รายงานวิจัย...

71
รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที 1 The Development of TQF System for the Curriculum Management in Yala Rajabhat University Phase I โดย ไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร ศิริชัย นามบุรี นิมารูนี หะยีวาเงาะ ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบารุงการศึกษา ประจาปี 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Transcript of รายงานวิจัย...

Page 1: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

รายงานวิจัย

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสตูร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะท่ี 1

The Development of TQF System for the Curriculum Management in Yala Rajabhat University Phase I

โดย ไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร

ศิริชัย นามบุรี นิมารูนี หะยีวาเงาะ

ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบ ารุงการศึกษา ประจ าปี 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Page 2: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

รายงานวิจัย

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสตูร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะท่ี 1

The Development of TQF System for the Curriculum Management in Yala Rajabhat University Phase 1

โดย ไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร

ศิริชัย นามบุรี นิมารูนี หะยีวาเงาะ

ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบ ารุงการศึกษา ประจ าปี 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Page 3: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

หัวข้อวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที ่1 ชื่อผู้วิจัย ไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร, ศิริชัย นามบุรี และนิมารูนี หะยีวาเงาะ คณะ/หน่วยงาน ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีงบประมาณ 2559

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 และเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 การวิจัยครั้งนี้ด าเนินการวิจัย โดยเริ่มจากการวางแผน การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา และการติดตั้งระบบ โดยผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม 1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) กลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ รองคณบดี ประธานหลักสูตร อาจารย์ นักวิชาการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งเท่ากับ 4.78 และเมื่อน าระบบมาประเมินโดยกลุ่มผู้ใช้ พบว่าระบบสามารถตอบสนองการด าเนินงานแบบทันทีทันใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.90 รองลงมาคือ ระบบมีความน่าเชื่อถือด้านข้อมูลที่น าเสนอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 อยู่ในระดับดี โดยเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล สูงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 รองลงมาคือ ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานและมีประโยชน์ในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และอันดับสามพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา และมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97

Page 4: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

Research Title The Development of TQF System for the Curriculum Management in Yala Rajabhat University Phase 1

Researchers Graitapon Termwitkhajorn, Sirichai Namburi and Nimarunee Hayeewangah

Faculty Acadmic Resource and Information Technology Center University Yala Rajabhat University Year 2017

ABTRACT

This research aims to development the TQF System for the internal quality assurance. The main objective are 1). To develop the TQF system for the curriculum management in Yala Rajabhat University Phase 1. 2). to evaluate the efficiency, effectiveness of the TQF System 3). To evaluate the user’s satisfaction in TQF system. The sample of this study consisted of two groups 1). The Information technology specialist 2). Users of the system which contains of deputy deans, head of curriculums, lecturers and academic officer.

The result of the research shows that the TQF system uses to develop curriculum in Yala Rajabhat University Phase 1; evaluated by the information technology specialist showed an efficient performance at a good level, an average of 4.38. Nevertheless the ease aspect in using the system showed at a high level at the average of 4.78. The user’s evaluation showed the system was able to respond immediately led to an excellent evaluation at the average of 4.90, follow with the reliable of the system at the average of 4.00, and system user’s show satisfaction in using the system at a good level. Nonetheless, the aspect of security level and permission has the highest evaluation at the average of 4.47. Followed by users are satisfied with the efficiency of the system and useful at the average of 4.00. Finally, users satisfied with the easy access of the system which enable users to access anytime. Moreover, satisfied with the comprehensive information provided which show at the average of 3.97.

Page 5: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยดีโดยได้รับความร่วมมือจากรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการทุกคณะ และอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา รวมทั้งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ประจ าคณะวิทยาการจัดการ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนงบบ ารุงการศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา

คณะผู้วิจัย

Page 6: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

สารบัญ หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย ก Abstract ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญตาราง ฉ สารบัญภาพ ซ บทที่ 1 บทน า ความส าคัญและที่มาของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 2 กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย 2

สมมติฐานการวิจัย 3 ขอบเขตการวิจัย 4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 5 ตัวแปรหรือปัจจัยที่ศึกษา 5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตร 6 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ 7 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ 8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 12 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 14 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 14 การเก็บรวบรมข้อมูล 15 สถิติที่ใช้และการวิเคราะห์ข้อมูล 16 บทที ่4 ผลการวิจัย ข้อก าหนดความต้องการระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 17 การออกแบบ 18 การพัฒนาระบบ 25

Page 7: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

สารบัญ (ตอ่) หน้า

บทที ่5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุป 33 อภิปรายผล 34 ข้อเสนอแนะ 35 บรรณานุกรม 36 ภาคผนวก 37 ประวัติผู้วิจัย 57

Page 8: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

สารบัญตาราง ตารางท่ี หน้า

4.1 โครงสร้างตารางรายการจุดด าจุดขาว 5 ด้าน (cur_map_list) 19 4.2 โครงสร้างตารางรายการจุดด าจุดขาวเฉพาะหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (cur_map_list_g1) 19 4.3 โครงสร้างตารางต าแหน่งจุดด าจุดขาว (cur_map_point) 19 4.4 โครงสร้างตารางต าแหน่งจุดด าจุดขาวเฉพาะหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 20 4.5 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 และ มคอ.7 (tqf27) 20 4.6 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 1 (tqf2_4_1) 20 4.7 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2 (tqf2_4_2) 21 4.8 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (tqf2_4_2_g1) 21 4.9 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.3 – มคอ.6 (tqf3456) 21 4.10 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 4 (tqf3_4) 22 4.11 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 1 (tqf3_5_1) 22 4.12 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 2 (tqf3_5_2) 23 4.13 โครงสร้างตารางสิทธิผู้ใช้งาน มคอ. (tqf_acl) 23 4.14 โครงสร้างตารางข้อมูลพื้นฐาน มคอ. (tqf_default) 23 4.15 โครงสร้างตารางไฟล์แนบ มคอ. (tqf_docs) 24 4.16 โครงสร้างตารางโฟลเดอร์ของ Google Drive เพ่ือเก็บไฟล์ มคอ. (tqf_drive) 24 4.17 โครงสร้างตารางการส่ง มคอ. (tqf_submis) 24 4.18 โครงสร้างตารางการติดตามการส่ง มคอ. (tqf_track) 25 4.19 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 26 4.20 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (functional Requirement Test) 26 4.21 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน (Result Test) 27 4.22 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Usability Test) 28

Page 9: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

สารบัญตาราง (ตอ่) ตารางท่ี หน้า

4.23 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที ่1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test) 28

4.24 ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ระบบ 29 4.25 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย

ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้ 30 4.26 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที ่1 โดยผู้ใช้ 32

Page 10: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า

1.1 ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรกับผู้ใช้ระบบที่เกี่ยวข้อง 3 1.2 ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร กับแนวทางการประเมินระบบ 3 2.1 การท างานของ PHP และเว็บเซิร์ฟเวอร์ 8 2.2 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ 10 4.1 แสดงความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล 18

Page 11: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บทท่ี 1

บทน ำ ควำมส ำคัญและที่มำของปัญหำ

ในปัจจุบันทุกองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน ต่างก็น าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) หรือไอซีทีมาประยุกต์ใช้ในองค์กร ท้ังนี้เนื่องจากไอซีที ซึ่งมีองค์ประกอบเทคโนโลยีท่ีส าคัญ ได้แก่ เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลและเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต นับว่าเป็นเครื่องมืออันทรงพลังท่ีสามารถจัดการประมวลผลข้อมูลจ านวนมหาศาลให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ถูกต้องแม่นย า รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากท่ีสุดในขณะนี้ โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานพัฒนาการศึกษาระดับสูงของชาติ พัฒนาก าลังคนของชาติ จึงจ าเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องน าระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลมาปรับประยุกต์ใช้ให้ทันเหตุการณ์ซึ่งปรับเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ซึ่งเน้นการส่งเสริมคุณภาพการผลิตบัณฑิต โดยใช้กรอบการด าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ก ากับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ.) ได้ก าหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 หรือเรียกว่า Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF ซึ่งเป็นกรอบท่ีแสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิระดับหนึ่งไปสู่ระดับหนึ่ง (มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2552) จึงท าให้สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง ต้องด าเนินงานด้านคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรตามกรอบ TQF ดังกล่าว ซึ่งการด าเนินงานมีขั้นตอนและกระบวนการท่ีเชื่อมต่อเกี่ยวข้องกันอย่างเป็นระบบ มีเอกสารท่ีเกี่ยวข้องและต้องใช้ส าหรับการตรวจประเมินคุณภาพหลักสูตรภายในให้เป็นไปตามกรอบ TQF หลายแบบฟอร์ม อีกท้ังมีผู้เกี่ยวข้องหลายระดับหลายฝ่าย ต้ังแต่ระดับผู้สอน อาจารย์ประจ าหลักสูตร ประธานหลักสูตร ฝ่ายวิชาการระดับคณะและมหาวิทยาลัย รวมท้ังบางส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสภามหาวิทยาลัยของแต่ละสถาบัน รวมถึงส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วย

การด าเนินการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีผ่านมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด าเนินการด้วยบุคลากรท่ีรับผิดชอบในระดับหลักสูตร (อาจารย์ท าหน้าท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีสนับสนุน) ระดับคณะและกองบริการการศึกษา ซึ่งก็มีบุคลากรจ านวนจ ากัด ท าให้เกิดปัญหาและยุ่งยากต่อการรวบรวมเอกสาร การตรวจสอบความถูกต้อง การประมวลผลสารสนเทศท่ีตรงตามความต้องการของหลักสูตร คณะหรือมหาวิทยาลัย เมื่อมีการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรประจ าปี ซึ่งเริ่มด าเนินการมาต้ังแต่ปีการศึกษา 2557 ท่ีผ่านมา ซึ่งปัญหาท่ีส าคัญ เช่น ขาดระบบการจัดเก็บเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่

Page 12: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

2

มาตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) รายละเอียดวิชาของแต่ละหลักสูตร (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) รายงานผลการด าเนินการของรายวิชา (มคอ.5) รายงานผลการด าเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) และรายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) เป็นต้น นอกจากนั้น ยังขาดระบบการตรวจสอบคุณภาพ จ านวนของเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ขาดการรวบรวมอย่างเป็นระบบ ไม่สะดวกต่อการค้นคืนน ากลับมาใช้ใหม่ สิ้นเปลืองในการพิมพ์เอกสารเพื่อเป็นหลักฐานประกอบการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ท่ีส าคัญคือ ไม่สามารถรายงานสารสนเทศท่ีจ าเป็นและประโยชน์ต่อการตัดสินใจในการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีคุณภาพของผู้บริหารได้ รวมถึงขาดรายงานท่ีใช้สนับสนุนการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ตามองค์ประกอบและเกณฑ์การประเมินของ สกอ. ท่ีน ามาใช้ต้ังแต่ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นมา

ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างเร่งด่วน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต้องพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยการใช้กระบวนการวิจัยเชิงพัฒนาระบบสารสนเทศและกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ใช้งานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ ท้ังนี้เพื่อให้การพัฒนาระบบสารสนเทศดังกล่าวด าเนินการอย่างเป็นระบบและเสร็จได้ทันตามระยะเวลาท่ีก าหนด อีกท้ัง จะต้องก าหนดให้มีกระบวนการขับเคลื่อนเชิงนโยบายให้หลักสูตรน าระบบสารสนเทศมาใช้ในองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม มีการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ระบบท่ีพัฒนาขึ้นสามารถน ามาใช้ได้จริงในมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืนต่อไป

วัตถุประสงค์ของโครงกำรวิจัย

1) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบสารสนเทศ

เพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

กรอบแนวคิดของโครงกำรวิจัย

ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน TQF และตามองค์ประกอบของการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2557 ของ สกอ. ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารหลักสูตร ซึ่งระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในระบบ และผู้ใช้ที่เก่ียวข้อง ได้ดังภาพที่ 1.1

Page 13: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

3

ภำพที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรกับผู้ใช้ระบบที่เกี่ยวข้อง

ส าหรับกรอบแนวคิดของการวิจัย สามารถแสดงความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ ได้ดังภาพที่ 1.2

ภำพที่ 1.2 ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร กับแนวทางการประเมินระบบ

สมมติฐำนกำรวิจัย

1) ระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการท างานอยู่ในระดับดีข้ึนไป (เทียบกับเกณฑ์ที่ก าหนดไว้)

2) ผู้ใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีข้ึนไป (เทียบกับเกณฑ์ที่ก าหนดไว้)

สารสนเทศหลกัสูตร

รายงานสารสนเทศ หลักสูตร

ข้อมูลการด าเนนิงาน หลักสูตร

ข้อมูลการด าเนนิงาน หลักสูตร กองบริการ

การศึกษา

(งานมาตรฐาน การศึกษา)

ระบบสารสนเทศเพ่ือ การจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

คณาจารย์ประจ า หลักสูตร และ

ผู้ประเมินคุณภาพ หลักสูตร

ฐานข้อมูล บุคลากร

ฐานข้อมูล หลักสูตรและรายวิชา

ฐานข้อมูลจัดการ หลักสูตร (TQF)

ระบบสารสนเทศเพ่ือ การจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล

ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบ

Page 14: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

4

ขอบเขตกำรวิจัย

1) เนื้อหา ประกอบด้วยเนื้อหาของการวิจัย ดังนี้ 1.1) ศึกษาและวิเคราะห์ระบบงานเดิม และความต้องการการใช้ระบบสารสนเทศ

เพ่ือการจัดการหลักสูตร ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิหลักสูตร (TQF) ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ซึ่งเป็นระบบงานใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือ

1.2) ออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ได้แก่ ผู้บริหารระดับมหาวิทยาลัย คณะ และประธานหลักสูตร รวมทั้งอาจารย์ประจ าหลักสูตร คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร

1.3) พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

1.4) ทดลองใช้งานและประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รวมทั้งความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบสารสนเทศท่ีพัฒนาขึ้น

2) ขอบเขตความสามารถของระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา มีดังนี้

2.1) จัดการข้อมูล เพ่ิม แก้ไข ลบ และรายงานข้อมูล อาจารย์ประจ าหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน รายวิชาที่สอน

2.2) จัดการข้อมูล เพ่ิม แก้ไข ลบ และรายงานข้อมูล มาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษา (มคอ. 1) และรายละเอียดหลักสูตร (มคอ. 2)

2.3) บันทึกการส่งรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายงานผลการด าเนินการของรายวิชา (มคอ.5) การตรวจสอบและบันทึกข้อเสนอแนะและการอนุมัติ มคอ.3 เพ่ือใช้จัดการเรียนการสอน

2.4) การค้นหา มคอ. 2 มคอ. 3, มคอ. 4 และ มคอ. 5, และ มคอ. 6 และ มคอ. 7 และการรายงานผลการค้นหา

2.5) รายงานสรุปเกี่ยวกับผลการด าเนินงานเกี่ยวกับ มคอ .2-มคอ.7 ในภาพรวมระดับหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัยฯ

2.6) บันทึกรายชื่อคณะกรรมการหลักสูตรและเอกสารประกอบการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการประจ าหลักสูตร

Page 15: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

5

ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

1) ประชากร ได้แก่ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 290 คน 2) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือก

แบบเจาะจงอาจารย์ที่มีบทบาทเป็นประธานหลักสูตร และผู้บริหารระดับคณะ จ านวน 4 คน จาก 4 คณะ ดังนี้ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร คณะวิทยาการจัดการ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงผู้บริหารที่มีบทบาทเป็นรองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ตัวแปรหรือปัจจัยที่ศึกษำ

1) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และระดับความพึงพอใจของผู้ใช้จากการใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

ระบบสารสนเทศเพ่ือจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

Page 16: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระยะที่ 1 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยดังต่อไปนี้

- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตร

- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ

- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ

- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตร

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) ก าหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาอุดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาหลักสูตรปรับเปลี่ยนกลยุทธ์วิธีการสอน การวัดและประเมินผลของอาจารย์เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียนที่คาดหวัง (Learning Outcomes) ซ่ึงเป็นมาตรฐานขั้นต่ าเชิงคุณภาพ เพ่ือประกันคุณภาพบัณฑิตและสื่อสารให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจและมั่นใจถึงกระบวนการผลิตบัณฑิต

ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้นิยามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น การแบ่งสายวิชา มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพ่ิงสูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ปริมาณการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จากประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกลที่ให้ความมั่นในในประสิทธิผลการด าเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการวิเคราะห์และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงด้านทักษะพิสัย โดยขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย

1. การพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิระดับสาขา/สาขาวิชาต่าง ๆ ในแต่ละระดับคุณวุฒิ (มคอ.1)

Page 17: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

7

2. การจัดท ารายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 3. การจัดท ารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) 4. การขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสถาบันอุดมศึกษา 5. การเสนอหลักสูตรต่อส านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 6. การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 7. การจัดท ารายงานผลการด าเนินการของรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการด าเนินการ

ของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) 8. รายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) 9. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 10. การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒฯ ซึ่งบันทึกใน

ฐานขอมูลหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่ 11. การก ากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา โดยคณะกรรมการอุดมศึกษา

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ

1. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ (Web Application) หมายถึง โปรแกรมที่อยู่ในเครื่องแม่ข่ายบริการเว็บ (Web Server) ที่คอยให้บริการสิ่งที่ร้องขอ (Request) จากทางคอมพิวเตอร์ฝั่งผู้ใช้บริการ (Client) ผ่านหน้าเว็บด้วยรูปแบบการติดต่อสื่อสารหรือโปรโตคอล (Protocol) ที่เรียกว่า HyperText Transfer Protocol: HTTP ซึ่งจะแสดงผลในรูปของเอกสาร “เอชทีเอ็มแอล” (HTML) ผ่านทางหน้าจอภาพของโปรแกรมประเภทบราวเซอร์ ซึ่งก็คือ เว็บไซต์ต่างๆ ที่เราใช้บริการอยู่นั่นเอง ซึ่งโปรแกรมประยุกต์บนเว็บสามารถตอบสนองความคิดเรื่องการกระจายการประมวลผล (Distributed Processing) ได้ในระดับหนึ่ง ก็คือ การแบ่งการประมวลผลไว้ที่ฝั่งเครื่องผู้ใช้บริการ (Client) และฝั่งแม่ข่ายให้บริการ (Server) และมักจะมีการใช้ฐานข้อมูล (Database) ควบคู่กับการท างานของโปรแกรมประยุกต์บนเว็บไปด้วย

2. ภาษา PHP PHP: Professional Home Page หรือ PHP Hypertext Preprocessor ซึ่ งเป็นภาษาสคริปต์ส าหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บแบบหนึ่งติดตั้งฝั่งเครื่องแม่ข่าย ที่เรียกว่า Server Side Script ที่ประมวลผลฝั่งเซิร์ฟเวอร์แล้วส่งผลลัพธ์ในรูปแบบเอกสาร HTML ไปยังฝั่งไคลเอ็นต์หรือผู้ใช้บริการผ่านเว็บบราวเซอร์ นอกจากนี้ยังเป็น Script ที่เขียนฝังไว้บนเอกสาร HTML อีกด้วย ปัจจุบัน PHP ได้รับความนิยมอย่างมาก เป็นเครื่องมือน ามาพัฒนาโปรแกรมบนเว็บที่เรียกว่า Web Development หรือ Web Programming ตัวอย่างการท างานของ PHP ดังภาพที่ 2.1

Page 18: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

8

ภาพที่ 2.1 การท างานของ PHP และเว็บเซิร์ฟเวอร์ (ที่มา: http://www.bogotobogo.com/php/php1.php, 2015)

3. ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL

MySQL เป็นซอฟต์แวร์ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลบนเครือข่ายประเภท RDBMS (Relational Database Management System) ประสิทธิภาพสูง สามารถดาวน์โหลดมาใช้งานองได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายด้านลิขสิทธิ์ (ยกเว้นรุ่นเพ่ือการค้า) โดยโครงสร้างของฐานข้อมูลประกอบด้วยตารางต่าง ๆ ที่มีออกแบบให้มีความสัมพันธ์กันระหว่างตาราง ในแต่ละตารางออกแบบโครงสร้างให้เก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเก่ียวข้อง

4. ภาษา JavaScript

JavaScript เป็ น ภ า ษ า โป ร แ ก ร ม แ บ บ โป ร โต ไท พ (Prototyped-based Programming) โดยมีโครงสร้างพ้ืนฐานมาจากภาษาซี ท างานบนหน้าเว็บเพ่ือประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน (Client Side) เพ่ือจัดการข้อมูลที่อยู่ภายใต้โครงสร้างแบบ Document Object Model (DOM) ของภาษา HTML ที่แสดงผลอยู่บนหน้าเว็บ ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมมาก เนื่องจากมีการน า JavaScript ไปพัฒนาต่อยอดเป็น Framework ต่างๆ ที่ใช้งานได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูง

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ

1. ความหมายของระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศนั้นมีความส าคัญต่อองค์กร เช่น ภาคธุรกิจ ภาครัฐและ

ภาคเอกชน ท าให้องค์กรสามารถด าเนินการรวบรวมข้อมูล สารสนเทศน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดย

Page 19: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

9

การพัฒนาระบบสารสนเทศนั้น จะน าปัจจัยหน่วยย่อยที่สุดซึ่งได้แก่ข้อมล น ามารวบรวมประมวลผลเพ่ือให้เกิดสารสนเทศ โดยผู้วิจัยอธิบายความหมายที่เก่ียวข้องระบบสารสนเทศ ดังนี้

โอภาส (2554) ได้ให้ความหมายของ ระบบสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลกลายเป็นสารสนเทศที่ผู้บริหารสามารถน ามาใช้ประกอบการตัดสินใจบนสถานการณ์ต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลและสารสนเทศมีความสัมพันธ์กันคือ สารสนเทศจะสามารถน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อเมื่อข้อมูลที่เป็นแหล่งต้นทางนั้นมีความถูกต้อง แต่ถ้าแหล่งต้นทางขอข้อมูลเป็นข้อมูลที่ผิด เมื่อน าเข้าสู่กระบวนการประมวลผลก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ผิดพลาด ดังประโยคหนึ่งที่ได้กล่าวไว้ว่า Garbage In, Garbage Out :GIGO ซึ่งหมายความว่า หากคุณป้อนขยะเข้าไป ผลลัพธ์ที่ได้กลับมาก็คือขยะเช่นกัน

สูติเทพ (2552) ได้อธิบายว่า สารสนเทศได้มากจากการประมวลผลข้อมูลที่เสร็จสิ้นแล้ว ซึ่งการได้มาของสารสนเทศไม่จ าเป็นที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เพราะก่อนหน้าที่จะมีการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานไม่ว่างานธุรกิจ งานบริหารสถานศึกษา มีพนักงานระดับปฏิบัติเป็นผู้เก็บข้อมูลและน าไปประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น การจัดเอกสารให้เป็นระบบ การค านวณ การบันทึกลงสมุด แต่การประมวลผลข้อมูลด้วยมือของมนุษย์มีโอกาสผิดพลาด ที่เรียกว่า “Human Error” ดังนั้น เมื่อมีการน าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลข้อมูล หรือที่ เรียกว่า การประมวลผลข้อมูลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing :EDP) สามารถอ านวยความสะดวกในการท างาน เพ่ิมความรวดเร็วในการสร้างสารสนเทศได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นสารสนเทศท่ีได้จึงมีความถูกต้อง แม่นย า เชื่อถือได้

2. ประเภทของระบบสารสนเทศ

Laudon and Laudon (2011) ได้แบ่งระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการท างานในองค์กรไว้ 4 ประเภท ดังนี้

1) ระบบสารสนเทศส าหรับผู้ปฏิบัติงาน เป็นระบบสารสนเทศสนับสนุนการท างานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพ้ืนฐานและงานท ารายการต่าง ๆ ขององค์กร เช่น ใบเสร็จรับเงิน รายการขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็นต้น วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพ่ือช่วยด าเนินงานประจ าแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น

2) ระบบสารสนส าหรับผู้ช านาญการ ระบบนี้สนับสนุนผู้ท างานที่มีความรู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพ่ือช่วยให้มีการน าความรู้ใหม่มาใช้และช่วยควบคุมการไหลเวียนของงานเอกสารองค์กร

3) ระบบสารสนเทศส าหรับผู้บริหาร เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจและการบริหารงานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร

Page 20: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

10

4) ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ เป็นระบบสารสนเทศท่ีช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว หลักการของระบบคือต้องจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถภายในที่องค์กรมี เช่น ในอีก 5 ปีข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด

3. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development) เป็นกิจกรรมทั้งหมดที่จ าเป็นในการระบบสารสนเทศมาใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาขององค์กรหรือสร้างโอกาสให้กับองค์กร ซึ่งด าเนินการตามวงจรการพัฒนาระบบ 5 ระยะดังนี้ (โอภาส, 2554. หน้า 507)

ระยะที่ 1 การวางแผนโครงการ

ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ ระยะที่ 3 การออกแบบ

ระยะที่ 4 การน าไปใช้ ระยะที่ 5 การบ ารุงรักษา

ภาพที่ 2.2 วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

Page 21: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

11

ระยะที่ 1 การวางแผนโครงการ

การวางแผนโครงการ จัดเป็นกระบวนการพ้ืนฐานบนความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ท าไมต้องสร้างระบบใหม่ โดยจุดก าเนิดของระบบสามารถเกิดขึ้นได้จากแรงกดดันจากปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อองค์กรต้องน ามาพิจารณาปรับปรุงระบบใหม่ เช่น ผู้ใช้ร้องขอให้ปรับปรุงระบบใหม่ ผู้บริหารระดับสูงต้องการพัฒนาระบบใหม่ ปัญหาและข้อผิดพลาดของระบบงานปัจจุบัน แรงกดดันจากภายนอก เป็นต้น โดยบทสรุปของการวางแผนโครงการประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้

1) ก าหนดปัญหา 2) ศึกษาความเป็นไปได ้3) การบริหารโครงการเพื่อควบคุมกิจกรรมการพัฒนาระบบให้ด าเนินงานไปด้วยดี

ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ วัตถุประสงค์หลักของระยะการวิเคราะห์ คือ ศึกษาและท าความเข้าใจในความต้องการต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมมา ดังนั้น การรวบรวมความต้องการ จึงจัดเป็นงานส่วนพ้ืนฐานของการวิเคราะห์ โดยข้อมูลความต้องการเหล่านี้ นักวิเคราะห์ระบบจะน ามาวิเคราะห์เพ่ือที่จะประเมินว่าควรมีอะไรบ้างที่ระบบใหม่ต้องด าเนินการ นักวิเคราะห์ระบบสามารถรวบรวมความต้องการต่าง ๆ ได้จากการสังเกตการณ์ จากการท างานของผู้ใช้ การใช้เทคนิคการสัมภาษณ์ หรือการจัดท าแบบสอบถาม การอ่านเอกสารเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของระบบงานในปัจจุบัน ระเบียบกฎเกณฑ์ของบริษัท และการมอบหมายต าแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ซึ่งในช่วงของการรวบรวมข้อมูลความต้องการ ก็จะได้พบกับผู้ใช้ในระดับต่าง ๆ ท าให้รับรู้ถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่แนะน าโดยผู้ใช้ ดังนั้นการรวบรวมความต้องการ จึงจัดเป็นกิจกรรมส าคัญเพ่ือค้นหาความจริงและต้องท าความเข้าใจซึ่งกันและกันเพ่ือสรุปออกเป็นเป็นข้อก าหนด โดยนักวิเคราะห์จะน าข้อก าหนดเหล่านั้นไปพัฒนาออกเป้นความต้องการของระบบใหม่ โดยเทคนิคดั้งเดิมที่นิยมก็คือ การพัฒนาแบบจ าลองกระบวนการ (Process Model) ซึ่งเป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการและข้อมูลในระบบและต่อไปก็ด าเนินการพัฒนาแบบจ าลองข้อมูล (Data Model) ขึ้นมาเพ่ืออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่น ามาใช้สนับสนุนกระบวนการต่าง ๆ โดยบทสรุปของระยะการวิเคราะห์ ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้

1) วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน 2) สร้างข้อก าหนดความต้องการ 3) สร้างแบบจ าลองกระบวนการ 4) สร้างแบบจ าลองข้อมูล

Page 22: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

12

ระยะที่ 3 การออกแบบ

ระยะการออกแบบ จะน าแบบจ าลองเชิงตรรกะที่ถูกสร้างขึ้นจากระยะการวิเคราะห์ มาสร้างเป็นแบบจ าลองเชิงกายภาพเพ่ือน าไปสู่การออกแบบทางออกของระบบได้อย่างไร โดยการออกแบบระดับสูงจะประกอบด้วยการพัฒนาโครงสร้างสถาปัตยกรรมส าหรับโปรแกรมซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล ยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการ ส่วนการออกแบบระดับต่ าลงมา ก็จะประกอบด้วยการพัฒนาอัลกอริทึมและโครงสร้างข้อมูลที่จ าเป็นต่อการน าไปพัฒนาโปรแกรม

ระยะที่ 4 การน าไปใช้ ระยะการน าไปใช้ เป็นการน าสิ่งที่ได้จากระยะการออกแบบมาด าเนินการให้ระบบเกิดผลขึ้นมาด้วยการสร้างระบบ การทดสอบระบบและการปรับเปลี่ยนระบบใหม่ ส าหรับวัตถุประสงค์หลักของกิจกรรมในระยะนี้ ไม่ใช่แค่เพียงความน่าเชื่อถือของระบบหรือระบบต้องสามารถท างานได้ดีเท่านั้น แต่ต้องมั่นใจว่าผู้ใช้ระบบต้องได้รับการฝึกอบรมเพ่ือใช้งานระบบใหม่ และคาดหวังขององค์กรที่ต้องการผลตอบแทนจากการน าระบบใหม่มาใช้ ส าหรับระยะการน าไปใช้จัดเป็นระยะส าคัญทีเดียว เพราะทุกกิจกรรมจะต้องถูกน าเข้ามาด าเนินการร่วมกัน เพ่ือให้ระบบสามารถปฏิบัติงานได้ลงเอยในที่สุด ระยะที่ 5 การบ ารุงรักษา

การบ ารุงรักษา ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1) การบ ารุงรักษาระบบ ระบบที่ ใช้งานอยู่ในวันข้างหน้าอาจพบปัญหาบางสิ่ง

บางอย่างได้เสมอ รวมถึงความต้องการใหม่ ๆ ที่จะปรับปรุงเพ่ิมเติมในอนาคต ดังนั้นการบ ารุงรักษาระบบ จึงมีเป้าหมายเพ่ือให้ระบบสามารถใช้งานต่อไปได้ตลอดอายุการใช้งานเท่าที่ควรจะเป็น เช่น การบ ารุงรักษาระบบด้วยการแก้ไขให้ถูกต้อง การบ ารุงรักษาระบบด้วยการดัดแปลง การบ ารุงรักษาระบบด้วยการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น และการบ ารุงรักษาระบบด้วยการป้องกัน

2) การช่วยเหลือผู้ใช้ การบ ารุงรักษาระบบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะมีความเป็นไปได้สูงทีเดียว หากมีการจัดท าเอกสารที่ดี ซึ่งจะถูกจัดท าขึ้นเมื่อระบบได้รับการพัฒนาขึ้นมาแล้ว และหากมีรายละเอียดโปรแกรมหรือซอร์สโค้ดที่เขียนในรูปแบบโครงสร้าง อ่านง่าย และง่ายต่อการไล่โปรแกรม ก็จะช่วยเหลือผู้ใช้ที่เป็นโปรแกรมเมอร์ได้เป็นอย่างดี ปกติแล้วเอกสารจะมีอยู่ 3 ชนิด เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และเอกสารส าหรับโปรแกรม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

โสภิษฐ์ [ม.ป.ป.] ได้วิจัยเรื่อง การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการความรู้ส าหรับองค์การภาครัฐ มีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ (1) ศึกษาความต้องการระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการความรู้ส าหรับองค์การภาครัฐ (2) น าความต้องการที่ได้จากขั้นตอนที่หนึ่งมาออกแบบ

Page 23: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

13

ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการความรู้ส าหรับองค์การ (3) ประเมินประสิทธิภาพระบบ โดยผลการประเมินประสิทธิภาพระบบพบว่าระบบมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ กลุ่มเทคนิคมีความคิดเห็นว่าระบบมีประสิทธิภาพสูง มีค่าเฉลี่ย 3.92 กลุ่มผู้ใช้งานมีความคิดเห็นว่าระบบมีประสิทธิภาพสูง มีค่าเฉลี่ย 3.51

มณีรัตน์ ภารนันท์ และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์ และณมน จีรังสุวรรณ (2557) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเว็บปัญญาประดิษฐ์คือ ระบบที่สามารถแชร์เทคนิคการประเมินผลของอาจารย์ผู้อ่ืนสามารถเชื่อมโยงข้อมูลจาก มคอ.2 มายัง มคอ.3 เช่น รายละเอียดรายวิชา จุดด าจุดขาว ผลลัพธ์การเรียนรู้ และ มคอ.3 ไป มคอ.5 และ มคอ.7 เพ่ือลดภาระของอาจารย์

เอกชัย สังข์ทอง (2554) ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา) กรณีศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ช่วยให้เกิดผลดีในการปฏิบัติ งานของหลักสูตร ด้านข้อมูล การประมวลผล และรูปแบบรายงาน ท าให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ใช้เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจได้ มีความปลอดภัย รองรับผู้ใช้งานได้มากขึ้น สามารถตรวจสอบข้อมูลได้อย่างสะดวก เชื่อมโยงกับระบบอ่ืนๆ ได้ง่าย ข้อมูลมีความเป็นปัจจุบัน

มานพ สุวรรณกูฎ (2551) ได้พัฒนาระบบบูรณาการสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายโดยใช้แบบจ าลององค์ประกอบเว็บเซอร์วิส โดยใช้การบูณาการข้อมูลสารสนเทศบุคลากรเพ่ือให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานที่มีระบบต่างกันสามารถท างานร่วมกันได้อย่างอัตโนมัติ

แสงเพ็ชร พระฉาย (2557) ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา กล่าวว่าระบบสารสนเทศควรแบ่งการปฏิบัติงานเป็น 9 โมดูล คือ 1) โมดูลสิทธิผู้ใช้งาน 2) โมดูลการสื่อสาร 3) โมดูลผู้สอน 4) โมดูลผู้เรียน 5) โมดูลผู้ประกอบการหรือพ่ีเลี้ยง 6) โมดูลรายละเอียดหลักสูตร 7) โมดูลรายละเอียดและผลการด าเนินการของรายวิชา 9) โมดูลผลการด าเนินการหลักสูตร

Page 24: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บทท่ี 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย

ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ประชากร ได้แก่ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 290 คน

กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จ านวน 5 คน 2. อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ านวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง

อาจารย์ที่มีบทบาทเป็นประธานหลักสูตร 3. ผู้บริหารระดับคณะ จ านวน 4 คน จาก 4 คณะ ได้แก่ คณะครุศาสตร์ คณะ

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร คณะวิทยาการจัดการ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงผู้บริหารที่มีบทบาทเป็นรองคณบดีฝ่ายวิชาการ เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย

ผู้วิจัยได้ก าหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2 ส่วน ดังนี้ 1. เครื่องมือส าหรับนักพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย

ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ประกอบด้วย

PC หรือ Notebook ที่สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ต

Web Browser Google Chrome, Firefox, IE9+

Windows Server 2008 R2

Apache 2.4.x

PHP 7.0.4

MySQL 5.6

Oracle Client 10g

JavaScript Code editor

2. เครื่องมือส าหรับประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.1) แบบประเมินประสิทธิภาพระบบ ด้วยเทคนิคแบล็คบ็อกซ์ ( Black Box Testing) โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา จ านวน 5 คน โดยแบบประเมินประสิทธิภาพระบบประกอบแบ่งเป็น 3 ตอน โดยข้อค าถามมีลักษณะแบบส ารวจรายการ (Checklist) ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ

Page 25: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

15

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้ เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่อประสิทธิภาพการท างานของระบบ 5 ด้าน ได้แก่

- ด้าน functional Requirement Test เป็นการประเมินผลความถูกต้อง และประสิทธิภาพของระบบว่าตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบมากน้อยเพียงใด

- ด้านResult Test เป็นการประเมินความถูกต้องและประสิทธิภาพในการท างานของระบบว่าสามารถท างานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบมากน้อยเพียงใด

- ด้าน Usability Test เป็นการประเมินลักษณะการออกแบบระบบว่ามีความง่ายต่อการใช้งานมากน้อยเพียงใด

- ด้าน Security Test เป็นการประเมินระบบในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบว่ามีมากน้อยเพียงใด

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในการพัฒนาและปรับปรุงระบบ

2.2) แบบประเมินประสิทธิผล เป็นการประเมินความส าเร็จของระบบโดยกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ ประธานหลักสูตร จ านวน 30 คน ผู้บริหารระดับคณะ จ านวน 4 คน คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร คณะวิทยาการจัดการ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอแบบประเมิน

ตอนที่ 2 ประสิทธิผลของระบบระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมในการพัฒนาและปรับปรุงระบบ

กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย เป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ขั้นการพัฒนาระบบ ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการดังนี้

1) จัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพ่ือรวบรวมความต้องการของระบบจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ประธานหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหารระดับคณะและผู้รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้อ านวยการส านักประกันคุณภาพ เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2) พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

3) น าระบบให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเมิน 4) ปรับปรุงแก้ไขระบบตามข้อเสนอแนะของผู้ เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร 5) ทดลองใช้ระบบ

Page 26: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

16

ระยะที่ 2 ขั้นประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล

1) ออกแบบ แบบประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

2) น าแบบประเมินให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน พิจารณาความสอดคล้องของข้อค าถามในแบบประเมินกับประเด็นที่ต้องการเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือน ามาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยเลือกข้อค าถามท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.6 ขึ้นไป

3) ติดตั้งระบบและฝึกอบรมการใช้ระบบให้กับกลุ่มตัวอย่าง 4) ทดลองใช้งานระบบ 5) ก าหนดให้กลุ่มตัวอย่างประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบ

สารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สถิติที่ใช้และกำรวิเครำะห์ข้อมูล

1. การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation: SD)

2. การแปลผลข้อมูล เมื่อได้ค่าสถิติแล้วผู้วิจัยด าเนินการแปลผลข้อมูล โดยใช้เกณฑ์ในการแปลผลดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 ระบบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 ระบบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภาพในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.01 – 3.00 ระบบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.01 – 2.00 ระบบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 0.00 – 1.00 ระบบไม่มีประสิทธิภาพและไม่มีประสิทธิผล

Page 27: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บทท่ี 4 ผลการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระยะที่ 1 ผู้วิจัยได้ก้าหนดวิธีด้าเนินการตามแบบจ้าลองการพัฒนาแบบน ้าตกประยุกต์ โดยน้าเสนอผลการวิจัยดังนี

ข้อก าหนดความต้องการระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ข้อก าหนดด้านความสามารถของระบบ

- จัดการข้อมูล เพ่ิม แก้ไข ลบ และรายงานข้อมูล อาจารย์ประจ้าหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน รายวิชาที่สอน

- จัดการข้อมูล เพ่ิม แก้ไข ลบ และรายงานข้อมูล มาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษา (มคอ. 1)และ รายละเอียดหลักสูตร (มคอ. 2)

- บันทึกการส่งรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายงานผลการด้าเนินการของรายวิชา (มคอ.5)

- ตรวจสอบและบันทึกข้อเสนอแนะและการอนุมัติ มคอ.3 เพ่ือใช้จัดการเรียนการสอน - การค้นหา มคอ. 2 มคอ. 3, มคอ. 4 และ มคอ. 5, และ มคอ. 6 และ มคอ. 7 และการ

รายงานผลการค้นหา - รายงานสรุปเกี่ยวกับผลการด้าเนินงานเกี่ยวกับการจัดท้า มคอ. ในภาพรวมระดับหลักสูตร

คณะ และมหาวิทยาลัยฯ - บันทึกรายชื่อคณะกรรมการหลักสูตรและเอกสารประกอบการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ

ประจ้าหลักสูตร - บูรณาการสารสนเทศจากกองบริการการศึกษาและระบบบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลา

ข้อก าหนดของ User Interface

- ท้างานบน Desktop PC ผ่าน Web Browser Google Chrome - ความละเอียดจอภาพ 1024 x 768 ขึ น - มีเมนู ค้าสั่ง และข้อความต่างๆ ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก

Page 28: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

18

ข้อก าหนดของสิทธิ์การเข้าถึงและความปลอดภัย

- การเข้าสู่ระบบโดย Login รหัสเดียวกับการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตมหาลัยฯ - ผู้บริหารระดับคณะ ประธานหลักสูตร สามารถเข้าถึงรายงานผู้จัดส่ง มคอ.2 - มคอ.7

ในระดับคณะ - อาจารย์ผู้สอน สามารถปรับปรุงแก้ไข มคอ.3 - มคอ.6

การออกแบบ ผู้วิจัยด้าเนินการออกแบบฐานข้อมูลและออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ตามข้อก้าหนดความ

ต้องการระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยก้าหนดเป็นส่วนประกอบของระบบ ดังนี

1. ออกแบบความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล

ภาพที่ 4.1 แสดงความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล

Page 29: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

19

2. พจนานุกรมข้อมูล โครงสร้างตารางของฐานข้อมูลระบบ มคอ. (TQF) ซึ่งค้าอธิบายความหมายของแต่ละฟิลด์ข้อมูล ดังตารางที่ 4.1 – 4.18

ตารางท่ี 4.1 โครงสร้างตารางรายการจุดด้าจุดขาว 5 ด้าน (cur_map_list)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก programid int(11) N FK PROGRAM รหัสหลัก หลักสูตร Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสหลัก ผู้สอน Groupid int(1) N หมวดวิชา (ท่ัวไป, เฉพาะด้าน) Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Name text Y ชื่อรายการ

ตารางท่ี 4.2 โครงสร้างตารางรายการจุดด้าจุดขาวเฉพาะหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (cur_map_list_g1)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Name text Y ชื่อรายการ

ตารางท่ี 4.3 โครงสร้างตารางต้าแหน่งจุดด้าจุดขาว (cur_map_point)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร courseid int(11) N FK COURSE รหัสอ้างอิง รายวิชา Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Li int(2) N ล้าดับ

Page 30: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

20

ต ารางที่ 4.4 โค รงส ร้ า งต ารางต้ าแ ห น่ งจุ ด ด้ าจุ ด ข าว เฉ พ าะห ม วด วิ ช าศึ ก ษ าทั่ ว ไป (cur_map_point_g1)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก courseid int(11) N FK COURSE รหัสอ้างอิงรายวิชา Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Li int(2) N ล้าดับ

ตารางท่ี 4.5 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 และ มคอ.7 (tqf27)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Tqfn int(1) N หมายเลข มคอ. Year varchar(4) Y ปีการศึกษา programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน sectionid int(1) N หมวดที่ Topicid varchar(10) N รหัสหัวข้อ Data text Y ข้อมูลหลัก

ตารางท่ี 4.6 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 1 (tqf2_4_1)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Year varchar(4) Y ปีการศึกษา programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน Li int(1) N ล้าดับ Topicid varchar(10) N รหัสหัวข้อ Data text Y ข้อมูลหลัก

Page 31: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

21

ตารางท่ี 4.7 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2 (tqf2_4_2)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Year varchar(4) Y ปีการศึกษา programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน Grpid int(1) N หมวดวิชา (ทั่วไป, เฉพาะด้าน) Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Li int(1) N ล้าดับ Data text Y ข้อมูลหลัก

ตารางท่ี 4.8 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.2 หมวด 4 ข้อ 2 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (tqf2_4_2_g1)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Li int(1) N ล้าดับ Data text Y ข้อมูลหลัก

ตารางท่ี 4.9 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ.3 – มคอ.6 (tqf3456)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Tqfn int(1) N หมายเลข มคอ. courseid int(11) N FK COURSE รหัสอ้างอิง รายวิชา Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน programid int(11) Y FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร sectionid int(1) N หมวดที่ Topicid varchar(10) N รหัสหัวข้อ Year varchar(4) Y ปีการศึกษา semester varchar(1) Y ภาคเรียน Data text Y ข้อมูลหลัก

Page 32: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

22

ตารางท่ี 4.10 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 4 (tqf3_4)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก courseid int(11) N FK รหัสอ้างอิง รายวิชา Officerid int(11) N FK รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน programid int(11) Y FK รหัสอ้างอิงหลักสูตร Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1 – 5) Li int(1) N ล้าดับ Topicid varchar(10) N รหัสหัวข้อ Year varchar(4) Y ปีการศึกษา semester varchar(1) Y ภาคเรียน Data text Y ข้อมูลหลัก

ตารางท่ี 4.11 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 1 (tqf3_5_1)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก courseid int(11) N FK COURSE รหัสอ้างอิง รายวิชา Officerid int(11) N OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน programid int(11) Y PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร Week int(2) N สัปดาห์ที่ Topicid varchar(10) N หรัสหัวข้อ Year varchar(4) Y ปีการศึกษา semester varchar(1) Y ภาคเรียน Data text Y ข้อมูลหลัก

Page 33: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

23

ตารางท่ี 4.12 โครงสร้างตารางข้อมูล มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 2 (tqf3_5_2)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก courseid int(11) N FK COURSE รหัสอ้างอิง รายวิชา Officerid int(11) N FK OFFICER รหัสอ้างอิง อาจารย์ผู้สอน programid int(11) Y FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร

Setid int(1) N ผลการเรียนรู้ (1-5) Topicid varchar(10) N รหัสหัวข้อ Year varchar(4) Y ปีการศึกษา semester varchar(1) Y ภาคเรียน Data text Y ข้อมูลหลัก

ตารางท่ี 4.13 โครงสร้างตารางสิทธิผู้ใช้งาน มคอ. (tqf_acl)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก user_id int(11) N FK รหัสอ้างอิงผู้ใช้งาน Roleid int(1) Y รหัสกลุ่มผู้ใช้งาน Data varchar(10) Y ข้อมูลสิทธิ

ตารางท่ี 4.14 โครงสร้างตารางข้อมูลพื นฐาน มคอ. (tqf_default)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิง หลักสูตร facultyid int(2) N FK FACULTY รหัสอ้างอิง คณะ Leveled int(1) N ระดับการศึกษา open_year varchar(4) Y ปีที่เปิดหลักสูตร Name varchar(100) N ชื่อหลักสูตร

Page 34: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

24

ตารางท่ี 4.15 โครงสร้างตารางไฟล์แนบ มคอ. (tqf_docs)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิงหลักสูตร Name varchar(255) N ชื่อไฟล์ url text N ที่อยู่ไฟล์ Topicid varchar(10) Y รหัสหัวข้อ

ตารางท่ี 4.16 โครงสร้างตารางโฟลเดอร์ของ Google Drive เพ่ือเก็บไฟล์ มคอ. (tqf_drive)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิงหลักสูตร Folderid varchar(100) N รหัสโฟลเดอร์ของ Google Drive

ตารางท่ี 4.17 โครงสร้างตารางการส่ง มคอ. (tqf_submis)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก Tqfn int(1) N หมายเลข มคอ. user_id int(11) N FK รหัสอ้างอิง ผู้ส่ง มคอ. endorser_id int(11) Y FK รหัสอ้างอิง ผู้อนุมัติ status_id varchar(1) Y สถานะ การส่ง มคอ. programid int(11) N FK PROGRAM รหัสอ้างอิงหลักสูตร courseid int(11) Y FK COURSE รหัสอ้างอิง รายวิชา Year varchar(4) Y ปีการศึกษา semester varchar(1) Y ภาคเรียน created_at datetime Y เวลาบันทึกครั งแรก updated_at datetime N เวลาอัปเดทสถานะ

Page 35: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

25

ตารางท่ี 4.18 โครงสร้างตารางการติดตามการส่ง มคอ. (tqf_track)

Field Type Null Key Reference Description Id int(11) N PK รหัสหลัก submis_id int(11) N FK tqf_submis รหัสอ้างอิง การส่ง มคอ. status_id varchar(1) N สถานะ การส่ง มคอ. Note text Y ค้าอธิบาย created_at datetime N เวลาที่บันทึกข้อมูล

การพัฒนาระบบ

ผู้วิจัยด้าเนินการเขียนโปรแกรมตามข้อมูลที่ได้จากขั นตอนการวิเคราะห์และการออกแบบตามล้าดับเริ่มตั งแต่เขียนโค้ดคอมไพล์โค้ดและเอ็กซ์เซ็กคิวโค้ดเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาระยะที่ 1 ที่ได้ก้าหนดไว้ (ภาคผนวก 1) และด้าเนินการทดสอบประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ด้วยเทคนิคแบล็คบ็อกซ์( Black Box Testing) เพ่ือทดสอบการท้างานตามความต้องการระบบที่ ได้วิเคราะห์และออกแบบไว้ จากนั นจึงด้าเนินการติดตั งระบบ และทดสอบประสิทธิภาพประสิทธิผลและความพึงพอใจ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 และเพ่ือประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความพึงพอใจของผู้ ใช้ที่มี่ต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จ้านวน 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (3) ผู้บริหารระดับคณะ และด้าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี

Page 36: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

26

ตารางที่ 4.19 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิภาพ แปลผล ค่าเฉลี่ย

(�̅�) ค่าเบี่ยงเบน

มาตรฐาน(𝒔. 𝒅)

1.ด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (Functional Requirement Test)

4.28 0.34 ดี

2.ด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน (Result Test) 3.94 0.39 ดี 3.ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Usability Test) 4.78 0.26 ดีมาก 4. ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test)

4.00 0.44 ดี

คะแนนเฉลี่ยรวม 4.25 0.36 ดี

จากตารางที่ 4.19 พบว่า ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งเท่ากับ 4.78 และด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน และด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ มีค่าเฉลี่ย 4.28 และ 4.00 ตามล้าดับ และรายละเอียดแต่ละด้านน้าเสนอดังตารางที่ 4.20-4.23 ตารางที่ 4.20 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที ่1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (Functional Requirement Test)

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิภาพ แปลผล ค่าเฉลี่ย

(�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ระบบสามารถจัดเก็บข้อมูลพื นฐานได้ครบถ้วน 4.00 0.00 ดี 2. ระบบสามารถแก้ไข ลบ ข้อมูลพื นฐานของได้ครบถ้วน 4.80 0.40 ดีมาก 3. ความถูกต้องในการค้นหาข้อมูล 4.00 0.00 ดี 4. ความถูกต้องในการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล 4.20 0.40 ดี 5. ความถูกต้องในการลบข้อมูล 3.80 0.40 ดี 6. ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล 4.00 0.63 ดี 7. ความถูกต้องของผลลัพธ์ในรูปแบบรายงาน 3.80 0.40 ดี 8. ความน่าเชื่อถือได้ของระบบ 3.40 0.80 ดี 9. ระบบครอบคลุมการท้างานจริง 3.80 0.49 ดี 10. การป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ น 3.60 0.40 ดี

Page 37: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

27

จากตารางที่ 4.20 พบว่า ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี และพบว่าระบบสามารถแก้ไข ลบข้อมูลพื นฐานได้ครบถ้วน อยู่ในระดับดีมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 รองลงมาคือ ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และอันดับสาม คือ ระบบสามารถจัดเก็บข้อมูลพื นฐานได้ครบถ้วน ความถูกต้องในการค้นหาข้อมูล ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 ตารางที่ 4.21 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน (Result Test)

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิภาพ แปลผล ค่าเฉลี่ย

(�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ผลลัพธ์ในการเพิ่มข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 4.8 0.40 ดีมาก

2. ผลลัพธ์ในการลบข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 4.8 0.40 ดีมาก

3. ผลลัพธ์ในการแก้ไขข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 4.2 0.40 ดี 4. ผลลัพธ์ในการค้นหาข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 5 0.00 ดีมาก

5. ผลลัพธ์ที่ได้ช่วยในการประสานงานระหว่างกลุ่มผู้ใช้ระบบได้ 5 0.00 ดีมาก

6. ผลลัพธ์ในการออกรายงานของระบบมีความถูกต้อง 4.6 0.49 ดีมาก 7. ผลลัพธ์ที่ได้ช่วยงานการลดระยะเวลาในการท้างานได้ 5 0.00 ดีมาก 8. ผลลัพธ์ที่ได้จากรายงานช่วยในการวางแผนการท้างานได้ 4.8 0.40 ดีมาก

จากตารางที่ 4.21 พบว่า ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดีมาก และพบว่าระบบสามารถแสดงผลลัพธ์ในการค้นหาข้อมูลของระบบได้อย่างถูกต้อง สามารถประสานงานระหว่างกลุ่มผู้ใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพและผลลัพธ์ที่ได้ช่วยลดระยะเวลาในการท้างานได้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 รองลงมาคือ ระบบแสดงผลลัพธ์จากการเพ่ิมข้อมูล การลบข้อมูล ได้อย่างถูกต้องและสามารถรายงานข้อมูลเพ่ือช่วยในการวางแผนการท้างานได้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.8 และอันดับสาม คือระบบสามารถออกรายงานได้อย่างถูกต้อง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6

Page 38: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

28

ตารางที่ 4.22 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Usability Test)

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิภาพ แปลผล

ค่าเฉลี่ย (�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ความง่ายในการใช้งาน 4.8 0.40 ดีมาก 2. ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ 4.4 0.49 ดี 3. ความเหมาะสมของการใช้สีของตัวอักษร 4.2 0.40 ดี 4. ความเหมาะสมของการใช้สีพื นหลัง 5 0.00 ดีมาก 5. ความเหมาะสมของการใช้รูปภาพประกอบ 4 0.00 ดี 6. ความเหมาะสมของปริมาณข้อมูลที่น้าเสนอในแต่ละหน้าจอ 4.4 0.49 ดี 7. ความเหมาะสมของต้าแหน่งการจัดวางส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ 3.8 0.40 ดี 8. ความเหมาะสมของต้าแหน่งในการกรอกข้อมูล 4.4 0.49 ดี

จากตารางที่ 4.22 พบว่า ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี และพบว่าระบบมีความเหมาะสมของการใช้สีพื นหลัง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5 รองลงมาคือ ระบบใช้งานง่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.8 และอันดับสามคือ ระบบแสดงผลข้อความได้อย่างชัดเจน ปริมาณข้อมูลที่น้าเสนอแต่ละจอภาพมีความเหมาะสม การจัดวางต้าแหน่งการกรอกข้อมูลมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.4 ตารางที่ 4.23 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test)

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิภาพ แปลผล ค่าเฉลี่ย

(�̅�) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ความสามารถในการเข้าใช้งานตามสิทธิ์ของผู้ใช้ 4.2 0.4 ระดับด ี2. ความเหมาะสมในการก้าหนดรหัสผู้ใช้ (Username) 4.4 0.49 ระดับด ี3. การตรวจสอบความถูกต้องในการล็อกอิน (Login) เข้าใช้

งานโปรแกรม 3.8 0.4 ระดับด ี

4. การเตือนเมื่อพบข้อผิดพลาดในการใช้งานโปรแกรม 3.6 0.49 ระดับด ี

Page 39: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

29

จากตารางที่ 4.23 พบว่า ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี โดยระบบมีการก้าหนดรหัสผู้ใช้งานได้อย่างเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.4 รองลงมาคือ ระบบสามารถก้าหนดสิทธิการเข้าใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.2 และ ระบบสามารถตรวจสอบความถูกต้องของการล็อกอินเข้าใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.8 นอกจากนี แล้ว ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ใช้ ได้แก่ ผู้บริหาร รองคณบดี ประธานหลักสูตรและอาจารย์ โดยการประเมินคุณภาพ ประเมินความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ดังตารางที ่4.24 – 4.26 ตารางท่ี 4.24 ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ระบบ

สถานภาพทั่วไป จ านวน (%) ต าแหน่ง ผู้บริหาร 46.7 อาจารย์ 53.3 เพศ ชาย 30 หญิง 70 อาย ุ 20 -25 ปี 0 26 – 30 ปี 20.0 31 – 35 ปี 76.7 36 - 40 ปี 3.3 มากกว่า 40 ปี 20.0 หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร 26.7 คณะวิทยาการจัดการ 30.0 คณะครุศาสตร์ 20.0 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 23.3 ประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ น้อยกว่า 1 ปี 1 – 2 ปี 3.3 3 – 5 ปี 46.7 มากกว่า 5 ปี 50.0

Page 40: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

30

จากตารางที่ 4.24 ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จ้านวนร้อยละ 53.3 และมีต้าแหน่งเป็นผู้บริหารจ้านวนร้อยละ 46.7% และเป็นเพศหญิง จ้านวนร้อยละ 70 เพศชาย จ้านวนร้อยละ 30 นอกจากนี แล้วพบว่าผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31 – 35 ปี จ้านวนร้อยละ 76.7 สังกัดคณะวิทยาการจัดการ จ้านวนร้อยละ 30 และส่วนใหญ่มีประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มากกว่า 5 ปี จ้านวน ร้อยละ 50 ตารางที่ 4.25 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิผล แปลผล ค่าเฉลี่ย (�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ช่วยในการท้ารายการเอกสารต่างๆ ของท่าน

4.00 0.26 ดี

2. การดาวน์โหลด การอัพโหลด การตรวจสอบ เสร็จสมบูรณ์ภายใต้ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

4.00 0.00 ดี

3. การเพ่ิ ม ลบ และแก้ ไขข้ อมู ล สามารถด้าเนินการได้ถูกต้อง

3.97 0.18 ดี

4. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถเสนอแนะข้อคิดเห็นไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้สอน ประธานหลักสูตร เป็นต้น

4.00 0.00 ดี

5. หน้าจอแสดงผลภายในระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ง่ายต่อการเรียนรู้

3.97 0.41 ดี

6. แถบเมนู ของระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ใช้งานง่าย

4.00 0.37 ดี

7. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ให้ความปลอดภัยในข้อมูลและรายการที่ท่านได้ด้าเนินการกรอกไว้

3.90 0.40 ดี

8. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความปลอดภัยในข้อมูลส่วนบุคคล

4.00 0.26 ดี

Page 41: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

31

ตารางที่ 4.25 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้ (ต่อ)

รายการประเมิน คะแนนประสิทธิผล แปลผล ค่าเฉลี่ย (�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

9. ท่านพอใจกับความสามารถของระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ที่สามารถจัดเก็บ แสดงผลและรายงานผลได้อย่างถูกต้อง

4.00 0.00 ดี

10.ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความน่าเชื่อถือด้านข้อมูลที่น้าเสนอ

4.03 0.18 ดี

11.ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถบูรณาการข้อมูลจากระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ ในมหาวิทยาลัย

3.10 0.40 ดี

12.ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถตอบสนองการด้าเนินงานแบบทันทีทันใด

4.90 0.31 ดีมาก

13.ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีรูปแบบของการกรอกข้อมูลและเนื อหาที่ใช้งานง่าย

3.13 0.43 ปานกลาง

14.โดยรวมแล้วระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ใช้งานง่าย

4.03 0.18 ดี

15.ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ให้ความส้าคัญกับการส่งข้อมูลรายบุคคล เช่น ข้อเสนอแนะที่แสดงเป็นรายบุคคล

4.00 0.26 ดี

จากตารางที่ 4.25 พบว่า ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

สามารถตอบสนองการด้าเนินงานแบบทันทีทันใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.90 รองลงมาคือ ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความน่าเชื่อถือด้านข้อมูลที่น้าเสนอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 และผลการประเมินส่วนใหญ่พบว่า ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00

Page 42: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

32

ตารางที่ 4.26 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้

รายการประเมิน คะแนนความพึงพอใจ แปลผล ค่าเฉลี่ย (�̅�)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝒔. 𝒅

1. ท่านมีความพึงพอใจต่อการท้างานของระบบที่มีข้อความ ค้าสั่ง ชัดเจน และง่ายต่อการใช้งาน

3.90 0.48 ดี

2. ท่านมีความพึงพอใจต่อข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง ทันสมัย

3.93 0.37 ดี

3. ท่ า น มี ค ว า ม พึ งพ อ ใจ ต่ อ ร ะ บ บ ที่ ช่ ว ย เ พ่ิ มประสิทธิภาพในการท้างานและมีประโยชน์ในการใช้งาน

4.00 0.37 ดี

4. ท่านมีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบ ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา

3.97 0.18 ดี

5. ท่านมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ

3.97 0.18 ดี

6. ท่านมีความพึงพอใจต่อการสืบค้นที่ตรงกับความต้องการ

3.13 0.43 ปานกลาง

7. ท่านมีความพึงพอใจต่อการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว

3.43 0.57 ปานกลาง

8. ท่านมีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก้าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล

4.47 0.51 ดี

9. ท่านมีความพึงพอใจต่อการป้องกันความผิดพลาดของระบบการใช้งาน

3.63 0.56 ดี

10. ภาพรวมทั งหมดท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใด 3.63 0.49 ดี

จากตารางที่ 4.26 พบว่า ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 อยู่ในระดับดี โดยเมื่อพิจารณาพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก้าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล สูงเป็นอับดับหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 รองลงมาคือ ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการท้างานและมีประโยชน์ในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และอันดับสามพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา และมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97

Page 43: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอ้เสนอแนะ

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

ได้ด าเนินการพัฒนาระบบโดยใช้ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ SDLC และเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถสรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะดังนี้

สรุป

ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งเท่ากับ 4.78 และเมื่อพิจารณาด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี ด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดีมากด้านความง่ายต่อการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี และด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ผลการประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้ พบว่าสามารถตอบสนองการด าเนินงานแบบทันทีทันใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.90 รองลงมาคือ ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความน่าเชื่อถือด้านข้อมูลที่น าเสนอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 และผลการประเมินส่วนใหญ่พบว่า ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 อยู่ในระดับดี โดยเมื่อพิจารณาพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล สูงเป็นอับดับหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 รองลงมาคือ ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานและมีประโยชน์ในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และอันดับสามพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา และมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97

Page 44: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

34

อภิปรายผล

ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบ ได้แก่ ประกอบด้วย รองคณบดี ประธานหลักสูตร อาจารย์ นักวิชาการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับ แสงเพ็ชร พระฉาย (2557). ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา กล่าวว่าระบบสารสนเทศควรแบ่งการปฏิบัติงานเป็น 9 โมดูล คือ 1) โมดูลสิทธิผู้ใช้งาน 2) โมดูลการสื่อสาร 3) โมดูลผู้สอน 4) โมดูลผู้เรียน 5) โมดูลผู้ประกอบการหรือพ่ีเลี้ยง 6) โมดูลรายละเอียดหลักสูตร 7) โมดูลรายละเอียดและผลการด าเนินการของรายวิชา 9) โมดูลผลการด าเนินการหลักสูตร

โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับหนึ่งเท่ากับ 4.78 และเมื่อพิจารณาด้านความถูกต้องของระบบที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี ด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ตามฟังก์ชันงาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดีมาก ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ดี และด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอกชัย สังข์ทอง ที่ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ท าให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว (เอกชัย สังข์ทอง, 2554)

และจากผลการประเมินคุณภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยผู้ใช้ พบว่าสามารถตอบสนองการด าเนินงานแบบทันทีทันใด มีผลการประเมินอยู่ ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.90 รองลงมาคือ ระบบการจัดการหลักสู ตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความน่าเชื่อถือด้านข้อมูลที่น าเสนอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 และผลการประเมินส่วนใหญ่พบว่า ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 โดยผู้วิจัยมุ่งพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาระยะที่ 1 โดยใช้หลักการบูรณาการข้อมูลจากระบบสารสนเทศที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัย ท าให้สารสนเทศที่ถูกน าเสนอนั้นมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ซึ่งได้พัฒนาระบบบูรณาการสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายโดยใช้แบบจ าลององค์ประกอบเว็บเซอร์วิส โดยใช้การบูณาการข้อมูลสารสนเทศบุคลากรเพ่ือให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานที่มีระบบต่างกันสามารถท างานร่วมกันได้อย่างอัตโนมัติ (มานพ สุวรรณกูฎ, 2551) และผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 อยู่ในระดับดี โดยเมื่อพิจารณาพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล สูงเป็นอับดับหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 รองลงมาคือ ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานและมีประโยชน์ในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และ

Page 45: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

35

อันดับสามพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบที่สามารถเข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา และมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของคมสันต์ รีตานนท์ ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บส าหรับการประกันคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการวิจัยตามขั้นตอนการพัฒนาระบบเช่นเดียวกัน คือ วางแผน วิเคราะห์ ออกแบบ สร้าง พัฒนา ทดสอบระบบ และได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศกับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ผลการวิจัยพบว่า ระบบสารสนเทศครอบคลุมการด าเนินงานด้านปัจจัยน าเข้า ปัจจัยประมวลผล และปัจจัยแสดงผล โดยผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศอยู่ในระดับ ดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 (คมสันต์ รีตานนท์, 2550)

ข้อเสนอแนะ

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 โดยใช้หลักการบูรณาการข้อมูลจากระบบบริการการศึกษาและระบบบุคลากรนั้นเป็นการใช้ข้อมูลจากแหล่งภายนอกซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ทุกส่วน จึงควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบฐานข้อมูลจากต้นทาง โดยจะต้องสามารถเชื่อมต่อและพร้อมใช้งานไดท้ันท ี

Page 46: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

ภาคผนวก

Page 47: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

38

ภาคผนวก 1 ผลลัพธ์ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ระยะที่ 1

การก าหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน

ผู้ดูแลระบบจะท าหน้าที่ก าหนดสิทธิให้กับผู้ใช้งาน ได้แก่ ผู้บริหารระดับคณะ ประธานหลักสูตร ส าหรับอาจารย์ผู้สอนจะมีสิทธิตามรายวิชาที่สอนในแต่ละภาคเรียนตามระบบบริการการศึกษา (EDU) เป็นผู้ก าหนด

ภาพตัวอย่างการก าหนดสิทธิผู้บริหารระดับคณะ

ภาพตัวอย่างการก าหนดสิทธิผู้รับผิดชอบหลักสูตร

Page 48: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

39

การจัดการ มคอ. การจัดการเก่ียวกับหลักสูตร ประกอบด้วย มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร

ภาพแท็บแสดง มคอ.2

ภาพการบูรณาการค าอธิบายรายวิชา

Page 49: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

40

ภาพการก าหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน

ภาพการก าหนดความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

Page 50: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

41

ภาพการแนบเอกสารการปรับเปลี่ยนแก้ไข เช่น เอกสาร สมอ.08

ภาพการบูรณาการรายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตรจากระบบบุคลากร

Page 51: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

42

ภาพเมนกูารจัดการ มคอ.3

ภาพรายชื่อวิชาในแต่ละภาคการศึกษา

ภาพรายชื่อวิชาในแต่ละภาคการศึกษา

Page 52: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

43

ภาพรายละเอียดการส่ง มคอ.3

ภาพตัวอย่างรายงาน มคอ.3

Page 53: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

44

ภาพตัวอย่างรายงาน มคอ.3

ภาพรายละเอียดการบันทึกแผนการสอนและการประเมินผล

Page 54: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

45

ภาพรายละเอียดวิธีการประเมิน

รายละเอียดการบันทึก มคอ.

ภาพรายละเอียดการส่ง มคอ.

Page 55: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

46

ภาพรายละเอียดการส่ง มคอ.

ภาพรายงานสรุปข้อมูลการบันทึก มคอ.

ภาพรายละเอียด มคอ.7

Page 56: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

47

ภาพรายละเอียด มคอ.7

ภาพรายละเอียดสรุปผลรายวิชา มคอ.7

Page 57: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

48

ภาพรายละเอียดสรุปผลรายวิชา มคอ.7

รายละเอียดการกระจายของระดับคะแนน

Page 58: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

49

ภาพรายละเอียดการแสดงผลการประเมิน บูรณาการกับระบบ MIS ของผู้สอน

Page 59: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

50

ภาคผนวก 2

แบบประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

(ส าหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ)

............................................................................................................................. ...................................

ค าชี้แจง : แบบประเมินนี้ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบ

สารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 แบ่งออกเป็น 3 ตอน

ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบที่ได้พัฒนาขึ้นตามแบบ

ประเมินระบบด้วยรูปแบบ Black Box Testing 4 ด้าน คือ

2.1 ด้าน Functional Test เป็นการประเมินความถูกต้องและประสิทธิภาพในการ

ท างานของระบบว่าสามารถท างานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบมากน้อยเพียงใด

2.2 ด้าน Usability Test เป็นการประเมินลักษณะการออกแบบระบบว่ามีความ

ง่ายต่อการใช้งานมากน้อยเพียงใด

2.3 ด้าน Result Test เป็นการประเมินด้านผลลัพธ์ที่ได้จากระบบว่ามีมากน้อย

เพียงใด

2.4 ด้าน security Test เป็นการประเมินระบบในด้านการรักษาความปลอดภัยของ

ข้อมูลในระบบว่ามีมากน้อยเพียงใด

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม

ผู้วิจัยขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญท่ีกรุณาสละเวลาในการประเมินระบบ

คณะผู้วิจัย

Page 60: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

51

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ

ค าชี้แจง : โปรดเขียนรายละเอียดของท่าน

1) ชื่อ – นามสกุล............................................................................................... ...........................

2) ต าแหน่ง................................................................ ....................................................................

3) คุณวุฒิทางการศึกษา.................................................................................................. ...............

4) ประสบการณ์การท างานในต าแหน่ง.............................................................................. ..........

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบ

ค าชี้แจง : กรุณาท าเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน โดยมีเกณฑ์การ

พิจารณาดังนี้

หมายเลข 5 เห็นด้วยว่ามีประสิทธิภาพในระดับมากท่ีสุด

หมายเลข 4 เห็นด้วยว่ามีประสิทธิภาพในระดับมาก

หมายเลข 3 เห็นด้วยว่ามีประสิทธิภาพในระดับปานกลาง

หมายเลข 2 เห็นด้วยว่ามีประสิทธิภาพในระดับน้อย

หมายเลข 1 ไม่เห็นด้วย

2.1 การประเมินระบบด้าน (Function Test)

รายการประเมิน ระดับประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ระบบสามารถจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานได้ครบถ้วน 2. ระบบสามารถแก้ไข ลบ ข้อมูลพื้นฐานของได้ครบถ้วน 3. ความถูกต้องในการค้นหาข้อมูล 4. ความถูกต้องในการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล 5. ความถูกต้องในการลบข้อมูล 6. ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล 7. ความถูกต้องของผลลัพธ์ในรูปแบบรายงาน 8. ความน่าเชื่อถือได้ของระบบ 9. ระบบครอบคลุมการท างานจริง 10. การป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น

Page 61: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

52

2.2 การประเมินระบบการออกแบบระบบว่ามีความง่ายต่อการใช้งาน (Usability Test)

รายการประเมิน ระดับประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ความง่ายในการใช้งาน 2. ความชัดเจนของข้อความที่แสดงบนจอภาพ 3. ความเหมาะสมของการใช้สีของตัวอักษร 4. ความเหมาะสมของการใช้สีพื้นหลัง 5. ความเหมาะสมของการใช้รูปภาพประกอบ 6. ความเหมาะสมของปริมาณข้อมูลที่น าเสนอในแต่ละหน้าจอ 7. ความเหมาะสมของต าแหน่งการจัดวางส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ 8. ความเหมาะสมของต าแหน่งในการกรอกข้อมูล

2.3 การประเมินด้านผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม (Result Test)

รายการประเมิน ระดับประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ผลลัพธ์ในการเพิ่มข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 2. ผลลัพธ์ในการลบข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 3. ผลลัพธ์ในการแก้ไขข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 4. ผลลัพธ์ในการค้นหาข้อมูลของระบบมีความถูกต้อง 5. ผลลัพธ์ที่ได้ช่วยในการประสานงานระหว่างกลุ่มผู้ใช้ระบบได้ 6. ผลลัพธ์ในการออกรายงานของระบบมีความถูกต้อง 7. ผลลัพธ์ที่ได้ช่วยงานการลดระยะเวลาในการท างานได้ 8. ผลลัพธ์ที่ได้จากรายงานช่วยในการวางแผนการท างานได้

2.4 การประเมินระบบด้านการรักษาความปลอดภัย (Security Test)

รายการประเมิน ระดับประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

1. ความสามารถในการเข้าใช้งานตามสิทธิ์ของผู้ใช้ 2. ความเหมาะสมในการก าหนดรหัสผู้ใช้ (Username)

Page 62: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

53

รายการประเมิน ระดับประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1

3. การตรวจสอบความถูกต้องในการล็อกอิน (Login) เข้าใจงานโปรแกรม

4. การเตือนเมื่อพบข้อผิดพลาดในการใช้งานโปรแกรม

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม

............................................................................................................................. ...................................

................................................................................................ ................................................................

............................................................................................................................. ...................................

............................................................................................................................................................. ...

............................................................................................................................. ...................................

Page 63: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

54

แบบประเมินคุณภาพระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

(ส าหรับผู้ใช้)

......................................................................................................................................................

ค าชี้แจง: แบบประเมินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศบริหารจัดการ

หลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List)

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้ใช้เกี่ยวกับคุณภาพของระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระยะที่ 1

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List)

ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย ที่ตรงกับสถานภาพของท่าน

1. สถานะ ผู้บริหาร อาจารย์

2. เพศ ชาย หญิง

3. อายุ 20 -25 ปี 26 – 30 ปี 31 – 35 ปี

36 - 40 ปี มากกว่า 40 ปี

4. หน่วยงานที่สังกัด คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

คณะวิทยาการจัดการ

คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

5. ประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

น้อยกว่า 1 ปี 1 – 2 ปี 3 – 5 ปี

มากกว่า 5 ปี

Page 64: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

55

ตอนที่ 2 คุณภาพของระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย ในช่องท่ีตรงกับระดับความคิดเห็นของท่าน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ หมายเลข 5 เห็นด้วยในระดับมากที่สุด หมายเลข 4 เห็นด้วยในระดับมาก หมายเลข 3 เห็นด้วยในระดับปานกลาง หมายเลข 2 เห็นด้วยในระดับน้อย หมายเลข 1 ไม่เห็นด้วย

รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1

1. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ช่วยในการท ารายการเอกสารต่างๆ ของท่าน

2. การดาวน์โหลด การอัพโหลด การตรวจสอบ เสร็จสมบูรณ์ภายใต้ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1

3. การเพิ่ม ลบ และแก้ไขข้อมูล สามารถด าเนินการได้ถูกต้อง 4. ท่านสามารถร้องขอสารสนเทศที่จ าเป็นส าหรับการจัดการหลักสูตรได้ตรงตามต้องการ 5. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถเสนอแนะ

ข้อคิดเห็นไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้สอน ประธานหลักสูตร เป็นต้น

6. ระบบการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีการแบ่งปันสารสนเทศที่จ าเป็นส าหรับการจัดการหลักสูตรของท่าน

7. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ให้ความปลอดภัยในข้อมูลและรายการที่ท่านได้ด าเนินการกรอกไว้

8. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความปลอดภัยในข้อมูลส่วนบุคคล

9. ท่านพอใจกับความสามารถของระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ท่ีสามารถจัดเก็บ แสดงผลและรายงานผลได้อย่างถูกต้อง

10. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีความน่าเช่ือถือด้านข้อมูลที่น าเสนอ

11. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถบูรณาการข้อมูลจากระบบสารสนเทศอ่ืน ๆ ของมหาวิทยาลัย

12. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 สามารถตอบสนองการด าเนินงานแบบทันทีทันใด

13. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 มีรูปแบบของการกรอกข้อมูลและเนื้อหาที่ใช้งานง่าย

14. โดยรวมแล้วระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ใช้งานง่าย

Page 65: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

56

รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1

15. ระบบการจัดการหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ให้ความส าคัญกับการส่งข้อมูลรายบุคคล เช่น ข้อเสนอแนะที่แสดงเป็นรายบุคคล

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อระบบสารสนเทศบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1 ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจท่าน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ หมายเลข 5 พึงพอใจระดับมากท่ีสุด หมายเลข 4 พึงพอใจระดับมาก หมายเลข 3 พึงพอใจระดับปานกลาง หมายเลข 2 พึงพอใจระดับน้อย หมายเลข 1 พึงพอใจระดับน้อยที่สุด

รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1

1. ท่านมีความพึงพอใจต่อการท างานของระบบที่มีข้อความ ค าสั่ง ชัดเจน และง่ายต่อการใช้งาน

2. ท่านมีความพึงพอใจต่อข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง ทันสมัย 3. ท่านมีความพึงพอใจต่อระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานและ

มีประโยชน์ในการใช้งาน

4. ท่านมีความพึงพอใจต่อการเข้าถึงระบบ ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา

5. ท่านมีความพึงพอใจต่อรายละเอียดที่ครอบคลุมถึงสิ่งที่ต้องการ 6. ท่านมีความพึงพอใจต่อการสืบค้นที่ตรงกับความต้องการ 7. ท่านมีความพึงพอใจต่อการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว 8. ท่านมีความพึงพอใจต่อการจัดระดับความปลอดภัยหรือก าหนดสิทธิ์ใน

การเข้าถึงข้อมูล

9. ท่านมีความพึงพอใจต่อการป้องกันความผิดพลาดของระบบการใช้งาน 10. ภาพรวมทั้งหมดท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใด

Page 66: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

ประวัติผู้วิจัย

1. นายไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร หัวหน้าโครงการวิจัย

Mr.Graitapon Termwitkhajorn

เลขประจ าตัวประชาชน 3959900551571

ต าแหน่งปัจจุบัน นักวิชาการคอมพิวเตอร์

หน่วยงานสังกัด งานระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร

ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

อีเมล์: [email protected]

โทรศัพท:์ 092-8276175

ประวัติการศึกษา

2545 ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระ

จอมเกล้าพระนครเหนือ

2558 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (MIT :

Management Information Technology) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ จ .

สงขลา

สาขาวิชาการที่มีความช านาญพิเศษ

IT, Web Apps Developer

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

2557 ระบบสารสนเทศการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ภาควิชาวิทยาศาสตร์

ประยุกต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Page 67: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

58

2. ดร.ศิริชัย นามบุรี ผู้ร่วมวิจัย

Dr. Sirichai Namburi

เลขประจ าตัวประชาชน 3610400305932

ต าแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจ าสาขาคอมพิวเตอร์, รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยี

สารสนเทศ

หน่วยงานสังกัด ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ภ า ค วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ป ร ะ ยุ ก ต์

คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

อีเมล์: [email protected], [email protected]

เว็บไซต์: http://ict-bl.blogspot.com

โทรศัพท:์ 08-4196-8099

ประวัติการศึกษา

ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. 2530)

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ (พ.ศ.

2537)

ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.) สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (พ.ศ. 2542)

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

พระนครเหนือ (พ.ศ. 2552)

สาขาวิชาการที่มีความช านาญพิเศษ

คอมพิวเตอร์ศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่าย สารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ

การศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการศึกษา ระบบอีเลิร์นนิ่ง

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

ศิริชัย นามบุรี และคณะ. (2556). รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมกันผ่านเว็บบล็อกและ

เครือข่ายสังคมออนไลน์สอนทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ส าหรับครูผู้สอน

Page 68: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

59

ภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในสามจังหวัดชายแดนใต้. ส านักงาน

กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ศิริชัย นามบุรี. (2555). การพัฒนาระบบบริหารจัดการคลังปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ศิริชัย นามบุรี. (2555). ผลการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐานในระบบอีเลิร์นนิ่ง

รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ . คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

และการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ศิริชัย นามบุรี. (2554). การพัฒนาสารานุกรมออนไลน์มัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลา. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ศิริชัย นามบุรี . (2552). การพัฒนาระบบบริหารจัดการวารสารวิชาการออนไลน์

กรณีศึกษาวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 239

หน้า.

ศิริชัย นามบุรี มูนีเร๊าะ ผดุง และจันทนา มีชัยชนะ. (2552). ความพร้อมของนักศึกษาและ

อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาที่มีต่อการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง.

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ศิริชัย นามบุรี. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของ

ผู้เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนปกติและบทเรียนส าเร็จรูปใน

สภาพแวดล้อมแบบอีเลิร์นนิ่งผ่านMoodle LMS. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลา, 248 หน้า.

Page 69: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

60

3. ดร.นิมารูนี หะยีวาเงาะ ผู้ร่วมวิจัย

Miss Nimarunee Hayeewangah

เลขหมายบัตรประจ าตัวประชาชน

3950300096247

ต าแหน่งปัจจุบัน

อาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัย

หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร

133 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000

โทรศัพท์ 080-8714720

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

สาขาวิชาการที่มีความช านาญพิเศษ

การออกแบบการสอน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

นิมารูนี หะยีวาเงาะ และณมน จีรังสุวรรณ. 2556. การวิเคราะห์ช่องว่างด้านความสามารถ

ไอซี ทีส าหรับบุคลากรมหาวิทยาลั ยราชภัฏยะลา . วารสารศึกษาศาสต ร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี , ปีท่ี 24 ฉบับท่ี 1 (มกราคม –

เมษายน2556).

นิมารูนี หะยีวาเงาะ และคณะ . 2555. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตาม

อัธยาศัยในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปัตตานี, ปีท่ี 23 ฉบับท่ี 3 (กันยายน –ธันวาคม 2555).

Nimarunee Hayeewangah and Namon Jeerungsuwan. 2013. Human Performance

Technology in ICT of Thai Higher Education Lecturers. The Asian

Conference on Society, Education and Technology 2013. Osaka Japan

23-27October 2013

Page 70: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

61

นิมารูนี หะยีวาเงาะ และคณะ. 2553. ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อ

การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดน

ภาคใต้ : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (ผู้ร่วมวิจัย)

นิมารูนี หะยีวาเงาะ และคณะ. 2551 การตอบรับจากภาคประชาชนต่อการจัดต้ังศูนย์กลาง

อิสลามศึกษานานาชาติในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (ผู้ร่วมวิจัย)

Page 71: รายงานวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร ...wb.yru.ac.th/bitstream/yru/236/1/3ไกรทพนธ์

บรรณานุกรม

คมสันต์ รีตานนท์ (2550). การพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บส าหรับการประกันคุณภาพการศึกษา, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มณีรัตน์ ภารนันท์ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์และณมน จีรังสุวรรณ (2557). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้แบบผลลัพธ์เป็นฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของคณาจารย์สาขาคอมพิวเตอร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มานพ สุวรรณกูฎ (2551). ระบบบูรณาการสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายโดยใช้แบบจ าลององค์ประกอบเว็บเซอร์วิส. การศึกษาอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล. การพัฒนาระบบสารสนเทศ. [ออนไลน์] 2552. [สืบค้นวันที่ 9 มีนาคม 2559]. จาก http://ltt.edu.ku.ac.th/LTT4/22Ebook/MIS_pdf/B11.pdf

แสงเพ็ชร พระฉาย (2557).การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสารคาม

โสภิษฐ์ อ่อนแก้ว. ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการความรู้ส าหรับองค์การภาครัฐ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร, [ม.ป.ป.]

เอกชัย สังข์ทอง (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา(มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา) กรณีศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โอภาส เอ่ียมสิริวงศ์. ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (Management Information System : MIS). กรุงเพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.

Laudon, K.C. and Laudon, J.P. Essentials of management information systems : Organization and technology in the enterprise. 4thed. Upper Saddle River, NJ :Prentice Hall, 2011