สรุปการเสวนา...

10
1 สรุปการเสวนา คาโทร.เมืองไทย ถูกไดกวานีเวลา 13.30 . วันที4 สิงหาคม 2553 สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ดร.ประชา คุณธรรมดี คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ลักษณะเฉพาะของกิจการ กิจการโทรคมนาคมเปนกิจการที่มีลักษณะเฉพาะที่มีแนวโนมของตนทุนลดลง เมื่อผูใชบริการมี จํานวนมากขึ้น เปนอุตสาหกรรมที่มีผูใหบริการนอยราย ปจจุบันไทยมีรายใหญ 3 ราย รวมรายเล็กดวยไมเกิน 5 ราย การกําหนดราคาคาบริการจึงถูกกําหนดโดยผูใหบริการนอยราย ราคาคาบริการจึงสูงกวาความเปน จริง เทคโนโลยีการครองตลาดของผูใหบริการรายเดิม และกฎเกณฑในปจจุบันสวนใหญมักจะไมเอื้อ ตอการเขาสูตลาดของผูใหบริการรายใหม จึงสงผลตอราคาคาบริการดวย ผูใหบริการเปนผูกําหนดราคาคาบริการในตลาด ไมใชผูบริโภค ตามกฎ Demand &Supply ตองการการกํากับดูแลที่คํานึงถึงผูบริโภค คํานึงถึงการแขงขันในตลาด และความเปนธรรม ระหวางผูใหบริการดวยกันเอง จากรายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทยประจําป .. 2552 ของสํานักงาน คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ชี้ใหเห็นถึง จํานวนของผูใชบริการโทรศัพทมือถือมีถึง 60 กวา ลานเลขหมายหรือ เกือบรอยละ 100 ของประชากร สัดสวนการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบระบบเติมเงิน (Pre-paid) และระบบรายเดือน(Post- paid) สัดสวนของจํานวนผูใชระบบเติมเงินมากกวา ระบบรายเดือน 7-8 เทา

description

สรุปการเสวนา เรื่อง ค่าโทีเมืองไทยถูกได้กว่านี้ โดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 ส.ค.53

Transcript of สรุปการเสวนา...

Page 1: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

สรุปการเสวนา “คาโทร.เมอืงไทย ถูกไดกวานี้” 

เวลา 13.30 น. วนัที่ 4 สิงหาคม 2553  ณ สํานักงานคณะกรรมการกจิการโทรคมนาคมแหงชาติ

ดร.ประชา คุณธรรมดี คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ลักษณะเฉพาะของกิจการ

•กิจการโทรคมนาคมเปนกิจการที่มีลักษณะเฉพาะที่มีแนวโนมของตนทุนลดลง เมื่อผูใชบริการมี

จํานวนมากขึ้น

•เปนอุตสาหกรรมที่มีผูใหบริการนอยราย ปจจุบันไทยมีรายใหญ 3 ราย รวมรายเล็กดวยไมเกิน 5

ราย การกําหนดราคาคาบริการจึงถูกกําหนดโดยผูใหบริการนอยราย ราคาคาบริการจึงสูงกวาความเปน

จริง

•เทคโนโลยีการครองตลาดของผูใหบริการรายเดิม และกฎเกณฑในปจจุบันสวนใหญมักจะไมเอื้อ

ตอการเขาสูตลาดของผูใหบริการรายใหม จึงสงผลตอราคาคาบริการดวย

•ผูใหบริการเปนผูกําหนดราคาคาบริการในตลาด ไมใชผูบริโภค ตามกฎ Demand &Supply

•ตองการการกํากับดูแลที่คํานึงถึงผูบริโภค คํานึงถึงการแขงขันในตลาด และความเปนธรรม

ระหวางผูใหบริการดวยกันเอง

จากรายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทยประจําป พ.ศ. 2552 ของสํานักงาน

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ชี้ใหเห็นถึง จํานวนของผูใชบริการโทรศัพทมือถือมีถึง 60 กวา

ลานเลขหมายหรือ เกือบรอยละ 100 ของประชากร

สัดสวนการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบระบบเติมเงิน (Pre-paid) และระบบรายเดือน(Post-

paid) สัดสวนของจํานวนผูใชระบบเติมเงินมากกวา ระบบรายเดือน 7-8 เทา

Page 2: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

ณ ไตรมาสสุดทายของป 2552 พบวา สวนแบงการตลาดของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ

เติมเงิน ( Pre-paid) เปนของ AIS รอยละ 44 DTAC รอยละ 29 TRUE MOVE รอยละ 25 สุดทายเปน

ของ Thai Mobile CAT&Hutch รอยละ 2 ดังนั้นผูครองตลาดรายใหญคือ AIS

สวนแบงการตลาดของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบรายเดือน (Post-paid) เปนของ AIS รอย

ละ 40 DTAC รอยละ 33 True Move รอยละ 17 ผูครองตลาดรายใหญคือ AIS

ภาพรวมของสวนแบงการตลาดทั้งระบบเติมเงิน และระบบรายเดือน พบวา AIS ถือครองตลาดอยู

รอยละ 43 DTAC รอยละ 30 True Move รอยละ 24

แนวโนมรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายของโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเติมเงินและระบบรายเดือน และ

คาเฉลี่ยรายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายไตรมาส ต้ังแตป พ.ศ. 2545-2552 พบวา

•รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายโดยไมรวมคาเชื่อมตอโครงขาย( Interconnection Charge) ที่แตละ

บริษัทไดรับนั้น ถาเปนระบบเติมเงินคือ 163 บาท/เดือน/เลขหมาย ถาเปนระบบรายเดือนคือ 579 บาท/

เดือน/เลขหมาย และมีอัตราเฉลี่ยโดยรวมอยูที่ 203 บาท/เดือน/เลขหมาย

•รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายโดยรวมคาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge) ที่แตละบริษัท

ไดรับนั้นจะสูงขึ้น คือ ถาเปนระบบเติมเงินเพิ่มเปน 210 บาท/เดือน/เลขหมาย ระบบรายเดือนเพิ่มเปน 639

บาท/เดือน/เลขหมาย และมีอัตราเฉลี่ยโดยรวมอยูที่ 256 บาท/เดือน/เลขหมาย

ขอควรระวัง

แนวโนมรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายที่ลดลง ไมไดหมายความวา แนวโนมรายไดของผูประกอบการ

ลดลง แตกลับพบขอมูลที่ขัดแยงกัน เนื่องจากรายไดเฉลี่ยของผูประกอบการมีแนวโนมสูงขึ้น โดยรายได

จากคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเติมเงินตอเดือนคือ 12,406.17 ลานบาท สวนรายไดจากคาบริการ

โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบรายเดือนตอเดือนคือ 4,508.14 ลานบาท

สถานการณ ปจจุบัน

อัตราคาบริการเฉลี่ยตอนาทีของบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งระบบเติมเงิน และ ระบบรายเดือน คือ

1 บาท 21 สตางค

Page 3: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

คําถามสําคัญ

คําถามที่ 1 คาบริการเฉลี่ยตอนาทีอยูที่ 1.21 บาท ตอนาที เปนคาบริการที่

สมเหตุสมผลหรือไม

- ราคาคาบริการไมไดสะทอนตนทุนที่แทจริง คือ ในขณะที่อุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีแนวโนมขอ

ตนทุนที่ตํ่าลงในระยะยาว นั้นหมายความวา ราคาคาบริการควรจะลดต่ําลงดวย แตปจจุบันนี้ราคา

คาบริการยังลดนอยกวาตนทุนที่ลดนอยลง จึงถือวา ราคาคาบริการยังไมสะทอนตนทุนที่แทจริง แตหากมี

การแขงขันที่เขมขนขึ้นจะทําใหราคาคาบริการถูกลงได รวมถึงถามีการกํากับดูแลที่ดีจะทําใหคาบริการถูก

ลงได

- ราคาคาบริการเฉลี่ย 1.21 บาทตอนาที จะถูกแบงเปน 3 สวน คือ เปนสวนแบงรายได เปนคา

เชื่อมตอโครงขาย และเปนตนทุนกําไรของผูประกอบการ

-เมื่อวิเคราะหขอมูลยอนหลังประมาณ 4-5 ปจะพบวา ผูประกอบการจะมีกําไรตอปเฉลี่ยดังนี้ AIS

กําไรเฉลี่ยเกินกวา 15,000 ลานบาท DTAC กําไรเฉลี่ยเกินกวา 5,000 ลานบาท ในภาวะที่อุตสาหกรรมนี้มี

กําไรเชนนี้จึงบอกไดวา คาบริการเฉลี่ย1.21 บาทตอนาทีเปนคาบริการที่สูงเกินกวาคาบริการที่ควรจะเปน

คําถามที่ 2 คาบริการเฉลี่ยตอนาทีจะถูกลงไดกวานี้หรือไม

-ตองสนับสนุนใหเกิดการแขงขันมากขึ้น เชน การสนับสนุนใหเกิดผูประกอบการรายอื่นที่เชา

โครงขายทําการตลาด หรือ MVNO ในระบบ 3G

- การกํากับดูแลคาบริการและการกํากับดูแลบริการที่เขมขนมากขึ้น

- หากพิจารณาโปรโมชั่น ที่มีความหลากหลาย เชน กลยุทธแบบบางชวงเวลาโทรฟรี หรือในกลุม

โทรฟรีกลยุทธแบบในเครือขาย ถูกกวานอกเครือขาย ซึ่งไมแตกตางจากในตางประเทศเลย แตเงื่อนไขจะ

ตางกัน ดังนั้นหากโปรโมชั่นยังสามารถทําราคาไดถูก 1.21 บาท/นาที อาจจะยังสูงเกินไปและสามารถปรับ

ลดลงได

- โดยเฉพาะการใหบริการระบบเติมเงิน เร่ือง ระยะเวลาและเงินคงเหลือ ซึ่งเปนอํานาจการกํากับ

ดูแลของ กทช. หากมีกฎเกณฑที่ชัดเจน การคํานวณคาบริการเฉลี่ยจะถูกลงกวานี้

Page 4: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

คําถามที่ 3 การกํากับดูแลบริการและคาบริการควรจะเปนอยางไร

แนวทางในการกําหนดอัตราคาบริการโทรคมนาคม โดยทั่วไปมี 4 แนวทาง ซึ่งอิงจากปจจัยหลักที่

กลาวขางตน คือ

1. การกําหนดอัตราคาบริการโดยมุงความตองการลูกคา (Demand – based pricing)

2. การกําหนดอัตราคาบริการโดยใชตนทุนเปนหลัก (Cost-based pricing)

3. การกําหนดอัตราคาบริการโดยอิงการแขงขันในตลาด (Market-based pricing)

4. การกําหนดอัตราคาบริการภายใตการกํากับดูแล (Regulated pricing)

ซึ่งหวังวา กทช. จะเลือกการกํากับดูแลอยางที่สากลใชกัน

ดร.สมเกียรติ ต้ังกิจวาณิชย รองประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

เสนอวา “คาโทรฯ มือถือเมืองไทย ถูกไดกวานี้ ถา…ปรับอัตราคา IC “

การเชื่อมตอโครงขาย คือ ผูใชโครงขายหนึ่งโทรไปหาผูใชอีกโครงขายหนึ่ง เชน ลูกคา AIS กับ

ลูกคา DTAC คุยกันไดตองมีการเชื่อมตอโครงขายกัน

สมมติวา DTAC เก็บคาโทรอยูที่ 1.50 บาท ปจจุบันคาเชื่อมตอโครงขายอยูที่ 1 บาทตอนาที ถา

ลูกคา DTAC โทรไปหาลูกคา AIS , AIS จะหัก DTAC 1 บาท และ DTAC จะไดคาโทร 50 สตางค

ดังนั้นจึงเห็นไดวา ถามีคาเชื่อมตอโครงขายอยู และคาเชื่อมตอโครงขายอยูในระดับที่มันสูงเกินไป เชน คา

เชื่อมตอโครงขาย 1 บาท อัตราที่จะเก็บจากลูกคาที่ตองโทรออกไปนอกโครงขาย หรือ off net จะไม

สามารถเก็บตํ่ากวา 1 บาทได เพราะฉะนั้นคาเชื่อมตอโครงขายเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหคา

โทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยยังไมตํ่าเทาที่ควรจะเปน

หลักการคิดคาเชื่อมตอโครงขายโดยหลักสากล

•สะทอนตนทุน (cost-oriented)

Page 5: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

•คําวาตนทุน นิยมอางอิงกับ “ตนทุนสวนเพิ่มระยะยาว” (long run incremental cost: LRIC)

•ประกาศ กทช. (พค.2549) ใหยึดหลักคาเชื่อมตอโครงขายสะทอนตนทุน ตามแนวทางสากล

แนวโนมอัตราคาบริการเสียงเฉลี่ย

การวัดคาการใชบริการวาอยูที่เทาไหร สามารถทําไดโดยการวัดรายไดของคาบริการเสียงแตละ

บริษัทเปนรายไดที่ไมรวมคาเชื่อมตอโครงขาย แลวนําคาโทรทั้งในและนอกโครงขายทั้งหมดไมวาจะอยูใน

โปรโมชั่นใดก็ตามมารวมกันหารเฉลี่ยจะไดอัตราที่จัดเก็บกันจริงๆ

ทั้งนี้จาก กราฟ แนวโนมอัตราคาบริการเสียงเฉลี่ยจะเห็นไดวา ในป 2549 อัตราคาบริการเสียง

เฉลี่ยอยูที่ เกือบ 1.6 บาท/นาที และลดลงมาในป 2553 อยูที่ 0.6 บาท/นาที

แนวโนมอัตราคาบริการ : AIS & DTAC

สําหรับ AIS คาบริการในป 2550 อยูที่ประมาณ เกือบ 1 บาท/นาที ในป 2553 ลดลงเหลือ

ประมาณ 60 สตางค/นาที ดูเหมือนคาบริการมีแนวโนมลดลง แตจริงๆแลวไมไดลดลง เนื่องจากพบวา

อัตราการใชโทรในเครือขายเทียบกับการโทรทั้งหมด ในป 2550 อัตราการโทรของลูกคา AIS โทร 100 นาที

พบวา โทรในเครือขาย 50-60 นาที ที่เหลือเปนการโทรนอกเครือขายเชน โทรไป DTAC หรือ True Move

แตในป 2553 พบวา ลูกคา AIS โทรในเครือขายตัวเองถึงรอยละ 80 ที่เหลือรอยละ 20 โทรนอกโครงขาย

ดังนั้น ผลที่เกิดขึ้นจึงดูเหมือนคาโทรถูกลง แตมันเกิดขึ้นพรอมกับการโทรภายในเครือขายตัวเองเพิ่มมาก

ข้ึน

เชนเดียวกับ แนวโนมอัตราคาบริการ: DTAC ในป 2550 อยูที่ 70 สตางค/นาที และป 2553

อยูที่ 60 สตางคกวาๆ และในชวงเวลาเดียวกัน DTAC ก็ไดเพิ่มอัตราการโทรภายในเครือขายตัวเอง จาก

รอยละ 40 เปนรอยละ 75 ดวย

จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจโทรคมนาคม กทช. พบวา อัตราคาบริการโทรในเครือขาย

(On-net) และ โทรนอกเครือขาย (Off-net) นั้น อัตราคาโทรนอกเครือขายอยูที่ 1.44 บาท แตถาเปนอัตรา

คาโทรภายในเครือขายอยูที่ 88 สตางค แมวาตัวเลขนี้อาจจะเปนขอสมมติ แตแสดงใหเห็นวา อัตราคาโทร

นอกเครือขายสูงกวาอัตราคาโทรในเครือขาย

Page 6: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

จากกราฟแนวโนมอัตราคาบริการ: AIS ราคาเฉลี่ยคาบริการของ AIS ที่ดูเหมือนลดลง จริงๆ

ผลตัวใหญที่ทําใหดูเหมือนราคาคาบริการลดลงก็คือ การที่ลูกคาโทรในเครือขายมากขึ้น ไมไดหมายความ

วา ราคาทั้งตระกราลดลงจริงๆ แตเปนเพราะวา มีคาโทรราคาถูกกับคาโทรราคาแพง ราคาที่ถูกลงก็คือ โทร

ในเครือขายตัวเอง ราคาที่แพงคือ โทรนอกเครือขาย

เมื่อเปนเชนนี้ จึงมีลูกคากลุมหนึ่งที่ทราบวา โทรนอกเครือขายแพง จึงโทรแตในเครือขายและ

ผูประกอบการก็มีวิธีที่ทําใหลูกคาโทรในเครือขายตัวเองดวยโปรโมชั่นตางๆ เพราะฉะนั้นราคาเฉลี่ยคาโทร

ของไทยที่ดูเหมือนถูกลง แตเปนการโทรในเครือขายมากขึ้น

สาเหตุที่การโทรนอกเครือขายแพง เพราะ คาโทรของลูกคาที่โทรนอกเครือขายนั้น ตองแบง

จายเปนคาเชื่อมตอโครงขายดวย เชน ลูกคา DTAC โทรหาลูกคา AIS หาก DTAC ไดคาโทร 1.25 บาท

ตองจายคาเชื่อมตอโครงขายให AIS แลว 1 บาท ตัวเองไดคาโทร 25สตางค ผมเห็นวา คาเชื่อมตอ

โครงขายที่ใชอยูในปจจุบันสูงเกินจริง จึงทําใหผูใหบริการไมตองการใหลูกคาตัวเองโทรออกเพราะตองจาย

คาเชื่อมตอโครงขาย 1 บาท

จากกราฟ (ดูสไลด ดร.สมเกียรติ ประกอบ) ความพยายามในการลดตนทุนคาเชื่อมตอ

โครงขาย หรือ คา IC ที่มา DTAC แสดงใหเห็นวา บริษัทฯ พยายามลดการขาดดุลคา IC จากเดิมที่ขาดดุล

อยู 200 กวาลาน/ไตรมาส เหลือเพียง 82 ลาน/ไตรมาส บริษัทฯ จึงพยายามทําใหคา IC ของบริษัทฯ มี

ตนทุนนอยที่สุด คือ ทําใหลูกคาตัวเองโทรออกไปลูกคาเครือขายอื่นนอยที่สุด เพราะยิ่งโทรออกไปมากก็

ตองจายคา IC 1 บาท/นาทีมากขึ้นเทานั้น ผูใหบริการทุกรายจึงมีความพยายามออกโปรโมชั่น เพื่อกวาด

ตอนลูกคาของตัวเองใหโทรอยูในโครงขายตัวเอง ทําใหดูเผินๆแลว อัตราคาโทรศัพทมือถือจึงดูเหมือนถูก

ลงแตจริงเปนการเปลี่ยนจากการโทรขามเครือขายมาเปนการโทรในเครือขายมากขึ้น

ผลกระทบจากคาเชื่อมตอโครงขายที่สูงเกินไป

•อัตราคาบริการ off-net สูงเกินกวาที่ควรจะเปนทําใหเกิดการ “ฮั้ว” กันโดยอัตโนมัติ โดย

ผูประกอบการ เพราะคาโทรขามเครือขายจะไมสามารถเก็บตํ่ากวา 1 บาทได เนื่องจากคา IC คือ 1 บาท

แลว จึงเกิดการฮั้วกันของผูประกอบการโดยอัตโนมัติ คือ คาโทรขามเครือขายตองเก็บไมตํ่ากวา 1 บาท ถา

ไมมีการกําหนดไวที่ 1 บาทและมีกลไกการแขงขันการจริงๆ ผูประกอบการจะไมเก็บ 1 บาทถาเปนไปตาม

Page 7: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

กลไกการตลาด แตการที่ผูประกอบการฮั้วกันและกทช.ยอมใหฮั้วกัน ทําใหราคาขายปลีกของการโทรขาม

เครือขายนั้นไมไดลดลงมา ราคาคาโทรก็จะเกิน 1 บาท

ผูบริโภคเสียประโยชน หากใชขอมูล กทช. สวนตางของราคาที่เกิดจากการโทรขาม

เครือขายและโทรภายในเครือขาย คือ 56 สตางค/นาที หมายความวา ผูบริโภคที่โทรขามเครือขายมากนั้น

ตองเสียสวนตางที่แพงกวาที่ควรจะเปนไป 56 สตางค/นาที

•ผูประกอบการไดกําไรสวนเกินจาก อัตราคาบริการ off-net ที่สูงเกินไปถึงปละ 2.6 หมื่น

ลานบาท

•เปนการกีดกันการแขงขันผูประกอบการรายเล็ก เพราะ ถาลูกคาของผูประกอบการราย

เล็กโทรออกนอกเครือขายมาก สงผลใหตองจายคา ic สูงไปดวย การคิดโปรโมชั่นราคาถูกเชน 50 สตางค/

นาที เปนไปไมได เพราะไมพอจายคา ic ไมสามารถตอสูทางการตลาดได และอยูไมไดในที่สุด กับระบบที่

เปนอยู ขณะที่ 3 รายใหญจึงสมประโยชนกัน คือ ไดเงินจากลูกคาในอัตราที่สูงเกินกวาที่ควรจะเปน ได

กําไรสวนที่เกินมาปละ 2.6 หมื่นลานบาท และขณะเดียวกันก็ทําใหไมมีรายใหมเขาสูตลาดดวย

คา IC ที่ควรจะเปนคือ เทาไหร

คา IC ที่ควรจะเปนคือ สอดคลองกับตนทุน ในการใหบริการเชื่อมตอโครงขาย อัตราคาเชื่อมตอ

โครงขายที่เปนอัตราตนทุนอยูที่เทาไหร ในสากลเรียกวา อัตรา “ตนทุนสวนเพิ่มระยะยาว” หรือ LRIC หาก

จะคํานวณงายๆ ของกรณี DTAC ตนทุนคารับสายเรียกเขา ขอมูลไตรมาสที่ 3 ป 2550 เปรียบเทียบกับไตร

มาสที่ 3 ป 2551 มาคํานวณ พบวา อัตราคาเชื่อมตอโครงขายที่ใกลเคียงกับ ตนทุนสวนเพิ่มระยะยาว มาก

ที่สุด คือ 27 สตางค/นาที หรือ สลึงเดียว ถาอัตราคาเชื่อมตอโครงขายอยูในระดับนี้ อัตราคาโทรศัพทมือถือ

จะถูกลงอยูในระดับที่ควรจะเปน

ประการตอมาคือ กทช. ยอมให ผูใหบริการ 3 ราย กําหนดคาเชื่อมตอโครงขายอยูที่ 1 บาทหรือ

แทจริงที่ผานมา กทช. ไดพยายามใหผูใหบริการปรับลดคาเชื่อมตอโครงขายลงมาเหลือ 50 สตางค/นาที

ซึ่งก็ยังถือวา สูงกวาตนทุนที่ตนคํานวณได และสูงกวาที่ที่ปรึกษา กทช. เคยเสนอไว คือ นาทีละประมาณ

สลึงเชนกัน

Page 8: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

อยางไรก็ตาม มติของ กทช. ที่ใหเก็บอัตราละ 50 สตางค นั้น ในทางปฏิบัติยังไมมีผลเลย เพราะยัง

ไมมีการบังคับใช ผูประกอบการยังไมมีการปรับราคาคา IC ลงมา และยังไมมีการดําเนินการใดใดกับ

ผูประกอบการ ปลอยใหเก็บคา ICอยูระดับ 1 บาทตอไป

การที่เอกชนสมคบกันกําหนดราคา โดยผานคา IC นั้น นาจะถือวาเปนสิ่งที่ผิดกฎหมายการแขงขัน

ทางการคา มาตรา 27 ถาผูประกอบการสมคบกันกําหนดราคามีความผิดทางกฎหมายมีโทษทางอาญา

และกทช.ก็ประกาศวา ใหผูประกอบการเก็บคา IC ใหสอดคลองกับตนทุน แตในทางปฏิบัติก็ไมเปนเชนนั้น

กทช. ควรปรับคา IC ใหสอดคลองกับตนทุน ที่ผานมา กทช. ไดมีมติ ใหคาโทรภายในเครือขายและ

นอกเครือขายตองเทากัน ผลที่เกิดคือ ผูใหบริการจะปรับราคาโทรในเครือขายที่ถูกวา ใหเปนราคาเดียวกับ

โทรนอกเครือขายที่แพงกวา ทางแกไขจึงตองปรับคา IC ใหถูกตองตามตนทุนที่ควรจะเปน โดยนําขอมูล

จากผูใหบริการมาและกําหนดใหสอดคลองกับตนทุนและควรต่ํากวา 50 สตางค/นาที ถาคา IC ที่กําหนด

ไดสอดคลอง ก็จะพบวา ผูใหบริการจะลดคาโทรขามเครือขายและโทรในเครือขาย มาใกลเคียงกันโดย

ธรรมชาติ กทช. ควรปรับลดคา IC จนคาโทรในเครือขายเทากับคาโทรขามเครือขาย เทากับไดคา IC ที่

ถูกตองเพราะเอกชนไมสนใจแลววา ลูกคาตัวเองโทรภายในเครือขายหรือโทรนอกเครือขาย ถากทช.ไมทํา

ขอใหเรียกรองให ผูบริโภคฟองศาลปกครอง

นายประวิทย ล่ีสถาพรวงศา

ผูอํานวยการสถาบันคุมครองผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม

ผลพวงการการกําหนดใหโทรภายในเครือขายและนอกเครือขายเทากันคือ ผูใหบริการก็จะคิดโทรใน/

นอกเครือขายเทากัน แตจะมีโปรโมชั่นพิเศษ เชน ถาอยากโทรภายในเครือขายไมอ้ันจายเพิ่ม 100 บาท ซึ่ง

เปนวิธีการเอาตัวรอดของผูใหบริการ

ในประเด็นคา IC ผูใหบริการรายหนึ่งอธิบายวา ราคาคาโทรในเครือขายราคา 29 สตางค/นาที

ในขณะที่กระบวนการทางเทคนิคของการโทรศัพทมี 3 ข้ันตอน คือ การเรียกออก สัญญาณวิ่งไปใน

เครือขาย และสัญญาณไปถึงปลายทาง ซึ่งการเชื่อมตอทั้ง 3 ข้ันตอนนี้คิดในราคาคาโทรไดที่ 29 สตางค/

Page 9: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

 

นาทีในกรณีที่เปนโทรภายในเครือขาย แตคาเชื่อมตอโครงขายคือ การจายใหในขั้นตอนที่ 3 เมื่อสัญญาณ

ไปถึงปลายทาง อธิบายอีกอยางคือ ทั้งวงจร 3 ข้ันตอนสามารถคิดคาโทรไดที่ 29 สตางค/นาที แตกลับคิด

ชวงขั้นตอนที่ 3 ชวงเดียว 1 บาท เมื่อเปนเชนนี้แสดงวา คา IC จะตองถูกกวา 29 สตางคอยางแนนอน

เหมือนโดยสารรถ 3 ตอ คิด 29 สตางค แตข้ึนตอเดียวคิด 1 บาท

คาโทรไมไดมีแตคาโทรศัพท แตยังมีคาบริการเสริมอ่ืนๆ ประเด็นเรื่อง ความเปนธรรมในการคิด

คาธรรมเนียม เชน คา IC ผูใหบริการจายกันเองเปนวินาที และคิดกับผูบริโภคเปนนาที คือ ถาโทรครึ่งนาที

ผูใหบริการจายกันเอง 30 สตางค แตเก็บจากผูบริโภค 1 บาท ดังนั้นการปดเศษเชนนี้ยุติธรรมหรือไม ถา

ตนทุนจริงคิดเปนวินาที ทําไมอัตราคาเรียกเก็บเปนนาที

ป 2009 สหภาพโทรคมนาคมนานาชาติ (International Telecommunication Union: ITU) ซึ่งมีการ

สํารวจอัตราคาบริการเทคโนโลยีสารสนเทศใน 161 ประเทศทั่วโลก พบวา ประเทศไทยมีคาใชจายดาน

โทรคมนาคมโดยรวมอยูที่ระดับ 88 คาบริการโทรศัพทพื้นฐานอยูระดับ 112 คาบริการโทรศัพทมือถืออยู

อันดับที่ 45 คาบริการบรอดแบรนดแบบมีสายอยูที่อันดับ 92

ดังนั้นจึงเห็นไดอยางชัดเจนวา คาโทรเมืองไทยไมถูกอยางที่คิด และยังแยกวาอีกหลายประเทศที่มี

ลักษณะรายไดและลักษณะพื้นฐานที่ใกลเคียงกับประเทศไทย เชน ฮองกง สิงคโปร ศรีลังกา มาเลเซีย หรือ

ประเทศเบรารุส

ปญหาคาบริการเรื่อง Content ที่แตละที่คิดคาบริการไมเทากัน เชน การสง SMS ทายผลตางๆ ยัง

ไมมีการกําหนดราคาที่ชัดเจน ซึ่งตอไปจะมีระบบ 3G หากไมมีการวางระบบเรื่องการคิดคาบริการใหดีจะ

ทําใหปญหารุนแรงได

คาบริการเมืองไทยจะถูกลงไดโดย ลดตนทุน คา IC โดยเฉพาะตนทุนสวนแบงรายไดโดยเฉพาะ

เมื่อสัญญาสัมปทานสิ้นสุดลงใน 3-8 ป คาโทรเมืองไทยที่วาถูกแลวจึงสามารถถูกลงไดอีกเมื่อมีการจัดการ

ที่ดี

..................................

Page 10: สรุปการเสวนา ค่าโทรเมืองไทยถูกได้กว่านี้

10