แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒....

63
เอกสารประกอบการสัมมนา วิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป (.๑๐๐) ภาคเรียนทีปการศึกษา ๒๕๔๗ แนวทางในการตอบขอสอบกฎหมายมุนินทร พงศาปาน อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Transcript of แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒....

Page 1: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

เอกสารประกอบการสัมมนา วิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป (น.๑๐๐) ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๗

“แนวทางในการตอบขอสอบกฎหมาย”

มุนินทร พงศาปาน อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 2: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

คํานํา

เอกสารฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อเปนคูมือในชั้นเรียนสัมมนาในวิชากฎหมายแพง: หลักทั่วไป โดยผูเขียนซี่งไดรับหนาที่เปนอาจารยผูสัมมนาวิชากฎหมายแพง: หลักทั่วไป (น.๑๐๐) เมื่อปการศึกษา ๒๕๔๖ ไดนําเอกสารที่ไดใชประกอบการสัมมนาที่ทําขึ้นเฉพาะกิจมารวบรวมใหมเปนเอกสารฉบับนี้โดยหวังจะใหเปนเครื่องชวยนักศึกษาชั้นปที่ ๑ ในการปรับตัวเขาการเรียนกฎหมาย การปรับตัวเขากับการเรียนกฎหมายก็เหมือนกับเด็กที่เริ่มหัดเดิน ซึ่งอาจจะเปนเรื่องที่ยากในระยะแรกเริ่ม แตสุดทายเกือบทุกคนก็จะสามารถเดินได ว่ิงไดในที่สุด เพียงแตจะชาหรือเร็วเทานั้นเอง ผูเขียนซึ่งไดพบเห็นการฝกหัดเดินของนักศึกษากฎหมายชั้นปที่ ๑ ตลอดระยะเวลาปการศึกษาที่ผานมา ไดพยายามรวมรวมขอแนะนําตางๆ ในการเรียนกฎหมายสําหรับนักศึกษากฎหมายปแรก โดยเฉพาะอยางยิ่งการฝกเขียนตอบขอสอบกฎหมายซึ่งเปนเรื่องที่ตองใชความพยายามอยางสูงในการปรับตัวเพื่อทําความเขาใจ มาใสในเอกสารฉบับนี้ ดวยความหวังที่วาจะเปนอุปกรณในการชวยหัดเดินบนเสนทางการศึกษากฎหมายของนักศึกษา อยางไรก็ดีจากประสบการณของผูเขียนในฐานะที่ตัวเองเคยศึกษาวิชากฎหมายตัวแรกนี้มากอน และทั้งในฐานะอาจารยผูสัมมนา ไดบอกผูเขียนประการอยางหนึ่งวา การที่นักศึกษาจะปรับตัวเองใหเรียนรูการเขียนตอบขอสอบไดรวดเร็วและเขียนตอบไดดีนั้นสิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ตองอาศัยการฝกฝนสม่ําเสมอ ดวยเหตุนี้แนวทางการเขียนตอบขอสอบฉบับนี้จะไมมีความหมายเลยหากนักศึกษาไมไดฝกเขียนตอบขอสอบดวย เอกสารชิ้นนี้ผูเขียนมีเวลาจํากัด และยังตองรีบเรงเขียนใหเพื่อใหเสร็จทันภาคการศึกษาแรก ปการศึกษา ๒๕๔๗ จึงอาจมีขอบกพรองอยูบางซึ่งผูเขียนก็นอมรับความผิดพลาดไว และพรอมรับคําแนะนําทั้งปวงเพื่อปรับปรุงเอกสารฉบับนี้ใหสมบูรณยิ่งขึ้นในวาระตอไป หากความดีของเอกสารฉบับนี้จะมีอยูบางผูเขียนก็ขอเปนเครื่องบูชาพระคุณแด รองศาสตราจารยสมยศ เชื้อไทย และผูชวยศาสตราจารย ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ ซึ่งเปนครูผูสอนวิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป แกผูเขียน ตลอดจนรองศาสตราจารย ดร.ดาราพร ถิระวัฒน และ รองศาสตราจารย ดร.จําป โสตถิพันธุ ซึ่งเปนครูทานแรกๆ ที่ชวยตรวจการบาน และแนะนําการตอบขอสอบกฎหมายใหกับผูเขียนสมัยยังเปนนักศึกษา ทําใหผูเขียนเดินไดว่ิงไดบนเสนทางวิชาชีพกฎหมายจนถึงทุกวันนี้

มุนินทร พงศาปาน คณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗

Page 3: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

สารบัญ

หนา ๑. ขอแนะนําเบื้องตน ๑ ๒. ลักษณะของขอสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด็นขอสอบบรรยาย ๗ ๔. แนวการเขียนตอบขอสอบบรรยาย ๑๐ ๕. ลักษณะของขอสอบอุทาหรณ ๑๘ ๖. การจับประเด็นขอสอบอุทาหรณ ๒๒ ๗. แนวการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ ๒๗ ๘. ตัวอยางการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณของนักศึกษา ๔๑

_________________________

Page 4: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑. ขอแนะนําเบื้องตน๑

ขอสอบกฎหมายมีวัตถุประสงคเพ่ือวัดความเขาใจในตัวบทกฎหมาย ตลอดจนความสามารถในการปรับใชกฎหมาย แมนักศึกษาจะมีความเขาใจในตัวบทกฎหมายดีเพียงใด แตหากนักศึกษาไมสามารถเรียบเรียงถายถอดออกมาใหผูอ่ืนเขาใจได ก็เปนการยากที่จะชี้ชัดวานักศึกษามีความเขาใจในตัวบทกฎหมายนั้นแลว ดวยเหตุนี้ การศึกษากฎหมายนอกจากจะตองเขาใจตัวบทกฎหมายที่ศึกษา และสามารถปรับใชได นักศึกษายังจะเปนตองสามารถเรียบเรียงถายทอดความเขาใจและความสามารถในการปรับใชกฎหมายออกมาไดดวย โดยเฉพาะการถายทอดออกมาโดยการเขียน ซึ่งถือเปนทักษะสําคัญเบื้องตนที่นักศึกษากฎหมายพึงมี ความสามารถในการเรียบเรียงถายทอดความเขาใจและความสามารถในการปรับใชนี้เองเรียกวาเปน ทักษะในการใชภาษากฎหมาย ความสามารถในการใชภาษากฎหมาย หมายรวมถึง การใชพูด และการใชเขียน มีความสําคัญในการประกอบวิชาชีพ ถาเปนทนายความวาความในศาลก็ตองสามารถพูด (ถามความ) และสามารถเขียน (คําฟอง คํารอง คําแถลง หรือขอแนะนําใหลูกความ) ไดเปนอยางดี ถาเปนผูพิพากษา ก็ตองสามารถเขียนคําพิพากษาได เหลานี้ไมสามารถที่จะใชภาษาพูดหรือภาษาเขียนที่ใชกันทั่วๆ แตก็มิไดหมายความวาภาษากฎหมายตองเปนการใชภาษาที่พิเศษพิสดาร จนคนทั่วๆ ไปไมสามารถเขาใจไดวานักกฎหมายตองการสื่ออะไร การใชภาษากฎหมายจึงตองเปนการผสมผสานกันระหวางการใชภาษาทั่วไปๆ กับภาษาเฉพาะในทางกฎหมาย ซึ่งจะตองสามารถสื่อออกมาใหคนทั่วไปเขาใจไดงาย มีความชัดเจน และที่สําคัญคือตองเปนภาษาที่มีความสอดคลองกับตัวบทกฎหมายดวย การใชภาษากฎหมายใหไดดี ไมสามารถเรียนรูหรือทําไดในระยะเวลาอันสั้น แตตองเกิดจากการบมเพาะ ฝกฝน สําหรับนักศึกษากฎหมายในระดับชั้นปริญญาตรีนั้น สามารถฝกฝนการใชภาษากฎหมายไดโดยการฝกเขียนตอบขอสอบกฎหมาย การเขียนตอบขอสอบกฎหมายไมเพียงแตจะทําใหนักศึกษาสามารถใชภาษากฎหมายไดดีเทานั้น แตยังเปนการฝกฝนทักษะการแกปญหาในทางกฎหมายที่นักศึกษากฎหมายจะตองพบเจอในการประกอบวิชาชีพในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่งขอสอบอุทาหรณก็เปนเสมือนการจําลองสถานการณจริงที่เกิดขึ้น ใหนักศึกษาไดฝกคิด แกปญหา และปรับใชตัวบทกฎหมายที่ศึกษามา นักศึกษาจะพบตอไปในอนาคตวา การตอบขอสอบกฎหมายที่เราไดทํากันในชั้นปริญญาตรีนั้นก็คือ การที่ผูพิพากษาตองเขียนคําพิพากษาตัดสินคดี หรือ คือการที่ทนายความตองเขียนคําฟอง คําใหการ หรือคําแนะนําใหลูกความ วาถาเกิดขอเท็จจริงเชนน้ี ตามตัวบทกฎหมายแลวจะกอใหเกิดผลในทางกฎหมายอยางไร ขอที่จะแตกตางกันอยู คือ ขอสอบกฎหมายไดตัดปญหาความยุงยากในเรื่องขอเท็จจริงที่ยังไมยุติ และ ๑

นักศึกษาสามารถศึกษาคําแนะนําการเรียนกฎหมายเพิม่เติมไดจาก คูมือกฎหมายลกัษณะนติกิรรม-สัญญา โดย รศ.ดร.จําป โสตถิพนัธุ, คูมือ

กฎหมายลักษณะนติิกรรมและสัญญา โดย รศ.ดร.กําชัย จงจักรพันธุ

Page 5: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

ระเบียบวิธีพิจารณาความออกไป เพราะในระดับชั้นปริญญาตรีก็คงแตเพียงคาดหวังใหนักศึกษาสามารถใชกฎหมายปรับกับขอเท็จจริงได โดยที่ยังไมตองมานั่งแกปญหาเกี่ยวกับขอโตแยงในเรื่องขอเท็จจริง ขอสอบกฎหมายจะมีอยู ๒ ประเภทสําคัญ อันไดแก ขอสอบเขียน กับขอสอบพูด ปจจุบันไมปรากฏวามีขอสอบพูดในการศึกษากฎหมายระดับชั้นปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย แตนักศึกษาอาจไปพบในการทดสอบความรูของเนติบัณฑิตยสภา สําหรับขอสอบเขียนนั้นยังคงเปนเครื่องมือวัดผลหลักของการศึกษากฎหมายในระดับชั้นปริญญาตรี ขอสอบเขียน ยังแบงออกไดอีก ๒ ประเภท คือ (๑) ขอสอบบรรยาย หรือเรียงความ กับ(๒) ขอสอบอุทาหรณ หรือขอสอบตุกตา

๒. ลักษณะของขอสอบบรรยาย ขอสอบบรรยาย หรือขอสอบเรียงความ เปนขอสอบที่มุงเนนวัดความเขาใจในเชิงหลักการ หรือทฤษฎีของหลักกฎหมายหรือเร่ืองที่ศึกษามา โดยขอสอบจะมุงหมายใหนักศึกษาอธิบายความเขาใจ มากกวาการวินิจฉัยขอเท็จจริง ดังน้ันรูปแบบการตอบขอสอบบรรยายจึงออกมาในรูปการเขียนแบบอธิบาย หรือบรรยาย ซึ่งมีลักษณะคลายการเขียนเรียงความนั่นเอง นักศึกษาจะพบรูปแบบคําถามของขอสอบรรยายในรูปแบบตางกัน ดังจะไดยกตัวอยางดังตอไปน้ี

(๑) คําถามใหอธิบายหลักการ หรือหัวขอที่ถาม (๒) คําถามใหอธิบายเปรียบเทียบ (๓) คําถามใหอธิบายความคิดเห็น (๔) คําถามบรรยายที่ใหวินิจฉัย (กึ่งบรรยายกึ่งอุทาหรณ)

(๑) คําถามใหอธิบายหลักการ หรือหัวขอที่ถาม เปนคําถามที่ใหนักศึกษาอธิบายความเขาใจในหัวขอหรือหลักการที่ถาม ซึ่งมักจะเปนคําถามที่เปนพ้ืนฐานที่สุดของขอสอบบรรยาย ตัวอยางคําถาม อาทิเชน ทานเขาใจวิวัฒนาการความเปนมาของกฎหมายที่แบงเปน ๓ ยุค อยางไร จงอธิบาย ทานเขาใจ “กฎหมายประเพณี” วาอยางไร และในระบบกฎหมายไทยปจจุบันเราอาจนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับในกรณีใดบาง เปนตน (๒) คําถามใหอธิบายเปรียบเทียบ เปนคําถามที่วัดความเขาใจนักศึกษาโดยการใหเปรียบเทียบ ซึ่งอาจเปนการใหเปรียบเทียบความเหมือน หรือความแตกตาง ซึ่งการใหเปรียบเทียบนั้นยอมตองเปนการเปรียบเทียบระหวางของสอง

Page 6: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

สิ่ง หรือมากกวาสองสิ่งขึ้นไป คําถามประเภทนี้จะเปนคําถามที่มีความยากขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง และยากกวาคําถามประเภทแรก คําถามใหอธิบายเปรียบเทียบนี้ จะเปนคําถามที่วัดความเขาใจนักศึกษาไดเปนอยางดี เพราะหากนักศึกษาไมเขาใจในหลักกฎหมายหรือเร่ืองที่ถามอยางทองแท ก็จะไมสามารถเปรียบเทียบความแตกตางในสาระสําคัญของสิ่งที่โจทยถามได ซึ่งจะแตกตางจากคําถามแบบใหอธิบายหลักการ ที่นักศึกษาบางคนมักจะตอบโดยอาศัยการทองจํา ตัวอยางคําถาม อาทิเชน จงอธิบายความแตกตางระหวางกฎหมายชาวบาน (Volksrecht) กับกฎหมายของนักกฎหมาย (Juristenrecht) กฎหมายชาวบาน (Volksrecht) และกฎหมายเทคนิค (Technical Law) มีลักษณะสําคัญเหมือนกันและแตกตางกันอยางไร จงอธิบายวาพระราชบัญญัติแตกตางจากพระราชกําหนดอยางไร จงอธิบายบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษรประเภท “บทกฎหมายยุติธรรม” (jus aequum)” บทบัญญัติดังกลาว และบทบัญญัติลายลักษณอักษรประเภท “บทกฎหมายบังคับไมตายตัว (jus dispositivum) มีลักษณะอยางเดียวกันหรือแตกตางกันอยางไร ใหอธิบาย เปนตน (๓) คําถามใหอธิบายความคิดเห็น คําถามใหอธิบายความเห็นเปนคําถามที่อาจจะถือวายากที่สุดในบรรดาคําถามประเภทตางๆ ของขอสอบบรรยาย เพราะนอกจากนักศึกษาจะตองมีความสามารถในการอธิบายความเขาใจในหลักการหรือหลักกฎหมายที่โจทยถามแลว นักศึกษาตองมีความสามารถในเชิงวิเคราะห และวิพากษวิจารณ ซึ่งถือวาเปนการแสดงความเขาใจชั้นสูง เพราะ นักศึกษาตองสามารถแสดงความเขาใจออกมาในมุมมองของตนเองโดยการวิพากษวิจารณได ดวยเหตุนี้คําถามประเภทใหอธิบายความคิดเห็นจึงมักจะไมมีคําตอบที่ถูกหรือผิด แตผูถามตองการวัดระบบการใหเหตุผล หรือวิธีคิดของนักศึกษามากกวา ดังน้ันผูที่ตอบไดคะแนนดีในขอสอบประเภทนี้ มักจะเปนผูที่มีระบบวิธีคิดที่ดี และสามารถแสดงความเห็นอยูบนหลักเหตุผลที่สอดคลอง ตัวอยางคําถาม อาทิเชน คําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม เปนตน (๔) คําถามบรรยายที่ใหวินิจฉัย (ก่ึงบรรยายกึ่งอุทาหรณ) โดยปกติของคําถามบรรยาย ผูถามมีจุดประสงควัตถุประสงคความเขาใจโดยการใหอธิบายมากกวาการใหวินิจฉัย อยางไรก็ดีมีขอสอบบรรยายที่นอกจากผูถามประสงคจะวัดความเขาใจนักศึกษาโดยการใหอธิบายหรือพรรณนาหลักการหรือเร่ืองที่ถาม ผูถามยังวัดความเขาใจของนักศึกษาโดยการใหวินิจฉัยตัวอยางที่คําถามยกมา ตัวอยางคําถาม อาทิเชน

Page 7: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

มาตรา ๑๙ เม่ือมีอายุยี่สิบปบริบูรณ บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาว และบรรลุนิติภาวะ มาตรา ๒๑ อันผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอน บรรดาการใดๆ อันผูเยาวไดทําลงปราศจากความยินยอมเชนวานั้น ทานวาเปนโมฆียะ เวนแตจะกลาวไวในมาตราทั้งสี่ตอไปน้ี มาตรา ๒๔ ผูเยาวอาจทําการใดๆ ไดทั้งสิ้น ซึ่งเปนการสมแกฐานานุรูปแหงตนและเปนการอันจําเปนเพื่อเลี้ยงชีพตามสมควร บทบัญญัติทั้งสามมาตรานี้จัดเปนบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษรประเภทใดบาง ใหอธิบาย บทบัญญัติแหงกฎหมายดังตอไปนี้เปน “กฎหมายชาวบาน” (Volksrecht) “กฎหมายนักกฎหมาย” (Juristenrecht) หรือ “กฎหมายเทคนิค” (Technical Law) จงอธิบาย

ก. “บิดาจําตองอุปการะเลี้ยงดูและใหการศึกษาตามสมควรแกบุตรในระหวางที่เปนผูเยาว” (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๖๔)

ข. “บุคคลใดทําใหสัตวปาบาดเจ็บแลวติดตามไป และบุคคลอื่นจับสัตวนั้นไดก็ดี หรือสัตวนั้นตายลงในที่ของบุคคลอื่นก็ดี ทานวาบุคคลแรกเปนเจาของสัตว (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๒๒)

ค. “สัตวน้ํา” หมายความวา ปลา เตา กระ กุง ปู... สัตวน้ําจําพวกปลิงทะเล จําพวกฟองน้ํา และจําพวกสาหรายทะเล...” (พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๔(๑)) เปนตน

๓. การจับประเด็นขอสอบบรรยาย ประเด็นของขอสอบ คือ เรื่องที่คําถามประสงคจะใหตอบ ความสําคัญของการจับประเด็น การจับประเด็นจะทําใหนักศึกษาทราบถึงเปาหมายหรือวัตถุประสงคของผูถาม ขอสอบแตละขอ ผูถามยอมมีวัตถุประสงคเพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจในหลักกฎหมาย หรือหลักการในเรื่องที่เรียนมา แตบางครั้งขอสอบจะไมไดแสดงใหเห็นชัดเจนวาคําถามดังกลาวเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร จึงเปนหนาที่ของนักศึกษาที่ตองวิเคราะหใหไดวาสิ่งที่โจทยถามมานั้นเปนเรื่องอะไร การวิเคราะหวาสิ่งที่โจทยถามมาเปนเรื่องอะไร ก็คือ “การจับประเด็น” นั่นเอง การจับประเด็นไดยอมหมายถึงนักศึกษากําลังเดินไปบนเสนทางที่ถูกตองแลว ทําใหนักศึกษาสามารถเขียนตอบไดตรงกับสิ่งที่ผูถามประสงคจะใหตอบ เชน คําถามที่วา “ทานเขาใจกฎหมายสามชั้นวาอยางไร ใหอธิบาย” หากนักศึกจับประเด็นที่โจทยถามไดก็จะทราบวาโจทยประสงคจะถามในเรื่องของ “วิวัฒนาการของกฎหมาย” หรือ “กฎหมาย ๓ ยุค” ซึ่งประกอบไปดวยกฎหมายชาวบาน กฎหมายของนักกฎหมาย และกฎหมายเทคนิค ซึ่งทานศาสตราจารยดร.ปรีดี เกษมทรัพย กลาววา กฎหมายที่ใชบังคับอยูในปจจุบันน้ีมีรูปแบบของกฎหมายทั้งสามยุคนี้ปะปนกันอยูเหมือนหมู ๓ ชั้น ดวยเหตุนี้การถามถึงกฎหมาย ๓ ชั้น ก็คือ วิวัฒนาการของกฎหมาย ๓

Page 8: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

ยุคนั่นเอง ในขณะที่นักศึกษาบางคนอาจเขาใจไปวา กฎหมาย ๓ ชั้น คือ เรื่องของลําดับชั้นของกฎหมาย ซึ่งเปนการเขาใจประเด็นที่โจทยถามคลาดเคลื่อน เม่ือเขาใจประเด็นที่โจทยถามคลาดเคลื่อนก็จะทําใหนักศึกษาเขียนตอบไปไมตรงกับเรื่องที่ถามเลย ทั้งน้ีการฝกจับประเด็นของขอสอบบรรยาย และขอสอบอุทาหรณจะไดกลาวตอไป ประเภทของประเด็นคําถามในขอสอบกฎหมาย ไมวาเปนขอสอบบรรยาย หรือขอสอบอุทาหรณ มักจะปรากฏประเด็นอยู ๒ ประเภท ไดแก

๑. ประเด็นที่ชัดแจง หมายถึง ประเด็นที่โจทยบอกมาชัดเจนวาประสงคจะถามเรื่องอะไร ๒. ประเด็นที่ซอนอยู หมายถึง ประเด็นที่โจทยมิไดถามมาตรงๆ แตใหขอเท็จจริง

บางอยางมาซึ่งมีนัยทางกฎหมายที่นักศึกษาจะตองตอบดวย

โดยสวนใหญแลวประเด็นในขอสอบบรรยายจะเปนประเด็นที่ชัดแจง เพราะเปนขอสอบวัดความเขาใจโดยการใหเขียนอธิบาย ซึ่งมีขอบเขตของเนื้อหาที่จะเขียนกวางกวาขอสอบอุทาหรณ ในขอสอบบรรยายผูถามจึงมักจะระบุมาชัดเจนวาประสงคจะวัดความรูความเขาใจนักศึกษาในเรื่องอะไร ในขณะที่ขอสอบอุทาหรณสวนใหญจะปรากฏวามีประเด็นทั้ง ๒ ประเภท เน่ืองจากเปนขอสอบที่มีตัวละคร และเปนการสมมติขอเท็จจริงที่เกิดในชีวิตจริง ดังนั้นผูถามจึงมุงประสงคที่จะใหนักศึกษาวินิจฉัยใหไดวาขอเท็จจริงที่คําถามผูกมาน้ันเกี่ยวกับหลักกฎหมายหรือเร่ืองอะไรบางที่นักศึกษาเคยเรียนมา โดยในขอสอบยอมจะมีทั้งสิ่งที่ผูถามระบุไวแลววาจะถามเรื่องอะไร (ประเด็นที่ชัดแจง) กับประเด็นที่ผูถามไมไดแสดงใหเห็นอยางชัดเจน ซึ่งนักศึกษาตองหยิบยกขึ้นมาวินิจฉัยดวย (ประเด็นที่ซอนอยู) พิจารณาตัวอยางขอสอบดังตอไปน้ี ตัวอยางขอสอบบรรยาย (ก) ทานเขาใจวิวัฒนาการความเปนมาของกฎหมายที่แบงเปน ๓ ยุค อยางไร จงอธิบาย (ข) กฎหมายชาวบาน (Volksrecht) และกฎหมายเทคนิค (Technical Law) มีลักษณะสําคัญเหมือนกันและแตกตางกันอยางไร (ค) คําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม

Page 9: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

ขอแนะนําในการจับประเด็นขอสอบบรรยาย (๑) โดยสวนใหญขอสอบบรรยายมักจะไมคอยปรากฏประเด็นที่ซอนอยู กลาวคือ ขอสอบบรรยายเปนขอสอบที่วัดความเขาใจโดยใหอธิบาย ซึ่งโดยสภาพของการตอบขอสอบบรรยายจะมีความยาวกวาการตอบขอสอบอุทาหรณ และมักจะใชเวลาในการตอบนานกวา ดวยเหตุนี้ผูถามมักจะไมตั้งคําถามที่ซับซอน ขอสอบบรรยายสวนใหญมักจะปรากฏเฉพาะประเด็นที่ชัดแจง ตัวอยางคําถามในขอ (ก) จะเห็นไดวาคําถามที่โจทยถามก็ไดแสดงใหเห็นถึงประเด็นของเรื่องโดยชัดเจนอยูแลว คือ เปนประเด็นเรื่อง “วิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค” ในขณะที่คําถามในขอ (ข) โจทยระบุประเด็นที่ประสงคจะถามไวชัดเจนเชนกัน คือ ประเด็นเรื่องของกฎหมายชาวบาน และกฎหมายเทคนิค โดยที่โจทยตองการใหนักศึกษาอธิบายประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมายชาวบาน และกฎหมายนักกฎหมาย ในแง (๑) ลักษณะสําคัญที่เหมือนกันของกฎหมายชาวบาน (Volksrecht) และกฎหมายเทคนิค (Technical Law) และ (๒) ลักษณะสําคัญที่แตกตางกันของกฎหมายชาวบาน (Volksrecht) และกฎหมายเทคนิค (Technical Law) ในขณะที่คําถามในขอ (ค) เร่ืองที่ถามอาจจะระบุไวชัดแลววาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคําพิพากษา วาเปนกฎหมายหรือไม แตปญหา คือ ประเด็นของเรื่อง คือ อะไร นักศึกษาจะตองหาใหพบ เพ่ือใหสามารถกําหนดเคาโครงการตอบและเนื้อหาของคําตอบที่นักศึกษาจะตองเขียนได (ขอแนะนําในการตอบขอสอบบรรยายจะไดกลาวในหัวขอถัดไป) (๒) ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถวิเคราะหคําถามไดทันทีวาเปนประเด็นเกี่ยวกับเรื่องอะไร มีขอแนะนําวา นักศึกษาตองพึงระลึกวา ขอสอบที่ถามจะไมเกินสิ่งที่นักศึกษาไดศึกษาไป โดยนักศึกษาจะตองนึกภาพของเคาโครงหลักๆ หรือ ชื่อของบทสําคัญๆ ที่นักศึกษาเรียนมาทุกบท เพ่ือนํามาเปรียบเทียบกับคําถามวานาจะเกี่ยวกับเรื่องอะไรมากที่สุด เชน ขอสอบวิชากฎหมายแพงหลักทั่วไป ภาค 1/2538 “ทานเขาใจ “กฎหมายประเพณี” วาอยางไร และในระบบกฎหมายไทยปจจุบันเราอาจนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับในกรณีใดบาง” ขอสอบขอน้ีผูถามไดบอกเรื่องมาชัดเจนวาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมายประเพณี ดังน้ันนักศึกษาสามารถจับประเด็นที่ชัดแจงไดวา คือ เปนเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายประเพณี ในขณะที่ขอสอบอีกขอหนึ่งที่ถามวา “คําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม” สําหรับคําถามขอน้ีอาจจะยากในการจับประเด็น แตถานักศึกษาลองนึกถึงเคาโครงใหญๆ หรือชื่อบทสําคัญๆ ที่เรียนมานักศึกษาจะพบวา วิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป ตองศึกษาในเรื่องสําคัญๆ อันไดแก (๑) วิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค (๒) บอเกิดของกฎหมาย (๓) ประเภทของบทบัญญัติลายลักษณอักษร (๔) ประเภทของสิทธิ (๕) นิติวิธี การใชและการตีความ นักศึกษาจะพบวาคําถามขางตนนาจะมีความใกลเคียงกับปญหาเรื่องบอเกิดของกฎหมายมากที่สุด เพราะเรื่องบอเกิดของกฎหมาย ก็คือ การศึกษาที่มาหรือแหลงของกฎหมายที่ศาลจะนํามาใชตัดสินคดี ดังน้ันการถามวาคําพิพากษาเปนกฎหมายหรือไม ก็คือ การถามวาศาลจะนําคําพิพากษามาใชเปนกฎหมายตัดสินคดีไดหรือไม ซึ่งก็คือ คําถามที่วาคําพิพากษาของศาลเปนบอเกิดของกฎหมายหรือไม ดวยเหตุนี้ ประเด็นของขอสอบขอน้ีจึงเปนเรื่องของ “บอเกิดของกฎหมาย”

Page 10: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๐

(๓) การจับประเด็นผิดในขอสอบบรรยายจะทําใหนักศึกษามีโอกาสสอบไมผานในขอนั้นมีสูง เพราะขอสอบบรรยายมักจะมีประเด็นไมมาก ตางจากขอสอบอุทาหรณซึ่งมีหลายประเด็น ถานักศึกษาจับประเด็นผิดในบางประเด็น และถูกในบางประเด็น นักศึกษายังมีโอกาสสอบผานในขอน้ัน ขอสังเกต นักศึกษาจะพบวาปญหาที่สําคัญของการตอบขอสอบบรรยายไมใชอยูที่การจับประเด็นของคําถาม แตเปนเรื่องของการจะเขียนตอบอยางไร หรือกลาวงายๆ วาจะเอาอะไรมาเขียน จะเรียบเรียงอยางไร ตองเขียนกวางแคบเพียงใด อันนี้ถือเปนปญหาสําคัญที่ทําใหนักศึกษากฎหมายหลายๆ คนไมชอบตอบขอสอบบรรยาย ในขณะที่ขอสอบอุทาหรณปญหาใหญ คือ เร่ืองการจับประเด็นของขอสอบ เพราะถานักศึกษาจับประเด็นไดทั้งประเด็นที่ชัดแจง และประเด็นที่ซอนอยู นาเชื่อวาโอกาสที่นักศึกษาจะสอบผานในขอน้ันจะมีสูง และโอกาสที่นักศึกษาจะไดคะแนนในขอน้ันสูงก็มีมากเชนกัน

๔. แนวการเขียนตอบขอสอบบรรยาย ๔.๑ แนวทางทั่วไปในการตอบขอสอบบรรยาย

(๑) ตองจับประเด็นใหไดวาประเด็นที่โจทยถามเปนเรื่องอะไร (โปรดดูขอแนะนําในการจับประเด็นขอสอบบรรยาย) (๒) จะตองทราบวาโจทยถามอยางไร หรือใหตอบอยางไร กลาวคือ (ก)ตองทราบรูปแบบของคําถาม วาใหตอบอยางไร และ(๒) ตองทราบวาขอสอบขอน้ันมีกี่คําถาม กลาวคือ คําถามขอเดียวโจทยอาจถามในหลายประเด็น ในกรณีที่โจทยถามหลายประเด็นนักศึกษาควรทําเครื่องหมาย หรือหมายเลขไว เพ่ือใหทราบวาเราจะตองตอบในกี่ประเด็น ตัวอยางขอสอบ “ทานเขาใจ “กฎหมายประเพณี” วาอยางไร และในระบบกฎหมายไทยปจจุบันเราอาจนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับในกรณีใดบาง” จากขอสอบขางตน ดูรูปแบบของการถามแลวจะพบวา เปนการถามใหตอบแบบอธิบายความเขาใจในเรื่องที่ถาม ซึ่งเปนรูปแบบการถามทั่วๆ ไป อยางไรก็ดีขอสอบขอน้ีไดถามใน ๒ ประเด็น อันไดแก (๑) ใหอธิบายกฎหมายประเพณี (๒) ระบบกฎหมายไทยยอมรับใหนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับไดในกรณีใดบาง นักศึกษาควรจะทําเครื่องหมาย หรือตัวเลขไวเหนือประโยค หรือวลีที่ถาม เพ่ือคอยเตือนวานักศึกษาจะตองตอบในประเด็นใดบาง “ทานเขาใจ “กฎหมายประเพณี” วาอยางไร และในระบบกฎหมายไทยปจจุบันเราอาจนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับในกรณีใดบาง”

(๑)

(๒)

Page 11: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๑

(๓) หลักของการตอบขอสอบบรรยายประการหนึ่งมีอยูวา “นักศึกษาควรตอบหรืออธิบายใหอาจารยผูตรวจขอสอบเขาใจเสมือนอาจารยไมเคยมีความรูในเร่ืองน้ันมากอน” ดังน้ันการเขียนตอบขอสอบบรรยายจึงไมเพียงแตเฉพาะตอบใหตรงประเด็นเทานั้น แตนักศึกษาตองเขียนอธิบายใหอาจารยผูตรวจขอสอบเขาใจดวยวา นักศึกษามีความเขาใจในประเด็นที่ถามเปนอยางดี ซึ่งการจะแสดงใหอาจารยผูตรวจขอสอบเห็นวาเรามีความเขาใจในเรื่องที่ถามเปนอยางดีนั้น อาจทําไดโดยการอธิบายเรื่องที่เกี่ยวของกับประเด็นที่โจทยถามดวย เรียกวา “เร่ืองแวดลอม” หรือ ที่บางคนเรียกวาอธิบายปูพ้ืนเสียกอน ทั้งน้ีขึ้นอยูกับการวางโครงเรื่องของนักศึกษา ซึ่งจะกลาวในลําดับตอไป (๔) เม่ือนักศึกษาจับประเด็นไดแลว นักศึกษาจะตองวางโครงเรื่องหรือเคาโครงของเรื่องที่จะเขียนตอบ สวนนี้จะถือเปนหัวใจของขอสอบบรรยาย ตัวอยางขอสอบ “คําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม” หลักในการวางเคาโครงของเรื่องที่จะตอบ

(ก) นักศึกษาตองมีประเด็นของเร่ืองจะตอบกอน ตามตัวอยางขางตน ประเด็นที่จะตองเขียนตอบโจทยไดบอกมาชัดเจนแลววา “คําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม”

(ข) เม่ือไดประเด็น ซึ่งเปนหัวใจของเรื่องแลว นักศึกษาตองนึกถึง “เร่ืองแวดลอม” ของประเด็นดังกลาว คือ ตองนึกถึงเคาโครงของเรื่องที่เรียนมาวา ปญหาที่วาคําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม เปนปญหาเกี่ยวกับเร่ืองอะไร นักศึกษาที่มีพ้ืนฐานความรูระดับหน่ึงจะนึกไดวา เปนการศึกษาเกี่ยวกับปญหาเรื่อง “บอเกิดของกฎหมาย”

(ค) เม่ือนักศึกษาได “ประเด็น” และ “เร่ืองแวดลอม” แลวนักศึกษาตองบันทึกเคาโครงของการตอบไว อาจเขียนโนตไว หรือนักศึกษาบางคนก็จดจําไวก็ได

คําพิพากษาของศาล

บอเกิดของกฎหมาย

(๕) สําหรับขอสอบบรรยายนั้น นักศึกษาจะพบวาหากไมมีการวางเคาโครงของเรื่องที่จะตอบ แมเราจะจับประเด็นไดวาตองตอบเรื่องอะไร เราก็จะมีเร่ืองใหเขียนไมมากนัก เขียนโดยมีเคาโครงของเรื่องที่จะเขียน จะแสดงใหเห็นถึงลําดับความคิด และความเขาใจเรื่องที่ถามอยางดีของนักศึกษา นักศึกษาจะพบวา ตามตัวอยาง หากเขียนตอบเฉพาะความเห็นในประเด็นที่ถามวาคําพิพากษาเปนกฎหมายหรือไม นักศึกษาก็คงจะมีเร่ืองใหเขียนตอบไดไมมากนัก แตหากนักศึกษามีเคาโครงของเรื่องที่จะตอบนักศึกษาก็จะสามารถเขียนตอบในเรื่องที่ที่ขอสอบประสงคจะถามไดอยางครบถวน นักศึกษาตองพึงระลึกวา “นักศึกษาตองเขียนตอบแสดงใหผูถามรูดวยวา นักศึกษาทราบวาสิ่งที่ถามมาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร” ดวยเหตุนี้นักศึกษาจําเปนตองอธิบาย “เรื่องแวดลอม” ตามสมควร

Page 12: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๒

(๖) ปญหาที่มักจะพบในขอสอบบรรยาย คือ เม่ือนักศึกษาวางเคาโครงเรื่องที่จะตอบไดแลว และเริ่มตนเขียน “เร่ืองแวดลอม” กอนที่จะเขาสูประเด็นที่โจทยถาม นักศึกษาสวนใหญม ักมีปญหาเกี่ยวกับการแบงสัดสวนระหวาง “เรื่องแวดลอม” กับ “ประเด็นที่ตองตอบ” หลายคนเขียนเรื่องแวดลอม หรือเขียนปูพ้ืน หรือเกริ่นนํามากจนเกินไป จนไมมีเวลาเพียงพอที่จะเขียนเขาสูประเด็นที่ตองตอบ อาทิ เขียนเร่ืองบอเกิดของกฎหมายละเอียดมากจนเกินไป จนไมมีเวลาเหลือพอที่แสดงความเห็นวาตกลงคําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม หรืออีกปญหาหนึ่งคือ นักศึกษาเขียน “เรื่องแวดลอม” นอยมากเกินไป หรือ เขียนแตเพียงหัวขอ จนไมรูวานักศึกษากําลังพูดถึงเรื่องอะไรกันแน เหลานี้ลวนเปนปญหาสัดสวนการแบงเวลากับเรื่องที่ตองเขียน มีขอแนะนําเกี่ยวกับการแบงเวลาในการตอบขอสอบบรรยาย วา นักศึกษามีเวลาในการทําขอสอบ ๕ ขอ ทั้งสิ้น ๓ ชั่วโมง เฉลี่ยนักศึกษามีเวลาในการทําขอสอบขอละ ๓๐ – ๓๕ นาทีโดยประมาณ เม่ือนักศึกษามีเคาโครงของเรื่องที่จะตองตอบแลวนักศึกษาตองแบงสัดสวนระหวางเวลา ๓๐ นาที กับเรื่องทั้งหมดที่ตองเขียนในเรื่องน้ันๆ หลัก ประเด็นที่ตองตอบคําถาม ควรจะมีสัดสวนไมนอยกวา ๓๐ - ๕๐ % ของเรื่องที่ตองเขียนตอบในขอน้ัน๒ แตทั้งน้ีขึ้นอยูกับวา ประเด็นที่โจทยถามมามีมากหรือนอย และสภาพของประเด็นที่โจทยถามเปดชองใหนักศึกษาตอบไดมากนอยเพียงใด ถาตามตัวอยางขางตน การแสดงความเห็นวาคําพิพากษาของศาลเปนกฎหมายหรือไม โดยลําพังประเด็นน้ีประเด็นเดียวนักศึกษาอาจจะเขียนตอบไดไมมากนัก เพราะขอสอบขอน้ีตองการ “เรื่องแวดลอม” มาสนับสนุนเปนอยางมาก ทั้งน้ีจะแสดงตัวอยางการแบงสัดสวนของเวลา / ปริมาณเนื้อหา กับ เรื่องที่ตองเขียนตอบดังน้ี จากตัวอยางขางตน

บอเกิดของกฎหมายไทย : บอเกิดประเภทที่เปนลายลักษณอักษร และบอเกิดประเภทที่ไมเปนลายลักษณอักษร

ความเห็นวา คําพิพากษาเปนกฎหมายหรือไม

๗๐ % ๓๐ % ตัวอยางขอสอบ “ทานเขาใจ “กฎหมายประเพณี” วาอยางไร และในระบบกฎหมายไทยปจจุบันเราอาจนํากฎหมายประเพณีมาใชบังคับในกรณีใดบาง” จากตัวอยางขอสอบข

างตน นักศึกษาจับประเด็นที่โจทยตองการใหตอบไดวา มีอยู ๒ เร่ือง คือ (๑) ใหอธิบายเรื่องกฎหมายประเพณี (๒) ในระบบกฎหมายไทยนํากฎหมายประเพณีมาใชไดในกรณีใดบาง

ไมใชสัดสวนท่ีตายตัว ข้ึนอยูกับขอสอบแตละขอ และข้ึนอยูกับปจจัยหลายอยาง แตโดยหลักนกัศึกษาตองพิเคราะหถึงความไดสัดสวนระหวาง

ประเด็นท่ีคําถามตองการใหตอบกับ “เรื่องแวดลอม” ท่ีนักศึกษาจะตองเขียนลงไป ท้ังนี้อยูบนหลักการที่วา การเขยีนตอบจะตองตอบ ประเดน็ท่ีคําถามตองการใหตอบ ครบทุกประเดน็

Page 13: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๓

ปญหาตอไป คือ นักศึกษาจะวางเคาโครงการตอบอยางไร ปญหาที่ตองพิจารณา คือนักศึกษาจะเขียนถึงกฎหมายประเพณีในแงมุมไหน จะเขียนถึงกฎหมายประเพณีที่ถูกกลาวถึงในเรื่องวิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค หรือ กฎหมายประเพณีที่ถูกกลาวถึงในเรื่องบอเกิดของกฎหมาย๓ จะเห็นไดวาไมวาจะกลาวถึง “กฎหมายประเพณี” ในบริบทใด ก็ลวนแลวแตอยูในความหมายเดียวกัน ดังนั้นนักศึกษาสามารถนําเอาเรื่องกฎหมายประเพณีซึ่งอยูในบริบทใดก็ไดมาพูด ปญหาที่เกิดขึ้นตามมา คือ นักศึกษาบางคน เม่ือเอากฎหมายประเพณี ซึ่งอยูในเรื่องวิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค มาพูด ก็จะพูดถึงเรื่องแวดลอมดวย คือ พูดถึงกฎหมายอีก ๒ ยุคอยางละเอียด อันไดแก กฎหมายของนักกฎหมาย และกฎหมายเทคนิค ซึ่งหากแบงเวลาไมดีก็จะทําใหเสียเวลาไปมาก ทั้งๆ ที่การเขียนอธิบายกฎหมายของนักกฎหมายและกฎหมายเทคนิคมิไดทําใหนักศึกษาไดคะแนนดขีึ้นมาแตอยางใด ในขณะเดียวกันคนที่พูดถึงกฎหมายประเพณีในบริบทของบอเกิดของกฎหมาย ก็จะเขียนเร่ืองแวดลอม อันไดแก เร่ืองบอเกิดของกฎหมายมาทั้งหมด ซึ่งหากจัดระบบเน้ือหาของสิ่งที่จะเขียน และจัดระบบเวลาไมดี ก็จะทําใหเขียนตอบไมทัน เพราะนักศึกษาตองไมลืมวาขอสอบขอน้ีมีประเด็นสําคัญที่ตองตอบถึง ๒ ประเด็น จริงๆ แลวหากนักศึกษาจะพูดถึงกฎหมายประเพณีในบริบทของวิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค นักศึกษาจะสามารถเขียนอธิบายความเขาใจไดมาก เพราะในบทดังกลาวมีการศึกษาอยางละเอียด วากฎหมายประเพณีคืออะไร และมีที่มาอยางไร เพียงแตนักศึกษาไมจําเปนตองพูดถึงกฎหมายของนักกฎหมายและกฎหมายเทคนิคเลย เพียงแตบอกวากฎหมายประเพณี คือ รูปแบบหน่ึงของกฎหมายในวิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค อันไดแก ยุคกฎหมายชาวบาน ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย และยุคกฎหมายเทคนิค กลาวถึงกฎหมายของนักกฎหมาย และกฎหมายเทคนิค เพียงแคนี้ก็เพียงพอ โดยไมตองถึงกับอธิบายอยางละเอียดวาคืออะไร มีที่มาอยางไร ทั้งน้ีพราะนักศึกษาจะตองไมลืมวาจะตองตอบคําถามอีกประเด็นหนึ่ง คือ ในระบบกฎหมายไทยนํากฎหมายประเพณีมาใชไดในกรณีใดบาง

กฎหมายประเพณ ี ระบบกฎหมายนํากฎหมายประเพณมีาใชไดในกรณีใดบาง : ความสัมพันธระหวางจารีตประเพณกีับกฎหมายลายลกัษณอักษร

๓๐ % ๗๐ % (๗) การตอบขอสอบบรรยายใหไดคะแนนดี ควรยกตัวอยางเสมอ การยกตัวอยางประกอบจะแสดงใหเห็นถึงความเขาใจของนักศึกษาตอเร่ืองที่ถามไดเปนอยางดี ตัวอยางดังกลาวเราอาจสมมติขึ้นเอง หรือ จํามาจากเหตุการณหรือสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําซึ่งเกี่ยวของกับเรื่องที่ตองเขียนตอบ

ท้ังนี้เปนไปตามการแบงหัวขอเรื่อง ใน คําอธิบายความรูกฎหมายทั่วไป ฉบบัพิมพครั้งท่ี ๙ โดย รศ.สมยศ เชือ้ไทย

Page 14: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๔

(๘) อยาทองจํามาตอบ การเขียนตอบขอสอบไดโดยทองจํามาตอบนั้น แมจะทําใหนักศึกษาสอบผานได แตนักศึกษาก็จะสอบผานดวยคะแนนไมดีนัก เพราะขอสอบอัตนัยเปนขอสอบวัดความเขาใจ ไมใชทองจํา นักศึกษาควรตอบดวยภาษาที่เกิดจากการเรียบเรียงดวยความเขาใจของตนเอง มากกวาจดจําสํานวนหรือภาษาของผูอ่ืน พึงระลึกวา ขอสอบที่ทดสอบความเขาใจ ผูตรวจก็ยอมคาดหวังความเขาใจของนักศึกษาจริงๆ และนักศึกษาไมควรกลัววาจะใชภาษาไมสละสลวยหากใชภาษาของตนเอง การตอบขอสอบบรรยาย อาจารยผูตรวจขอสอบมิไดคาดหวังใหนักศึกษาตองเขียนภาษากฎหมาย แตเขียนดวยภาษาที่เขาใจงายแสดงใหเห็นถึงความเขาใจของตนเอง โดยอยูบนหลักที่วาผูตรวจขอสอบไมมีความรูในเรื่องน้ันมากอนเลย

๔.๒ ขอแนะนําในการตอบขอสอบบรรยาย : กรณีเฉพาะ นอกเหนือจากแนวทางทั่วไปในการตอบขอสอบบรรยายดังที่กลาวไปแลวขางตน ในการตอบขอสอบบรรยายในรูปตางๆ ยังมีขอแนะนําบางประการในการตอบขอสอบแตละรูปแบบคําถามที่นักศึกษาพึงตั้งเปนขอสังเกตไว สําหรับนักศึกษาในการตอบขอสอบรูปแบบนั้นๆ

(๑) คําถามใหอธิบายหลักการ หรือหัวขอที่ถาม สําหรับรูปแบบคําถามประเภทนี้ไมมีขอสังเกตพิเศษ (๒) คําถามใหอธิบายเปรียบเทียบ

สําหรับรูปแบบคําถามประเภทนี้ ทั้งน้ีอาจถามไดอีก ๓ รูปแบบ คือ ถามใหเปรียบเทียบซึ่งเปนการถามแบบกวางๆ และถามแบบเจาะจง คือ ถามความเหมือน หรือถามความแตกตาง ขอแนะนําเพ่ิมเติมในการตอบขอสอบประเภทนี้มีดังนี้ (ก) กรณีที่โจทยถามกวางๆ โดยการใหเปรียบเทียบ นักศึกษาควรจะกลาวถึงทั้งความเหมือน และความแตกตางของสิ่งที่ถูกใหเปรียบเทียบ เชน ตัวอยางขอสอบ “ใหทานเปรียบเทียบความแตกตางระหวางพระราชบัญญัติ และพระราชกําหนด” ในกรณีที่โจทยถามอยางใดอยางหน่ึง เชน “พระราชบัญญัติแตกตางจากพระราชกําหนดอยางไร ใหอธิบาย” ประเด็นที่โจทยถาม คือ ความแตกตางระหวางพระราชบัญญัติกับพระราชกําหนด นักศึกษาควรกลาวถึงความเหมือนกันไปดวย แตใหถือเปนประเด็นรองที่ตองตอบ และประเด็นรองนี้ไมควรเขียนรายละเอียดมากเกินไป เพราะอาจจะทําใหกลายเปนประเด็นที่สําคัญไปกวาประเด็นหลัก

Page 15: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๕

(ข) ควรอธิบายความเขาใจในสิ่งที่ถูกเปรียบเทียบดวย เชน ตามตัวอยางขางตน “พระราชบัญญัติแตกตางจากพระราชกําหนดอยางไร ใหอธิบาย” นักศึกษาควรอธิบายความเขาใจหรือปูพ้ืนความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ และพระราชกําหนดกอน แลวคอยเปรียบเทียบความแตกตาง เคาโครงการตอบขอสอบในตัวอยางดังกลาวอาจแบงหัวขอและลําดับได และกําหนดสัดสวน๔เน้ือหาไดดังตอไปน้ี พระราชบัญญัติ คือ... ประเด็นรอง ๓๐-๔๐ % พระราชกําหนด คือ... ความแตกตางระหวางพระราชบัญญัติกับพระราชกําหนด

ประเด็นหลัก ๖๐ % (๑) (๒)

ประเด็นรอง ๕-๑๐ % ความเหมือนระหวางพระราชบัญญัติและพระราชกําหนด ตัวอยางขอสอบ “กฎหมายชาวบาน (Volksrecht) และกฎหมายเทคนิค (Technical Law) มีลักษณะสําคัญเหมือนกันและแตกตางกันอยางไร” กฎหมายชาวบาน (Volksrecht) กฎหมายเทคนิค (Technical Law) ความแตกตางระหวางกฎหมายชาวบานและกฎหมายเทคนิค ความเหมือนระหวางกฎหมายชาวบานและกฎหมายเทคนิค ประเด็นหลัก ๑๐ %

ประเด็นหลัก ๓๐ %

ประเด็นรอง ๓๐ %

ประเด็นรอง ๓๐ %

สําหรับตัวอยางขอสอบขอน้ีประเด็นหลักอยูที่ความเหมือนและความแตกตางของกฎหมายชาวบานและกฎหมายเทคนิค แตนักศึกษาจะพบความแตกตางของกฎหมายทั้งสองประเภทนี้จะมีมากกวาความเหมือน ดังนั้น ในการตอบนักศึกษาอาจจะตองไปเนนที่ความแตกตางเปนหลัก

เปนเพียงตัวอยาง ไมใชสัดสวนท่ีตายตวั

Page 16: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๖

(๓) คําถามใหอธิบายความคิดเห็น สําหรับคําถามที่ใหแสดงความเห็นน้ัน อาจจะจัดลําดับเรื่องที่จะเขียนตอบไดดังน้ี (๑) อธิบายปญหาที่เกิดขึ้นวาเปนอยาไร

(๒) กลาวถึงแนวทาง หรือความเห็นที่เกี่ยวกับปญหานั้นๆ ในกรณีที่มีความเห็นในหลายๆ แนวทางควรจะกลาวถึงเฉพาะความเห็นที่สําคัญๆ ก็เพียงพอ

(๓) ตองแสดงความเห็นของตนเองดวย และผลในทางกฎหมายที่อาจเกิดขึ้นตามความเห็นของตน (ถามี)

(๔) คําถามบรรยายที่ใหวินิจฉัย (ก่ึงบรรยายกึ่งอุทาหรณ)

การตอบขอสอบรรยายประเภทนี้มีลักษณะคลายการตอบขอสอบอุทาหรณ มีขอแนะนําการเขียนตอบเปนกรณีพิเศษ คือ (๑) นักศึกษาจะตองจับประเด็นใหไดกอนวาเปนเรื่องเก่ียวกับอะไร (๒) นักศึกษาจะตองอธิบายความเขาใจในเรื่องน้ันๆ กอน โดยเปนการอธิบายอยางยอๆ (เฉพาะสวนที่เปนสาระสําคัญ) พอเขาใจ เพ่ือเปนหลักเกณฑหรือแนวทางในการวินิจฉัยขอเท็จจริงที่โจทยใหมา มีลักษณะทํานองเดียวกับการวางหลักกฎหมาย กอนที่จะวินิจฉัยขอเท็จจริงในการตอบขอสอบอุทาหรณ (๓) วินิจฉัยขอเท็จจริงที่โจทยใหมา พรอมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ (๔) คําถามประเภทนี้ไมจําเปนตองยกตัวอยางอีก เพราะขอเท็จจริงที่โจทยใหมาก็เปรียบเสมือนตัวอยางอยูแลว ตัวอยางขอสอบ (๑) มาตรา ๑๙ เม่ือมีอายุยี่สิบปบริบูรณ บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาว และบรรลุนิติภาวะ มาตรา ๒๑ อันผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอน บรรดาการใดๆ อันผูเยาวไดทําลงปราศจากความยินยอมเชนวานั้น ทานวาเปนโมฆียะ เวนแตจะกลาวไวในมาตราทั้งสี่ตอไปน้ี มาตรา ๒๔ ผูเยาวอาจทําการใดๆ ไดทั้งสิ้น ซึ่งเปนการสมแกฐานานุรูปแหงตนและเปนการอันจําเปนเพื่อเลี้ยงชีพตามสมควร บทบัญญัติทั้งสามมาตรานี้จัดเปนบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษรประเภทใดบาง ใหอธิบาย

Page 17: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๗

(๒) บทบัญญัติแหงกฎหมายดังตอไปน้ีเปน “กฎหมายชาวบาน” (Volksrecht) “กฎหมายนักกฎหมาย” (Juristenrecht) หรือ “กฎหมายเทคนิค” (Technical Law) จงอธิบาย

ง. “บิดาจําตองอุปการะเลี้ยงดูและใหการศึกษาตามสมควรแกบุตรในระหวางที่เปนผูเยาว” (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๖๔)

จ. “บุคคลใดทําใหสัตวปาบาดเจ็บแลวติดตามไป และบุคคลอื่นจับสัตวนั้นไดก็ดี หรือสัตวนั้นตายลงในที่ของบุคคลอื่นก็ดี ทานวาบุคคลแรกเปนเจาของสัตว (ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๒๒)

ฉ. “สัตวน้ํา” หมายความวา ปลา เตา กระ กุง ปู... สัตวน้ําจําพวกปลิงทะเล จําพวกฟองน้ํา และจําพวกสาหรายทะเล...” (พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ มาตรา ๔(๑)) เปนตน

สําหรับในตัวอยางขอสอบขอ (๑) นั้น ขั้นแรกนักศึกษาตองจับประเด็นใหไดกอนวาโจทยถามเรื่องอะไร ซึ่งก็คือ เร่ืองประเภทของบทบัญญัติลายลักษณอักษร ขั้นตอนตอไป คือ นักศึกษาตองอธิบายความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของบัญญัติลายลักษณอักษรอยางยอๆ พอเขาใจ โดยไมตองยกตัวอยางประกอบ ในขั้นตอนสุดทาย นักศึกษา คือ วินิจฉัยวา ที่โจทยยกมาใน ๓ เปนบทบัญญัติลายลักษณอักษรประเภทใดบาง โดยอาจแยกวินิจฉัยทีละมาตรา เชนเดียวกับขอสอบขอ (๒) นักศึกษาตองรูกอนวาเปนเรื่องอะไร ประเด็นก็คือ เรื่องวิวัฒนาการของกฎหมาย ๓ ยุค ในขั้นตอนที่สองนักศึกษาก็เร่ิมอธิบายกฎหมายทั้ง ๓ ยุค โดยกลาวถึงเฉพาะสวนที่เปนสาระสําคัญโดยไมตองยกตัวอยาง สุดทาย นักศึกษาตองวินิจฉัยวาบทบัญญัตทิีโ่จทยยกมาเปน บทบัญญัติประเภทใด และเพราะเหตุใด โดยอาจแยกวินิจฉัยทีละมาตรา

Page 18: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๘

๕. ลักษณะของขอสอบอุทาหรณ ขอสอบอุทาหรณ หรือที่เรียกกันทั่วไปวา “ขอสอบตุกตา” คือ ขอสอบที่ผูกขอเท็จจริงมาเปนเร่ืองราว มีตัวละครเปนนาย ก นาย ข ฯลฯ ตัวละครเหลานี้ไดกระทําอยางใดอยางหนึ่งขึ้น แลวทายสุดโจทยก็จะถามปญหาใหนักศึกษาวินิจฉัย๕

ขอสอบอุทาหรณมุงจะทดสอบความเขาใจในหลักกฎหมาย ตลอดจนความสามารถในปรับใชหลักกฎหมาย ในการประกอบวิชาชีพกฎหมายสาขาตางๆ อาทิ ผูพิพากษา ก็ตองเขียนคําพิพากษาซึ่งเปนการนําหลักกฎหมายไปปรับกับขอเท็จจริง และวินิจฉัย (พิพากษา) ออกมาวาเกิดผลในทางกฎหมายอยางไร หรือกรณีทนายความเขียนความเห็นในทางกฎหมายใหกับลูกความ ทนายความก็ตองสามารถใหความเห็นกับลูกความไดวาขอเท็จจริงเชนนี้ จะเกิดผลในทางกฎหมายอยางไร เปนตน นักศึกษาจะเห็นไดวา การที่ผูพิพากษาตองวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือทนายตองใหความเห็นในทางกฎหมายแกลูกความ เปนกรณีที่ตองนําหลักกฎหมายไปปรับกับขอเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยวาเกิดผลในทางกฎหมายอยางไร ซึ่งการนําหลักกฎหมายไปปรับกับขอเท็จจริง เพ่ือหาผลในทางกฎหมายนี้เอง ก็คือ การนําหลักกฎหมายไปปรับกับขอเท็จจริงเพ่ือหาคําตอบในทางกฎหมายในขอสอบอุทาหรณนั่นเอง การตอบขอสอบอุทาหรณจึงเปนเครื่องวัดความเขาใจในหลักกฎหมาย ความสามารถในการวินิจฉัยปญหา การทดสอบอุดมคติของนักกฎหมาย๖ ความสามารถในการใชภาษากฎหมายซึ่งเปนเอกลักษณเฉพาะของนักกฎหมาย นักศึกษาจะไดพบตอไปวา ในการศึกษากฎหมายในระดับชั้นปริญญาตรีนั้น ขอสอบวัดความเขาใจหลักกฎหมายนั้นจะเปนขอสอบอุทาหรณเปนสวนใหญ ในขณะที่ขอสอบสําหรับการวัดความรูเนติบัณฑิต หรือขอสอบผูชวยผูพิพากษา หรือขอสอบอัยการผูชวย เปนขอสอบอุทาหรณทั้งหมด ดวยเหตุนี้ความสามารถในการตอบขอสอบอุทาหรณ จึงเปนคุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่สุดที่นักศึกษากฎหมายจะพึงมี และความสามารถนี้จะไมไดเกิดเพียงชั่วขามคืน แมนักศึกษาผูนั้นจะมีสติปญญาเฉียบแหลมเพียงใด แตการจะตอบขอสอบกฎหมายไดดีตองเกิดจากการฝกฝนอยางสม่ําเสมอเพื่อสั่งสมประสบการณ๗ ฉะน้ันนักศึกษากฎหมายนอกจากการอาน การฟง การพูด หรือการถาม แลวนักกฎหมายยังตองเขียน ตองฝกฝนการเขียนอยางหนัก และสม่ําเสมอ เพ่ือใหสามารถปรับใชกฎหมายไดอยางถูกตอง และเปนธรรม

กําชัย จงจักรพนัธ, “คูมือกฎหมายลกัษณะนิติกรรมและสญัญา” สํานกัพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, พิมพครั้งท่ี ๖ ๖ อุดมคติของนักกฎหมาย คือ การนําพาไปสูความยุติธรรม

๗ นักศึกษากฎหมายในชั้นเริ่มตนจะพบวาการฝกเขียนตอบขอสอบอุทาหรณมีความยากกวาการตอบขอสอบบรรยายซึ่งมีลกัษณะเปนการตอบ

เรียงความซึ่งนกัศึกษาอาจจะเคยพบลักษณะการตอบเชนนี้มากอน ในขณะท่ีขอสอบอุทาหรณเปนขอสอบที่มีเอกลักษณ อยางไรก็ดีเมือ่นักศึกษามีทักษะในการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณระดบัหนึ่ง และการที่ขอสอบกฎหมายสวนใหญเปนขอสอบอุทาหรณ นักศึกษาจะพบวาขอสอบอุทาหรณนั้นงายตอการตอบมากกวาขอสอบรรยายมาก การตอบขอสอบอุทาหรณใหไดคะแนนดนีั้นงายกวาการตอบขอสอบบรรยายใหไดคะแนนด ี

Page 19: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๙

โดยมากรูปแบบคําถามของขอสอบอุทาหรณจะเปนขอสอบที่ถามใหวินิจฉัย อยางไรก็ดีมีขอสอบอุทาหรณบางขอที่ถามในรูปแบบอ่ืน ดังจะไดกลาวถึงรูปแบบของขอสอบอุทาหรณแบงโดยอาศัยลักษณะของการถามเปนเกณฑ ดังตอไปน้ี

(๑) ขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป (๒) ขอสอบกึ่งอุทาหรณกึ่งบรรยาย (ขอสอบอุทาหรณถามใหตอบแบบบรรยาย) (๓) ขอสอบอุทาหรณที่ถามความคิดเห็น

(๑) ขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป ขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป คือ ขอสอบที่ถามใหวินิจฉัยหาผลในทางกฎหมาย ซึ่งจะเปนขอสอบที่ผูออกขอสอบจะมีธงคําตอบที่แนนอน คือ เกิดผลในทางกฎหมายอยางใดอยางหนึ่งที่แนนอน ซึ่งนักศึกษาจะสังเกตไดวาขอสอบประเภทนี้จะใหวินิจฉัยการกระทําอยางใดอยางหนึ่งวาชอบหรือไมชอบดวยกฎหมาย ทําไดหรือทําไมได ถูกตองหรือไมถูกตอง มีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม อยางไร เปนตน ทั้งน้ีอาจกลาวไดวาขอสอบอุทาหรณเกือบ ๘๐ % เปนขอสอบในรูปแบบนี้ เพราะเหตุที่ผูออกขอสอบมักจะตองการใหคําตอบมีความแนนอน และเปนแนวเดียวกัน ตัวอยางคําถาม อาทิเชน (๑) นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเลอ ชนนางอรชนหญิงหมายซึ่งตั้งครรภได 7 เดือนเศษเปนเหตุใหนางอรชรตองคลอดบุตร คือ ดช.ประสาทในทันทีทันใดนั้นเอง ปรากฎวาเด็กชายประสาทไดรับความกระทบกระเทือนทางสมองมาก เพราะศีรษะฟาดพื้นถนนในขณะที่คลอดจนมีอาการวิกลจริต นางอรชรจึงไดยื่นฟองนายแสวงตอศาลแทน ดช.ประสาท เรียกคาสินไหมทดแทน โดยอางวานายแสวงประมาทเลินเลอทําใหดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงใหการตอสูคดีวา ดช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ดช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอ่ืนละเมิดได ขอใหศาลยกฟอง ขอตอสูของนายแสวงฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด อนึ่ง เม่ือ ดช.ประสาทมีอายุ 17 ปเศษ ไดซื้อรองเทาจากรานศึกษาภัณฑพานิชมา 1 คูในราคา 35 บาท สัญญาซื้อขายรายนี้จะมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (1/2520) (๒) นาย ก. อายุ 19 ป ไดรับอนุญาตจากบิดามารดา ใหประกอบกิจการซื้อขายรถยนตใชแลว นาย ก. ไดรวมกันกับเพ่ือนๆ จัดตั้งบริษัทรวมพัฒนายนต จํากัด ขึ้นเพื่อดําเนินกิจการนี้ โดยมี นาย ก. เปนกรรมการผูจัดการผูมีอํานาจเต็มในการดําเนินการบริษัท ปรากฏ นาย ก. ไดทํานิติกรรมตอไปน้ี

ก. ตกลงซื้อที่ดิน 1 แปลง จากบิดาของตน เปนเงิน 2 ลานบาท โดยทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอเจาหนาที่

ข. ตกลงกูเงินจากกองทรัพยสินของนาย ก. เอง เพ่ือใชในกิจการเปนเงิน 5 ลานบาท โดยนาย ก. แตงตั้งมารดาเปนตัวแทนของตน และใหกูในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป ซึ่งเปนอัตราต่ํากวาทองตลาด

ค. ตกลงซื้อยาและเวชภัณฑเพ่ือนําไปจําหนายหากําไรเปนเงิน 1 ลานบาท ง. ทําสัญญาประนีประนอมยอมความกับลูกหนี้บริษัท โดยตกลงลดจําวนหนี้ลงครึ่งหนึ่ง

Page 20: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๐

ทานจงวินิจฉัยวานิติกรรมที่นาย ก.ไดกระทําไปขางตนน้ีมีผลหรือไรผล หรือสมบูรณ หรือโมฆียะ โมฆะ หรือไมประการใด (๒) ขอสอบกึ่งอุทาหรณก่ึงบรรยาย (ขอสอบอุทาหรณที่ถามใหตอบแบบบรรยาย) ขอสอบประเภทนี้จะผูกเรื่องราวเหมือนขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป แตโจทยจะถามโดยใหตอบอธิบายแบบเรียงความ ลักษณะคําถามที่ใหตอบแบบเรียงความนี้ อาจจะเปนเพียงสวนหน่ึงของคําถามหลายๆ คําถามที่อยูในขอเดียว หรือเปนคําถามเดียวในขอก็ได โดยมากนักศึกษาจะพบวาคําถามที่ใหตอบแบบเรียงความนี้จะเปนสวนหน่ึงของขอที่ถามหลายคําถาม โดยคําถามอื่นๆ มักจะเปนคําถามใหวินิจฉัยทั่วๆ ไป ตัวอยางคําถาม อาทิเชน (๑) นายแดงอายุ 60 ป อยูกินกันฉันสามีภริยากับนางเหลืองอายุ 50 ป ทั้งคูมิไดจดทะเบียนสมรสกัน มีบุตร 1 คน คือนายเขียว อายุ 30 ป ปรากฏวา นายเขียวมีอาการหูหนวกเปนใบมาตั้งแตอายุ 3 ขวบ จนไมอาจจัดทําการงานของตนเองได นายเขียวมีที่ดินอยู 1 แปลง ราคา 7 แสนบาท เน่ืองจากนายแดงไมมีทรัพยสมบัติเพียงพอที่จะดูแลเลี้ยงดูครอบครัวไดอีกตอไปแลว นายแดงจึงมีความประสงคที่จะขายที่ดินแปลงดังกลาวใหแกนายมวง หากนายแดงมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาอยางไร เพ่ือที่จะใหนายแดงดําเนินการใหเปนไปตามความประสงคขางตน นักศึกษาจะสังเกตไดวาขอสอบขอ (๑) นี้ โจทยถามเพียงคําถามเดียว คือ ใหอธิบายวานายแดงจะมีทางขายที่ดินไดอยางไร คําถามไมไดถามใหนักศึกษาวินิจฉัยเฉพาะวาการขายที่ดินตามกฎหมายนั้นจะทําไดหรือไม แตยังใหนักศึกษาอธิบายตอไป หรือหาวิธีการตอไปวาในทางกฎหมายจะทําไดอยางไร ลักษณะของการตอบคําถามขอน้ีจึงมีลักษณะการบรรยายความเขาใจมากกวา (๒) บริษัท ก. จํากัด มีวัตถุประสงคในการประกอบกิจการรับเหมากอสราง ซื้อขายเรือนไทยสําเร็จรูปไม วัสดุกอสราง และเครื่องเรือนทุกชนิด ซึ่งตามขอบังคับของบริษัทกําหนดใหมี นาย ข. และนาย ค. เปนกรรมการผูมีอํานาจกระทํากิจการผูกพันบริษัท ตอมาที่ประชุมใหญผูถือหุนมีมติใหถอดถอนนาย ค. จากการเปนกรรมการและใหแตงตั้ง นาย ง. เปนกรรมการผูมีอํานาจแทน นาย ค. กอนที่บริษัท ก. จํากัด จะดําเนินการจดทะเบียนถอดถอนนาย ค. จากการเปนกรรมการ นาย ค. ไดลงนามในสัญญาขายเรือนไทยสําเร็จรูปหน่ึงหลังแก นาย ฮ. ราคา 25,000 บาท โดยสัญญาซื้อขายระหวาง บริษัท ก. จํากัด กับ นาย ฮ. นาย ข. และนาย ง. เห็นวา นาย ค. ขายทรัพยดังกลาวไปในราคาพิเศษซึ่งต่ํากวาราคาในทองตลาด จึงแจงแกนาย ฮ. วา สัญญาซื้อขายที่นาย ค. กระทํากับนาย ฮ. ไมผูกพันบริษัท ก. จํากัด เชนนี้อยากทราบวา (ก) นาย ฮ. จะสามารถบังคับใหบริษัท ก. จํากัด ปฏิบัติตามสัญญาฉบับนี้ไดหรือไม เพราะเหตุใด

Page 21: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๑

(ข) สัญญาซ้ือขายเรือนไทยสําเร็จรูปดังกลาวขางตน เปนสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย หรือสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย เพราะเหตุใด คําถามในขอที่ (๒) นี้ นักศึกษาจะสังเกตไดวาในขอ (ก) จะเปนการถามแบบใหวินิจฉัยขอเท็จจริง ซึ่งจะมีธงคําตอบอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนรูปแบบของการถามของขอสอบอุทาหรณทั่วๆ ไป ในขณะที่ขอ (ข) ดูเหมือนวาจะมีลักษณะของขอสอบใหวินิจฉัยขอเท็จจริงแบบขอ (ก) แตแทจริงแลวขอ (ข) นี้ผูถามประสงคจะใหนักศึกษาอธิบายความเขาใจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพยกอนวานักศึกษาเขาใจอยางไร กอนที่จะวินิจฉัยวาเปนการซื้อขายอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพย ดังนั้นขอสอบขอน้ีไมใชแตเพียงนักศึกษาจะวางหลักกฎหมาย มาตรา ๑๓๘ และ ๑๓๙ แลววินิจฉัยเลยเทานั้น แตนักศึกษาจะตองบรรยายความเขาใจของอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพยกอน แลวคอยวินิจฉัยวาจากที่โจทยถามนั้นนักศึกษาเห็นวาอยางไร ดวยเหตุนี้ขอสอบขอนี้การตอบจึงมีลักษณะไปในทางบรรยายความเขาใจมากกวา (๓) ขอสอบอุทาหรณที่ถามความคิดเห็น ขอสอบอุทาหรณที่ถามความเห็น จริงๆ แลว คือ ขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป แตประเด็นที่ถามจะไมมีธงคําตอบที่แนนอนตายตัว หรือมีคําตอบที่ถูกตองมากกวา ๑ คําตอบ โดยขึ้นอยูกับความคิดเห็นของนักศึกษาเปนหลัก นักศึกษาพึงสังเกตวา ขอสอบประเภทนี้จะพบวามีนอยมากในขอสอบประเภทอุทาหรณ และลักษณะที่เปนความคิดเห็นนั้นมักจะเปนเพียงประเด็นคําถามใดประเด็นคําถามหนึ่งในหลายๆ ประเด็นซึ่งอยูในขอสอบ เพราะขอสอบอุทาหรณมักจะมีประเด็นคําถามมากกวาหนึ่งคําถาม และเปนไปไดนอยมากที่ทุกประเด็นคําถามจะมีลักษณะเปนความคิดเห็นทั้งหมด ปญหาวานักศึกษาจะทราบไดอยางไรวาขอสอบขอไหน หรือประเด็นในคําถามใดในขอสอบเปนการถามความคิดเห็น มีขอสังเกตวาขอสอบที่ถามความคิดเห็นสวนใหญ มักจะเกิดขึ้นก็ตอเม่ือประเด็นในเรื่องที่ถามนั้นๆ “ในทางทฤษฎีมีนักกฎหมายเห็นตางกัน” ดังนั้นเม่ือประเด็นปญหาที่ถาม เปนเร่ืองที่นักกฎหมายเห็นตางกัน แนวคําตอบของนักศึกษาก็สามารถเปนไปไดในทางใดทางหนึ่งก็ได แตทั้งน้ีตองอยูบนพ้ืนฐานอยางเดียวกับการตอบขอสอบบรรยายที่มีการถามความคิดเห็น วา นักศึกษาจะตองกลาวถึงความเห็นที่สําคัญๆ ทุกความเห็นอยางยอๆ กอนวาเปนอยางไร แลวจึงกลาวถึงความเหน็ของตนเอง พรอมกับผลในทางกฎหมายที่เกิดขึ้น ตัวอยางคําถาม อาทิเชน นายเกง อายุ 18 ป ไดขโมยรื้อบานเรือนไทยของนายขยัน แลวนํามาปลูกสรางเปนบานเรือนทรงไทยหลังใหมในที่ดินของตน อยากทราบวา (ก) บานเรืองทรงไทยเปนสวนควบกับที่ดินของนายเกงหรือไม เพราะเหตุใด (ข) นายเกงไดตกลงทําสัญญาจะขายที่ดินของตนกับเรือนทรงไทยใหแกนายคนึง โดยสัญญาทําเปนหนังสือ และไดรับความยินยอมจากนายไกผูเปนบิดาของนายเกงเรียบรอยแลว แตยังไมไดรับอนุญาตจากศาล สัญญาจะขายนี้มีผลสมบูรณหรือโมฆียะ หรือโมฆะ เพราะเหตุใด

Page 22: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๒

นักศึกษาจะพบวาขอสอบขอน้ีมีลักษณะเปนขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป แตถาสังเกตคําถามในขอ (ข) สัญญาซื้อขายอสังหาริมหาริมทรัพยที่ผูเยาวทําลงไป โดยไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมมีผลในทางกฎหมายอยางไร ประเด็นคําถามนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับ ผลของการที่ผูเยาวทํานิติกรรมฝาฝน มาตรา ๑๕๗๔ ซึ่งในเรื่องน้ีมีความเห็นเกี่ยวกับผลของนิติกรรมที่ฝาฝนมาตรา ๑๕๗๔ ในหลายแนวทางดวยกัน นักศึกษาควรกลาวถึงความเห็นดังกลาวอยางยอๆ แลวสรุปดวยความเห็นของตนเอง

๖. การจับประเด็นขอสอบอุทาหรณ ดังที่ไดกลาวไปแลวในหัวขอที่ ๖. การจับประเด็นขอสอบบรรยาย การจับประเด็นคําถามนั้นเปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางมาก เพราะการที่นักศึกษาจะตอบขอสอบไดนักศึกษาจะตองรูกอนเปนเบื้องตนวาขอสอบขอน้ันเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร หากนักศึกษาจับประเด็นผิด โอกาสที่จะสอบผานในขอนั้นๆ ก็มีนอยมาก และหากนักศึกษาเปนทนายการจับประเด็นของคดีผิด ก็นําไปสูการแพคดีในที่สุด การจับประเด็นของคําถาม หรือของเรื่องจึงเปนทักษะสําคัญพ้ืนฐานที่สุดที่นักศึกษากฎหมายทุกคนพึงจะตองมี ประเภทของประเด็นคําถามในขอสอบกฎหมาย ไมวาเปนขอสอบบรรยาย หรือขอสอบอุทาหรณ มักจะปรากฏประเด็นอยู ๒ ประเภท๘ ไดแก

๓. ประเด็นที่ชัดแจง หมายถึง ประเด็นที่โจทยบอกมาชัดเจนวาประสงคจะถามเรื่องอะไร ๔. ประเด็นที่ซอนอยู หมายถึง ประเด็นที่โจทยมิไดถามมาตรงๆ แตใหขอเท็จจริง

บางอยางมาซึ่งมีนัยทางกฎหมายที่นักศึกษาจะตองตอบดวย

ในขอสอบอุทาหรณ การจับประเด็นเปนสิ่งที่สําคัญมาก และมีความยากยิ่งกวาการจับประเด็นขอสอบบรรยาย เนื่องจากขอสอบบรรยายมักจะมีการตั้งประเด็นคําถามที่ชัดเจนมาใหแลว ในขณะที่ขอสอบอุทาหรณ ขอสอบมักจะไมบอกประเด็นมาชัดเจน แตหากโจทยจะบอกประเด็นที่ถามมาบางแตก็มักจะเปน “ประเด็นที่ชัดแจง” ซึ่งในคําถามขอน้ันอาจจะมี “ประเด็นที่ซอนอยู” อีก เปนหนาที่ที่นักศึกษาจะตองคนหาใหพบ

๘ ขอสอบอุทาหรณสวนใหญจะปรากฏวามีประเด็นทั้ง ๒ ประเภท เนื่องจากเปนขอสอบที่มีตัวละคร และเปนการสมมติ

ขอเท็จจริงท่ีเกิดในชีวิตจริง ดังนั้นผูถามจึงมุงประสงคท่ีจะใหนักศึกษาวินิจฉัยใหไดวาขอเท็จจริงที่คําถามผูกมานั้นเกี่ยวกับหลักกฎหมาย หรือเรื่องอะไรบางที่นักศึกษาเคยเรียนมา โดยในขอสอบยอมจะมีท้ังสิ่งท่ีผูถามระบุไวแลววาจะถามเรื่องอะไร (ประเด็นท่ีชัดแจง) กับประเด็นท่ีผูถามไมไดแสดงใหเห็นอยางชัดเจน ซึ่งนักศึกษาตองหยิบยกข้ึนมาวินิจฉัยดวย (ประเด็นท่ีซอนอยู)

Page 23: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๓

ขอแนะนําในการจับประเด็นขอสอบอุทาหรณ โปรดอานคําถามอุทาหรณดังตอไปน้ี นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเลอ ชนนางอรชรหญิงหมายซึ่งตั้งครรภได 7 เดือนเศษ เปนเหตุใหสมองของทารกในครรภไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ตอมานางอรชรไดคลอดบุตรออกมา คือ ดช.ประสาท ปรากฎวา ดช.ประสาทมีอาการวิกลจริตเพราะสมองไดรับความกระทบกระเทือนขณะอยูในครรภ นางอรชรจึงไดยื่นฟองนายแสวงตอศาลแทน ดช.ประสาท เรียกคาสินไหมทดแทน โดยอางวานายแสวงประมาทเลินเลอทําใหดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงใหการตอสูคดีวา ดช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ดช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอ่ืนละเมิดได ขอใหศาลยกฟอง ขอตอสูของนายแสวงฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด อน่ึง เมื่อ ดช.ประสาทมีอายุ 17 ปเศษ ไดซื้อรองเทาจากรานศึกษาภัณฑพานิชมา 1 คูในราคา 35 บาท สัญญาซื้อขายรายนี้จะมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (1/2520)

ขอแนะนําเบื้องตนในการจับประเด็น (๑) ขีดเสนใต หรือทําสัญลักษณ ขอเท็จจริงในคําถามซึ่งมีนัยในทางกฎหมาย (หมายถึง ขอเท็จจริงนั้นนาจะกอใหเกิดผลในทางกฎหมายอยางใดอยางหนึ่ง) เพราะนักศึกษาตองพูดถึงเวลาปรับบท (๒) พิเคราะหดูขอเท็จจริง หรือขอความในคําถามทีน่ักศึกษาไดขดีเสนใตไวทั้งหมด แลววิเคราะหวามีหลักกฎหมายที่นักศึกษาไดศึกษามาในเรือ่งใดที่เกี่ยวของกับขอเท็จจริงนั้นๆ บาง๙

(๓) ใสตัวเลขหรือสัญลักษณเหนือประโยคหรือวลีที่โจทยถามทุกๆ คําถามเสมอ เน่ืองจากวาสุดทายแลวเม่ือนักศึกษาสรุปคําตอบ นักศึกษาจะตองสรุปตอบตามคําถามที่โจทยถามในทุกคําถาม

ม.๑๕ บุคคลจะมีสิทธิก็ตอเม่ือมีสภาพบุคคล

นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเลอ ชนนางอรชรหญิงหมายซึ่งต้ังครรภได 7 เดือนเศษเปนเหตุใหสมองของทารกในครรภไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ตอมานางอรชรไดคลอดบุตรออกมา คือ ดช.ประสาท ปรากฎวา ดช.ประสาทมีอาการวิกลจริตเพราะสมองไดรับความกระทบกระเทือนขณะอยูในครรภ นางอรชรจึงไดยื่นฟองนายแสวงตอศาลแทน ดช.ประสาท เรียกคาสินไหมทดแทน โดยอางวานายแสวงประมาทเลินเลอทําใหดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงใหการตอสูคดีวา ดช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน [ เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ดช.

คนวิกลจริต

ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอื่นละเมิดได ] ขอใหศาลยกฟอง ขอตอสูของนายแสวงฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด อน่ึง เมื่อ ดช.ประสาทมี [ อายุ 17 ปเศษ ] ได [ ซื้อรองเทา ] จากรานศึกษาภัณฑพานิชมา 1 คูใน [ ราคา 35 บาท ] สัญญาซื้อขายรายนี้จะมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (1/2520)

ม. ๑๙ อายุ-ผูเยาว ทํานิติกรรม

(๑)

(๒)

ราคา

ท้ังนี้ดังท่ีกลาวไปแลววาขอสอบอุทาหรณสวนใหญจะมมีากกวา ๑ ประเด็น

Page 24: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๔

นักศึกษาจะสังเกตวา คําถามขางตน มี ๒ ยอหนา แตในละยอหนาจะมีขอเท็จจริงที่ใหนักศึกษาวินิจฉัย โดยโจทยไดตั้งคําถามอยู ๒ คําถาม ดวยกัน โดยยอหนาแรก ๑ คําถาม และในยอหนาที่สอง อีก ๑ คําถาม (สังเกตตัวเลข (๑) และ (๒)) ประเด็นในยอหนาแรก (ก) นักศึกษาจะพบวาขอเท็จจริงที่โจทยใหมา คือ นายแสวงขับรถชนนางอรชรหญิงมีครรภ จนทารกในครรภไดรับบาดเจ็บ เทากับเปนกรณีที่ทารกในครรภถูกละเมิดสิทธิในรางกาย นางอรชร ในฐานะผูแทนโดยชอบธรรมจึงฟองแทนเด็กชายประสาท (ทารกในครรภ) ซึ่งถูกละเมิดสิทธิ ขอเท็จจริงที่โจทยใหมานี้นักศึกษาจะตองวิเคราะหใหไดวาเปนเร่ืองเกี่ยวกับอะไรที่เรียนมา หากนักศึกษายังนึกไมออก นักศึกษาลองสังเกตขอเท็จจริงที่ไดขีดเสนใต ซึ่งมีความวา “เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ดช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอ่ืนละเมิดได” ขอเท็จจริงในสวนนี้ อาจจะกลาวไดวาแสดงใหเห็นถึงประเด็นที่โจทกถามชัดเจนพอสมควร กลาวคือ นายแสวงตอสูวาทารกในครรภมารดา แมไมมีสิทธิฟองใหตนรับผิดฐานละเมิด เพราะขณะที่ถูกชนยังไมมีสภาพบุคคล เม่ือไมมีสภาพบุคคลก็ไมมีสิทธิ จะเห็นไดวา เปนการตอสูวาทารกในครรภมารดายังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิ (ข) หลักกฎหมายที่กลาวถึงเรื่องสิทธิของทารกในครรภมารดา คือ มาตรา ๑๕ ดังน้ันในยอหนาแรก จึงมีประเด็นที่โจทยถาม ๑ ประเด็น คือ “ประเด็นสิทธิของทารกในครรภมารดา” ประเด็นในยอหนาที่สอง (ก) พิเคราะหขอเท็จจริงที่ขีดเสนใตในยอหนาที่สองทั้งหมด ซึ่งมีดังตอไปน้ี (๑) “อายุ ๑๗ ปเศษ” (๒) “ซื้อรองเทา” (๓) “ราคา ๓๕ บาท”๑๐ นักศึกษาจะพบวา (๑) อายุ ๑๗ ป – ตามที่ไดศึกษามากลาวถึงเร่ืองอายุ และอายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ ก็จะเปนเรื่องของผูเยาว มาตรา ๑๙ (๒) ซื้อรองเทา – บุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ คือ ยังเปนผูเยาว ซื้อรองเทา คือ การทํานิติกรรม เปนเรื่องของการทํานิติกรรมของผูเยาว มาตรา ๒๑ (๓) ราคา ๓๕ บาท – รองเทาราคาเพียง ๓๕ บาท เกี่ยวพันกับนิติกรรมที่ผูเยาวทํา ซึ่งอาจจะเขาขอยกเวนที่ผูเยาวอาจทํานิติกรรมได หากนิติกรรมนั้นจําเปนตอการดํารงชีพและสมแกฐานานุรูป เปนกรณีตาม มาตรา ๒๔

๑๐

ในกรณีท่ีนักศึกษาเห็นวาขอเท็จจริงในยอหนาแรก เกี่ยวพันกับขอเท็จจริงในยอหนาท่ีสองดวย กลาวคือ ในยอหนาแรกบอกวา ดช.ประสาทไดรับ

ความกระทบกระเทอืนทางสมองจนมีอาการวกิลจริต และหากอาการวกิลจริตนัน้ยังคงมีอยูในขณะที่อายุ ๑๗ ป เศษ ในยอหนาท่ีสองนี้ก็อาจมีประเด็นเรื่องความสามารถในการทํานิติกรรมของคนวิกลจริตอยูดวย (มาตรา ๓๐)

Page 25: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๕

(ข) หลักกฎหมายที่เกี่ยวของกับขอเท็จจริง (๑) คือ มาตรา ๑๙ ขอเท็จจริง (๒) คือ มาตรา ๒๑ และ ขอเท็จจริง (๓) คือ มาตรา ๒๔ ดังน้ันประเด็นของคําถามในยอหนาที่สอง จึงมีอยู ๓ ประเด็น๑๑ คือ ๑. ผูเยาว ๒. ผูเยาวทํานิติกรรม (๓) นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพ๑๒ นักศึกษาลองพิเคราะหคําถามดังตอไปน้ี นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดสั่งใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซ้ือรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังน้ี สัญญาซ้ือขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (แกตัว/2526) นักศึกษาอาจจะเห็นประเด็นในขอเท็จจริงดังตอไปน้ี

นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (แกตัว/2526)

ผูเยาวและการบรรลุนิติภาวะดวยการสมรส คนวิกลจริตที่

ศาลยงัไมส่ัง

ทํานิติกรรม ผูบรรลุนิติภาวะ

คูสัญญารูถึงความวิกลจริตในขณะทําสัญญา ม.๓๐

(๑) (๒)

(ก) หากพิเคราะหขอเท็จจริงที่ขีดเสนใตทั้งหมด จะมีดังนี้ (๑) นายจตุพรอายุ ๑๘ ป และนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป (๒) จดทะเบียนสมรส (๓) เปนคนวิกลจริตแตศาลยังไมไดสั่งใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ (๔) ซื้อรถยนต (๕) นายเกรียงอายุ ๒๑ ป (๖) รูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต จากขอเท็จจริงทั้งหมดจะพบวา (๑) นายจตุพรอายุ ๑๘ ป และนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป – เปนเรื่องของอายุ อายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณยังเปนผูเยาว มาตรา ๑๙

๑๑

นักศึกษาบางคนรวมประเด็นแรก และประเด็นท่ีสอง เปนประเดน็เดียวกนัก็ได คือ ความสามารถในการทํานติิกรรมของผูเยาว ๑๒

การเขียนจับประเดน็และเขียนประเด็นอยางงายๆ สําหรับนักศึกษาที่เพ่ิงเริ่มตนฝกตอบขอสอบ คือ การตั้งประเด็นในรูปคําถาม อาทิ ทารกใน

ครรภมารดามีสิทธยิอนหลังหรือไม, เด็กชายประสาทอายุ ๑๗ ปเศษ มีฐานะเปนผูเยาวหรือไม, เด็กชายประสาทสามารถทํานติิกรรมไดหรือไม, การซือ้รองเทาเปนนิติกรรมที่สมแกฐานานุรปูและจําเปนตอการดํารงชีพหรอืไม เปนตน

Page 26: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๖

(๒) จดทะเบียนสมรส – ชายและหญิงที่อายุ ๑๗ บริบูรณขึ้นไปอาจบรรลุนิติภาวะไดดวยการสมรส มาตรา ๒๐ (๓) เปนคนวิกลจริตแตศาลยังไมไดสั่งใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ – คนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ มีความสามารถเหมือนกับคนปกติ เวนแตจะเขาเง่ือนไข มาตรา ๓๐ (๔) ซื้อรถ – เปนการทํานิติกรรม กรณีผูเยาวทํานิติกรรม เขามาตรา ๒๑ ถาคนวิกลจริตทํานิติกรรมก็ตองพิจารณา มาตรา ๓๐ (๕) นายเกรียงอายุ ๒๑ ป บริบูรณ – นายเกรียงบรรลุนิติภาวะแลว มาตรา ๑๙ (๖) รูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต – กรณีคนวิกลจริตทํานิติกรรมและคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูอยูถึงความวิกลจริต เปนกรณีตาม มาตรา ๓๐ (ข) หลักกฎหมายที่เกี่ยวของกับขอเท็จจริง ไดแก มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๓๐ ซึ่งเม่ือพิจารณาจากหลักกฎหมายที่เกี่ยวของประกอบกับขอเท็จจริงแลว ก็จะไดประเด็นตามปญหาอุทาหรณ ดังตอไปน้ี (๑) ผูเยาวบรรลุนิติภาวะไดดวยการสมรส (๒) การทํานิติกรรมของผูเยาว (๓) การทํานิติกรรมของคนวิกลจริต นักศึกษาบางคนอาจเขียนประเด็นดวยการตั้งเปนคําถาม ซึ่งอาจจะเขียนไดงายกวา อันไดแก

(๑) นายจตุพร กับนางสาวสุดสวย เปนผูเยาวหรือไม (๒) นายจตุพรและนางสาวสุดสวยบรรลุนิติภาวะดวยการสมรสหรือไม (๓) นิติกรรมที่นายจตุพรทําขึ้นตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือไม (๔) นิติกรรมที่นายจตุพรทําขึ้นตกเปนโมฆียะเพราะความเปนคนวิกลจริตหรือไม

สรุปการจับประเด็น การจับประเด็นน้ันอาจทําไดดวยการหาหลักกฎหมายที่เกี่ยวของกับขอเท็จจริง และหลักกฎหมายดังกลาวเปนเร่ืองของอะไร เรื่องนั้นๆ ก็คือ ประเด็นของคําถามนั่นเอง เชน เราเห็นขอเท็จจริงเปนเรื่องที่ผูเยาวไปซื้อรองเทา เปนเร่ืองของมาตรา ๒๑ ซึ่งก็คือ หลักการทํานิติกรรมของผูเยาวนั้นเอง๑๓

๑๓

บางทานเห็นวา การจับประเดน็ใหไดวาเปนเรื่องอะไรควรมากอน แลวจะนําไปสูการหาหลกักฎหมายที่เกี่ยวของ แตในอกีทางหนึ่งจะพบวา

การที่เราบอกไดวาขอเท็จจริงนั้นเปนเรื่องอะไร หรือประเด็นอะไร เปนเพราะเรารูหลักกฎหมายนั้นๆ อยูกอนแลว การลําดับความคิดจึงควรเริ่มดวยการหาหลกักฎหมายที่เกี่ยวของแลวนําไปสูประเด็นของคําถาม

Page 27: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๗

๗. แนวการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ ๘.๑ ขอแนะนําเบื้องตนในการตอบขอสอบอุทาหรณ (๑) นักศึกษาควรอานขอเท็จจริงใหรอบคอบ และตองไมโตแยงขอเท็จจริงในคําถาม นักศึกษาตองยอมรับเปนเบื้องตนวาขอเท็จจริงเปนเชนนั้นจริง เวนแตนักศึกษาสงสัยวาจะมีขอบกพรองเกี่ยวกับคําถามจริงๆ ก็อาจสอบถามจากเจาหนาที่ผูคุมสอบ หรือผูออกขอสอบได นักศึกษาหลายๆ คน เม่ืออานขอสอบแลวมีความสงสัยวาขอเท็จจริงในขอสอบจะเปนไปไดจริงหรือไม และนาจะเปนอยางนั้นอยางนี้มากกวา การที่นักศึกษาไมทําความเขาใจขอเท็จจริงใหแจมชัด หรือพยายามโตแยงขอเท็จจริงเปนอยางอ่ืน ทั้งๆ ที่ขอเท็จจริงก็มีความชัดเจนอยูในตัว แมนักศึกษาจะปรับขอกฎหมายเขากับขอเท็จจริง (ที่เขาใจผิด) นั้นถูกตอง แตโอกาสที่นักศึกษาจะสอบผานในคําถามขอน้ันก็มีนอย (๒) ขีดเสนใตหรือทําสัญลักษณขอเท็จจริงในคําถามที่มีนัยในทางกฎหมายเสมอ เม่ือนักศึกษาเห็นขอเท็จจริงใดที่เกี่ยวของกับหลักกฎหมายที่ศึกษามา๑๔ ใหทําสัญลักษณ หรือทําบันทึกไว เพราะขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับหลักกฎหมายนั้นก็คือ ประเด็นที่โจทยประสงคจะถาม ซึ่งโจทยอาจจะไมไดถามมาโดยตรง (เปนประเด็นที่ซอนอยู) แตเปนประเด็นที่นักศึกษาตองกลาวถึงดวย เพ่ือนําไปสูการตอบคําถามที่โจทยถามในสวนทาย นอกจากนี้จะตองขีดเสนใต หรือใสหมายเลขคําถามที่โจทยถามดวยเสมอ เพ่ือที่ในตอนทายนักศึกษาจะสามารถสรุปคําตอบไดตรงคําถาม มิฉะน้ันแลว แมนักศึกษาจับประเด็นได และปรับหลักกฎหมายเขากับขอเท็จจริงในแตละประเด็นไดถูกตอง แตไมสรุปตอบคําถามที่โจทยถามมาอยางชัดแจง นักศึกษาก็อาจจะเสียคะแนนที่นาควรจะไดไป (๓) ในขอสอบกฎหมายจะปรากฏ คํา หรือวลี บางอยางซึ่งเปนที่ยอมรับกันในทางกฎหมายวามีความหมายอยางใดอยางหนึ่งที่ยุติ อาทิ เม่ือคําถามกลาวถึง “นายดําสมรสกับนางแดง มีบุตรหนึ่งคน คือ ดช.ขาว...” คําวา “สมรส” ที่คําถามกลาวถึงนักศึกษาตองเขาใจวา “คือการสมรสตามกฎหมาย” หรือ คําถามกลาวถึง “นายดํากับนางแดงอยูกินกันฉันสามีภรรรยา...” คําวา “อยูกินกันฉันสามีภรรยา” หมายถึง การเปนสามีภรรยากันโดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือ สมรสนอกกฎหมาย หรือ เม่ือคําถามอางถึง ความเปนสามี หรือ ภรรยา โดยไมกลาวถึงวาเปนสถานะที่ชอบดวยกฎหมายหรือไม นักศึกษาตอง

๑๔

บางครั้ง นักศึกษาจะพบขอเท็จจริงท่ีมีนัยในทางกฎหมาย แตเปนหลักกฎหมายที่นักศึกษายังไมไดศึกษาในชั้นนี้ เชน โจทยเปนประเด็น

เกี่ยวกับสิทธิของทารกในครรภมารดา แตมีขอเท็จจริงเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะละเมิด หรือโจทยถามเรื่องความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว แตมีขอเท็จจริงเรื่องท่ีผูแทนโดยชอบธรรมฟองคดีแทนผูเยาว มีปญหานาสงสัยวานักศึกษาจะตองหยิบยกขอเท็จจริงเหลานี้ข้ึนเปนประเด็นท่ีตองวินิจฉัยดวยหรือไม โดยมากแลวขอสอบมักจะวัดผลหรือทดสอบความรูเฉพาะในเรื่องท่ีศึกษาแลว ดังนั้นในขอเท็จจริงซึ่งเกี่ยวของกับหลักกฎหมายที่ไมอยูในขอบเขตของเนื้อหาวิชา นักศึกษาไมจําเปนตองยกมาเปนประเด็น เวนแตวา หลักกฎหมายดังกลาวจะเปนเรื่องท่ีนักศึกษาควรรูได หรือเปนเรื่องท่ีผูสอนไดสอนไปแลว นักศึกษาก็จําเปนตองพูดถึง

Page 28: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๘

สันนิษฐานไวกอนวา เม่ือกลาวถึงคําวาสามีหรือภรรยา โดยไมบอกขอเท็จจริงอ่ืนใด ผูออกขอสอบยอมหมายถึง สามีภรรยาที่ชอบดวยกฎหมาย เปนตน ตัวอยางการอานคําถาม โดยการขีดเสนใตหรือทําสัญลักษณในขอเท็จจริงที่เปนประเด็นสําคัญๆ

นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (แกตัว/2526)

ผูเยาวและการบรรลุนิติภาวะดวยการสมรส คนวิกลจริตที่

ศาลยงัไมส่ัง

ทํานิติกรรม ผูบรรลุนิติภาวะ

คูสัญญารูถึงความวิกลจริตในขณะทําสัญญา ม.๓๐

(๑) (๒)

(๔) ขอสอบอุทาหรณ ไมตองมีการยกตัวอยางประกอบเหมือนการตอบขอสอบบรรยาย เน่ืองจากขอสอบอุทาหรณเปนขอสอบที่มีการผูกขอเท็จจริง ซึ่งถือเปนตัวอยางของเหตุการณที่เกี่ยวกับหลักกฎหมายนั้นๆ อยูแลว ผูถามจึงตองการวัดความสามารถในการปรับใชหลักกฎหมายกับตัวอยาง (โจทย) ที่ผูถามใหมา (๕) ในการตอบขอสอบกฎหมายไมควรใชคํายอ หรือใชใหนอยที่สุด และคํายอที่จะใชไดนั้นควรเปนคํายอที่เปนทางการ เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย อาจใชคําวา ป.พ.พ. แทนได เปนตน (๖) การเขียนตอบตองกระชับ ชัดเจน และไมวกวน ขอสอบอุทาหรณไมใชขอสอบที่ตองเขียนเขียนอธิบายความเขาใจเหมือนกับขอสอบบรรยาย จึงเปนขอสอบไมตองเขียนตอบยาวมากโดยสภาพ นักศึกษาบางคนคิดวาหากไมรูประเด็นหรือวินิจฉัยไมได ก็ตองเขียนเยอะๆ ไวกอน ซึ่งเปนความคิดที่ไมถูกสําหรับการตอบขอสอบอุทาหรณ เพราะการตอบขอสอบประเภทนี้ไมไดดูที่ปริมาณ แตจะดูที่การจับประเด็น และการปรับใชกฎหมายในแตละประเด็น

Page 29: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒๙

๘.๒ วิธีการเขียนตอบ “ขอสอบอุทาหรณ”

(๑) โครงสรางของการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ ขอสอบอุทาหรณเกือบทั้งหมด เปนขอสอบอุทาหรณแบบทั่วไป ซึ่งมีโครงสรางการเขียนตอบคลายกัน คือ จะประกอบไปดวยเนื้อหา ๔ สวน ซึ่งจะมีลําดับการเขียนตอบกอนหลังกัน ดังตอไปน้ี

๑. ประเด็นของคําถาม ๒. หลักกฎหมาย

๓. การปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง ๔. การสรุปคําตอบ

ทั้งน้ีอาจจะสรุปลักษณะของเนื้อหาในแตละสวนดังนี้ ๑. ประเด็นของคําถาม การเขียนตอบ โดยมากจะเริ่มตนดวยการตั้งประเด็นของคําถาม กลาวคือเม่ือนักศึกษาอานคําถามและจับประเด็นขอสอบไดแลว๑๕ เพ่ือแสดงใหผูตรวจเห็นถึงความสามารถในการวินิจฉัยขอเท็จจริงในเบื้องตน และเพื่อปองกันการวินิจฉัยผิดพลาด หรือหลงประเด็น นักศึกควรจะเขียนประเด็นของคําถามไวเปนลําดับแรกของการเขียนตอบ หากนักศึกษาสามารถปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริงไดครบถวนทุกประเด็นที่โจทยตองการวัดผล ก็อาจไมจําเปนตองเขียนประเด็นกอน๑๖ เพราะการที่นักศึกษาปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริงก็คือการกลาวอาง หรือชี้ใหผูตรวจขอสอบเห็นอยูเองในตัววานักศึกษากําลังพูดถึงประเด็นเร่ืองใด ดวยเหตุนี้หากขอสอบขอหน่ึงๆ มีประเด็นมากเพื่อไมใหเปนการเสียเวลา นักศึกษากฎหมายที่มีความชํานาญในการตอบขอสอบแลวอาจจะละเวนการเขียนสวนแรกซึ่งเปนประเด็นของถามเสียก็ได สําหรับนักศึกษาชั้นปแรกซ่ึงยังไมมีความชํานาญในการเขียนตอบขอสอบ มีขอแนะนําวาควรเขียนประเด็นของคําถามไวเปนเบื้องตนเสมอ เพราะแมการเขียนประเด็นจะไมทําใหนักศึกษาไดคะแนนเพิ่มขึ้นในกรณีวางหลักกฎหมาย ปรับบท และสรุปคําตอบถูกตองครบถวนแลว แตถาเม่ือใดที่นักศึกษาเกิดเขียนตอบไมทัน หรือไมครบทุกประเด็น หรือปรับบทผิด นักศึกษาก็อาจจะไดคะแนนในสวนการวางประเด็น เน่ืองจากเปนการแสดงใหเห็นถึงความเขาใจในขอเท็จจริงและขอกฎหมายเบื้องตน

๑๕

ดูการจับประเด็นขอสอบอุทาหรณในหัวขอท่ี ๗ ๑๖

อาจารยผูตรวจคําตอบสวนใหญจะไมหักคะแนน แมนักศกึษาจะไมเขียนประเด็นของคําถามไว อยางไรกด็ีผูตรวจคําตอบบางทานกน็ิยมใหมี

การเขียนประเด็นของคําถามเปนสวนแรกของการตอบขอสอบกอน นกัศึกษาจะควรสอบถามจากอาจารยแตละทานกอน

Page 30: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๐

๒. หลักกฎหมาย ขอสอบอุทาหรณจะมีคะแนนของหลักกฎหมายที่เกี่ยวของกับประเด็นของคําถามเสมอ ซึ่งอาจจะมีสัดสวนนอยกวาการปรับบทซึ่งเปนสวนที่ ๓ แตคะแนนของหลักกฎหมายก็อาจเปนสวนที่สามารถชี้วัดผลการสอบในแตละขอได บางครั้งผูตรวจขอสอบอาจกําหนดสัดสวนการใหคะแนนของหลักกฎหมายถึงครี่งหนึ่งของคะแนนทั้งขอ ซึ่งมักจะเปนกรณีที่คําถามมีประเด็นที่ถามหลายประเด็น ๓. การปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง สวนน้ีอาจจะเรียกไดวาเปนสวนที่สําคัญที่สุดของการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ เนื่องจากเปนสวนที่วัดความเขาใจในหลักกฎหมาย และความสามารถในการปรับใชหรือวินิจฉัยของนักศึกษา ความยากในการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณจึงอยูที่สวนของการปรับบทกฎหมายนี่เอง ๔. การสรุปคําตอบ สวนนี้อาจถือไดวาเปนสวนสุดทายที่จะมาเติมเต็มใหกับการเขียนตอบขอสอบของนักศึกษาจบลงดวยความสมบูรณ ทั้งน้ีแมนักศึกษาจะจับประเด็น วางหลักกฎหมาย หรือปรับบทที่ถูกตอง แตหากนักศึกษาไมสรุปคําตอบใหตรงกับคําถามที่โจทยถาม ก็เหมือนนักศึกษายังไมไดทําในสิ่งที่ผูถามประสงคจะใหทํา ซึ่งนักศึกษาอาจเสียคะแนนที่ไมควรจะเสียไป นักศึกษาจะพบวาขอสอบอุทาหรณมักจะมีประเด็นที่ถามมาก และลวนแลวแตเปนประเด็นที่ซอนอยู การปรับบทจึงเปนการปรับบทในหลายประเด็น แมบางครั้งการปรับบทในแตละประเด็นจะเปนการตอบคําถามอยูในตัว แตหากไมมีการสรุปคําตอบใหตรงกับคําถามอีกครั้งหน่ึง ก็อาจสรางความความสับสนใหกับผูตรวจขอสอบในการคนหาคําตอบของนักศึกษาได ดวยเหตุนี้นักศึกษาควรจะสรุปคําตอบอีกครั้งหน่ึงเสมอ แมในการปรับบทนักศึกษาอาจตอบคําถามในแตละประเด็นอยูแลวในตัวแลวก็ตาม

(๒) วิธีการเขียนตอบเนื้อหาในแตละสวน ดังที่ไดกลาวถึงโครงสรางของการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณทั้ง ๔ สวนแลว ตอไปจะกลาวในรายละเอียดของวิธีการเขียนตอบในแตละสวน ทั้งน้ีจะไดเนนในสวนที่ ๓ การปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง ซึ่งเปนสวนที่สําคัญที่สุดของการตอบขอสอบอุทาหรณ

Page 31: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๑

๑. ประเด็นของคําถาม การเขียนขอสอบอุทาหรณควรเริ่มดวยการเขียนประเด็นเปนสวนแรก การเขียนประเด็นจะเปนสวนที่นําไปสูการวางหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ และการปรับบท (วิธีการจับประเด็นของขอสอบอุทาหรณไดกลาวไปแลวในหัวขอที่ ๗) ๒. หลักกฎหมาย เม่ือนักศึกษาเขียนประเด็นในเรื่องใด นักศึกษาก็ตองวางหลักกฎหมายเกี่ยวของกับประเด็นในเรื่องน้ัน มีขอแนะนําเกี่ยวกับหลักกฎหมายดังนี้ (ก) การวางหลักกฎหมายไมจําเปนตองทองจํามาเขียนทุกตัวอักษร แตหลักกฎหมายควรเกิดจากการเขียนดวยความเขาใจมากกวาการทองจําทุกตัวอักษร๑๗ บางครั้งบทบัญญัติของกฎหมายในแตละมาตราใชภาษาเกาหรือเขาใจยาก การทองจํามาเขียนโอกาสที่นักศึกษาจะลืมและเขียนผิดจะมีสูง อยางไรก็ดีการเรียบเรียงดวยความเขาใจของนักศึกษาเอง ตองตั้งอยูบนหลักการที่วานักศึกษาจะตองไปแกไขเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงหลักการของกฎหมายเปนอยางอ่ืน และตองเรียบเรียงใหไดใจความหรือสาระสําคัญตรงกันกับบทบัญญัติในแตละมาตรา (ข) ไมจําเปนตองเขียนมาทั้งมาตรา นักศึกษาจะพบวาบทกฎหมายบางมาตราจะมีเน้ือหาซ่ึงสามารถแยกสวนออกจากกันไดโดยไมกระทบตอสาระสําคัญของแตละสวน ซึ่งนักศึกษาสามารถละเวนการเขียนถึงสวน หรือวรรคที่ไมจําเปนตองใชในการตอบคําถามหรือปรับใชกับขอเท็จจริงในแตละประเด็นได ทั้งนี้จะพบวาถามาตราหนี่งๆ มีหลายวรรค และจําเปนตองใชเพียงวรรคแรก วรรคถัดๆ ไปก็ไมจําเปนตองกลาวถึง อยางไรก็ดีจะพบวาหากวรรคที่ตองใชอยูในวรรคถัดๆ ไป การเขียนเฉพาะวรรคถัดๆ ไปอยางเดียวอาจไมครบถวนหรือสมบูรณ เพราะโดยสวนใหญวรรคถัดๆ ไปจะยึดโยงหรืออางอิงอยูกับวรรคกอนหนา (ค) ไมจําเปนตองเขียนเลขมาตราของบทบัญญัติ ในกรณีที่นักศึกษาจําเลขมาตราไมได ก็ไมจําเปนตองเขียนเลขมาตรามา เพราะจะเสี่ยงตอการเขียนผิด และจะมีผลทําใหถูกหักคะแนนได ซึ่งโดยสวนใหญการไมเขียนเลขมาตราไมทําใหถูกตัดคะแนนแตอยางใด (ง) นักศึกษาจะตองสามารถแยกโครงสรางของบทบัญญัติได โดยปกติตัวบทกฎหมายสวนมากจะแบงไดเปน ๒ สวน คือ๑๘

(๑) ขอเท็จจริงที่เปนองคประกอบหรือสวนที่เปนเหตุ (Tatbestand) (๒) ผลในทางกฎหมาย หรือสวนที่เปนผล (Rechtsfolge)

๑๗

ขอสอบอุทาหรณ ไมใชขอสอบที่วดัความจํา แตวัดความเขาใจในตัวบทกฎหมายและความสามารถในการปรับใช เนื่องจากในการประกอบ

วิชาชีพกฎหมาย ผูประกอบวชิาชีพจะมีเวลามากพอที่จะสามารถเปดตัวบทกฎหมายไดโดยที่ไมตองทองจํา ความเขาใจในสาระสําคัญของบทบัญญตัิของกฎหมาย จึงมีความสําคัญกวาความสามารถในการทองจําตัวบทกฎหมายไดทุกตัวอักษร ๑๘

สมยศ เชื้อไทย. “คําอธิบายความรูกฎหมายทั่วไป”, สํานกัพิมพวิญูชน, พมิพครั้งท่ี ๙, มิถุนายน ๒๕๔๖, หนา ๑๑๗ - ๑๑๘

Page 32: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๒

ไมวาในตัวบทกฎหมายอาญาหรือกฎหมายแพงก็ยอมมีสวนประกอบ ๒ สวน เชนเดียวกัน เชนในประมวลกฎหมาย มาตรา ๓๓๔ บัญญัติวา “ผูใดเอาทรัพยของผูอ่ืน หรือที่ผูอ่ืนเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต ผูนั้นกระทําความผิดฐานลักทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป และปรับไมเกินหกพันบาท” จากตัวบทแยกออกเปนสวนแรกคือ “ผูใดเอาทรัพยของผูอ่ืนหรือที่ผูอ่ืนเปนเจาของรวมอยูดวยไปโดยทุจริต” เปนขอเท็จจริงที่เปนองคประกอบความผิด ซึ่งเปนสวนเหตุ และสวนที่ ๒ คือ “ผูนั้นกระทําความผิดฐานลักทรัพยตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปและปรับไมเกินหกพันบาท” เปนผลในทางกฎหมายที่ผูกระทําผิดจะตองไดรับโทษตามที่กฎหมายบัญญัติไว ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เชน มาตรา ๑๙ บัญญัติวา “บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปบริบูรณ” ขอเท็จจริงอันเปนองคประกอบซึ่งเปนสวนเหตุ คือ “บุคคลอายุยี่สิบปบริบูรณ” และผลในทางกฎหมาย คือ “พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ”

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓๔

องคประกอบ ผลทางกฎหมาย ความผิดฐานลักทรัพย

๑) ผูใด ๒) เอาไป ๓) ทรัพยของผู อ่ืนหรือที่ผู อ่ืนเปนเจาของ

รวมอยูดวย ๔) โดยทุจริต

ตองระวางโทษ ๑) จําคุกไมเกิน ๓ ป และ ๒) ปรับไมเกิน ๖,๐๐๐ บาท

ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย มาตรา ๑๙

องคประกอบ ผลทางกฎหมาย ๑) บุคคล ๒) อายุ ๒๐ ปบริบูรณ

- พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ (ดูมาตรา ๒๑ ป.พ.พ.)

ความสามารถในการแยกโครงสรางของบทบัญญัติจะมีความสําคัญอยางมากตอการปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง เน่ืองจากขอเท็จจริงจะเกิดผลในทางกฎหมายตามมาตรานั้นได นักศึกษาจะตองแสดงใหเห็นไดวาขอเท็จจริงตามโจทยเขาองคประกอบในสวนที่เปนเหตุของกฎหมาย

Page 33: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๓

(จ) นักศึกษาจะตองทราบถึงความสัมพันธระหวางบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษร โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบัญญัติที่มีความสัมพันธกันในฐานะ “บทกฎหมายหลัก” (jus commune) และ “บทกฎหมายยกเวน” (jus singulare)๑๙ นักศึกษาจะทราบความสัมพันธระหวางบทบัญญัติวาเปนบทกฎหมายหลักหรือบทกฎหมายยกเวน ก็ตอเม่ือมีบทบัญญัติสองบทบัญญัติขึ้นไปมาเปรียบเทียบกัน บทกฎหมายหลัก คือ บทบัญญัติที่บัญญัติองคประกอบในสวนที่เปนเหตุ และผลในทางกฎหมายไวอยางกวางๆ บทกฎหมายยกเวน คือ บทบัญญัติที่บัญญัติองคประกอบในสวนที่เปนเหตุเร่ืองเดียวกับบทกฎหมายหลัก แตบัญญัติไวในขอบเขตที่แคบหรือเฉพาะเจาะจงกวา และบัญญัติผลในทางกฎหมายไวตรงกันขามกับผลในทางกฎหมายของบทกฎหมายหลัก ตัวอยาง ป.พ.พ. มาตรา ๒๑ “ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอน การใดๆ ที่ผูเยาวไดทําลงปราศจากความยินยอมเชนวานั้นเปนโมฆียะ เวนแตจะบัญญัติไวเปนอยางอ่ืน” ป.พ.พ. มาตรา ๒๔ “ผูเยาวอาจทําการใดๆ ไดทั้งสิ้น ซึ่งเปนการสมแกฐานานุรูปแหงตน และเปนการอันจําเปนในการดํารงชีพตามสมควร” นักศึกษาจะพบวามาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๔ ตางก็บัญญัติขอเท็จจริงในสวนที่เปนเหตุในเรื่องเดียวกัน คือ เรื่องการทํานิติกรรมของผูเยาว แตมาตรา ๒๑ จะบัญญัติไวกวางๆ วา คือ นิติกรรมทั่วๆ ไปไมไดเจาะจงวานิติกรรมประเภทใด ในขณะที่มาตรา ๒๔ จะบัญญัติถึงเร่ืองนิติกรรมเหมือนกันแตเจาะจงไปที่นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปแหงตนและจําเปนตอการดํารงชีพตามสมควร ซึ่งเปนการบัญญัติเกี่ยวกับเร่ืองนิติกรรมไวแคบกวา ในขณะที่ผลในทางกฎหมายของทั้งสองบทบัญญัตินั้

นตรงกันขามกัน กลาวคือ มาตรา ๒๑ กําหนดผลใหการทํานิติกรรมของผูเยาวไมสมบูรณ คือ ตกเปนโมฆียะ ในขณะที่มาตรา ๒๔ กําหนดผลใหการทํานิติกรรมของผูเยาวสมบูรณ ดวยเหตุนี้มาตรา ๒๑ จึงมีลักษณะเปนบทกฎหมายหลัก สวนมาตรา ๒๔ เปนบทกฎหมายเวนของมาตรา ๒๑๒๐

ความสัมพันธของบทกฎหมายหลักกับบทกฎหมายยกเวนนั้นไมไดจํากัดอยู เฉพาะบทบัญญัติตางมาตรากันเทานั้น ในบางกรณีบทบัญญัติมาตราเดียวกัน อาจมีทั้งบทกฎหมายหลักและบทกฎหมายยกเวนอยูรวมกัน อาทิ มาตรา ๑๕ วรรคแรก เปนบทกฎหมายหลัก ในขณะที่วรรคสองเปนบทกฎหมายยกเวนของวรรคแรก นอกจากนี้ บทบัญญัติที่เปนบทกฎหมายหลักกับบทกฎหมายยกเวนอาจไมไดอยูติดกันหรืออยูในหมวดหมูหรือบรรพเดียวกันก็ได

๑๙

นักศึกษาสามารถศกึษาประเภทของบทบัญญัติลายลักษณอกัษรประเภทตางๆ เพิ่มเติมไดจาก “คําอธิบายความรูกฎหมายทั่วไป” โดย รศ.สมยศ เชื้อ

ไทย, อางแลว, หนา ๑๑๘ - ๑๒๘ ๒๐

โปรดสังเกตความสัมพันธระหวาง มาตรา ๒๑ กับมาตราอืน่ อาทิ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๓

Page 34: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๔

ความสามารถในการแยกบทบัญญัติเปนบทกฎหมายหลักกับบทกฎหมายยกเวนนั้นมีความสําคัญตอการปรับขอกฎหมายเขากับขอเท็จจริงเปนอยางมาก นักศึกษาควรพยายามสังเกตและจดจําบทบัญญัติที่มีความสัมพันธกันในลักษณะดังกลาว (ทั้งน้ีบทกฎหมายหลักกับบทกฎหมายยกเวนมีความสําคัญตอการปรับบทอยางไรจะไดกลาวตอไป) (๓) การปรับบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง มีขอแนะนําในการปรับบทดังตอไปน้ี ๑. พิจารณาขอเท็จจริงที่มีนัยในทางกฎหมายทั้งหมด ซึ่งนักศึกษาไดทําสัญลักษณหรือเครื่องหมายไว ๒. ดูวาขอเท็จจริงที่มีนัยในทางกฎหมายนั้น เปนประเด็นเกี่ยวกับเรื่องอะไร และเกี่ยวกับหลักหมายใด ๓. แยกโครงสรางของบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับประเด็นออกเปนองคประกอบสวนที่เปนเหตุ (องคประกอบทางกฎหมาย) กับองคประกอบสวนที่เปนผลในทางกฎหมาย (ผลทางกฎหมาย) ๔. นักศึกษาเริ่มเขียนอธิบายการปรับบทดวยการปรับขอเท็จจริงที่ตรงกับองคประกอบสวนที่เปนเหตุ โดยแสดงใหเห็นวาขอเท็จจริงกับหลักกฎหมายน้ันปรับเขาไดกันหรือไม หากเขากันไดในทุกองคประกอบ ก็จะเกิดผลตามกฎหมาย ถาไมสามารถปรับเขากับองคประกอบในหนึ่งสวนใด ก็จะไมเกิดผลขึ้นตามกฎหมาย ๕. การระบุผลในทางกฎหมายที่เกิดขึ้นนักศึกษาจําเปนตองอางอิงหลักกฎหมายดวยวาเปนผลทางกฎหมายที่เกิดขึ้นตามหลักกฎหมายใด โดยการระบุเลขมาตรา (ในกรณีที่มีการวางหลักกฎหมายและระบุเลขมาตราไวเรียบรอยแลว) แตถาหลักกฎหมายที่วางกอนหนาไมไดระบุเลขมาตรา อาจจะอางเพียงวาเปนไปตามหลักกฎหมายใน ป.พ.พ. ซึ่งวางไวแลวขางตน ตัวอยาง นายเอก อายุ ๑๘ ปไดไปซื้อรองเทานักเรียน ๑ คู ราคา ๑๕๐ บาท เพ่ือไวใชใสไปโรงเรียน

ม. ๑๙ ม. ๒๑

ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย มาตรา ๑๙

องคประกอบ ผลทางกฎหมาย อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ

Page 35: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๕

ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย มาตรา ๒๑

องคประกอบ ผลทางกฎหมาย ๑. ผูเยาว ๒. ทํานิติกรรม ๓. โดยไมไดรับความยินยอมจาก

ผูแทนโดยชอบธรรม

นิติกรรมตกเปนโมฆียะ

เม่ือนักศึกษาแยกองคประกอบสวนที่เปนเหตุ กับผลในทางกฎหมายของหลักกฎหมายที่เกี่ยวของไดแลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนปรับบท โดยไลจากประเด็นความเปนผูเยาว (มาตรา ๑๙) กอน แลวจึงตามดวยประเด็นการทํานิติกรรมของผูเยาว ดังนี้ “ขอเท็จจริงตามปญหา [นายเอกมีอายุเพียง ๑๘ ปยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ] [จึงมีสถานะเปนผูเยาว]ตาม มาตรา ๑๙ [การที่นายเอกซึ่งเปนผูเยาว]ไป[ทํานิติกรรมคือการซื้อรองเทานักเรียน]โดย[ไมปรากฏขอเท็จจริงวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม] [นิติกรรมการซื้อรองเทายอมตกเปนโมฆียะ]ตาม มาตรา ๒๑...” ความเปนผูเยาวของนายเอกไมตอง

แสดงเหตุผลอีกว าทํ าไมยั ง เปนผูเยาว เพราะไดกลาวไปแลวในตอนตน

ตองแสดงใหเห็นวาตามขอ เท็ จจ ริงอายุ เท า ใด แล ว ต า ม ม .๑๙ อ ายุเทาใดจึงจะบรรลุนิติภาวะ

เ ม่ื อ ต า มข อ เ ท็ จ จ ริ ง ไ ม เ ข าองคประกอบในทางกฎหมาย ก็ไมเกิดผลตาม ม. ๑๙ กลาวคือ ยังไมบรรลุนิติภาวะอยูน่ันเอง

ขอเท็จจริงในคําถามไมไดพูด ถึ งความยินยอมของผู แ ท น โ ด ย ช อ บ ธ ร ร ม สันนิษฐานวาผูแทนโดยชอบธ ร ร ม ยั ง ไ ม ไ ด ใ ห ค ว า มยินยอม

อะไรที่ เ ป นข อ เท็ จจ ริ งที่แสดงวาเปนการทํานิติกรรม ซ่ึ งก็ คื อ การซื้ อ รอง เท าน่ันเอง

เ ม่ื อปรากฏว า ข อ เท็ จ จ ริ ง ในคํ าถามเข าองคประกอบทางกฎหมายทั้ง ๓ ประการ ผลก็คือ นิติกรรมตกเปนโมฆียะ ตามมาตรา ๒๑

จากตัวอยางนักศึกษาจะพบวา การปรับบทนั้นความสําคัญอยูที่การอธิบายวาขอเท็จจริงน้ันเม่ือเปรียบเทียบกับองคประกอบในทางกฎหมายแลวเขากันไดหรือไมอยางไร ตามตัวอยาง ขอบกพรองที่พบมากสําหรับนักศึกษาที่เพ่ิงเริ่มเขียนตอบ คือ นักศึกษามักจะปรับบทวา “ขอเท็จจริงตามปญหา นายเอกมีอายุเพียง ๑๘ ปจึงเปนผูเยาวตามมาตรา ๑๙...” ซึ่งแมจะใหผลในทางกฎหมายเหมือนกัน แตไดคะแนนไมดี เพราะนักศึกษายังไมไดบอกเลยวาทําไมอายุ ๑๘ ปจึงเปนผูเยาว นักศึกษายกมาเฉพาะขอเท็จจริงในคําถามวาอายุ ๑๘ แตไมไดกลาวถึงองคประกอบในทางกฎหมายซึ่งไดกําหนดอายุไววาตองอายุ ๒๐ ปบริบูรณ หรือ นักศึกษาบางคนปรับบทในสวนนี้วา “ขอเท็จจริงตามปญหา นายเอกอายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ จึงเปนผูเยาวตามมาตรา ๑๙...” นักศึกษาพึงสังเกตวาการปรับบทนี้ก็ยังไมสมบูรณทีเดียว เพราะนักศึกษาพูดถึงเฉพาะวาขอเท็จจริงนั้นไมเขา

Page 36: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๖

องคประกอบคืออายุไมครบ ๒๐ บริบูรณ แตนักศึกษาไมไดอางถึงวาขอเท็จจริงใดที่บอกวาอายุของนายเอกยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ ซึ่งน่ันก็คือนักศึกษาไมไดกลาวถึงขอเท็จจริงที่วา นายเอกมีอายุ ๑๘ ป ๖. นักศึกษาไมจําเปนตองพูดถึงขอเท็จจริงทั้งหมดในคําถาม คือ ไมตองลอกคําถามมา แตนักศึกษาควรเขียนปรับบทเฉพาะขอเท็จจริงในคําถามที่เกี่ยวกับประเด็นซ่ึงนักศึกษาไดขีดเสนใตไวก็เพียงพอ กลาวคือ ยกขอเท็จจริงมาเฉพาะเทาที่เกี่ยวกับประเด็นของคําถาม ตัวอยาง นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด

๗. ถาขอเท็จจริงในคําถามเปนประเด็นที่ตองดวยบทกฎหมายหลัก นักศึกษาตองไมลืมที่จะพิจารณาบทกฎหมายยกเวนดวยวาปรับเขาไดหรือไม เพราะบางครั้งเราลืมไปวาขอเท็จจริงน้ันๆ อาจเขาบทกฎหมายยกเวน ซึ่งใหผลในทางกฎหมายตรงกันขามกับบทกฎหมายหลัก เชน นาย ก. อายุ ๑๖ ซื้อรถยนต ๑ คัน เพ่ือขับไปโรงเรียน... เม่ือนักศึกษาเห็นคําถามบางคนมองเห็นประเด็นตาม มาตรา ๒๑ วินิจฉัยทันทีวาเปนโมฆียะเพราะไมปรากฏขอเท็จจริงวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม ซึ่งหากนักศึกษามีความรอบคอบนักศึกษาควรจะวิเคราะหตอไปดวยวาขอเท็จจริงปรับไดเขากับบทกฎหมายยกเวนของมาตรา ๒๑ อันไดแก มาตรา ๒๒ – ๒๔ ดวยหรือไม โดยที่ไมจําเปนตองนําบทกฎหมายยกเวนทุกมาตรามาปรับ อาจยกมาเพียงบางบทบางมาตราที่เห็นวาองคประกอบของบทบัญญัตินาจะมีความใกลเคียงกับขอเท็จจริง (เพราะบางครั้งผูออกขอสอบประสงคจะใหมีประเด็นเกี่ยวกับบทกฎหมายยกเวนดวย แมจะไมเกิดผลตามบทกฎหมายยกเวนก็ตาม) ในทางกลับกันถานักศึกษาเห็นขอเท็จจริงในคําถาม แลวนึกภาพเห็นคําตอบทันทีวาเปนเรื่องที่ปรับไดเขากับบทกฎหมายยกเวน นักศึกษาพึงระลึกวากอนที่จะปรับเขากับบทกฎหมายยกเวนนั้นๆ ควรที่ไดปรับเขากับบทกฎหมายหลักเสียกอนวาเกิดผลอยางไร เชน นาย ก. อายุ ๑๖ ป ซื้อรองเทา ๑ คู ราคา ๑๐๐ บาท เพ่ือใชใสไปโรงเรียน... นักศึกษาที่เห็นขอเท็จจริงน้ีก็รูทันทีวาเปนประเด็นของมาตรา ๒๔ กอนที่นักศึกษาจะปรับมาตรา ๒๔ ซึ่งเปนบทกฎหมายกเวนเขากับขอเท็จจริง นักศึกษาควรวินิจฉัยเสียกอนวาโดยหลักตามมาตรา ๒๑ แลวนิติกรรมดังกลาวทําไดหรือไม (โปรดดูความสัมพันธระหวางบทกฎหมายหลักและบทกฎหมายยกเวน ซึ่งไดกลาวไปแลวในหัวขอกอนหนา) ๘. การปรับบทจะเริ่มในประเด็นใดกอนหรือหลังกันน้ัน มีขอแนะนํานักศึกษาวา อาจใชลําดับเวลาการเกิดขึ้นของเหตุการณมาพิจารณา ซึ่งโดยสวนใหญขอเท็จจริงในคําถามก็จะลําดับเวลาการเกิดขึ้นของเหตุการณอยูแลว อยางไรก็ตามเปนไปไดเชนกันวาขอเท็จจริงซ่ึงเกี่ยวของกับประเด็นแรก

Page 37: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๗

(ซึ่งเปนขอเท็จจริงในสวนตนของประโยค) กลับไปปรากฏเพิ่มเติมในประโยคทายๆ ของคําถาม ในการปรับบทในประเด็นน้ันๆ นักศึกษาก็จะตองพิเคราะหขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับประเด็นทั้งหมด ไมวาจะปรากฏอยูในสวนใดของคําถามก็ตาม ตัวอยางลําดับการปรับบท (จากตัวอยางขางตน)

ประเด็นความเปนผูเยาว (อายุ)

ประเด็นการบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส

ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว

ประเด็นเร่ืองความสามารถในการทํานิติกรรมของคนวิกลจริต

๘.๓ รูปแบบการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ ดังที่กลาวไปแลววาการเขียนสอบอุทาหรณจะมีโครงสรางการเขียนตอบอยู ๔ สวน คือ ประเด็น, หลักกฎหมาย, การปรับบท และสรุป โครงสราง ๔ สวนนี้อาจจะจัดวางตําแหนงของแตละสวนหรือรูปแบบของการเขียนที่แตกตางกันขึ้นอยูกับความถนัดของนักศึกษาแตละคน โดยจะไดยกตัวอยางรูปแบบการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณที่นิยมใชกันอยูดวยไป ๓ รูปแบบดวยกัน อันไดแก

๑. การเขียนตอบแบบพื้นฐาน ๒. การเขียนตอบแบบทีละประเด็น ๓. การเขียนตอบแบบยอ

๑. การเขียนตอบแบบพื้นฐาน โดยมากมักจะใชสําหรับนักศึกษาที่เพ่ิงเริ่มฝกเขียนตอบขอสอบอุทาหรณ เพราะงายตอการจัดลําดับความคิดทางความคิด มีโครงรางการเขียนตอบดังตอไปน้ี

Page 38: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๘

ประเด็นจากคําถามมีดังตอไปน้ี ๑. ............................................................. ๒. ............................................................. ๓. .............................................................

หลักกฎหมายที่เกี่ยวของไดแกประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยดังตอไปน้ี

๑. .......................................................................................................................... ๒. .......................................................................................................................... ๓. .......................................................................................................................... ๔. ..........................................................................................................................

(ประเด็นที่ ๑) .................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... (ประเด็นที่ ๒)................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... (ประเด็นที่ ๓).................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ (สรุป)................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ขอสังเกต ขอความที่อยูในวงเล็บน้ันนักศึกษาไมจําเปนตองเขียนมาเวลาตอบขอสอบจริง โดยนักศึกษาควรใชวิธีการยอหนาเพื่อแสดงใหเห็นวาเปนคนละประเด็นกัน อยางไรก็ตามในหนึ่งประเด็นอาจมีมากกวาหนี่งยอหนาก็ได การยอหนานอกจากจะชวยในการจัดลําดับความคิดแลวยังชวยใหผูตรวจตรวจกระดาษคําตอบงายขึ้นอีกดวย นักศึกษาไมตองเกรงวาจะเปนการเปลืองกระดาษ นักศึกษาสามารถขอกระดาษคําตอบเพิ่มไดมากเทาที่นักศึกษาตองการ (ยกเวนอาจารยผูตรวจจะจํากัดจํานวนหนาคําตอบ)

Page 39: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓๙

๒. การเขียนตอบแบบทีละประเด็น โครงรางการเขียนตอบอาจแบงไดอีก ๒ รูปแบบดังตอไปน้ี รูปแบบที่ ๑ ประเด็น (ที่ ๑) .......................................................................................... หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ ๑ .............................................................................................................. ๒ .............................................................................................................. จากขอเท็จจริง.................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ประเด็น (ที่ ๒) .......................................................................................... หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ ๑ ............................................................................................................... จากขอเท็จจริง.................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ประเด็น (ที่ ๓) ............................................................................................ หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ ๑ ................................................................................................................. ๒ ................................................................................................................. จากขอเท็จจริง................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ สรุป............................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

Page 40: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๐

รูปแบบที่ ๒ ประเด็น (ที่ ๑) ............................................................................................. ขอเท็จจริงตามปญหาการที่นาย..........................................ตามหลักกฎหมายใน ป.พ.พ. ซึ่งวางหลักวา....................................................ตอมาเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ............................ตามหลักกฎหมายใน ป.พ.พ. ซึ่งวางหลักวา.............................................................................................. ....................................................................................................................................................... ประเด็นที่ (ที่ ๒) ........................................................................................... การที่นาย ข. ไปรับจางแสดงละคร................................................................ซึ่งตามหลักกฎหมายใน ป.พ.พ. ไดวางหลักวา ...................................................................................................... ...................................................................................อยางไรก็ตามเนื่องจากการทํานิติกรรมดังกลาวเปนการ....................................................ซึ่งเปนไปตามมาตรา.....ในป.พ.พ. ซึ่งไดวางหลักวา............... ....................................................................................................................................................... สรุป................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ การเขียนตอบทีละประเด็นน้ีมีอยูดวยกัน ๒ รูปแบบ คือ รูปแบบที่ ๑ ซึ่งมีลักษณะการวางโครงสรางคลายกับการเขียนตอบแบบพื้นฐาน เพียงแตจะเขียนใหจบไปทีละประเด็น ในขณะที่รูปแบบที่ ๒ จะเขียนปะปนกันไปเลยระหวางหลักกฎหมายกับการปรับบท แตทั้งน้ีตองแสดงใหเห็นดวยในสวนที่อยูกันอยางปะปนนั้นอะไรเปนหลักกฎหมาย การเขียนตอบทีละประเด็นในรูปแบบที่ ๒ นี้นิยมใชในกรณีที่มีเวลาจํากัด และผูที่เขียนตอบแบบนี้สวนใหญจะเปนผูที่มีความชํานาญในการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณเปนอยางดีแลว

Page 41: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๑

๘. ตัวอยางการเขียนตอบขอสอบอุทาหรณของนักศึกษา คําถาม นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเลอ ชนนางอรชรหญิงหมายซึ่งตั้งครรภได 7 เดือนเศษ เปนเหตุใหสมองของทารกในครรภไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ตอมานางอรชรไดคลอดบุตรออกมา คือ ดช .ประสาท ปรากฎวา ดช .ประสาทมีอาการวิกลจริตเพราะสมองไดรับความกระทบกระเทือนขณะอยูในครรภ นางอรชรจึงไดยื่นฟองนายแสวงตอศาลแทน ดช.ประสาท เรียกคาสนิไหมทดแทน โดยอางวานายแสวงประมาทเลินเลอทําใหดช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงใหการตอสูคดีวา ดช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ดช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอ่ืนละเมิดได ขอใหศาลยกฟอง ขอตอสูของนายแสวงฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด อนึ่ง เม่ือ ดช.ประสาทมีอายุ 17 ปเศษ ไดซื้อรองเทาจากรานศึกษาภัณฑพานิชมา 1 คูในราคา 35 บาท สัญญาซื้อขายรายนี้จะมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (1/2520) แนวการตอบ นักศึกษาคนที่ ๑ ประเด็น

๑. สิทธิของทารกในครรภมารดา ๒. ความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว ๓. ความสามารถในการทํานิติกรรมของคนวิกลจริต

หลักกฎหมายบัญญัติอยูใน ป.พ.พ. ดังนี้ มาตรา ๑๕ วางหลักวา สภาพบุคคลยอมเร่ิมขึ้นแตเม่ือคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นสุดลงเม่ือตาย ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิไดหากวาภายหลังคลอดแลวอยูรอดเปนทารก มาตรา ๑๙ วางหลักวา บุคคลจะพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเม่ืออายุ ๒๐ ปบริบูรณ มาตรา ๒๑ วางหลักวา ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม มิฉะนั้นนิติกรรมตกเปนโมฆียะ มาตรา ๒๔ วางหลักวา ผูเยาวสามารถทํานิติกรรมไดหากวาเปนการสมแกฐานานุรูปแหงตนและเปนการจําเปนในการดํารงชีพตามสมควร มาตรา ๓๐ วางหลักวา นิติกรรมที่คนวิกลจริตทําขึ้นในขณะจริตวิกล และคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูถึงความวิกลจริตในขณะทํานิติกรรม นิติกรรมนั้นยอมตกเปนโมฆียะ

Page 42: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๒

วินิจฉัย ขอเท็จจริงตามปญหาขณะที่นายแสวงทําละเมิด ดช.ประสาทเปนทารกในครรภมารดา ตามมาตรา ๑๕ วรรคแรก บุคคลจะมีสิทธิไดก็ตอเม่ือมีสภาพบุคคล และสภาพบุคคลจะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือคลอดและอยูรอดเปนทารก เม่ือปรากฏวาขณะถูกชนดช.ประสาทยังไมคลอด คือ เปนทารกในครรภมารดา ดช.ประสาทยอมยังไมมีสภาพบุคคล จึงไมอาจมีสิทธิใดๆ ใหนายแสวงละเมิดได อยางไรก็ตามการที่ตอมา ดช.ประสาท คลอดและอยูรอดเปนทารก ตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง ดช.ประสาทยอมมีสิทธิยอนหลังไปในขณะที่เปนทารกอยูในครรภมารดา ดังน้ันเม่ือ ดช.ประสาทถูกละเมิดสิทธิในรางกายขณะเปนทารกในครรภมารดา ยอมสามารถฟองรองนายแสวงฐานะละเมิดได นางอรชรในฐานะผูแทนโดยชอบธรรมจึงสามารถฟองใหนายแสวงรับชดใชคาสินไหมทดแทน แทนดช.ประสาทได ตอมาเมื่อ ดช.ประสาท อายุได ๑๗ ปเศษ ไดไปซ้ือรองเทามา ๑ คู ในเวลานั้น ดช.ประสาทอายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณจึงยังเปนผูเยาวตามมาตรา ๑๙ การที่ดช.ประสาทไปซื้อรองเทาเปนการทํานิติกรรม เม่ือไมปรากฏวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม คือ นางอรชร นิติกรรมยอมตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ อยางไรก็ตาม เน่ืองจากนิติกรรมการซื้อรองเทาดังกลาวขาพเจาเห็นเปนการซื้อทรัพยที่ราคาที่ราคาไมสูง และดช.ประสาทอาจจะนํารองเทาดังกลาวมาไวใส ซึ่งผูเยาวทั่วๆไปก็ควรมีรองเทาใส จึงเปนกรณีที่ผูเยาวทํานิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพตามสมควร นิติกรรมการซื้อรองเทานี้จึงมีผลสมบูรณตามมาตรา ๒๔ กรณีตองพิจารณาดวยวาการทํานิติกรรมซื้อรองเทานั้นตกเปนโมฆียะเพราะความเปนคนวิกลจริตของ ดช.ประสาทหรือไม เห็นวาตามขอเท็จจริงแม ดช.ประสาทจะมีอาการวิกลจริตตั้งแตเกิดและอาจยังคงมีอาการวิกลจริตอยู แตไมปรากฏขอเท็จจริงวาผูขายรูถึงความวิกลจริตของ ดช.ประสาทในขณะทํานิติกรรม นิติกรรมจึงไมตกเปนโมฆียะตาม มาตรา ๓๐ แตอยางใด สรุป ขอตอสูของนายแสวงฟงไมขึ้นเพราะดช.ประสาทมีสิทธิยอนหลังตั้งแตเวลาที่เปนทารกในครรภมารดา ตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง จึงถูกทําละเมิดได และมีสิทธิเรียกใหนายแสวงรับผิดฐานละเมิด สัญญาซื้อรองเทามีผลสมบูรณเพราะเปนนิติกรรมที่ผูเยาวทําขึ้นเปนการสมแกฐานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพตาม มาตรา ๒๔ และไมตกเปนโมฆียะเพราะความวิกลจริตของผูเยาวตามมาตรา ๓๐ เพราะไมปรากฏวาคูกรณีอีกฝายรูถึงความวิกลจริตของ ดช.ประสาทในขณะทํานิติกรรม

Page 43: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๓

นักศึกษาคนที่ ๒ ประเด็นที่ ๑ ดช.ประสาทมีสิทธิตั้งแตเปนทารกในครรภมารดาหรือไม หลักกฎหมายใน ป.พ.พ. ม.๑๕ วางหลักวา สภาพบุคคลยอมเริ่มขึ้นแตเม่ือคลอดแลวอยูรอดเปนทารก และสิ้นสุดลงเม่ือตาย ทารกในครรภมารดาก็อาจมีสิทธิไดหากวาภายหลังคลอดแลวอยูรอดเปนทารก ขอเท็จจริงตามปญหาในขณะที่ถูกรถนายแสวงชน ดช.ประสาทยังเปนเพียงทารกในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล เพราะยังไมคลอดออกมา เม่ือไมมีสภาพบุคคลยอมไมมีสิทธิและหนาที่ใดๆในทางกฎหมายได โดยหลัก ดช.ประสาทจึงไมอาจถูกละเมิดสิทธิได ตาม ม.๑๕ ว.๑ อยางไรก็ตามตอมาปรากฏวาภายหลัง ดช.ประสาทคลอดออกมาและมีชีวิตอยูรอด ม.๑๕ ว.๒ บัญญัติให ดช.ประสาทมีสิทธิได และมีสิทธิยอนหลังไปในขณะอยูในครรภมารดา เม่ือในขณะอยูในครรภมีสิทธิ การที่นายแสวงขับรถมาชนทําใหดช.ประสาทไดรับการกระทบกระเทือนทางสมองอยางแรง จึงเปนการละเมิดสิทธิของ ดช.ประสาท ดช.ประสาทจึงสามารถเรียกคาสินไหมทดแทนจากนายแสวงฐานละเมิดได สรุป ขอตอสูของนายแสวงฟงไมขึ้นเพราะดช.ประสาทมีสิทธิยอนหลังไปในขณะเปนทารกในครรภมารดาตาม ม.๑๕ ว.๒ ประเด็นที่ ๒ สัญญาซื้อรองเทาตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือไม ม. ๑๙ วางหลักวา บุคคลจะพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเม่ืออายุครบยี่สิบปบริบูรณ ม.๒๑ วางหลักวา ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ จะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม นิติกรรมที่ผูเยาวทําลงไปโดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม นิติกรรมนั้นตกเปนโมฆียะ ม.๒๔ วางหลักวา ผูเยาวอาจทํานิติกรรมที่เปนการสมแกฐานานุรูปแหงตนและจําเปนตอการดํารงชีพได ขอเท็จจริงตามปญหา ดช.ประสาทอายุ ๑๗ ปเศษ อายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ จึงยังเปนผูเยาวตาม ม.๑๙ การที่ดช.ประสาทไปทํานิติกรรม คือ สัญญาซื้อรองเทา เม่ือไมปรากฏวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม โดยหลักสัญญาซื้อรองเทายอมตกเปนโมฆียะตาม ม.๒๑

Page 44: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๔

อยางไรก็ตามเนื่องจากการที่ดช.ประสาทซื้อรองเทาอาจนํามาใชใสในชีวิตประจําวัน และการราคาของรองเทาก็เปนราคาที่พอสมควรที่ผูเยาวนาจะซ้ือไดเอง ดวยเหตุนี้สัญญาซื้อรองเทาจึงเปนนิติกรรมที่ผูเยาวทําลงโดยสมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพ สัญญาซื้อขายรองเทาจึงมีผลสมบูรณตาม ม.๒๔ สรุป สัญญาซื้อรองเทามีผลสมบูรณเพราะเปนนิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพตาม ม.๒๔ ประเด็นที่ ๓ สัญญาซื้อขายรองเทาตกเปนโมฆียะเพราะความวิกลจริตหรือไม ม.๓๐ ถาคนวิกลจริตทํานิติกรรมในขณะจริตวิกลและคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูถึงความวิกลจริต นิติกรรมนั้นยอมตกเปนโมฆียะ ขอเท็จจริงตามปญหา ดช.ประสาท มีถูกรถยนตจนมีอาการวิกลจริต ซึ่งสันนิษฐานวามีอาการวิกลจริตจนถึงเวลาที่ทําสัญญาซื้อรองเทาดวย อยางไรก็ตามตาม ม.๓๐ นิติกรรมที่คนวิกลจริตทําลงนั้นจะตกเปนโมฆียะก็ตอเม่ือคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูอยูถึงความวิกลจริตดวย เม่ือไมปรากฏขอเท็จจริงวาคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูถึงความวิกลจริต นิติกรรมยอมไมตกเปนโมฆียะ สรุป นิติกรรมไมตกเปนโมฆียะตามม.๓๐ เพราะไมปรากฏวา คูกรณีอีกฝายหนึ่งรูถึงความวิกลจริตของดช.ประสาทในขณะทํานิติกรรม นักศึกษาคนที่ ๓ ประเด็น ความสามารถในการมีสิทธิของทารกในครรภมารดา ขอเท็จจริงตามปญหา ดช.ประสาทถูกรถชนในขณะอยูในครรภมารดา ซึ่งในขณะนั้น ดช.ประสาทยังไมคลอดและอยูรอดเปนทารก จึงยังไมมีสภาพบุคคล ตามป.พ.พ.วางหลักวา สภาพบุคคยอมเร่ิมขึ้นแตเม่ือคลอดแลวอยูรอดเปนทารก และส้ินสุดลงเมื่อตาย เม่ือ ดช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคลจึงไมมีสิทธิใดๆ ใหถูกละเมิดได อยางไรก็ตามเนื่องจากตอมาดช.ประสาทไดคลอดออกมาและอยูรอดเปนทารก ซึ่งกฎหมายไดวางหลักวา ทารกในครรภมารดาก็อาจมีสิทธิไดหากวาภายหลังคลอดแลวอยูรอดเปนทารก ดวยเหตุนี้เม่ือ ตอมาปรากฏวา ดช.ประสาทคลอดและอยูรอดเปนทารกแมจะมีอาการวิกลจริต ดช.ประสาทก็ยอมมีสิทธิยอนหลังไปในขณะเปนทารกในครรภมารดา ดังน้ันเม่ือขณะอยูในครรภมารดา ดช.ประสาทถูกนายแสวงขับรถโดยประมาททําใหตนไดรับการกระทบกระเทือนทางสมอง จึงถือเปนการละเมิดสิทธิของ ดช.ประสาท ดช.ประสาทมีสิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากนายแสวงฐานละเมิด สรุป ขอตอสูของนายแสวงฟงไมขึ้น เพราะดช.ประสาทมีสิทธิยอนหลังไปในขณะเปนทารกอยูในครรภมารดา

Page 45: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔๕

ประเด็น ความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว ในขณะที่ดช.ประสาทซื้อรองเทา ดช.ประสาทมีอายุเพียง ๑๗ ปเศษ จะเห็นไดวาอายุยังไมครบ ๒๐ ปบริบูรณจึงยังเปนผูเยาวอยู ตามหลักกฎหมายที่วา บุคคลจะพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ ๒๐ ปบริบูรณ เม่ือในขณะเปนผูเยาวดช.ประสาทไดไปทํานิติกรรม คือ การซื้อรองเทา โดยไมปรากฏขอเท็จจริงวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม นิติกรรมซื้อรองเทาจึงตกเปนโมฆียะ ตามหลักกฎหมายที่วา ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม มิฉะนั้นนิติกรรมตกเปนโมฆียะ อยางไรก็ตามเนื่องจากวารองเทาที่ซื้อน้ันเปนทรัพยที่ราคาไมแพงมาก ซึ่งผูเยาวสามารถซื้อไดถือวาเปนการสมแกฐานานุรูป และการซื้อน้ันเปนการทําลงเพื่อความจําเปนในการใชสอยจึงถือเปนการที่จําเปนตอการดํารงชีพตามสมควร ซึ่ง ดช.ประสาทยอมทํานิติกรรมนี้ได ตามหลักกฎหมายที่วา นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพ ผูเยาวสามารถทําได สรุป นิติกรรมซื้อรองเทามีผลสมบูรณ เพราะเปนนิติกรรมที่ผูเยาวทําลงไปอันเปนการสมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพตามสมควร ประเด็น ความสามารถในการทํานิติกรรมของคนวิกลจริต คนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถโดยหลักยอมมีความสามารถในการทํานิติกรรมโดยสมบูรณ ขอเท็จจริงมีปญหาใหตองพิจารณาดวยวานิติกรรมซื้อรองเทาที่ดช.ประสาททําลงน้ันบกพรองเพราะความวิกลจริตของดช.ประสาทหรือไม เน่ืองจากโจทยบอกวาดช.ประสาทมีอาการวิกลจริตเพราะถูกรถชนอาจสันนิษฐานไดวาขณะที่ทํานิติกรรมก็ยังอาจมีอาการวิกลจริตอยู อยางไรก็ตามหลักกฎหมายที่วานิติกรรมจะเปนโมฆียะก็ตอเม่ือคนวิกลจริตไดทํานิติกรรมในขณะจริตวิกลและในขณะทํานิติกรรมคูกรณีอีกฝายหนึ่งก็ไดรูถึงความวิกลจริตน้ันดวย เม่ือไมปรากฏวาคูกรณีอีกฝายรูถึงความวิกลจริตของดช.ประสาทในขณะทํานิติกรรม นิติกรรมจึงไมตกเปนโมฆียะแตอยางใด สรุป นิติกรรมซื้อรองเทาไมตกเปนโมฆียะเพราะความวิกลจริตของ ดช.ประสาท เนื่องจากไมปรากฏขอเท็จจริงวา คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูถึงความวิกลจริตของ ดช.ประสาทในขณะทํานิติกรรม

___________________________

Page 46: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๑ การแยกองคประกอบของบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษร คําสั่ง ใหนักศึกษาแยกองคประกอบของบทบัญญัติดังตอไปนี้

ขอท่ี บทบัญญัติ (ป.พ.พ.)

องคประกอบสวนท่ีเปนเหตุ ผลทางกฎหมาย

๑ มาตรา ๑๕

วรรคสอง ๑..................................................................... ๒.................................................................... ๓....................................................................

๒ มาตรา ๑๙ ๑.................................................................... ๒...................................................................

๓ มาตรา ๒๐ ๑................................................................... ๒.................................................................. ๓...................................................................

๔ มาตรา ๒๑ ๑................................................................... ๒................................................................... ๓.................................................................. ๔..................................................................

๕ มาตรา ๒๔ ๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔..................................................................

๖ มาตรา ๒๗

วรรคแรก ๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔..................................................................

๗ มาตรา ๓๐ ๑.................................................................. ๒................................................................. ๓................................................................. ๔.................................................................

๘ มาตรา ๖๑ วรรคแรก

๑................................................................. ๒................................................................. ๓................................................................. ๔................................................................. ๕.................................................................

Page 47: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

ขอท่ี บทบัญญัติ (ป.พ.พ.)

องคประกอบสวนท่ีเปนเหตุ ผลทางกฎหมาย

๙ มาตรา ๖๑ วรรคสอง

๑................................................................. ๒................................................................. ๓................................................................. ๔................................................................. ๕................................................................. ๖.................................................................

๑๐ มาตรา ๑๕๙ วรรคแรก

และวรรคสอง

๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔..................................................................

๑๑ มาตรา ๑๕๙ วรรคสาม

๑................................................................... ๒.................................................................. ๓................................................................... ๔.................................................................. ๕.................................................................. ๖..................................................................

๑๒ มาตรา ๑๖๔ ๑................................................................... ๒................................................................... ๓.................................................................. ๔.................................................................. ๕.................................................................. ๖..................................................................

๑๓ มาตรา ๒๑๙ ๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔..................................................................

๑๔ มาตรา ๒๓๗ ๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔.................................................................. ๕..................................................................

๑๕ มาตรา ๓๘๗ ๑.................................................................. ๒.................................................................. ๓.................................................................. ๔..................................................................

Page 48: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๒ การจับประเด็นคําถาม

คําสั่ง ใหนักศึกษาจับประเด็นคําถามดังตอไปนี้ โดยใหระบุบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ

คําถามที่ ๑ นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอท่ี ๑ – ๓)

๑. หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ ไดแก ___________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ ๒. ประเด็นของคําถามไดแก__________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ ๓. ใหพิจารณาขอเท็จจริงดังตอไปนี้ แลวใหจับคูใหตรงกับหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ (ก) มาตรา ๑๙ (ข) มาตรา ๒๐ (ค) มาตรา ๒๑ (ง) มาตรา ๓๐ (๑) นายจตุพรอายุ ๑๘ ป ______________ (๒) จดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป ______________ (๓) ไดรับความยินยอมจากบิดามารดา ______________ (๔) กลายเปนคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดส่ังใหเปนคนไรความสามารถ ______________ (๕) ซื้อรถยนต ______________ (๖) ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ______________ คําถามที่ ๒ นาย ก. อายุ ๑๘ ป ไดอยูกินฉันสามีภรรยากับนางสาว ข. อายุ ๒๐ ป นาย ก. ไดไปซื้อรถยนต ๑ คัน ราคา ๕ แสนบาทจากบริษัทโตโยตา บางขัน จํากัด โดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยาย สัญญาซื้อขายที่นาย ก. ทําขึ้นมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอท่ี ๔ – ๖)

๔. หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ ไดแก __________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________

Page 49: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๕. ประเด็นของคําถามไดแก__________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ ๖. ใหพิจารณาขอเท็จจริงจากคําถามดังตอไปนี้ แลวใหจับคูใหตรงกับหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ (ก) มาตรา ๑๙ (ข) มาตรา ๒๐ (ค) มาตรา ๒๑

(๑) นาย ก. อายุ ๑๘ ป ________________

(๒) ไดอยูกินฉันสามีภรรยากับนางสาว ข. อายุ ๒๐ ป ________________

(๓) ซื้อรถยนต ๑ คัน ________________

(๔) โดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยาย ________________

คําถามที่ ๓ นาย ก. อายุ ๑๕ ปขับจักรยานยนตโดยประมาทเลินเลอชนนางสาว ข. ไดรับบาดเจ็บตองเสียคารักษาพยาบาลไปท้ังส้ิน ๑๐,๐๐๐ บาท นางสาว ข. เรียกใหนาย ก. รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวนดังกลาว แตนาย ก. ปฏิเสธ อางวาตนเปนผูเยาวไมมีตองรับผิดใดๆ ทานเห็นดวยกับขออางของนาย ก. หรือไม เพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอ ๗ – ๙) ๗. หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ ไดแก __________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ ๘. ประเด็นของคําถามไดแก__________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________

๖. ใหพิจารณาขอเท็จจริงจากคําถามดังตอไปนี้ แลวใหจับคูใหตรงกับหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ (ก) มาตรา ๑๙ (ข) มาตรา ๒๑ (ค) มาตรา ๔๒๐

(๑) นาย ก. อายุ ๑๕ ป ________________

(๒) ขับรถยนตโดยประมาทเลินเลอ ________________

คําถามที่ ๔ ข. เปนบุตรของ ก. เกิดวันที่ 1 ก.ค. 2507 ข. อยูกินฉันสามีภรรยากับ ค. โดยมิไดจดทะเบียนสมรส ในวันที่ 15 มีนาคม 2522 ข. ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแก ค. และในวันเดียวกันไดทําพินัยกรรมอยางถูกตองตามแบบยกบานหลังหนึ่งใหกับ ค. ดวย ในวันที่ 1 เมษายน 2522 ค. ไดใหกําเนิดบุตรคนหนึ่ง ซึ่ง ข.ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายในวันเดียวกันนั้นเอง ตอมาในวันที่ 1 มีนาคม 2523 ข. ไดตั้งรานขายผา และไดส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท การกระทําของ ข. ประการตางๆ ดังกลาวนี้ ก. มิไดรูเห็นหรือใหความยินยอมดวยแตอยางใด ถา ก. ตองการจะบอกลางนิติกรรมที่ ข. ไดกระทําไปดังกลาวทุกๆ ราย ก. จะทําไดหรือไมเพียงใด (ใชตอบคําถามขอ ๑๐ – ๑๒) ๑๐. หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ ไดแก _________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________

Page 50: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๑๑. ประเด็นของคําถามไดแก__________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________

๑๒. ใหพิจารณาขอเท็จจริงจากคําถามดังตอไปนี้ แลวใหจับคูใหตรงกับหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ (ก) มาตรา ๑๙ (ข) มาตรา ๒๐ (ค) มาตรา ๒๑ (ง) มาตรา ๒๓ (จ) มาตรา ๒๕ (ฉ) มาตรา ๑๕๗๔ (ช) มาตรา ๑๗๐๓ (๑) ข...เกิดวันที่ 1 ก.ค. 2507...ในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๒๒ ________________

(๒) อยูกินฉันสามีภรรยากับ ค. โดยมิไดจดทะเบียนสมรส ________________

(๓) ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแก ค. ________________

(๔) ทําพินัยกรรมอยางถูกตองตามแบบ ________________

(๕) ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ________________

(๖) ตั้งรานขายผา ________________

(๗) ส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท ________________

(๘) การกระทําของ ข. ประการตางๆ ดังกลาวนี้ ก. มิไดรูเห็นหรือใหความยินยอมดวยแตอยางใด ________________

๕. นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเลอ ชนนางอรชรหญิงหมายซึ่งตั้งครรภได 7 เดือนเศษ เปนเหตุใหสมองของทารกในครรภไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ตอมานางอรชรไดคลอดบุตรออกมา คือ ด.ช.ประสาท ปรากฏวา ด.ช.ประสาทมีอาการวิกลจริตเพราะสมองไดรับความกระทบกระเทือนขณะอยูในครรภ นางอรชรจึงไดยื่นฟองนายแสวงตอศาลแทน ด.ช.ประสาท เรียกคาสินไหมทดแทน โดยอางวานายแสวงประมาทเลินเลอทําให ด.ช.ประสาทวิกลจริต นายแสวงใหการตอสูคดีวา ด.ช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ด.ช.

ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอื่นละเมิดได ขอใหศาลยกฟอง ขอตอสูของนายแสวงฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด

อนึ่ง เมื่อ ด.ช.ประสาทมีอายุ 17 ปเศษ ไดซื้อรองเทาจากรานศึกษาภัณฑพานิชมา 1 คูในราคา 35 บาท

สัญญาซื้อขายรายนี้จะมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอ ๑๓ – ๑๔) ๑๓. หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่เกี่ยวของ ไดแก _________________________________ _________________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________________________ ๑๔. ประเด็นของคําถามไดแก__________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________

๑๕. ใหพิจารณาขอเท็จจริงจากคําถามดังตอไปนี้ แลวใหจับคูใหตรงกับหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ (ก) มาตรา ๑๕ (ข) มาตรา ๑๙ (ค) มาตรา ๒๑ (ง) มาตรา ๒๔ (จ) มาตรา ๓๐ (๑) ชนนางอรชรหญิงหมายซึ่งต้ังครรภได 7 เดือนเศษ เปนเหตุใหสมองของทารกในครรภไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ________________ (๒) นายแสวงใหการตอสูคดีวา ด.ช.ประสาทไมมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้น ด.ช.ประสาทยังไมมีสภาพบุคคล จึงยังไมมีสิทธิใดๆ ใหผูอื่นละเมิดได ________________ (๓) ด.ช.ประสาทมีอายุ 17 ปเศษ ________________ (๔) ซื้อรองเทา...1 คูในราคา 35 บาท ________________

Page 51: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๓ การปรับบท

คําสั่ง ใหนักศึกษานําขอเท็จจริงจากคําถามมาเติมในชองวางใหสอดคลองกับองคประกอบของกฎหมาย

๑. นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (หลักกฎหมาย_____________________________________________________________________)

ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๑๙ ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๒๐ ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว ม.๒๑

องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง

บุคคล นายจตุพร ชายและหญิงอายุครบ ๑๗ ปบริบูรณ

ผูเยาว

อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ

อายุ ๑๘ ป จดทะเบียนสมรส ทํานิติกรรม

ผลทางกฎหมาย

(พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ)

ไมพนจากภาวะผูเยาวและไมบรรลุนิติภาวะ

ผลทางกฎหมาย (บรรลุนิติภาวะ)

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย

(นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรมของคนวิกลจริต (ม.๓๐)

องคประกอบ ขอเท็จจริง

บุคคล

ทํานิติกรรม

ในขณะจริตวิกล

ในขณะทํานิติกรรมคูกรณีอีกฝายหนึ่งรูวาวิกลจริต

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

Page 52: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๒. นาย ก. อายุ ๑๘ ป ไดอยูกนิฉันสามีภรรยากับนางสาว ข. อายุ ๒๐ ป นาย ก. ไดไปซื้อรถยนต ๑ คัน ราคา ๕ แสนบาทจากบริษัทโตโยตา บางขัน จํากัด โดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยาย สัญญาซื้อขายที่นาย ก. ทําขึ้นมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด

หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ _______________________________________________________________________________

ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๑๙ ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๒๐ ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว ม.๒๑

องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง

บุคคล ชายและหญิงอายุครบ ๑๗ ปบริบูรณ

ผูเยาว

อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ

จดทะเบียนสมรส ทํานิติกรรม

ผลทางกฎหมาย

(พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ)

ผลทางกฎหมาย (บรรลุนิติภาวะ)

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย

(นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

๓. นาย ก. อายุ ๑๕ ปขับจักรยานยนตโดยประมาทเลินเลอชนนางสาว ข. ไดรับบาดเจ็บตองเสียคารักษาพยาบาลไปทั้งส้ิน ๑๐,๐๐๐ บาท นางสาว ข. เรียกใหนาย ก. รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวนดังกลาว แตนาย ก. ปฏิเสธ อางวาตนเปนผูเยาวไมมีตองรับผิดใดๆ ทานเห็นดวยกับขออางของนาย ก. หรือไม เพราะเหตุใด

หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ _______________________________________________________________________________

ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๑๙ ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรมของผูเยาว ม.๒๑

องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง

บุคคล ผูเยาว

อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ ทํานิติกรรม

ผลทางกฎหมาย

(พนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะ)

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

Page 53: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๔. ข. เปนบุตรของ ก. เกิดวันที่ 1 ก.ค. 2507 ข. อยูกินฉันสามีภรรยากับ ค. โดยมิไดจดทะเบียนสมรส ในวันที่ 15

มีนาคม 2522 ข. ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแก ค. และในวันเดียวกันไดทําพินัยกรรมอยางถูกตองตามแบบยกบานหลังหนึ่งใหกับ ค. ดวย ในวันที่ 1 เมษายน 2522 ค. ไดใหกําเนิดบุตรคนหนึ่ง ซึ่ง ข.ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายในวันเดียวกันนั้นเอง ตอมาในวันที่ 1 มีนาคม 2523 ข. ไดตั้งรานขายผา และไดส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท การกระทําของ ข. ประการตางๆ ดังกลาวนี้ ก. มิไดรูเห็นหรือใหความยินยอมดวยแตอยางใด ถา ก. ตองการจะบอกลางนิติกรรมที่ ข. ไดกระทําไปดังกลาวทุกๆ ราย ก. จะทําไดหรือไมเพียงใด หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ _______________________________________________________________________________

ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๑๙ ประเด็นความเปนผูเยาว ม.๒๐

องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง

บุคคล ชายและหญิงอายุครบ ๑๗ ปบริบูรณ

อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ จดทะเบียนสมรส

ผลทางกฎหมาย

(พนจากภาวะผู เยาวและบรรลุนิติภาวะ)

ผลทางกฎหมาย (บรรลุนิติภาวะ)

ประเด็นความสามารถในการทํานิติกรรม

๑. สัญญาใหแหวนเพชร

มาตรา ๒๑ (บทหลัก) มาตรา ๑๕๗๔

องคประกอบ ขอเท็จจริง ผูแทนโดยชอบธรรม

ผูเยาว ทํานิติกรรมแทนผูเยาว

ทํานิติกรรม สัญญาใหโดยเสนหา

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

โดยไมไดรับอนุญาตจากศาล

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

ผลทางกฎหมาย

นิติกรรมไมมีผลผูกพันผูเยาว

๒. พินัยกรรม

มาตรา ๒๑ (บทหลัก) มาตรา ๒๕ (บทยกเวน)

องคประกอบ ขอเท็จจริง ผูเยาว

ผูเยาว อายุครบ ๑๕ ปบริบูรณ

ทํานิติกรรม ทําพินัยกรรม

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย

(ทําได)

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

Page 54: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๓. จดทะเบียนรับรองบุตร

มาตรา ๒๑ (บทหลัก) มาตรา ๒๓ (บทยกเวน)

องคประกอบ ขอเท็จจริง องคประกอบ ขอเท็จจริง

ผูเยาว ผูเยาว

ทํานิติกรรม ทํานิติกรรม

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ที่ตองทําเองเฉพาะตัว

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

ผลทางกฎหมาย

(ทําได)

๔. ตั้งรานขายผา

มาตรา ๒๗

องคประกอบ ขอเท็จจริง

ผูเยาว

ประกอบธุรกิจการคาหรือทําสัญญาจางแรงงาน

ไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย

(ผู เยาวเสมือนบรรลุนิติภาวะในกิจการที่ไดรับความยินยอม)

๔. สัญญาซื้อขายเสื้อผา

มาตรา ๒๑ (บทหลัก)

องคประกอบ ขอเท็จจริง

ผูเยาว

ทํานิติกรรม

โดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

ผลทางกฎหมาย (นิติกรรมตกเปนโมฆียะ)

Page 55: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๔ การปรับบท

คําสั่ง ใหนักศึกษาพิจารณาวาการปรับบทดังตอไปนี้ถูกตองหรือไม และหากไมถูกตองใหแกไขใหถูกตอง

คําถามที่ ๑ นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอ ๑ – ๔)

๑. มาตรา ๑๙ นายจตุพรอายุ ๑๘ ป จึงเปนผูเยาวตามมาตรา ๑๙ ________________________________________________________________________________________________________

๒. มาตรา ๒๐ และมาตรา ๑๔๔๘ นายจตุพรอายุ ๑๘ ปสมรสกับกับนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป และเมื่อไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมแลว ทั้งคูจึงทํานิติกรรมไดตามมาตรา ๒๐ ประกอบกับมาตรา ๑๔๔๘ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๓. มาตรา ๒๑ นายจตุพรซึ่งเปนคนวิกลจริตไดทํานิติกรรมโดยศาลยังไมไดส่ังใหเปนคนไรความสามารถทํานิติกรรมโดยไมไดรับความยินยอม แตก็สามารถทําไดเพราะไมตองไดรับความยินยอม นิติกรรมจึงมีผลสมบูรณตามมาตรา ๒๑ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ๔. มาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ นายจตุพรเปนคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถทํานิติกรรมโดยที่ไมปรากฏวาวิกลจริตในขณะทํานิติกรรม นิติกรรมจึงมีผลสมบูรณตามมาตรา ๓๐ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ คําถามที่ ๒ นาย ก. อายุ ๑๘ ป ไดอยูกินฉันสามีภรรยากับนางสาว ข. อายุ ๒๐ ป นาย ก. ไดไปซื้อรถยนต ๑ คัน ราคา ๕ แสนบาทจากบริษัทโตโยตา บางขัน จํากัด โดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยาย สัญญาซื้อขายที่นาย ก. ทําขึ้นมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอ ๑ – ๔)

Page 56: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๕. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ นาย ก. อายุ ๑๘ ป เปนผูเยาว แตเปนคนบรรลุนิติภาวะแลว เพราะไดสมรสกับนางสาว ข. จึงบรรลุนิติภาวะตามมาตรา ๒๐ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ๖. มาตรา ๒๑ นาย ก. ซึ่งเปนผูเยาวไดทํานิติกรรมคือซื้อรถยนตโดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยายแลว นิติกรรมจึงสมบูรณตามมาตรา ๒๑ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ๗. มาตรา ๒๑ นาย ก. ซึ่งเปนผูเยาวไดทํานิติกรรมคือซื้อรถยนต ๑ คันในราคา ๕ แสนบาท ถือวามีราคาแพงมากเกินไปจึงตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ เพราะไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ คําถามที่ ๓ นาย ก. อายุ ๑๕ ปขับจักรยานยนตโดยประมาทเลินเลอชนนางสาว ข. ไดรับบาดเจ็บตองเสียคารักษาพยาบาลไปท้ังส้ิน ๑๐,๐๐๐ บาท นางสาว ข. เรียกใหนาย ก. รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวนดังกลาว แตนาย ก. ปฏิเสธ อางวาตนเปนผูเยาวไมมีตองรับผิดใดๆ ทานเห็นดวยกับขออางของนาย ก. หรือไม เพราะเหตุใด (ใชตอบคําถามขอ ๘) ๘. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๑ นาย ก. อายุ ๑๕ ป ยังไมบรรลุนิติภาวะเพราะยังเปนผูเยาว ตามมาตรา ๒๑ ขับรถจักรยานยนตไปชนถือวาเปนทําการนิติกรรมโดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม แตเนื่องจากเปนนิติเหตุจึงไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม นาย ก. ก็ตองรับผิด ไมเขามาตรา ๒๑ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ คําถามที่ ๔ ข. เปนบุตรของ ก. เกิดวันที่ 1 ก.ค. 2507 ข. อยูกินฉันสามีภรรยากับ ค. โดยมิไดจดทะเบียนสมรส ในวันที่ 15 มีนาคม 2522 ข. ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแก ค. และในวันเดียวกันไดทําพินัยกรรมอยางถูกตองตามแบบยกบานหลังหนึ่งใหกับ ค. ดวย ในวันที่ 1 เมษายน 2522 ค. ไดใหกําเนิดบุตรคนหนึ่ง ซึ่ง ข.ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายในวันเดียวกันนั้นเอง ตอมาในวันที่ 1 มีนาคม 2523 ข. ไดตั้งรานขายผา และไดส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท การกระทําของ ข. ประการตางๆ ดังกลาวนี้ ก. มิไดรูเห็นหรือใหความยินยอมดวยแตอยางใด ถา ก. ตองการจะบอกลางนิติกรรมที่ ข. ไดกระทําไปดังกลาวทุกๆ ราย ก. จะทําไดหรือไมเพียงใด (ใชตอบคําถามขอ ๙ – ๑๐)

Page 57: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๙. มาตรา ๒๑ และมาตรา ๑๕๗๔

ในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๒๒ นาย ข. ยังเปนผูเยาว การที่นาย ข. ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแกนาย ค. เปนการทํานิติกรรม แตไมปรากฏวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมนิติกรรมจึงตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ และยังไมไดขออนุญาตศาลจึงตกเปนโมฆะตามมาตรา ๑๕๗๔ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๑๐. มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๕

ในวันเดียวกันนาย ข. ไดทําพินัยกรรม นาย ข. ทําไดโดยสมบูรณเพราะแมเปนผูเยาว แตก็ไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมตามมาตรา ๒๑ เพราะนาย ข. ไมเปนผูเยาว ดังนั้นนิติกรรมจึงสมบูรณตามมาตรา ๒๕ นอกจากนี้ยังถือวาเปนการทํานิติกรรมที่ตองทําเองเฉพาะตัว นิติกรรมจึงมีผลสมบูรณตามมาตรา ๒๓ อีกดวย ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๑๑. มาตรา ๒๓

วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๒ นาย ข. ไดใหกําเนิดบุตร ๑ คน ซึ่งนาย ข. ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายในวันเดียวกันนั้นเอง ขาพเจาเห็นวานาย ข. ไมนาทําไดเพราะนาย ข. ยังเด็กเกินไป นิติกรรมจึงตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๑๒. มาตรา ๒๑ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๓ นาย ข. ไดตั้งรานขายผา ถือวาเปนการทํานิติกรรมอยางหนึ่ง ไมปรากฏวาไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม นิติกรรมตั้งรานขายผาจึงตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ และไดส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท ถือวาเปนราคาที่ไมแพงนักแตก็ตกเปนโมฆียะตามมาตรา ๒๑ เพราะไมสมแกฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงชีพ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 58: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๕ การปรับบท

คําสั่ง ใหนักศึกษาปรับหลักกฎหมายเขากับขอเท็จจริงในคําถาม (ปรับบท) ดังตอไปนี้

๑. มาตรา ๑๙ นายสมคิดอายุ ๑๘ ป บรรลุนิติภาวะแลวหรือไม ________________________________________________________________________________________________________

๒. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐

นายจตุพรอายุ ๑๘ ปไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป โดยไมปรากฏวาทั้งคูไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมแตอยางใด นายจตุพรบรรลุนิติภาวะแลวหรือไม ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๓. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ นายตออายุ ๑๘ ปไดอยูกินฉันสามีภรรยานางสาวสุดสวยอายุ ๑๗ ป จนมีบุตรดวยกันหนึ่งคน นายตอพนจากภาวะผูเยาวแลวหรือไม ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ๔. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ นายจตุพรอายุ ๑๘ ปไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ ๑๘ ป โดยไมปรากฏวาทั้งคูไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมแตอยางใด หลังจดทะเบียนสมรสไดเพียง ๓ เดือนนายตอก็ไดจดทะเบียนหยากับนางสาวสุดสวย นายตอยังเปนผูเยาวอยูหรือไม ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

๕. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๑

นายขาวอายุ ๑๖ ปไปทําสัญญาซื้อรถจักยานยนตยี่หอซูซูกิ ๑ คัน ราคา ๓๐,๐๐๐ บาท จากนายดํา โดยไมไดบอกใหบิดามารดาทราบแตอยางใด สัญญาระหวางขาวกับนายดําตกเปนโมฆียะหรือไม ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 59: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

๖. มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และ มาตรา ๒๑ นาย ก. อายุ ๑๘ ป ไดอยูกินฉันสามีภรรยากับนางสาว ข. อายุ ๒๐ ป นาย ก. ไดไปซื้อรถยนต ๑ คัน ราคา ๕ แสนบาทจากบริษัทโตโยตา บางขัน จํากัด โดยไดรับความยินยอมจากนางดําผูเปนยาย สัญญาซื้อขายที่นาย ก. ทําขึ้นมีผลสมบูรณหรือไม เพราะเหตุใด ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ๗. มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๑

นาย ก. อายุ ๑๕ ปขับจักรยานยนตโดยประมาทเลินเลอชนนางสาว ข. ไดรับบาดเจ็บตองเสียคารักษาพยาบาลไปทั้งส้ิน ๑๐,๐๐๐ บาท นางสาว ข. เรียกใหนาย ก. รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวนดังกลาว แตนาย ก. ปฏิเสธ อางวาตนเปนผูเยาวไมมีตองรับผิดใดๆ ทานเห็นดวยกับขออางของนาย ก. หรือไม เพราะเหตุใด ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 60: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

โครงการฝกทักษะในการเขียนตอบขอสอบกฎหมายสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะนิตศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘ อาจารยมุนินทร พงศาปาน

แบบฝกหัดชุดท่ี ๕ การปรับบท

คําสั่ง ใหนักศึกษาตอบขอสอบอุทาหรณดังตอไปนี้ (ใหเวลาขอละ ๓๐ นาที)

คําถามที่ ๑ นายจตุพร อายุ 18 ป ไดจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสุดสวยอายุ 18 ป โดยทั้งสองฝายไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หลังสมรสได 3 เดือน นายจตุพรกลายเปนคนวิกลจริตแตศาลยังมิไดส่ังใหนายจตุพรเปนคนไรความสามารถ อีกหนึ่งเดือนตอมา นายจตุพรไดไปซื้อรถยนตจากนายเกรียงอายุ 21 ป โดยที่ขณะทําการซื้อขายกันนั้นรูอยูวานายจตุพรเปนคนวิกลจริต ดังนี้ สัญญาซื้อขายนี้ตกเปนโมฆียะเพราะความเปนผูเยาวหรือความเปนคนวิกลจริตของนายจตุพรหรือไมเพราะเหตุใด (๒๐ คะแนน)

ประเด็น

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

วินิจฉัย (ปรับบท) ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 61: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

สรุป

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

............................................

ขอสังเกตสําหรับผูตรวจ

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

คําถามที่ ๒ ข. เปนบุตรของ ก. เกิดวันที่ 1 ก.ค. 2507 ข. อยูกินฉันสามีภรรยากับ ค. โดยมิไดจดทะเบียนสมรส ในวันที่ 15 มีนาคม 2522 ข. ยกแหวนเพชรวงหนึ่งใหแก ค. และในวันเดียวกันไดทําพินัยกรรมอยางถูกตองตามแบบยกบานหลังหนึ่งใหกับ ค. ดวย ในวันที่ 1 เมษายน 2522 ค. ไดใหกาํเนิดบุตรคนหนึ่ง ซึ่ง ข.ไดไปจดทะเบียนรับเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายในวันเดียวกันนั้นเอง ตอมาในวันที่ 1 มีนาคม 2523 ข. ไดตั้งรานขายผา และไดส่ังซื้อผาจาก ง. เปนเงินหนึ่งหมื่นบาท การกระทําของ ข. ประการตางๆ ดังกลาวนี้ ก. มิไดรูเห็นหรือใหความยินยอมดวยแตอยางใด ถา ก. ตองการจะบอกลางนิติกรรมที่ ข. ไดกระทําไปดังกลาวทุกๆ ราย ก. จะทําไดหรือไมเพียงใด (๒๐ คะแนน)

ประเด็น

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 62: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

หลักกฎหมายที่เกี่ยวของ

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

วินิจฉัย (ปรับบท) ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

สรุป

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________

Page 63: แนวทางในการตอบข อสอบกฎหมาย · 2013-07-15 · ๒. ลักษณะของข อสอบบรรยาย ๕ ๓. การจับประเด

ขอสังเกตสําหรับผูตรวจ

________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________________________