เอกสารประกอบการสอนportal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17eXRIipIiE8496TR982.pdf ·...

486

Transcript of เอกสารประกอบการสอนportal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17eXRIipIiE8496TR982.pdf ·...

  • เอกสารประกอบการสอน

    วิชา การบริหารจัดการสถานศึกษา

    1061104 School Management

    ธีระพล เพ็งจันทร์ ปร.ด. การบริหารการศึกษา

    มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

  • ค ำน ำ

    เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการบริหารจัดการสถานศึกษา เป็นผลบังเกิด จากการสอนรายวิชา 1061104 ซ่ึงเป็นรายวิชาที่ได้เปิดสอนใน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ซ่ึงเป็นวิชาเอกบังคับ ในหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต โดยผู้เรียบเรียงได้จัดท าตามค าอธิบายรายวิชาที่ได้อธิบายไว้ในหลักสูตร โดยได้แบ่งเนื้อหาไว้ 14 บทเรียน ครอบคลุมตามค าอธิบาย โดยคาดหวังว่าจะเป็นเอกสารประกอบการสอน ที่เหมาะสมส าหรับนักศึกษาใน หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต และผู้สนใจทั่วไป เอกสารการสอน เล่มนี้ผู้ เรียบเรียง ได้ท าการปรับปรุง แก้ไขเนื้อหาและรูปภาพบางส่วนให้เหมาะสม เพิ่มเติม เนื่องจากได้ใช้ประกอบการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน

    ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต โดยสามารถใช้ศึกษาเองได้โดยสะดวก หากท่านที่น าไปใช้มีข้อเสนอแนะ ผู้เรียบเรียงยินดีรับค าแนะน าจากทุกท่าน เพ่ือปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นต่อไป และขอขอบคุณ ณ โอกาสนี้ด้วย

    ดร.ธีระพล เพ็งจันทร์ ผู้จัดท า

  • สารบัญ

    หน้า ค าน า (ก) สารบัญ (ข) สารบัญตาราง (ค) สารบัญภาพประกอบ (ง) แผนบริหารการสอนประจ าวิชา 1 แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 1 6 บทที่ 1 ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 7 1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ 7 1.2 การบริหารเป็นศาสตร์และศิลป ์ 7 1.3 องค์การและการบริหารจัดการ 8 1.4 องค์ประกอบของการบริหาร 10 1.5 พัฒนาทางการบริหาร 11 1.6 แนวคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการ 13

    1.7 หน้าที่ในการบริหาร 48 1.8 ทักษะของผู้บริหาร 49

    1.9 บทสรุป 51 ค าถามท้ายบท 52

    เอกสารอ้างอิง 53 แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 2 54 บทที่ 2 องค์การและการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ 55

    2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับองค์การ 55 2.2 สังคมและวัฒนธรรม 56 2.3 วัฒนธรรมองค์การ 59 2.4 อิทธิพลวัฒนธรรมต่อพฤติกรรมของบุคคล 74 2.5 บทสรุป 78 ค าถามท้ายบท 78 เอกสารอ้างอิง 79

  • สารบัญ( -ต่อ- ) หน้า

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 3 80 บทที่ 3 ภาวะผู้น าทางการศึกษา 81

    3.1 ความหมายเกี่ยวกับผู้น า ผู้บริหาร ภาวะผู้น า 81 3.2 แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้น า 81 3.3 ประสิทธิผลภาวะผู้น า 116 3.4 ภาวะผู้น าทางวิชาการ 118 3.5 บทสรุป 123

    ค าถามท้ายบท 124 เอกสารอ้างอิง 125 แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 4 126 บทที่ 4 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ (Human Relation in Organization) 127

    4.1 ความหมายและความส าคัญของมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ 127 4.2 องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ 128

    4.3 ลักษณะของกลุ่มท างานที่มีความสัมพันธ์อันด ี 129 4.4 การพัฒนาตนเพื่อเสริมสร้างสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงาน 131 4.5 การติดต่อส่ือสารในองค์การ 140 4.6 ประเภทของการส่ือสาร 146 4.7 บทสรุป 150

    ค าถามท้ายบท 150 เอกสารอ้างอิง 151 แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 5 152 บทที่ 5 การคิดอย่างเป็นระบบ 153 5.1 ธรรมชาติของการคิด 153 5.2 เครื่องมือในการคิด 153 5.3 ประเภทของการคิด 155

    5.4 การคิดเชิงระบบ 168 5.5 บทสรุป 177 ค าถามท้ายบท 178 เอกสารอ้างอิง 179

  • สารบัญ( -ต่อ- ) หน้า

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 6 180 บทที่ 6 การสร้างทีมงาน 181

    6.1 ความหมายและความส าคัญ 181 6.2 ประเภทของทีมงาน 190 6.3 แนวคิดและทักษะการสร้างทีมงาน 192 6.4 คุณลักษณะของทีมท่ีมีประสิทธิภาพ 198 6.5 บทสรุป 204 ค าถามท้ายบท 204 เอกสารอ้างอิง 205

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 7 206 บทที่ 7 องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 207

    7.1 ความหมายองค์การเรียนรู ้ 207 7.2 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู ้ 207 7.3 องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู ้ 211 7.4 แนวทางการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู ้ 214 7.5 การประเมินรูปแบบการเรียนรู ้ 232 7.6 บทสรุป 235 ค าถามท้ายบท 236 เอกสารอ้างอิง 237

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 8 238 บทที่ 8 การจัดการพื้นฐาน 239

    8.1 ประวัติความเป็นมาของการศึกษาไทย 239 8.2 การศึกษาขั้นพื้นฐาน 252 8.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 265 8.4 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 270 8.5 บทสรุป 279 ค าถามท้ายบท 280 เอกสารอ้างอิง 281

  • สารบัญ( -ต่อ- ) หน้า

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 9 282 บทที่ 9 การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 283

    9.1 ประวัติความเป็นมา 284 9.2 แนวคิดพื้นฐานและหลักการในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 294 9.3 การน าแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไปใช ้ 298 9.4 แนวทางการบริหารและกลยุทธ์สู่ความส าเร็จของการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 302 9.5 บทสรุป 312 ค าถามท้ายบท 314 เอกสารอ้างอิง 315

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 10 316 บทที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา 317

    10.1 ความหมายและความส าคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 317 10.2 หลักการและแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษา 320 10.3 ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 323 10.4 มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 338 10.5 บทบาทของผู้บริหารในการประกันคุณภาพการศึกษา 342 10.6 บทสรุป 351 ค าถามท้ายบท 352 เอกสารอ้างอิง 353

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 11 354 บทที่ 11 การจัดโครงการและการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา 355

    11.1 การจัดโครงการ 355 11.2 การวางระบบการจัดการโครงการ 360 11.3 กิจกรรมเพื่อการศึกษา 366 11.4 บทสรุป 379 ค าถามท้ายบท 380 เอกสารอ้างอิง 381

  • สารบัญ( -ต่อ- ) แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 12 382 บทที่ 12 การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 383 12.1 ระบบสารสนเทศ 383 12.2 ความส าคัญของระบบสารสนเทศ 384 12.3 ระบบสารสนเทศและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการบริหารการศึกษา 388 12.4 กระบวนการจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา 393 12.5 การก าหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ 397

    12.5 บทสรุป 405 ค าถามท้ายบท 406 เอกสารอ้างอิง 407

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 13 408 บทที่ 13 การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน 409 13.1 การศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชน 409

    13.2 ขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาชุมชน 413 13.3 บทสรุป 422 ค าถามท้ายบท 422 เอกสารอ้างอิง 423

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 14 424 บทที่ 14 การบริหารจัดการชั้นเรียน 425

    14.1 ความหมายและวิธีการบริหารจัดการชั้นเรียน 425 14.2 ความส าคัญของการบริหารการจัดการชั้นเรียน 428 14.3 องค์ประกอบของการจัดการในชั้นเรียน 429 14.4 หลักการและรูปแบบการจัดการในชั้นเรียน 430 14.5 กระบวนการของการจัดการในชั้นเรียน 435 14.6 สาเหตุที่เด็กมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมท่ีโรงเรียน 436 14.7 การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน 438 14.8 การจัดการในการป้องกันปัญหา 450 14.9 การจัดการในการแก้ไขปัญหา 460 14.10 บทสรุป 462 ค าถามท้ายบท 463

    เอกสารอ้างอิง 464 บรรณานุกรม 465

  • สารบัญตาราง หน้า

    ตารางท่ี 1 สรุปผลการวิจัย 4 ระยะที่ฮอร์ธอร์น 32 ตารางท่ี 2 พัฒนาการด้านบุคลิกลักษณะของมนุษย ์ 39 ตารางท่ี 3 แสดงผลการวิจัยของวูดวาร์ด 46 ตารางท่ี 4 ความสัมพันธ์ระหว่างอุตสาหกรรมสภาพแวดล้อมและโครงสร้าง 47 ตารางท่ี 5 การควบคุมสถานการณ์ในทฤษฎีตัวแบบสถานการณ์ ของฟีดเลอร ์ 99 ตารางท่ี 6 ความแตกต่างระหว่างภาวะผู้น าแบบแลกเปล่ียนกับภาวะผู้น าแบบเปล่ียนสภาพ 115 ตารางท่ี 7 แนวทางการประเมินประสิทธิผลภาวะผู้น า 117 ตารางท่ี 8 ความแตกต่างของกลุ่มและทีม 183 ตารางท่ี 9 เปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานเพ่ือการประเมินภายนอก 339 ตารางท่ี 10 ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา 394 ตารางท่ี 11 ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับผู้รับผิดชอบระดับห้องเรียน 398 ตารางท่ี 12 ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับผู้รับผิดชอบระดับสถานศึกษา 398 ตารางท่ี 13 การน าโปรแกรมไปใช้ประโยชน ์ 402 ตารางท่ี 14 การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศท่ัวไป 403

  • สารบัญภาพ หน้า

    ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิทางการจัดการเชิงมนุษยสัมพันธ์ 28 ภาพท่ี 2 โครงสร้างองค์การสมัยใหม ่ 57 ภาพท่ี 3 วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่เหมาะสม 68 ภาพท่ี 4 การบริหารงาน The Managerial Grid 93 ภาพท่ี 5 มิติการบริหารของ เกตเซลส์และกูบา 94 ภาพท่ี 6 มิติทั้งสาม ของทฤษฎี 3 มิติ ของเรดดิน 95 ภาพท่ี 7 ผู้น าพื้นฐาน 4 แบบของเรดดิน 95 ภาพท่ี 8 แบบภาวะผู้น าท่ีมีประสิทธิผลมากและแบบภาวะผู้น าท่ีมีประสิทธิผลน้อย 96 ภาพท่ี 9 แบบของผู้น าที่มีลักษณะต่อเนื่องกันไปตามแนวคิด แทนเนนบอมและชมิดท ์ 97 ภาพท่ี 10 ทฤษฎีวิถีทาง – เป้าหมาย 101 ภาพท่ี 11 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมแบบส่ังการกับความพอใจ

    ในการท างานในสถานการณ์เกี่ยวกับโครงสร้างของภารกิจ 102 ภาพท่ี 12 ความสัมพันธ์ต่าง ๆ ในทฤษฎีวิถีทาง–เป้าหมาย 103 ภาพท่ี 13 แบบภาวะผู้น าของเฮอร์เซย์และแบลนชาร์ด 104 ภาพท่ี 14 ความสอดคล้องของแบบผู้น ากับวุฒิภาวะของผู้ตาม 107 ภาพท่ี 15 ข้อสรุปของทฤษฎีภาวะผู้น าตามสถานการณ ์ 108 ภาพท่ี 16 การส่งเสริมกนัระหว่างภาวะผู้น าแบบแลกเปล่ียนกับภาวะผู้น าแบบเปล่ียนสภาพ 116 ภาพท่ี 17 การคิดเชิงระบบ 169 ภาพท่ี 18 วงจรป้อนกลับ 169 ภาพท่ี 19 การวิเคราะห์ระบบในเชิงลึก 170 ภาพท่ี 20 กระบวนการสร้างทีม 196 ภาพท่ี 21 องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู ้ 209 ภาพท่ี 22 ระบบย่อยของการเรียนรู้เพ่ือสร้างองค์การแห่งการเรียนรู ้ 209 ภาพท่ี 23 ระบบย่อยขององค์การเพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู ้ 210 ภาพท่ี 24 ระบบย่อยของสมาชิกองค์การเพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู ้ 211 ภาพท่ี 25 กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิด 325 ภาพท่ี 26 ขั้นตอนการด าเนินการประกันคุณภาพภายใน 326 ภาพท่ี 27 กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก 329 ภาพท่ี 28 โครงสร้างส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 330

  • สารบัญภาพ ( -ต่อ- ) หน้า

    ภาพท่ี 29 กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 331 ภาพท่ี 30 ขั้นตอนก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 335 ภาพท่ี 31 ขั้นตอนระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 336 ภาพท่ี 32 ขั้นตอนหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา 337 ภาพท่ี 33 กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศของสถานศึกษา 385 ภาพท่ี 34 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศ กับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 396

  • แผนบริหารการสอนประจ าวิชา รหัสวิชา 1061104 ชื่อวิชา การบริหารจัดการสถานศึกษา (School Management) 3 (2-2-5) ค าอธิบายรายวิชา (Course Description)

    เพื่อศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ภาวะผู้น าทางการศึกษา การคิดอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร มนุษย์สั มพันธ์ในองค์กร การติดต่อส่ือสารใ นองค์กร การบริหารจัดการในชั้นเรียน องค์กรแห่งการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การท างานเป็นทีม การจัดท าโครงการวิชาการ การจัดโครงการฝึกอาชีพ การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา ก ารจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถดังนี้

    1.มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักการบริหาร ทฤษฎีองค์การและวิวัฒนาการของศาสตร์ทางการบริหาร 2.เข้าใจและสามารถอธิบายการคิดอย่างเป็นระบบและวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างถูกต้อง 3.รู้บทบาทและหน้าที่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมในฐานะครู มีมนุษย์สัมพันธ์ การท างานเป็นทีมร่วมกับ บุคลากรอ่ืนๆในโรงเรียนได้เป็นอย่างด ี 4.สามารถจัดท าโครงการวิชาการ กิจกรรมและการฝึกอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.สามารถวิเคราะห์สารสนเทศเพื่อน ามาใช้ในการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน และเรียนรู้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างเข้าใจ เนื้อหา

    บทที่ 1 ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 6 ชั่วโมง บทที่ 2 องค์การและการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ 3 ชั่วโมง บทที่ 3 ภาวะผู้น าทางการศึกษา 3 ชั่วโมง บทที่ 4 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การและการติดต่อส่ือสารในองค์การ 3 ชั่วโมง บทที่ 5 การคิดอย่างเป็นระบบ 3 ชั่วโมง บทที่ 6 การสร้างทีมงาน 3 ชั่วโมง บทที่ 7 องค์การแห่งการเรียนรู ้ 3 ชัว่โมง บทที่ 8 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 ชั่วโมง บทที่ 9 การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 3 ชั่วโมง บทที่ 10 การประกันคุณภาพการศึกษา 3 ชั่วโมง

    บทที่ 11 การจัดโครงการและการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา 3 ชั่วโมง บทที่ 12 การจัดระบบสารสนเทศเพือ่การบริหารจัดการ 3 ชั่วโมง บทที่ 13 การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน 3 ชั่วโมง บทที่ 14 การบริหารจัดการชั้นเรียน 3 ชั่วโมง

  • 2

    วิธีการสอนและกิจกรรม 1. อธิบายค าอธิบายรายวิชา เนื้อหา กฎระเบียบต่างๆ รวมท้ังเกณฑ์การให้คะแนนและการประเมินผล 2. น าเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายเนื้อหาและส่ือบนคอมพิวเตอร ์3. น าอุปกรณ์ตัวอย่างหรือสไลด์ของอุปกรณ์ตัวอย่างเสนอเพื่อกระตุ้นความสนใจเรียน 4. ระหว่างน าเสนอตัวอย่างหรือสไลด์เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม 5. แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ แล้วให้โจทย์เพื่อท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม 6. ผู้เรียนสรุปผลและน าเสนอกับอาจารย์และเพื่อนๆ ในชั้นเรียน

    สื่อการเรียนการสอน 1. ชุดน าเสนอโครงสร้างและรายละเอียดของรายวิชา 2. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. ใบงาน ตัวอย่างเหตุการณ์ สถานการณ์จ าลอง 4. แบบทดสอบย่อยพร้อมเฉลย

    การวัดผล 1. คะแนนระหว่างภาค

    1.1 คะแนนการบ้าน 10 คะแนน 1.2 คะแนนการทดสอบย่อย 10 คะแนน 1.3 คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน

    2. คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน 3. เวลาเรียน 10 คะแนน

    รวม 100 คะแนน - ลักษณะข้อสอบแบ่งเป็นแบบบรรยาย - การตัดเกรดใช้แบบอิงกลุ่ม

    การประเมินผล คะแนน 0-49 ได้เกรด F คะแนน 50-54 ได้เกรด D คะแนน 55-59 ได้เกรด D+ คะแนน 60-64 ได้เกรด C คะแนน 65-69 ได้เกรด C+ คะแนน 70-74 ได้เกรด B คะแนน 75-79 ได้เกรด B+ คะแนน 80-100 ได้เกรด A

  • 3

    หนังสืออ่านประกอบ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(2539). หลักการและระบบบริหารการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 13 นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิชัย ตันศิริ. (2550). อุดมการณ์ทางการศึกษา : ทฤษฎีและภาคปฏิบัต.ิพิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ :

    ห้างหุ้นส่วนจ ากัดสามลดา วิโรจน์ สารรัตนะ.(2545). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี ประเด็นทางการศึกษาและบทวิเคราะห์องค์การ

    ทางการศึกษาไทย.พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธ์ิ สุนทร โคตรบรรเทา.(2551). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ปัญญาชน. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์.(2547). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่.กรุงเทพฯ.แชทโฟร์พริ้นติ้ง.

    แผนการสอนรายสัปดาห ์รหัสวิชา 1061104 ชื่อวิชา การบริหารจัดการสถานศึกษา (School Management)

    คร้ังที่ เร่ือง กิจกรรม/การบ้าน/อ่ืนๆ

    1

    ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 1.ความหมายของการบริหารจัดการ 2. การบริหารเป็นศาสตร์และศิลปะ 3. องค์การและการบริหารจัดการ 4. องค์ประกอบของการบริหาร

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

    2

    ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ (ต่อ) 5. พัฒนาทางการบริหาร 6. แนวคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการ 7. หน้าที่ในการบริหาร 8. ทักษะของผู้บริหาร

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    3

    องค์การและการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ 1. ความเข้าใจเรื่ององค์การ 2. สังคมและวัฒนธรรม 3. วัฒนธรรมองค์การ 4. อิทธิพลวัฒนธรรมต่อพฤติกรรมของบุคคล

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    4

    ภาวะผู้น าทางการศึกษา 1.ความหมายเกี่ยวกับผู้น า ผู้บริหาร ภาวะผู้น า 2.แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้น า 3.ประสิทธิผลภาวะผู้น า 4.ภาวะผู้น าทางวิชาการ

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

  • 4

    คร้ังที่ เร่ือง กิจกรรม/การบ้าน/อ่ืนๆ

    5

    มนุษยสัมพันธ์ในองค์การและการติดต่อสื่อสารในองค์การ 1.ความหมายและความส าคัญของมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ 2.องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ 3.ลักษณะของกลุ่มท างานที่มีความสัมพันธ์อันดี 4.การพัฒนาตนเพื่อเสริมสร้างสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงาน 5.การติดต่อสื่อสารในองค์การ

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ/สรุปเนื้อหา 2. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    6

    การคิดอย่างเป็นระบบ 1. ธรรมชาติของการคิด 2. เครื่องมือในการคิด 3. ประเภทของการคิด 4. การคิดเชิงระบบ

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    7

    การสร้างทีมงาน 1. ความหมายและความส าคัญ 2. ประเภทของทีมงาน 3. แนวคิดและทักษะการสร้างทีมงาน 4. คุณลักษณะของทีมที่มีประสิทธิภาพ

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    สอบกลางภาค

    8

    องค์การแห่งการเรียนรู้ 1. ความหมายองค์การเรียนรู้ 2. แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ 3. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ 4. แนวทางการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู ้ 5.การประเมินรูปแบบการเรียนรู้

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. แบ่งกลุ่มท างาน/น าเสนอ

    9

    การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.ประวัติความเป็นมาของการศึกษาไทย 2. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. การบริหารจัดการช้ันเรียน

    4. รูปแบบการจัดการเรียนการสอน

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    10

    การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 1. ประวัติความเป็นมา 2. แนวคิดพื้นฐานและหลักการในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น

    ฐาน 3. การน าแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไปใช้ 4. แนวทางการบริหารและกลยุทธ์สู่ความส าเร็จของการบริหาร

    โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

    ค้นคว้าและสังเกตพฤติกรรมผู้บริหารโรงเรียนที่มีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน พร้อมน าเสนอ (งานกลุ่ม)

  • 5

    หมายเหตุ บรรยาย (ช่ัวโมง)

    สอนเสริม (ช่ัวโมง)

    การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/การฝึกงาน (ช่ัวโมง)

    การศึกษาด้วยตนเอง (ช่ัวโมง)

    30 - 30 75

    คร้ังที่ เร่ือง กิจกรรม/การบ้าน/อ่ืนๆ

    11

    การประกันคุณภาพการศึกษา 1. ความหมายและความส าคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 2. หลักการและแนวคิดในการประกันคุณภาพการศึกษา 3. ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 4. มาตรฐานและตัวบ่งช้ีคุณภาพการศึกษา 5. บทบาทของผู้บริหารในการประกันคุณภาพการศึกษา

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    12

    การจัดโครงการและการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา 1. การจัดโครงการ 2. การวางระบบการจัดการโครงการ 3. กิจกรรมเพื่อการศึกษา

    ค้นคว้าและท ารายงานตามที่ได้รับมอบหมาย

    13

    การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 1. ระบบสารสนเทศ 2. ความส าคัญของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสารสนเทศและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการบริหารการศึกษา

    4. การน าข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน

    14

    การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน 1. การศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชน

    2. ขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาชุมชน

    ค้นคว้าและท ารายงานตามที่ได้รับมอบหมาย

    14

    การบริหารจัดการช้ันเรียน 1.ความหมายและความส าคัญในการบริหารจัดการช้ันเรียน

    2. หลักการและรูปแบบการจัดการในช้ันเรียน 3. กระบวนการของการจัดการในช้ันเรียน

    1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 3. นศ.น าเสนอการบริหารจัดการช้ันเรียน

    สอบประจ าภาค

  • 6

    แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 1 ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 6 ชั่วโมง

    หัวข้อเนื้อหา 1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ

    1.2 การบริหารเป็นศาสตร์และศิลปะ 1.3 องค์การและการบริหารจัดการ 1.4 องค์ประกอบของการบริหาร 1.5 พัฒนาทางการบริหาร 1.6 แนวคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการ

    1.7 หน้าที่ในการบริหาร 1.8 ทักษะของผู้บริหาร

    1.9 บทสรุป

    วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ได้ 2.เพื่อให้ผู้เรียนน าแนวคิด ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการไปประยุกต์ใช้กับการเรียนเป็นกลุ่ม

    วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ าบท 1. บรรยายเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2. ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน 3. ผู้สอนสรุปเนื้อหา 4. ท าแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน 5. ผู้เรียนถามข้อสงสัย 6. ผู้สอนท าการซักถาม

    สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา บทท่ี 1 ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 2. Power Point เรื่อง ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ

    การวัดผลและการประเมิน 1. ประเมินจากการซักถามในชั้นเรียน 2. ประเมินจากความร่วมมือและความรับผิดชอบต่อการเรียน 3. ประเมินจากการท าแบบฝึกหัดทบทวนท้ายบทเรียน

  • บทที่ 1 ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ

    1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ ค าว่า การจัดการ หรือ การบริหาร มีค าภาษาอังกฤษที่ใช้อยู่ 2 ค า คือ Management และ Administration ส่วนความหมายของการจัดการ หรือการบริหารนั้น มีนักวิชาการบางท่านกล่าวว่า มีความหมายคล้ายกัน บางท่านก็กล่าวว่ามีความหมายแตกต่างกัน เพ่ือให้เข้าใจความ หมายของค าท้ังสองมากขึ้นจึงได้มีการพิจารณาความหมายไว้ 3 แนวทาง คือ

    แนวทางท่ี 1 การบริหาร เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดนโยบาย (Policy) และแผน(Plan) เป็นงานศิลปะ (Art) ส่วนการจัดการ เป็นกระบวนการน าน โยบายและแผนไปปฏิบัติเป็นงานวิทยาศาสตร์ (Science) แนวทางท่ี 2 การจัดการเป็นค าท่ีมีความหมายทั่วไป โดยการรวบรวมการบริหารเข้าด้วยกัน กา รจัดการเป็นกระบวนการที่ท าหน้าที่ รับผิดชอบต่อการด าเนินการขององค์การธุรกิจให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ส่วนการบริหารเป็นส่วนหนึง่ของการจัดการ ท่ีเกี่ยวข้องในการด าเนินการด้วยวิธีต่างๆ เพื่อให้เป้าหมายที่ก าหนดในขั้นการจัดการบรรลุ แนวทางท่ี 3 การจัดการและการบริหาร มีความหมายไม่แตกต่างกัน สามารถใช้แทนกันได้โดยทั่วไปบุคคลที่รับผิดชอบในด้านการก าหนดนโยบาย การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าท างาน การอ านวยการ และการควบคุม มักเรียกว่า “ผู้จัดการ ” (Manager) หรือการจัดการ ในภาคธุรกิจเรียกว่า “นักบริหาร” (Administrator) หรือการบริหารในภาครัฐกิจ

    1.2 การบริหารเป็นศาสตร์และศิลป์ การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์คือ ความสามารถในการบริหารจัดการและการด าเนินงานถือเป็นศิลปะ (Art) ส่วนความรู้หรือทฤษฎีในการบริหารจัดการถือเป็นศาสตร์ (Science) เมื่อศาสตร์ เมื่อศาสตร์มีการพัฒนาศิลป์ก็มีการพัฒนาเช่นเดียวกัน ความรู้ในการบริหารจัดการสามารถปรับปรุงในรูปการปฏิบัติทางการบริหารจัดการได้อย่างแน่นอน นักบริหารที่พยา ยามบริหารจัดการโดยปราศจากความรู้ทางการบริหารจัดการอาจต้องพึ่งโชคชะตา ลางสังหรณ์ หรือการลองผิดลองถูก

    ส่วนประกอบของศาสตร์ในการบริหารจัดการ คือความรู้ที่ได้จัดระบบแล้วคุณลักษณะที่ส าคัญของศาสตร์แขนงใดก็ตามคือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (อาศัยหลักเหตุผล) ได้พัฒนาควา มรู้ ดังนั้นศาสตร์จึงประกอบด้วยความคิดเห็น ทฤษฎี ความรู้ที่สะสมไว้ โดยพัฒนามาจากสมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์ ซ่ึงแตกต่างจากแนวความคิดของหลักวิทยาศาสตร์ (The Scientific Approach) มีส่วนประกอบท่ีส าคัญ 3 ส่วนดังนี้

  • 8

    1.2.1 แนวความคิดที่ชัดเจน (Clear Concept) คือภาพลักษณ์ด้านจิตใจของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงก าหนดโดยการสรุปจากรายละเอียดของส่ิงต่าง ๆ แนวความคิดจะต้องมีความแน่นอนสัมพันธ์กับส่ิงท่ีต้องการวิเคราะห์และเป็นความรู้ส าหรับผู้ปฏิบัติและนักวิทยาศาสตร์

    1.2.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific) หมายถึงการพิจารณาข้ อเท็จจริงผ่านการสังเกต หลังจากการจัดประเภทและวิเคราะห์ข้อเท็จจริงนักวิทยาศาสตร์จะค้นคว้าหาความส าพันธ์ของเหตุแล้วน าข้อมูลหรือสมมติฐานมาทดสอบความถูกต้อง ถ้าปรากฏว่าหลักเกณฑ์ (Principles) ซ่ึงมีคุณค่าในการคาดคะเนส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน หลักเกณฑ์อาจไม่คงท่ีเสมอไปแต่ถือว่าเที่ยงตรง (Vaild) เพียงพอต่อการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต

    1.2.3 ทฤษฎี (Theory) หมายถึงการจัดกลุ่มอย่างมีระบบของแนวคิดและหลักเกณฑ์ท่ีเกิดขึ้นกัน ซ่ึงก าหนดโครงร่างการท างานหรือการน าความรู้มารวมกันเป็นความส าคัญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

    1.3 องค์การและการบริหารจัดการ องค์การ คือ กลุ่มบุคคล 2 คนขึ้นไป ร่วมกันท าธุรกิจหรือกิจกรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์

    ตามท่ีก าหนดไว้ โดยจัดเป็นรูปแบบหรือโครงร่างความสัมพันธ์ของแต่ละบุคคลและกระท ากิจกรรมร่วมกัน องค์การ คือ การด าเนินกิจกรรมร่วมกันในรูปของหน่ วยงานเพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่งตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้จากความหมายขององค์การทั้ง 2 แนวคิด พอสรุปสาระส าคัญได้ดังนี้

    1.3.1 มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ซ่ึงอาจจะมีมากเป็น 100 หรือเป็น 1000 ก็ได้ กกกกกก1.3.2 กลุ่มบุคคลทั้งหมดจะต้องมีวัตถุประสงค์ในการท ากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน เพ่ือผลตามเป้าหมายที่วางไว้ กกกกกก 1.3.3 มีโครงสร้างและรูปแบบความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การที่ท ากิจกรรมร่วมกัน คือ สามารถมองได้ชัดว่า ใครเป็นใคร มีหน้าที่อย่างไร จะต้องประสานงานกับใคร เป็นต้น

    โครงสร้างขององค์การ คือ การรวมกลุ่มของบุคค ลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เดียวกัน เช่น ต้องการก าไร หรือต้องการยอดขาย หรือต้องการให้บริโภค จากนั้นจึงมาก าหนดกิจกรรมว่าต้องการท ากิจกรรมอะไรบ้างเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์แต่ละกิจกรรมจะจัดกิจกรรมที่คล้ายคลึงกันให้อยู่ในหมวดหมู่เดียวกันเช่น งานที่เกี่ยวกับการจัดหาควรรวมอยู่ในกลุ่มแผนกจัดซ้ือ กลุ่มกิจกรรมที่เกี่ยวกับการขายควรอยู่ในแผนกการตลาด การด าเนินงานจะประสบผลส าเร็จได้นั้นใช่ว่าการวางแผนและโครงสร้างขององค์การดีแล้วจึงจะส าเร็จแต่จะต้องขึ้นอยู่กับการจัดทรัพยากร การบริหาร หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัจจัยการจัดการ ประกอบด้วย

    คน (Man) ในประเทศท่ีเจริญแล้วจะมีบุคคลที่มีการศึกษาดี คุณภาพแรงงานดี สามารถใช้เครื่องมือเครื่องจักรที่ทันสมัยได้ อันเป็นการลดต้นทุนการผลิตได้ดีกว่าแรงงานที่มีการศึกษาต่ า แรงงานที่มีคุณภาพจึงสามารถน าองค์การไปสู่จุดมุ่งหมายได้อย่างรวดเร็ว

  • 9

    วัตถุดิบ (Material) ถือว่าเป็นปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่เป็นตัวก าหนดคุณภาพสินค้าและต้นทุนการผลิต วัตถุดิบที่มีคุณภาพดีก็จะท าให้ผลผลิต (Out Put) ออกมามีคุณภาพดีเช่นเดียวกัน วัตถุดิบมีอยู่ 2 ประเภท คือวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น แร่ธาตุ อัญมณี ดีบุก ตะกั่ว ฯลฯ และวัตถุดิบที่มนุษย์จัดท าขึ้น เช่น ข้าว น้ าตาล มันส าปะหลัง ฯลฯ วัตถุดิบที่หาได้ง่ายหรืออยู่ภายในประเทศย่อมมีต้นทุนต่ ากว่าน าเข้าจากต่างประเทศ

    เคร่ืองจักร (Machine) จัดว่าเป็นปัจจัยการผลิตที่เปล่ียนสินค้าจากรูปแบบหนึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น เปล่ียนจากสินค้าเกษตรไปเป็นสินค้าส าเร็จรูป ดังนั้นเครื่องจักรจึงมีความส าคัญต่อการผลิตมาก ท่ีจะท าให้สินค้ามีคุณภาพหรือ ต้นทุนการผลิตต่ าตามท่ีต้องการ ดังนั้นการผลิตโดยใช้เครื่องจักรเก่าหรือมีคุณภาพต่ าย่อมท าให้สินค้าท่ีผลิตออกมามีคุณภาพต่ าเช่นกัน และยังท าให้สูญเสียวัตถุ ดิบบางส่วนไปอย่างน่าเสียดาย เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ใช้เครื่องจักรขึ้นรูปตัวถังรถยนต์ปรากฏว่าขึ้นรูปตัวถังครั้งใด แผ่นเหล็กจะขาดหรือมีรอยประตามตัวถัง ท าให้ต้องใช้คนงานไปอุดรอยรั่วหรือรอยต่อท าให้ต้องเสียค่าแรงเพิ่มขึ้น เป็นต้น

    เงินทุน (Money) เป็นปัจจัยส าคัญชนิดหนึ่งที่สามารถบันดาลให้กิจการมีความคล่องตัวในการบริหาร หากกิจการใดมีเงินทุนใช้ในการบริหารมาก ย่อมส่งผลให้ธุรกิจนั้นท ากิจกรรมใด ๆ ได้โดยง่าย ขณะเดียวกันหากธุรกิจใดมีเงินทุนน้อย การท ากิจกรรมทางธุรกิจอาจจะคั่งค้าง ทั้งนี้เพราะเงินทุนไม่พอหรือเงินทุนหมดระหว่างท าโครงการนั้น ๆ อันก่อให้เกิดผลเสียมากต่อองค์การ แหล่งเงินทุนมี 2 แหล่ง คือ แหล่งเงินทุนภายใน ได้แก่ ก าไร เงินออมของธุรกิจ แหล่งเงินทุนภายนอก ได้แก่ การกู้ยืมจากสถาบันทางการเงิน แหล่งเงินทุนภายในควรมีมากกว่าแหล่งเงินทุนภายนอก ท้ังนี้เพ่ือจะได้มีผลก าไรมา กกว่าและเพียงพอแก่การน าไปช าระหนี้ในรูปของดอกเบี้ย

    ปัจจัยที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้จัดว่าเป็นส่ิงส าคัญ ที่ธุรกิจจะต้องน ามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่า การน าเอาปัจจัยการจัดการต่างๆ เหล่านี้มาใช้ในการผลิตหรือน ามาใช้ในการด าเนินงาน จะประสบผลส าเร็จมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยอีกตัวหนึ่ง คือ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความส าเร็จประกอบด้วย

    ตลาด (Market) จัดว่าเป็นเป้าหมายของนักธุรกิจที่ต้องการผลิตสินค้าหรือบริการมุ่งตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคส่วนรวม ตลาดผู้บริโภคมักจะมีการเปล่ียนแปลงการบริ โภคอยู่ตลอดเวลา ตามสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ รายได้ สังคม การเมือง ฯลฯ ซ่ึงส่ิงต่างๆเหล่านี้ผู้บริหารจะต้องพยากรณ์หรือคาดการณ์ให้ถูกต้องแม่นย า

    วิธีการปฏิบัติงาน (Method) ระบบงานในองค์การอันประกอบไปด้วย ระเบียบขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน ระบบการให้บริการ ระบบการผลิต ระบบการไหลเวียนของงาน ส่ิงต่าง ๆ เหล่านี้จะเป็นตัวก าหนดให้ผู้ปฏิบัติงานท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด

    การจูงใจผู้ปฏิบัติงาน (Motivate) คือการใช้ศิลปะของผู้บริหารในการจูงใจ ส่งเสริม สนับสนุน สร้างขวัญและก าลังใจละแรงกายให้กับองค์การอย่างเต็มที่

  • 10

    วิธีการจัดการ (Management) เป็นเรื่องของผู้บริหารที่จะต้องสร้างกลไกกับปัจจัยผลักดัน และเป็นตัวประสานงานให้งานด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย

    1.4 องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component) 1.4.1 ทรัพยากรหรือปัจจัยการบริหาร (Administrative Resources) ได้แก่ 3M คือ

    1.4.1.1 คนหรือบุคลากร (Man) 1.4.1.2 เงินหรืองบประมาณ (Money) 1.4.1.3 วัสดุและอุปกรณ์ (Material)

    1.4.2 กระบวนการบริหาร (Process of Administration) มีผู้ให้ความเห็นไว้แตกต่าง กก 1.4.2.1 POCCC ของ Henry Fayal ได้แก่

    1) Plan คือการวางแผน เพื่อการปฏิบัติงาน 2) Organize คือการจัดแบ่งงาน เพื่อปฏิบัติตามหน้าที่ของงาน กกกกกกก 3) Command คือการบังคับบัญชาและส่ังการแก่บุคคลในหน่วย 4) Coordinate คือการประสานงานระหว่างบุคคลในหน่วยงาน 5) Control คือการควบคุมให้งานด าเนินไปตามท่ีก าหนดกกก

    กกกกกกก 1.4.2.2 PODC ได้แก่ 1) Planning การวางแผน 3) Organizing การแบ่งหน่วยงาน 4) Directingการส่ังการ 5) Controllingการควบคุม

    1.4.2.3 POSDCORB GulickUrwick

    1) Planning การวางแผน 2) Organizing การจัดรูปโครงการของการบริหาร 3) Staffing การบริหารงานบุคคลในองค์การหรือหน่วยงาน 4) Directing การอ านวยการ 5) Coordinating การประสานงาน 6) Reporting การบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน 7) Budgeting การจัดท างบประมาณ การเงิน

    1.4.3 วัตถุประสงค์ของการบริหาร (Objective) ที่ส าคัญคือ 3E ได้แก่ 1.4.3.1 Economic ต้องเป็นไปอย่างประหยัด 1.4.3.2 Effectiveness ผลงานมีประสิทธิผลกกกกกกก 1.4.3.3 Efficiency มีประสิทธิภาพ

  • 11

    1.5 พัฒนาทางการบริหาร กกกกกกก ความเป็นมาของการจัดการสามารถแบ่งออกเป็น 4 ยุค ได้แก่

    กกกกกยุคที่ 1 ยุคโบราณ เชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมกิจวัตรการรวมตัวกันเพื่อความอยู่รอดของชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและพวกพ้องจากส่ิงท้ังหลายท้ังปวง ในยุคนั้นเข้าใจว่าการจัดการก็น่าจะเกิดขึ้นจากการใช้สัญชาตญาณของผู้น าและสนับสนุนด้วยผู้ตาม ได้ใช้ปัจจัยที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ใช้กระบวนการจากแรงงานของคนและคณะบุคคลเป็นส่วนใหญ่ เพื่อใ ช้ทรัพยากรจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์กับตนเองและหมู่คณะเพราะจ านวนคนมีน้อย ขนาดองค์กรก็เล็กวัตถุประสงค์ในแวดวงท่ีจ ากัด ความสามารถในการจัดการอาจจะไม่จ าเป็นจะเน้นด้านการบริหารมากกว่า ผู้น ากลายเป็นผู้ปกครองหรือบริหารบ้านเมืองต่อประชาชน ดังผลงานที่ปรากฏในปัจจุบั นคือ การสร้างพีระมิดและก าแพงเมืองจีน ผู้บริหารในยุคนั้นรู้ที่จะน าปัจจัยน าเข้าจากธรรมชาติด้วยกระบวนการทางการบริหารคือ มีการวางแผน การแบ่งงาน การใช้อ านาจหน้าที่และการควบคุมจนสามารถแสดงผลงานที่ปรากฏเช่นทุกวันนี้ กล่าวคือ ท าอะไร เพื่อให้ได้อะไร มากกว่าท่ีจะรู้อะไรกกกกกกก

    ยุคที่ 2 ยุคเกษตรกรรม เมื่อกาลเวลาเปล่ียนแปลงไปประชากรเพ่ิมมากขึ้น ความต้องการก็เพิ่มมากขึ้น จ านวนองค์การและขนาดขององค์การก็มากขึ้น ท าให้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจ ากัดไม่เพียงพอกับความต้องการ การจัดการน่าจะเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ธรรมชาติโดยการรู้จักการใช้ปัจจัยน าเข้า เช่น วัสดุจากธรรมชาติก็มีการเพาะปลูกเพื่อให้ได้ส่ิงนั้นมา จับสัตว์ป่ามาเล้ียงไว้ใช้งานแทนแรงงานคนหรือเพาะเล้ียงเพื่อเป็นอาหารและใช้งาน มีการศึกษาและเรียนรู้การเรียนแบบธรรมชาติ ลองผิดลองถูก จนกระทั่งได้รับผลส าเร็จตามต้องการแล้วถ่ายทอดองค์ความรู้ของคนใกล้ชิดจนเป็นยุคของการแสวงหาและการถ่ายทอดประสบการณ์ด้านการเพาะปลูก การเล้ียงสัตว์ การหัตถกรรม ในยุคนนี้เป็นการผลิตเพ่ืออุปโภคและบริโภค กล่าวคือ เป็นการรู้อะไรและเป็นอย่างไรอย่างแท้จริง กกกกก ยุคที่ 3 ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม ประมาณศตวรรษ 18 จากการเลียนแบบธรรมชาติ การลองผิดลองถูกเป็นพื้นฐานความรู้ จนมีผู้ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ า เครื่องจักรกล เครื่องยนต์ ไปแทนแรงงานมนุษย์และสัตว์มากขึ้น ความรู้ด้านการจัดการเริ่มโดดเด่นขึ้นด้วยการรู้จักใช้ปัจจัยน าเข้าในยุคนี้คือเครื่องจักรกลอย่างแพร่หลาย ท าให้เกิดการเปล่ียนแปลงสังคมเกษตรมาเป็นสังคมอุตสาหกรรม มีการสร้างโรงงานเพื่อเน้นการผลิตเพ่ือตอบสนองความต้องการทางธุรกิจ องค์การมีขนาดใหญ่ขึ้นจึงต้องมีความรู้ด้านการจัดการและการบริหารที่ยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากขึ้น ในยุคนี้มีการศึกษา ค้นหาหลักการและทฤษฎีการจัดการมาช่วยในกระบวนการการบริหารอย่างแท้จริงเพราะความต้องการในการบริโภคมากขึ้น ปัญหาต่าง ๆ ก็มากขึ้นตาม การท้าทายต่อความส าเร็จของผู้บริหารอยู่ที่ความสามรถในการจัดการ ก็คือเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ และความสามรถในการบริหารคือกระบวนการปฏิบัติเพื่อใช้ทรัพยากรได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมโดยเน้นการการเชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน กล่าวคือต้องรู้อะไร แล้วท าอะไร เพื่อให้ได้อะไรตามที่ต้องการ

  • 12

    ยุคที่ 4 ยุคโลกาภิวัตน์ ประมาณ (1975-ถึงปัจจุบัน ) วิทยาการของศาสตร์แขนงต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงซ่ึงกันและกันได้มากขึ้น มีการบูรณาการเทคโนโลยีท างคอมพิวเตอร์ การส่ือสารและการคมนาคม การผลิตและการด าเนินกิจกรรมทางธุรกิจต่าง ๆ สามารถเชื่อมโยงให้มีการท างานร่วมกันได้อย่างดี มีการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถได้มากขึ้นและอย่างรวดเร็ว ท้ังทิศทางการเดินไปข้างหน้าและการเดินถอยหลังอย่างนาโนเทคโนโลยี ท าให้เกิด สังคมโลกที่แคบการตลาดเพ่ิมขึ้นมีการเผชิญกับการแข่งขัน การค้าเสรี มีการพึงพา ซ่ึงสามรถเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กันตลอดเวลาซ่ึงถือว่าเป็นธุรกิจยุคไร้พรมแดน ผู้บริหารจะต้องแสวงหาองค์ความรู้ด้านการจัดการและการบริหารร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือทีมงาน ด้วยการสร้างความเป็นอัจฉริยภาพผสมผสานเข้าไปในกระบวนงาน ฟันฝ่าไปสู่วิกฤติใดๆ ไปสู่ความส าเร็จ

    ในอดีตการบริหารส่วนใหญ่ปรากฏ ให้เห็นในองค์การของรัฐกองทัพองค์การศาสนา ในองค์การของกลุ่มชนเช้ือชาติต่าง ๆ และในครัวเรือน ตัวอย่ าง การจัดการที่พบในองค์การของก องทัพ เช่น กษัตริย์อเล็ กซานเดอร์จอมทัพของฝรั่งเศส (Alexder the Great) ได้ประโยชน์จากหน่วยที่ศึกษา (Staff Organization) อย่างมากในช่วงระหว่างการน าทัพออกรบในปี 336 ถึง BC (ก่อนคริสตกาล ) และหรือองค์การศาสนาจะมีการจัดขั้นบรรดาศักดิ์ของพระเป็นขั้นและสายการบังคับบัญชา หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงกลางคริสต์ศักราช 1700 จึงได้มีการน าการจัดการในภาครัฐมาปรับแต่งให้ทันสมัย เพื่อใช้กับองค์การภาคธุรกิจเอกชนในระบบของการผลิตแบบโรงงาน ในช่วงของยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมนี้ จึงมีนักคิดได้น าเสนอแนวความคิดต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการของระบบการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ที่สมควรกล่าวถึง คือ

    1.5.1 ผลงานของโรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen 1771 – 1858) โรเบิร์ต โอเวนเป็นผู้บุกเบิกแล้วน าเสนอให้ท าการปรับปรุงระบบการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรของมนุษย์ในโรงงาน โดยน าเสนอให้ท าการปรับแก้กฎหมายที่จะจ ากัดชั่วโมงท า งานของแรงงานเด็กและการใช้ประโยชน์ของแรงงานเด็ก นอกจากนี้โอเวนยังเป็นผู้เสนอให้ใช้ระบบ Silent Monitor (การตรวจสอบแบบเงียบ) ในการเพิ่มผลผลิต การตรวจสอบตามระบบตรวจสอบแบบเงียบของโอเวน จะใช้แท่งไม้ส่ีเหล่ียมทาสีแตกต่างกัน 4 สี แต่ละสีแสดงผลงานแต่ละระดับ ต่าง ๆ แท่งไม้เหล่านี้จะถูกน ามาวางไว้ที่เครื่องจักรตามระดับความสามารถหรือผลงานของเครื่องจักรแต่ละตัวในระบบการผลิตของโรงงาน ด้วยวิธีนี้พนักงานจะถูกประเมินตามระดับผลงานนักอุตสาหกรรมด าเนินตามแนวทางของเขา โดยเพิ่มความสนใจในการปรับปรุงผลงานของคนงามด้วยวิธีการลงทุนทรัพยากรมนุษย์ เขาเห็นว่าด้วยวิธีการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ เขาเห็นว่าด้วยวิธีกาลงทุนในทรัพยากรมนุษย์เท่านั้น จะท าให้สามารถเพิ่มผลผลิตได้มากกว่าการพึ่งพาระบบเครื่องจักรและอุปกรณ์

  • 13

    1.5.2. ผลงานของชารส์ บับบาด(Charles Babbage 1792 – 1871)บับบาด เป็นผู้บุกเบิกรายแรก ๆ ในด้านการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientificmanagemaent) การจัดการเชิงวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) และการจัดการเชิงปริมาณ (Mange – Ment Science) ค.ศ.1822 เขาเป็นผู้คิดค้นรายแรกเกี่ยวกับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และเป็นผู้พัฒนาโปรแกรมการ ใช้เกมส์คอมพิวเตอร์ซ่ึงเป็นรากฐานส าคัญส าหรับการจัดการในเชิงปัจจุบัน นอกจากนี้ บับบาด ยังได้แสดงแนวคิดด้านการจัดการของเขาโดยเน้นความส าคัญที่ปัจจัยมนุษย์ โดยเสนอให้ท าให้การเชื่อมโยงวัตถุประสงค์ของฝ่ายจัดการและฝ่านพนักงานให้ไปด้วยกันอย่างดี เทคนิค บับบาด ไ ด้น า เสนอ เช่น การแบ่งส่วนก าไร (Profit Sharing) และการน าเสนอแนะของฝ่ายพนักงาน (Employee Suggestion) ยังคงนิยมใช้ท่ัวไปในปัจจุบัน

    1.6 แนวคิดและทฤษฎีทางการบริหารจัดการ การศึกษาเกี่ยวกับแนวความคิดทางการ บริหารในหน่วยนี้จะมุ่งศึกษาทฤษฏีหรือแนวความคิด

    ทางการ บริหาร ที่ส าคัญ ๆ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับและใช้กันในกว้างขวางเท่านั้น นั้นคือจะมุ่งเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับวิวัฒนาของทฤษฏี หรือวิธีการศึกษาหรือแนวความคิดของการบริหารต่าง ๆ ในการแก้ปัญหาขององค์การ ซ่ึงผ่านมาตั้งแต่อดีตหนังจากมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นในยุโรปตะวันตก (ปะเทศอังก ฤษ) และมีพัฒนาการต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันว่ามีพัฒนาก ารเป็นอย่างไร และในแต่ละยุคนั้นแนวความคิดต่างๆ ท่ีส าคัญเ�