กลุ่ม ๓ บทที่ ๕...

37

Transcript of กลุ่ม ๓ บทที่ ๕...

Page 1: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 2: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 3: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 4: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 5: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 6: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ “ ””

“ ”

Page 7: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 8: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 9: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 10: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 11: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 12: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 13: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 14: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 15: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

“ ”

Page 16: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 17: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ความไม่เข้าใจการใช้ค า การใช้ภาษา

ความไม่เข้าใจการใช้ค า การใช้ภาษา ซึ่งเป็นที่นิยมยอมรับของเจ้าของภาษาว่า ไม่สามารถเปิดหาความหมายจากพจนานุกรมมาใช้แทนกันได้ ถ้าแปลเป็นศัพท์และวิธีใช้ศัพท์ในภาษาของผู้เรียนแล้ว น ามาใช้กับภาษาไทย ก็น่าจะเป็นเรื่องตลก เช่น ค าในภาษาไทย ค าว่า “ล้าง” “อาบน้ า” “สระผม” ในภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้ แม้ว่าเขาจะรู้ว่ามีค าอื่นที่ใช้ได้อีก เช่น take a bath, shampoo ก็ตาม แต่เขาก็พอใช้แทนกันได้ ในภาษาไทยเราไม่สามารถใช้แทนกันได้

Page 18: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ)

แต่ส าหรับผู้สอนที่คาดหมายผู้เรียนไม่ได้ หรือมีผู้เรียนคละกันหลายภาษาในชั้นเดียว ย่อมต้องระมัดระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ การใช้ C.A.ไทย – อังกฤษ อาจท าให้ผู้เรียนที่ไม่พูดภาษาอังกฤษรู้สึกต่อต้านได้ เพราะแม้เพียงการให้ค าแปลศัพท์เป็นภาษาอังกฤษหรือผู้สอนเผลอใช้ภาษาอังกฤษมากไป ก็ท าให้ผู้เรียนชาวญี่ปุ่นเกาศีรษะได้ หรืออาจมีความรู้สึกขัดแย้งขึ้นมาว่า “ครูละเลย มิหน ายังเอาภาระมาใส่หัวฉัน ให้ฉันต้องรู้ศัพท์ภาษาอังกฤษเพิ่มเข้ามาอีก” การท าความเข้าใจลักษณะภาษาไทย จึงดีกว่าการท า C.A. ในกรณีเช่นนี้

Page 19: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ (ต่อ)

ดังนั้น การที่ผู้สอนบรรยายถึงลักษณะภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษาเป้าหมายของผู้เรียนทุกคนในชั้นเรียนจึงเป็นกลางที่สุด และง่ายแก่ผู้สอนที่สุด เพราะจะให้ผู้สอนท า C.A. ทุกภาษาของผู้เรียน ก็คงไม่ได้เริ่มการสอนตามเวลาเป็นแน่

Page 20: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

C.A. (Contrastive Analysis) ในทางปฏิบัติ

ในทางปฏิบัติผู้ที่จะสอนภาษาไทยให้กับชาวต่างประเทศ ต้องทราบล่วงหน้าเพื่อมีเวลาในการเตรียมตัวและรู้แน่ชัดว่า ผู้เรียนนั้นเป็นผู้พูดภาษาใด เพื่อที่ จะได้ศึกษาการวิ เคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) หรือ C.A. ของภาษานั้นๆ ที่มีผู้ท าไว้ หรือถ้าไม่มีก็ควรท าวิจัยด้วยตนเอง เช่น เมื่อทราบว่าต้องไปสอนผู้ เรียนประเทศเกาหลี มหาวิทยาลัยปูซาน ผู้สอนต้องเตรียม C.A. ภาษาไทย – เกาหลี หรืออ่านงานวิทยานิพนธ์ของผู้วิจัยที่ศึกษาไว้ เช่น ของซูเคียง แบ เป็นต้น แล้วหลังจากนั้นเริ่มท าแบบฝึกไว้ล่วงหน้า

Page 21: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ความเหมือนกันของภาษา

ภาษาเป็นเครื่องมือแสดงความคิดของคน และความเป็นคนนั้นก็ย่อมมีความเหมือนกันบ้างทางแนวคิด ด้วยเหตุนี้จึงท าให้ภาษาของคนแต่ละชาติ นอกจากจะมีความต่างกันแล้ว ยังมีความเหมือนกันอีกด้วย ทั้งลักษณะของภาษาที่เป็นสากล (Linguistic Universal) กับลักษณะของภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ (Uniqueness of Language) และเพื่อเป็นประโยชน์และเป็นพื้นฐานความคิดของผู้สอนภาษาไทยให้ก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ ควรที่จะศึกษาลึกลงไปในรายละเอียดถึงความแตกต่างของภาษาไทยกับภาษาแม่ของผู้เรียน

Page 22: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ความเหมือนกันของภาษา (ต่อ)

โดยอาศัยหลักวิชาการที่เรียกว่า C.A. คือ การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย (Contrastive Analysis) ย่อมเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสอนภาษาไทย และถ้าหาเวลาท างานวิจัยเองไม่ได้ ก็เพียงใช้เวลาท าความเข้าใจความเป็นสากลของภาษา และความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทยให้เข้าใจ แล้วจึงจัดเตรียมบทชี้น าเบื้องต้นให้ผู้เรียน ก่อนที่ที่จะได้เริ่มต้นเรียนภาษาไทย ทั้งนี้ผู้เรียนจะได้มีกรอบแห่งจินตภาพล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนภาษาไทย ทั้งที่ความรู้เก่าจากภาษาแม่ที่น ามาใช้ได้และความรู้ใหม่ที่จะต้องเรียนรู้ในการเรียนภาษาไทย

Page 23: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย

ภาษาไทยมีลั กษณะหลายอย่างที่ แปลกไปจากภาษาอื่ น ซึ่ งสะท้อนให้ครูสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ได้เห็นถึงภาษาไทยในมุมมองของชาวต่างประเทศ ซึ่งลักษณะภาษาไทยที่ส าคัญ ที่ผู้ เรียนภาษาไทยในฐานะ ชาวต่างประเทศต้องเตรียมใจรับ คือ

Page 24: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์เป็นส าคัญ (Tonal Language) ซึ่งเรื่องเสียงวรรณยุกต์นี้ถือว่าเป็นจุดยากที่สุดของภาษา จึงมีการอธิบายลักษณะเสียงโดยเขียนเป็นเส้นกราฟ แสดงจุดเริ่มต้นและเส้นขึ้นลงของเสียงไว้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนภาษาไทยที่ไม่คุ้นกับการออกเสียงวรรณยุกต์ได้ออกเสียงตาม

Mary R. Hass ได้แสดงเส้นระดับเสียงและการขึ้นลงของเสียงวรรณยุกต์ไทย โดยแบ่งเป็น ๕ แบบ แต่ยังท าให้ผู้เรียนชาวต่างประเทศประสบปัญหาการออกเสียงวรรณยุกต์มาก แม้จะอยู่เมืองไทยนาน ถ้าไม่เอาจริงก็จะพูดภาษาไทยยานๆ แบบรักษาศูนย์กลางเอาไว้ มีผู้เรียนที่เก่งศัพท์พูดค าว่า “ขวยเขิน” แต่กลับพูดออกเสียงไม่ถูกเป็น “ควยเคิน” ซึ่งเห็นได้ว่าการที่จะพูดออกเสียงภาษาไทยได้ถูกต้องนั้น จ าเป็นต้องฝึกฝนอย่างจริงจัง

Page 25: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
Page 26: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น – ยาว และมีเสียงท้ายที่ส าคัญต่อความหมาย ภาษาจีนได้ชื่อว่าเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลงเหมือนภาษาไทย แต่ความยากที่คนจีนออกเสียงไม่เป็นไทยก็คือ เสียงสั้นยาว และเสียงพยัญชนะท้าย ตัวอย่างเช่น สถาบาน จบจักจูฬา ดีจาย ภาษาทาย อาคาร เป็นต้น

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

เสียงพยัญชนะท้ายของไทยมี ๘ เสียง ตามมาตราตัวสะกด ได้แก่ กง กน กม เกย เกอว กก กด กบ จึงเป็นปัญหาส าหรับผู้เรียนที่ในภาษาแม่ไม่มีตัวสะกดที่เหมือน หรือมีแต่ไม่ส าคัญ อย่างเช่น ภาษาญี่ปุ่น มีตัวสะกดน้อยและเสียง กง กน กม อาจออกเสียงทดแทนกันได้ โดยไม่มีความส าคัญต่อความหมาย เช่น ค าว่า “ประตู” จะออกเป็นม่อง ม่อม ม่อน ก็ได้ นอกจากนี้เสียงสั้นยาวก็ส าคัญ คนญี่ปุ่นมักเรียกคนไทยว่า คนตาย หรือเวลาสอนนักศึกษาหนุ่มๆ สอนค าว่า “ใส่นม” กับ “ส่ายนม” พวกเขาจะจ าขึ้นใจว่าต้องพูดเสียงสั้นยาวให้ถูกต้อง

Page 27: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

๑ ไม่ลงน้ าหนัก (Unstressed) พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้ าหนัก ค าไวยากรณ์ก็ไม่ลงน้ าหนัก รวมทั้งพยางค์ที่มีส่วนประกอบพยางค์ ซึ่งจะกลายเป็นพยางค์เบาได้ ก็มักไม่ลงน้ าหนัก เมื่อมีพยางค์ที่ลงน้ าหนักมารับข้างท้ายเช่น ค าว่า “และ” “จะ” “กับ” “ที่” ตัวอย่างเช่น พ่อและแม่ ข้าวกับไข่ อยู่ที่บ้าน ช่างไม้ ไปเที่ยว ฟังเขาว่า เงียบเสียเถอะ

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้ าหนักเสียงต าราของกาญจนา นาคสกลุ (๒๕๔๑) แบ่งเป็น ๔ ระดบั คือ

Page 28: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๒ การลงน้ าหนัก (Stressed) ค าที่ท าหน้าทีเ่ป็นองค์ประกอบส าคัญของประโยค เช่น เปน็ประธานหรือกรรม เป็นค ากริยา มักลงน้ าหนัก แต่ถ้าค านัน้มีหลายพยางค์ บางพยางค์จะไม่ลงน้ าหนัก ตัวอย่างเช่น

ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดีอะไรที่ควรเรียน ควรรู้ กเ็รียนรู้ไปเถิด

๓ การลงเสียงเนน้หนัก (Emphatic) หมายถึง จงใจออกเสียงเน้นบางพยางค์ ตัวอย่างเช่น

ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอด าฉันบอกให้เธอท าเดี๋ยวนี้

Page 29: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๔ เน้นหนักพิเศษ (Intensified) เป็นการเน้นความหมายพิเศษหรือแสดงอารมณ์ จึงอาจท าให้เสียงวรรณยุกต์ต่างจากปกติไปด้วย ตัวอย่างเช่น

ยุ๊ง ยุ่ง ! ดีใจ๊ ดีใจ! เธอนี่บ๊า บ้า

Page 30: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง ช่วงต่อชิด (close juncture) เช่น น้ าเดือด สิบสอง แนะน า

ประพฤติ ไปบ้าน ปวดท้อง คนหนึ่งช่วงต่อห่าง (open juncture) ช่วงต่อห่างต่างกัน ท าให้ความหมาย

เปลี่ยน ตัวอย่างเช่น

รถบรรทุกของ + ไปตลาดรถ + บรรทุกของไปตลาดจะเอาข้าวคลกุกะปิ + ก็หมดจะเอาข้าวคลกุ + กะปิก็หมด

Page 31: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๕. ภาษาไทยมีท านองเสียงขึ้นหรือตก ความจริงท านองเสียง (intonation) ไม่ใช่ลักษณะส าคัญของภาษาไทย แต่ก็มีการใช้ท านองเสียง ๒ อย่างนี้ เพื่อช่วยแสดงความหมายของประโยคค าถาม ค าสั่ง ค าตอบ อ้อนวอน สงสัย ฯลฯ

ตัวอย่างเช่นท านองเสียงขึ้น ท าอะไรอยู่จ๊ะ (ค าถาม)

ไปด้วยกันหน่อยนะ (ค าสั่ง)เขาจะมางานนี้หรือ (ค าถาม)

ท านองเสียงตก ท าอะไรอยู่จ๊ะ (ค าตอบ)ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)เขาจะมางานนี้หรือ (สงสัย)

Page 32: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๖. ภาษาไทยใช้ลักษณะนาม ลักษณะนามเป็นเรื่องจ าเปน็ที่ต้องสอน และสอนแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ใช่สอนในคราวเดียวอย่างที่เราสอนนักเรียนไทย

๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม บุรุษสรรพนามส าคัญต่อความสุภาพ การยกย่องให้เกียรติและชั้นของคนในสังคมด้านต าแหน่งหน้าที่การงาน อายุ เพศ วัย ที่จะต้องใช้ให้เหมาะสม เป็นเรื่องที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้องเช่นเดียวกับลักษณะนาม

Page 33: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๘. ภาษาไทยมีค าราชาศัพท์หรือค าสุภาพ ด้วยเหตุนี้จึงมีเรื่องของค าภาษาต่างประเทศที่เป็นพื้นฐานของภาษาไทยอันได้แก่ ภาษาบาลี สันสกฤต และภาษาเขมร เมื่อสอนในระดับสูง ขั้นอ่านเขียนและศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ผู้เรียนจ าต้องประสบกับความยากของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่ใช้ในราชาศัพท์และค าสุภาพ ตลอดจนค าศัพท์ต่างๆ ตัวอย่างเช่น

เมื่อพบค าว่า “นพ” แปลว่า เก้า ผู้เรียนก็อยากจะทราบให้ครบสิบ ก็เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่จะต้องจัดท าบทเรียนที่น่าสนใจ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเป้าหมายและเวลาในการเรียนของผู้เรียนว่าต้องการระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยมากน้อยเพียงใด

Page 34: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน การใช้ภาษาตามจริงย่อมมีภาษาพูดเป็นจ านวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ใช้ภาษาที่ปรับเป็นภาษาเขียนมากขึ้น เช่น ค าว่า “นิดหน่อย” ใช้ในบทสนทนา แต่เมื่อใช้ในภาษาเขียนใช้ ค าว่า “เล็กน้อย” เป็นต้น

Page 35: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)

๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงค าเพื่อเข้าประโยค ประโยคของไทยจะเรียงแบบประธาน กริยา กรรม จะเห็นว่า ชาวต่างประเทศใช้ภาษาของเขา มีการเรียงค าขยายไว้หน้าค าที่ถูกขยาย ก็จะติดนิสัยมาท าเช่นเดียวกันในภาษาใหม่ที่เขาเรียนคือภาษาไทย ซึ่งถือว่าผิดไวยากรณ์ไทย ซึ่งผู้เรียนบอกว่า เขาจะงงมากเมื่อค ากริยามี ๒ ค า แยกกันได้ และไม่รู้ว่าจะเอากรรมใดใส่ไว้ตรงไหน เช่น เก็บ…….ไว้ โดยที่เขาจะเขียนว่า“ผมเก็บไว้สมุดในชักลิ้นโต๊ะ”

Page 36: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

สรปุได้ว่า ลักษณะภาษาไทยเหล่านี้จึงเปน็เรื่องส าคัญทีต่้องเรียนรู้ และการเรียนแบบไวยากรณ์ที่ต้องแปลนั้นถือว่าลา้สมัย จะใช้ได้ดีก็ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่จะชี้ให้เหน็ลักษณะแตกต่างของภาษาไทยเท่านั้น

Page 37: กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.

จบการน าเสนอขอบคุณค่ะ