน

แบบสังเกตการสอนเปน 2 ลักษณะ คือ แบบสังเกตการสอนเชิงปริมาณ และแบบสังเกต การสอนเชิงคุณภาพ 1. แบบสังเกตการสอนเชิงปริมาณ เปนแบบท่ีจะตองวัดไดเปนจํานวนครั้งหรือความถ่ีของเหตุการณหรือพฤติกรรมท่ีปรากฏในชวงเวลาท่ีกําหนด

Page 8: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

8

2. แบบสังเกตการสอนเชิงคุณภาพ เปนแบบบันทึกเหตุการณและพฤติกรรมตาง ๆ ตลอดจนสภาพทางกายภาพภายในชั้นเรียน โดยทําการบันทึกแบบพรรณนาความในลักษณะขอความสั้น ๆ หรือเปนความเรียงยอ ๆ ตั้งแตตนจนจบหรือในเวลาท่ีกําหนด

แนวคิดการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญเกิดข้ึนจากพ้ืนฐานความเชื่อท่ีวา การจัดการศึกษา

มีเปาหมายสําคัญท่ีสุด คือ การจัดการใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียนแตละคนไดพัฒนาตนเองสูงสุด ตามกําลังหรือศักยภาพของแตละคน แตเนื่องจากผูเรียนแตละคนมีความแตกตางกันท้ังดานความตองการ ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพ้ืนฐานอันเปนเครื่องมือสําคัญท่ีจะใชใน การเรียนรู อันไดแก ความสามารถในการฟง พูด อาน เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปญญา และการแสดงผลของการเรียนรูออกมาในลักษณะท่ีตางกัน จึงควรมีการจัดการท่ีเหมาะสมในลักษณะท่ีแตกตางกัน ตามเหตุปจจัยของผูเรียนแตละคน และผูท่ีมีบทบาทสําคัญในกลไกของการจัดการนี้ คือ ครู แตจากขอมูลอันเปนปญหาวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผูเรียนท่ีผานมา แสดงใหเห็นวา ครูยังแสดงบทบาทและทาหนาท่ีของตนเองไมเหมาะสม จึงตองทบทวนทําความเขาใจ ซ่ึงนําไปสู การปฏิบัติเพ่ือแกไขปญหาวิกฤตทางการศึกษาและวิกฤตของผูเรียนตอไป การทบทวนบทบาทของครู ควรเริ่มจากการทบทวนและปรับแตงความคิด ความเขาใจเก่ียวกับความหมายของการเรียน โดยตองถือวา แกนแทของการเรียนคือการเรียนรูของผูเรียน ตองเปลี่ยนจากการยึดวิชาเปนตัวตั้ง มาเปนยึดมนุษยหรือผูเรียนเปนตัวตั้ง หรือท่ีเรียกวาผูเรียนเปนสําคัญ ครูตองคํานึงถึงหลักความแตกตางระหวางบุคคลเปนสําคัญ ถาจะเปรียบการทํางานของครูกับแพทยคงไมตางกันมากนัก แพทยมีหนาท่ีบําบัดรักษาอาการปวยไขของผูปวย ดวยการวิเคราะห วินิจฉัยอาการของผูปวยแตละคนท่ีมี ความแตกตางกัน แลวจัดการบําบัดดวยการใชยาหรือการปฏิบัติอ่ืน ๆ ท่ีแตกตางกัน วิธีการรักษาแบบหนึ่งแบบใดคงจะใชบําบัดรักษาผูปวยทุกคนเหมือน ๆ กันไมได นอกจากจะมีอาการปวยแบบเดียวกัน ในทํานองเดียวกัน ครูก็จําเปนตองทําความเขาใจและศึกษาใหรูขอมูล อันเปนความแตกตางของผูเรียนแตละคน และหาวิธีสอนท่ีเหมาะสม เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางเต็มท่ี เพ่ือพัฒนาผูเรียนแตละคนนั้นใหบรรลุถึงศักยภาพสูงสุดท่ีมีอยู และจากขอมูลท่ีเปนวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผูเรียนอีกประการหนึ่ง คือ การจัดการศึกษาท่ีไมสงเสริมใหผูเรียนไดนําสิ่งท่ีไดเรียนรูมาปฏิบัติในชีวิตจริง ทําใหไมเกิดการเรียนรูท่ียั่งยืน ครูจึงตองหันมาทบทวนบทบาทและหนาท่ีท่ีจะตองแกไข โดยตองตระหนักวา คุณคาของการเรียนรูคือการไดนําสิ่งท่ีเรียนรูมานั้นไปปฏิบัติใหเกิดผลดวย ดังนั้นหลักการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ จึงมีสาระท่ีสําคัญ 2 ประการคือ การจัดการโดยคํานึงถึง ความแตกตางของผูเรียน และการสงเสริมใหผูเรียนไดนําเอาสิ่งท่ีเรียนรูไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต เพ่ือพัฒนาตนเองไปสูศักยภาพสูงสุดท่ีแตละคนจะมีและเปนได

การจัดการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ชวงเวลาท่ีทาทายความสามารถของมนุษยชาติ คือชวงศตวรรษท่ี 21 เพราะเปนยุคท่ีโลกตองเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็ว และขอมูลขาวสารทุกอยางก็ไมไดจํากัดอยูเพียงรอบตัวเราอีกตอไป แคเพียงคลิกท่ีปลายนิ้วก็สามารถกาวขามพรมแดนไปไดทุกซอกทุกมุมโลก

Page 9: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

9

ซ่ึงแวดวงทางการศึกษาท่ัวโลกตางกาวพนรูปแบบการเรียนการสอนท่ีใชครูเปนศูนยกลาง มาเปน การเรียนรูในแบบกระบวนทัศนใหม เรียกไดวาเปนการจัดการศึกษายุคฐานแหงเทคโนโลยี (Technology Based Paradigm) ในขณะท่ีประเทศไทยไดเล็งเห็นความสําคัญและมุมมองของ การเตรียมเด็กไทยสูศตวรรษท่ี 21 ในประเด็นดังตอไปนี้

คุณลักษณะของนักเรียนไทยในศตวรรษท่ี 21 มี 3 ประการ คือ 1. มีทักษะท่ีหลากหลาย เชน สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางรวดเร็ว รับผิดชอบงานไดดวยตนเอง และรูจักพลิกแพลงกระบวนการแกไขปญหาได เปนตน 2. มีทักษะดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร มองโลกใบนี้เปนโลกใบเล็ก ๆ ไมไดจํากัดขอบเขตอยูเฉพาะประเทศไทยเพ่ือมองหาโอกาสใหม ๆ ท่ีมีอยูอยางมากมาย 3. มีทักษะดานภาษา เพราะหากพูดหรือใชแตภาษาไทยก็เหมือนกับอยูในโลกแคบๆ ไมสามารถติดตอสื่อสารกับชาติอ่ืนได

การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ครูจะตองปรับแนวทางการเรียนการสอน (pedagogy) โดยครูจะตองทําใหนักเรียนรักท่ีจะเรียนรูตลอดชีวิต และมีเปาหมายในการสอนท่ีจะทําใหเด็กมีทักษะชีวิต ทักษะการคิดและทักษะดานไอที ซ่ึงไอทีในท่ีนี้ไมไดหมายถึง ใชคอมพิวเตอรหรือ แทบเลตเปน แตหมายถึงการท่ีนักเรียนรูวา เม่ือเขาอยากรูเรื่องใดเรื่องหนึ่งเขาจะไปตามหาขอมูล (data) เหลานั้นไดท่ีไหน และเม่ือไดขอมูลมานักเรียนตองวิเคราะหไดวาขอมูลเหลานั้นมีความนาเชื่อถือเพียงใด และสามารถแปลงขอมูลเปนความรู (knowledge) ได ซ่ึงสิ่งเหลานี้ตองเกิดจากการฝกฝนจนกลายเปนทักษะ ครูจะตองใหนักเรียนไดมีโอกาสทดลองดวยตนเอง

การเรียนแบบ "พลิกกลับ" (The Flipped Classroom) คือ วิธีการเรียนแนวใหมกําลังไดรับความนิยมมากข้ึนเรื่อย ๆ ในโลกปจจุบันท่ี "การศึกษา" และ "เทคโนโลย"ี แทบจะเปนสวนหนึ่งของกันและกัน เปนการเรียนแบบ "กลับหัวกลับหาง" หรือ "พลิกกลับ" โดยเปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอนจากแบบเดิมท่ีเริ่มจากครูผูสอนในหองเรียน นักเรียนกลับไปทําการบานสง เปลี่ยนเปนนักเรียนเปนผูคนควาหาความรูดวยตนเอง ผาน "เทคโนโลย"ี ท่ีครูจัดหาใหกอนเขาชั้นเรียน และมาทํากิจกรรม โดยมีครูคอยแนะนําในชั้นเรียนแทน โดยสิ่งท่ีเปนหัวใจสําคัญก็คือ การใชเทคโนโลยี การเรียนการสอนท่ีทันสมัยและการใหนักเรียนไดมีโอกาสเรียนรูผานกิจกรรม ซ่ึงท้ังสองสวนนี้จะกระตุนใหเกิดสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรูอยางเต็มท่ี ถือวาเปนการเรียนการสอนท่ีเนนรูปธรรมใหนักเรียนไดเห็นและปฏิบัติจากประสบการณจริง ซ่ึงจะทําใหนักเรียนจดจําและเกิดทักษะการเรียนรูไดดีกวา ท่ีเรียนแบบนามธรรม จะสอนใหนักเรียนรูจักวิเคราะห เลือกใชสื่อท่ีถูกตอง รูจักเลือกศึกษาคนควาในเรื่องตาง ๆ ท่ีตนเองสนใจ แตจะมีสื่อท่ีไมเหมาะสมกับนักเรียนแทรกอยูบนหนาจอเหมือนกัน ดังนั้นในการใชสื่อตาง ๆ ในดานของไอที ก็ควรท่ีแนะนําใหเขาใจอยางแทจริงและในระยะแรกก็ตองมีผูคอยใหคําแนะนําท่ีดีไมวาจะเปน ปกครอง ครูตองมีสวนรวมกันสรางภูมิคุมกันใหกับนักเรียนดวยเหมือนกัน

Page 10: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

10

ตอนท่ี 3

ข้ันตอนการดําเนินการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน

ในการดําเนินการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ครูผูรับการนิเทศและผูนิเทศ ตองทํางานรวมกัน ดังท่ีกลาวมาแลววาการนิเทศการสอน ประกอบดวยบุคคล 3 ฝาย คือ 1. ผูบริหารโรงเรียน 2. ผูนิเทศ อาจเปนผูท่ีไดรับมอบหมาย เชน รองผูอํานวยการฝายวิชาการ หัวหนาสายชั้น หัวหนากลุมสาระการเรียนรู หรือ ครูแกนนํา 3. ผูรับการนิเทศ ในกรณีท่ีเปนครูผูสอนในระดับเดียวกัน อาจจะตกลงรวมกันในลักษณะการนิเทศการสอนแบบเพ่ือนนิเทศเพ่ือนโดยใหฝายใดฝายหนึ่งเปนผูนิเทศ อีกฝายหนึ่งเปนผูรับการนิเทศ

เง่ือนไขสูความสําเร็จ 1. ผูบริหารโรงเรียนจะตองถือวาการนิเทศการสอน เปนความรับผิดชอบของผูบริหารโรงเรียนโดยตรง 2. ครูผูรับการนิเทศจะตองยอมรับและใหเกียรติซ่ึงกันและกัน ในสภาพความเปนจริงแลว ไมมีใครท่ีจะมีความเชี่ยวชาญทุก ๆ ดาน ดังนั้นจึงนาจะไดแลกเปลี่ยนและถายเทความเชี่ยวชาญใหแกเพ่ือนรวมงานเพ่ือใหทุกคนในหนวยงานมีความรู ความสามารถสูงข้ึน 3. การสรางเสริมกําลังใจของผูบริหารโรงเรียนจะมีผลโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครูผูสอน ดังนั้นจึงถือวาการสรางเสริมกําลังใจของผูบริหารโรงเรียนจะสงผลตอความสัมฤทธิ์ผลของการนิเทศการสอนดวย 4. ควรจัดใหมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูจากผลการนิเทศการสอนในระดับโรงเรียน เปนประจํา อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง

แนวคิดเกี่ยวกับการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู การสังเกตการสอน เปนเทคนิคท่ีนําไปใชไดผลเปนอยางดีในการนิเทศการศึกษา และเปนท่ีนิยมนําไปใชในการนิเทศ โดยความเปนจริง การนิเทศการศึกษาจําเปนจะตองนําเทคนิคการสังเกตไปใชอยูดวยเสมอ แตจะตองนําไปใชอยางถูกตองเหมาะสม เชน การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ผลจากการสังเกตจะทําใหเห็นสภาพปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ซ่ึงจะทําใหเห็นขอดีและขอเสียของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ซ่ึงผูนิเทศจะตองมีความรูอยางลึกซ้ึงในวิชาคณิตศาสตร และเขาใจเทคนิคและกระบวนการของการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร และสามารถใหคําแนะนําไดอยางถูกตองเหมาะสม ซ่ึงครูสามารถนําคําแนะนํานั้นไปใชในการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีคุณภาพยิ่งข้ึน ดังนั้นการสังเกตการสอน จึงเปนการติดตามผลของการนําแผนการจัดการเรียนรูไปใช ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และการวัดผลประเมินผลการเรียนรู ซ่ึงจะสงผลตอคุณภาพการเรียนรู ของผูเรียน

Page 11: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

11

ความหมาย การสังเกตการสอน หมายถึง การท่ีผูนิเทศท่ีมีความรู ความเขาใจและประสบการณ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู สังเกตพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูในขณะจัดกิจกรรม การเรียนรูใหกับผูเรียน

วัตถุประสงค เพ่ือใหครูสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ โดยใชขอมูลปอนกลับจากการนิเทศของผูนิเทศ

ข้ันตอนการสังเกต ข้ันตอนการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู มี 3 ข้ันตอนดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันกอนการสังเกตการสอน 1. สรางความสัมพันธระหวางครูกับผูนิเทศ 1.1 ปฏิบัติตนใหเปนเพ่ือนรวมวิชาชีพกับครู 1.2 เปนเพ่ือนรวมงานกับครู 1.3 ใหขอมูลตาง ๆ แกครู 1.4 แกไขขอขัดแยงตาง ๆ ของครู 1.5 รับฟงขอเสนอแนะนําตาง ๆ ของครู 1.6 ใหความสนใจตอครูในการปฏิบัติ 1.7 ใหความจริงใจตอครูท้ังตอหนาและลับหลัง 1.8 ใหเกียรติและยกยองครูดวยความจริงใจ 1.9 สงเสริมใหครูมีความกาวหนาในอาชีพ 1.10 ใหขอมูล ความรู และสนับสนุนการทํางานของครู 2. การปรึกษาหารือและการเตรียมแผนการจัดการเรียนรู 2.1 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรูของครูผูรับการนิเทศ 2.2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรูของครูผูรับการนิเทศ 2.3 ปรึกษาหารือกับครูในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2.4 วางแผนการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกัน 2.5 สรางขอตกลงในการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกัน 2.6 ครูและผูนิเทศพิจารณาแผนการจัดการเรียนรูรวมกัน

ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันการสังเกตการสอนในช้ันเรียน 1. ผูนิเทศเขาไปสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบเงียบ ๆ โดยไมทําลายบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. ขณะสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูนิเทศตองบันทึกพฤติกรรมการเรียนการสอน และบรรยากาศในหองเรียนอยางละเอียด 3. บันทึกพฤติกรรมการสอนของครู (อาจใชเทปบันทึกเสียงชวย)

Page 12: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

12

4. ตองสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูตั้งแตตนจนจบ ในแตละครั้งของการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ข้ันตอนท่ี 3 ข้ันหลังการสังเกตการสอน 1. วิเคราะหพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1.1 ครูกับผูนิเทศรวมกันวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1.2 นําขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู พิจารณารวมกัน 1.3 พิจารณาพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูวาพฤติกรรมใดเปนจุดเดน พฤติกรรมใดเปนจุดดอย และพฤติกรรมใดเปนปญหา 1.4 ครูกับผูนิเทศนําขอมูลท่ีไดมารวมกันปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2.1 ครูจะตองยอมรับพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง 2.2 เอาผลวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ังท่ีเปนจุดเดน จุดดอย และพฤติกรรมท่ีเปนปญหามาเปนขอมูลในการปรับปรุงการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูครั้งตอไป 2.3 ปรับปรุงแกไขพฤติกรรมท่ีเปนปญหา 3. ประเมินผล 3.1 ติดตามผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู 3.2 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติของผูเรียนวามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงข้ึนหรือไม และผูเรียนมีเจตคติตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูในระดับใด การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูนิเทศควรทําหลาย ๆ ครั้ง จนผูนิเทศและผูรับการนิเทศม่ันใจวาการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูมีผลเปนท่ีนาพอใจ

แนวทางในการปฏิบัติการสังเกต 1. การเขาสังเกตการสอน ผูนิเทศจะตองเขาชั้นเรียนกอนเวลานัดหมาย เพ่ือพบครูกอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู สอบถามถึงความพรอมของครู สรางสัมพันธภาพท่ีดีกับครู เชน ยิ้มแยมแจมใส ชมเชย การจัดสภาพแวดลอมท่ีดี เพ่ือใหกําลังใจ แกครูในเบื้องตน เม่ือผูสอนมีความพรอมแลว จึงกลาวสวัสดีกับผูเรียน และแนะนําตนเองแกนักเรียน แลวจึงเขาไปนั่งในจุดท่ีครูจัดใหอยางสงบและมีสมาธิ เพ่ือตั้งใจและสังเกตดวยความจริงใจ ไมควรยายท่ีนั่งหรือเดินไปมาขณะท่ีครูกําลังจัดกิจกรรมการเรียนรูเพราะจะเปนการรบกวนสมาธิของครูและนักเรียน 2. การจดบันทึก เม่ือครูเริ่มสอน ผูนิเทศจะตองจดบันทึกพฤติกรรมตามแบบบันทึก ท่ีกําหนด เม่ือสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูแลว ผูนิเทศควรบันทึกขอเสนอแนะสิ่งท่ีควรบันทึก 2 ประการ คือ 2.1 จุดเดนท่ีพบจากการสังเกต 2.2 จุดออนท่ีควรปรับปรุง เม่ือบันทึกเสร็จเรียบรอยแลว ใหสงมอบสําเนาแบบสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูนั้นใหผูสอนทราบ เพ่ือเปนขอมูลในการใหคําปรึกษาหารือเปนขอมูลยอนกลับตอไป ดังนั้นผูนิเทศ

Page 13: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

13

จึงควรระมัดระวังถอยคํา ภาษาท่ีใชบันทึกเปนพิเศษ เพ่ือไมใหผูสอนเสียกําลังใจ กิจกรรมท้ังหมดนี้ ตองใหเสร็จสิ้นหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูสิ้นสุด ไมควรใชเวลามากนัก กอนจะออกจากหองเรียน ผูสอนและผูนิเทศจะตองนัดหมายวาจะดําเนินการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรูตอไป 3. การวิเคราะหขอมูลการสังเกตการสอน เม่ือสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูเสร็จสิ้นลงแลว ผูนิเทศจะตองนําแบบบันทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูและขอมูลตาง ๆ ท่ีผูนิเทศไดจดบันทึกไวมาวิเคราะหขอมูล ท้ังท่ีเปนจุดเดน จุดดอย และพฤติกรรมท่ีเปนปญหา เพ่ือแจงใหผูสอนรับทราบ จะเปนขอมูลไปใชในการปรึกษาหารือรวมกัน และใหขอมูลปอนกลับตอครูทันที โดยการศึกษาวิเคราะหพรอมกันและนัดหมายตกลงกันวาจะรวมปรึกษาหารือเพ่ือใหขอมูลปอนกลับในข้ันตอนตอไป 4. การประชุมปรึกษาหารือเพ่ือใหขอมูลปอนกลับ การประชุมปรึกษาหารือเพ่ือขอมูลปอนกลับ ถือเปนข้ันตอนท่ีสําคัญท่ีสุดของการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู ขอมูลปอนกลับ ท่ีเท่ียงตรงและมีประสิทธิภาพ จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรม การเรียนรู เพราะขอมูลปอนกลับจะเปนประโยชนตอการปรับปรุงพฤติกรรมการจัดกิจกรรม การเรียนรูของครู เพ่ือใหครูประเมินความกาวหนาและพฤติกรรมการสอนดานตาง ๆ ของตน เอง จึงถือวาเปนปจจัยในการพัฒนาทักษะ ความรู เจตคติ และพัฒนาเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูไดอยางมีประสิทธิภาพในครั้งตอไป 5. การใหขอมูลปอนกลับ ขอมูลปอนกลับจะมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด ในการนําไปใชนั้น ตองเปนขอมูลปอนกลับท่ีมีลักษณะดังตอไปนี้ 5.1 เปนขอมูลเชิงพฤติกรรม ท่ีสามารถสังเกตได และแปลความหมายได มีความเจาะจง เจาะลึก สามารถมองเห็นพฤติกรรมนั้นไดอยางชัดเจน 5.2 มีความบริสุทธิ์ ปราศจากคานิยมสวนตนของผูนิเทศท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ ของครู และควรหลีกเลี่ยงในการใหคําแนะนําท่ีมีลักษณะเปนเชิงบังคับ ใหผูรับการนิเทศเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จะทําใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของครูไมยั่งยืน 5.3 เปนขอมูลท่ีไดจากสถานการณจริง คือ เปนขอมูลท่ีเกิดข้ึนและไดมาจากการสังเกต การจัดกิจกรรมการเรียนรูจริง ไมใชมาจากการแปลความหมายหรือจากการทํานายผล ดังนั้นขอมูลจึงมีความแมนยํา เท่ียงตรง ซ่ึงไดจากหลักฐานเชิงประจักษ 5.4 ผูนิเทศตองเปดโอกาสใหครูเปดใจในการใหขอมูล สามารถชี้แจงไดเต็มท่ี ซ่ึงจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการพัฒนาพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครู 5.5 มุงชวยเหลือครูเปนสําคัญ จุดมุงหมายในการใหขอมูลปอนกลับนั้น เพ่ือเปดโอกาสใหครูปรับปรุงพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนั้นผูนิเทศจะตองใหขอมูลท่ีถูกตอง ชัดเจน เพ่ือใหครูสามารถเขาใจได 6. การใหขอมูลปอนกลับ ครูและผูนิเทศ ตองมีสวนรวมในการพิจารณาและเสนอขอมูลไดอยางเสมอภาค อยาใหฝายหนึ่งฝายใดเกิดความรูสึกท่ีเหนือกวาและดอยกวา ความเสมอภาค จะสรางบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน และยังเปนการสรางความเขาใจท่ีถูกตองตรงกัน

Page 14: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

14

7. มุงหมายเจาะจงท่ีพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู เปาหมายของการสังเกตอยูท่ีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครู ไมใชมุงท่ีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของครู ดังนั้น การใหขอมูลปอนกลับจึงตองมุงเนนท่ีพฤติกรรมการสอนของครู มิใชไปวิเคราะห หรือวิพากษ วิจารณบุคลิกภาพของครู 8. มุงใหครูเห็นประโยชนจากขอมูล ผูนิเทศจะตองสามารถทําใหครูไดเขาใจถึงจุดมุงหมาย เหตุผล และคุณประโยชนท่ีเขาพึงจะไดรับ อันจะกลายสภาพเปนจุดเริ่มตนของการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงและพัฒนาพฤติกรรมการสอนของตนเองตอไป 9. มุงอธิบายถึงเหตุการณท่ีเกิดข้ึน พิจารณาถึงขอมูลปอนกลับตองพิจารณาและอธิบาย จากพฤติกรรมท่ีเปนจริง หลีกเลี่ยงการใชภาษา หรือการแสดงออกซ่ึงการวัดและการประเมินตัวครู 10. การตัดสินใจเลือกทางเลือกใหม เม่ือไดวิเคราะหขอมูลโดยละเอียดแลว ข้ันสุดทาย เปนการพิจารณาตัดสินใจเลือกทางเลือกใหม เพ่ือเปนขอมูลปอนกลับ ทางเลือกนี้จะประกอบดวย พฤติกรรมท่ีดีซ่ึงควรคงไว และพฤติกรรมท่ียังดอย ควรปรับปรุงแกไข ในสวนท่ีตองปรับปรุงแกไข ผูนิเทศจะตองกระตุนและสนับสนุนใหครูไดพิจารณาทางเลือกใหม เพ่ือจะชวยใหการปรับปรุง การเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพ่ิมมากข้ึน 11. การสรุปขอมูล ขอมูลท่ีไดจําเปนจะตองสรุปเพ่ือนําไปใช ควรมี 4 ประเด็น คือ 11.1 จุดมุงหมายของบทเรียน 11.2 รูปแบบและยุทธวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู 11.3 พฤติกรรมของครูและแนวปฏิบัติของครูในระหวางจัดกิจกรรมการเรียนรู 11.4 พฤติกรรมของผูเรียนระหวางเขารวมกิจกรรมการเรียนรู 12. การเสนอขอมูลปอนกลับ ขอมูลท่ีสรุปแลวควรเก็บไวเปนขอมูลในการสังเกตครั้งตอไป และเพ่ือเปนขอมูลในการพิจารณาพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครู และผูนิเทศควรสงรายงานการนิเทศนี้ ใหแก ผูบริหารสถานศึกษา หากมีการเปลี่ยนผูทําหนาท่ีนิเทศ เพ่ือจะไดนําขอมูลนี้ไปใชในการนิเทศคราวตอไป

สรุปข้ันตอนการสังเกตการสอนของครูแกนนํา

ข้ันตอน/กิจกรรม ผูรับการนิเทศ ผูนิเทศ 1. ข้ันกอนการสังเกตการสอน

1. เตรียมการจัดการเรียนรู ตามองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 1 แผน สอนอยางนอย 1 กิจกรรม ระยะเวลา 1 ชั่วโมง (1 คาบ) 2. วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกับผูนิเทศ 3. เตรียมการจัดกิจกรรม

1. ศึกษาคูมือการสังเกตการสอน 2. ศึกษาและเตรียมเครื่องมือประเมิน (แบบนิเทศการสอน 1-4) 3. สรางความสัมพันธอันดีกับครูผูรับการนิเทศ 4. ตรวจแผนการจัดการเรียนรู และประเมินแผนการจัด

Page 15: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

15

ข้ันตอน/กิจกรรม ผูรับการนิเทศ ผูนิเทศ การเรียนรู สื่อการเรียนรู

เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูไวใหพรอม 4. เตรียมเครื่องมือการประเมินการสังเกตการสอนใหกับผูนิเทศ (แบบนิเทศการสอน 1 – 4)

การเรียนรู (แบบนิเทศการสอน 1) 5. ปรึกษาครูผูรับการนิเทศเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรูและสรางขอตกลงรวมกัน 6. วางแผนการสังเกตการสอน 7. เตรียมการจดบันทึกเพ่ิมเติมนอกจากแบบประเมิน

2. ข้ันการสังเกตการสอน ในชั้นเรียน

1. ดําเนินการจัดกิจกรรม การเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรูใหเสร็จสิ้นกระบวนการภายในระยะเวลา 1 คาบ 2. จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ และใหนักเรียนเกิดทักษะตามมาตรฐานและตัวชี้วัด

1. สังเกตการสอนของครู โดยไมทําลายบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. บันทึกพฤติกรรมการเรียนการสอน และบรรยากาศในหองเรียนอยางละเอียด 3. สังเกตและจดบันทึกขอคนพบ (แบบนิเทศการสอน 3)

3. ข้ันหลังการสังเกตการสอน 1. รวมกับผูนิเทศวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. ยอมรับพฤติกรรมการจัดการเรียนรูของตนเอง 3. นําขอมูลท่ีเปนปญหา มาปรับปรุงพัฒนาใหดีข้ึน 4. ปรับปรุงแกไขพฤติกรรมท่ีเปนปญหา

1. วิเคราะหขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู วิเคราะหจุดดี จุดดอย และพฤติกรรมท่ีเปนปญหา 2. ประเมินพฤติกรรมการจัดการเรียนรูตามแบบประเมิน (แบบนิเทศการสอน 2) 3. สะทอนผลยอนกลับโดยรวมกับครูชวยกันวิเคราะหพฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู 4. ใหขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการแกปญหา/ จุดดอย และการพัฒนาการเรียนการสอน

Page 16: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

16

ข้ันตอน/กิจกรรม ผูรับการนิเทศ ผูนิเทศ ในอนาคต

5. สรุปขอมูลของการประเมินเพ่ือครูไดนําไปใชตอไป 6. สําเนาแบบประเมิน (แบบนิเทศการสอน 2) ใหกับผูบริหารโรงเรียน

Page 17: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

17

ตอนท่ี 4

เครื่องมือการนิเทศสังเกตการสอน

ในการดําเนินการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ผูนิเทศเม่ือปฏิบัติการนิเทศตามข้ันตอนการนิเทศการสอนในแตละข้ัน จําเปนตองใชเครื่องมือประกอบการนิเทศการสอนดวยวิธีการสังเกตการสอน ซ่ึงเครื่องมือในการนิเทศการสอนในครั้งนี้ ประกอบดวย 1.1 แบบประเมินแผนจัดการเรียนรู (แบบนิเทศการสอน 1) 1.2 แบบประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูดวยการสังเกตการสอน (แบบนิเทศ การสอน 2) 1.3 แบบการสังเกตและบันทึกตามประเด็นคําถาม (แบบนิเทศการสอน 3) 1.4 แบบสรุปรายงานผลการสังเกตการสอน (แบบนิเทศการสอน 4)

Page 18: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

18

(แบบนิเทศการสอน 1)

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู

ครูผูสอน ...................................................ชั้น................. กลุมสาระการเรียนรู..................................

หนวย/ เรื่อง .................................................................................วันท่ีประเมิน.................................

โรงเรียน.............................................. อําเภอ...................................... จังหวัด..................................

คําช้ีแจง ประเมินตามสภาพจริงตามรายการและใหระดับคุณภาพตามคําอธิบาย ดังนี้

5 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอง/ครอบคลุม/เหมาะสมมากท่ีสุด

4 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอง/ครอบคลุม/เหมาะสมมาก

3 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอง/ครอบคลุม/เหมาะสมปานกลาง

2 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอง/ครอบคลุม/เหมาะสมนอย

1 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอง/ครอบคลุม/เหมาะสมนอยท่ีสุด

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

5 4 3 2 1 1. องคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู 2. สาระสําคัญ 3. มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด 4. การวัดประเมินผลการเรียนรู 5. จุดประสงคการเรียนรู 6. สาระการเรียนรู 7. กระบวนการเรียนรู/ กิจกรรมการเรียนรู 8. สื่อการจัดการเรียนรูหรือแหลงการเรียนรู

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ยรอยละ

ระดับคุณภาพ

ผลการประเมินระดับคุณภาพ................................................

ผูประเมิน........................................................

( .............................................)

ตําแหนง........................................................

Page 19: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

19

เกณฑการประเมินระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู

คะแนนเฉลี่ยรอยละ นอยกวา 50 ปรับปรุง

คะแนนเฉลี่ยรอยละ 50.00 – 59.00 พอใช

คะแนนเฉลี่ยรอยละ 60.00 – 69.00 ดี

คะแนนเฉลี่ยรอยละ 70.00 – 79.00 ดีมาก

คะแนนเฉลี่ยรอยละ 80.00 – 100 ดีเยี่ยม

Page 20: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

20

(แบบนิเทศการสอน 2)

แบบประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูดวยการสังเกตการสอน

วันท่ี.......เดือน...........................พ.ศ. ..............เวลา..............

โรงเรียน......................................................................สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

ชื่อผูสอน...............................................ชั้น....................กลุมสาระการเรียนรู.........................................

วิชา...............................................ชื่อหนวย......................................แผนจัดการเรียนรูท่ี......................

ชื่อผูสังเกตการสอน............................. ....................................ตําแหนง................................................

คําช้ีแจง ใหผูสังเกตการสอนทําเครื่องหมาย / ลงในชองเพ่ือเปนการระบุความคิดเห็น

พรอมท้ังใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมในกรอบท่ีกําหนดใหใหพิจารณาและใหคะแนนตามเกณฑดังนี้

คะแนน 5 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสม/ถูกตอง/คุมคา/เกิดประโยชนในระดับมากท่ีสุด

คะแนน 4 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสม/ถูกตอง/คุมคา/เกิดประโยชนในระดับมาก

คะแนน 3 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสม/ถูกตอง/คุมคา/เกิดประโยชนในระดับปานกลาง

คะแนน 2 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสม/ถูกตอง/คุมคา/เกิดประโยชนในระดับนอย

คะแนน 1 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสม/ถูกตอง/คุมคา/เกิดประโยชนในระดับนอยท่ีสุด

รายการ ระดับการพิจารณา

5 4 3 2 1

1. การเตรียมความพรอมกอนสอน

1.1 จัดทําแผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบถูกตองครบถวน

1.2 จัดสื่ออุปกรณการสอนครบถวน สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน

1.3 จัดทําแบบประเมินผลการเรียนรูไวสอดคลองกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู

1.4 มีการเชื่อมโยงประสบการณเดิมของผูเรียนกับความรูใหม

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2.1 จัดกิจกรรมสอดคลองกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู

2.2 จัดกิจกรรมตามข้ันตอนท่ีกําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรู

2.3 เปดโอกาสใหนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมอยางท่ัวถึง

2.4 จัดกิจกรรมใหนักเรียนฝกปฏิบัติจนเกิดทักษะตางๆ

2.5 ใชเทคนิคการตั้งคําถาม นักเรียนมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น

2.6 เลือกใชเทคนิคการสอนท่ีตอบสนองกับความตองการของนักเรียน

Page 21: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

21

รายการ ระดับการพิจารณา

5 4 3 2 1

2.7 จัดกิจกรรมสงเสริมนักเรียนท่ีเปนกลุมเกง

2.8 เลือกใชกิจกรรมซอมเสริมนักเรียนท่ีเปนกลุมออนเพ่ือใหทันเพ่ือน

2.9 ใชการเสริมแรงตลอดการจัดกิจกรรมการรู

2.10 ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนระหวางเรียนอยางตอเนื่อง

3. การใชส่ือเทคโนโลยี

3.1 สื่อเทคโนโลยีสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู

3.2 สื่อเราใจและกระตุนความสนใจในการเรียนรู

3.3 ครูใชสื่อการสอนเหมาะสมถูกตอง คุมคา

4. การจัดบรรยากาศและบริหารช้ันเรียน

4.1 จัดบรรยากาศใหเอ้ือตอการเรียนการสอน

4.2 กระตุนใหเกิดความสนใจในการเรียนรูผานสื่อเทคโนโลยสีารสนเทศ

4.3 ครูใหคําแนะนําและแกไขปญหาแกผูเรียน

4.4 ใชเทคนิคหลากหลายในการควบคุมชั้นเรียน

5. การประเมินผล

5.1 ประเมินศักยภาพนักเรียนกอนเรียน

5.2 ประเมินศักยภาพนักเรียนระหวางเรียน

5.3 ประเมินศักยภาพนักเรียนหลังเรียน

5.4 ใชเทคนิคการประเมินผลตามสภาพจริง

5.5 ผลการเรียนทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรู ทักษะ และคุณลักษณะ

อันพึงประสงค

ความคิดเห็น/ ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

1. การเตรียมการกอนสอนและแผนการจัดการเรียนรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 22: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

22

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. การใชสื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การจัดบรรยากาศและการบริหารชั้นเรียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เกณฑการประเมิน

คะแนน 26-41 ปรับปรุง

คะแนน 42-57 พอใช

คะแนน 58-73 ดี

คะแนน 89 -74 ดีมาก

คะแนน 90-104 ดีเยี่ยม

ลงชื่อผูสังเกต.....................................................................

(.........................................................)

ตําแหนง ..................................................................

Page 23: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

23

(แบบนิเทศการสอน 3) แบบการสังเกตและบันทึกตามประเด็นคําถาม

ชื่อครูผูสอน.........................................................ชั้น.......................วิชา.............................................. หนวย/เรื่อง..........................................................เวลา......................................................................... 1. เปาหมายของเรื่องท่ีสอนคืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ข้ันนําเขาสูบทเรียนเปนอยางไร ................................................................................................................................................................ 3. พฤติกรรมของครูระหวางจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมีอะไรบาง .......................................................................................................................................................... 5. กิจกรรมการเรียนรูสงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวมเปนอยางไร .......................................................................................................................................................... 6. การจัดการเรียนรู มีการใชคําถามประเภทใชความคิด ท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดตอบอยางท่ัวถึงอยางไร .......................................................................................................................................................... 8. พฤติกรรมของนักเรียนระหวางเขารวมกิจกรรมเปนอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9. จุดเดนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู มีอะไรบาง ......................................................................................................................................................... 10. จุดออน/พฤติกรรมท่ีตองปรับปรุงแกไขมีอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11. การจัดกิจกรรมการเรียนรูครั้งนี้ประสบผลสําเร็จหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................. ผูสังเกต......................................................... วันท่ี.................................................. หมายเหตุ ประเด็นคําถามสามารถกําหนดไดตามความตองการของผูนิเทศและผู รับการนิเทศ

Page 24: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

24

(แบบนิเทศการสอน 4) แบบสรุปรายงานผลการสังเกตการสอน

สหวิทยาเขต................................................................ คําช้ีแจง 1. กรอกขอมูลการสังเกตการสอนและสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพการเรียนรูดวยการสังเกต การสอน (แบบนิเทศการสอน 2) ลงในตาราง

ท่ี รายช่ือครูผูรับการนิเทศ โรงเรียน กลุมสาระฯ คะแนน ระดับ

คุณภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

Page 25: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

25

ท่ี รายช่ือครูผูรับการนิเทศ โรงเรียน กลุมสาระ คะแนน ระดับ

คุณภาพ 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 2. สรุปผลการการสังเกตการสอนในภาพรวมตามข้ันตอนท่ีกําหนด 2.1 การเตรียมการกอนสอนและแผนการจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

Page 26: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

26

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน .................................................................................................................................................................. .

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................ 2.3 การใชสื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 2.4 การจัดบรรยากาศและการบริหารชั้นเรียน ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ปญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ..............................................................................................................................................................

Page 27: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

27

4. แนวทางการพัฒนา/ขอเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................ผูรายงาน (.........................................) ตําแหนง.............................................................

Page 28: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

28

เอกสารอางอิง

กรมวิชาการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. _________. 2553. กฎกระทรวง วาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร : สานักเลขาธิการสภาการศึกษา. วัชรา เลาเรียนดี. 2553. การนิเทศการสอน. นครปฐม : ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. 2556. คูมือนิเทศภายในโรงเรียน ดวยวิธีสังเกตการสอน. นครปฐม. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. อนงค สินธุสิริ. 2556. (ระบบออนไลน). การเรียนรูแนวใหมในศตวรรษท่ี 21. แหลงท่ีมา www.anongswu502.blogspot.com. (15 มิถุนายน 2558) อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. 2554. (ระบบออนไลน). เทคนิคการสอน : การสังเกตการจัดกิจกรรม การเรียนรู. แหลงท่ีมา http//panchlee.wordpreess.com (16 มิถุนายน 2558)

Page 29: ข อ 5 2557ตอนท 1 การน เทศการสอนด วยว ธ การส งเกตการสอน ท มาและความส าค ญของการส

29

คณะผูจัดทํา

ท่ีปรึกษา

นายเกรียงพงศ ภูมิราช ผูอํานวยการ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 นายรัฐวิทย ทองนวรัตน รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 นายบํารุง เสียงเพราะดี รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 วาท่ี ร.ต.นันตชัย แกวสุวรรณ รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

คณะผูจัดทํา

นางสาวรุงเรือง สนธิเณร ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.9 นางเพ็ญพร พุมกุมาร ศึกษานิเทศก สพม.9 นางสาวบังอร สันธนพิพัฒน ศึกษานิเทศก สพม.9 นางดวงแกว โพธิ์อน ศึกษานิเทศก สพม.9 นางธันยชนก พลศารทูล ศึกษานิเทศก สพม.9 นางกริษา โพรามาต ศึกษานิเทศก สพม.9 นางสาวสุนทรี หิมารัตน ศึกษานิเทศก สพม.9 นางสาวอรสา กุนศิลา ศึกษานิเทศก สพม.9 นายยุทธ โตอดิเทพย ศึกษานิเทศก สพม.9 นายอดิศักดิ์ คงทัด ศึกษานิเทศก สพม.9 ผูเขียนและเรียบเรียง

นายธวัช หมอยาดี ศึกษานิเทศกกลุมงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ออกแบบปก นางลลิตา แยมมี เจาหนาท่ี สพม.9