แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf ·...

175
1 แบบทดสอบกอนเรียน 1. หลักการบริหารราชการไทย มีอะไรบาง ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 2. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินมีกี่สวน อะไรบาง ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 3. การบริหารราชการสวนทองถิ่นแบงออกเปนกี่รูปแบบ อะไรบาง ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 4. การบริหารราชการสวนทองถิ่น อะไรเปนนิติบุคคล ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................

Transcript of แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf ·...

Page 1: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

1

แบบทดสอบกอนเรียน

1. หลักการบริหารราชการไทย มีอะไรบาง

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

2. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินมีกี่สวน

อะไรบาง

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

3. การบริหารราชการสวนทองถิ่นแบงออกเปนกี่รูปแบบ อะไรบาง

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

4. การบริหารราชการสวนทองถิ่น อะไรเปนนิติบุคคล

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

Page 2: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

2

5. การควบคุมโดยองคการอิสระตาม พ.ร.บ. พ.ศ. 2540 มีอะไรบาง

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

6. บอกแนวทางการแกไขปญหาในการบริหารราชการสวนภูมิภาค

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

7. การบริหารราชการของ อ.บ.ต. มีหลักการและปฏิบัติอยางไร

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

8. การบริหารราชการแผนดินแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

Page 3: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

3

9. การปฏิบัติราชการแทน หมายความวาอยางไร

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

10. การรักษาราชการแทน หมายความวาอยางไร

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

Page 4: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

4

บทที่ 1

การบริหารราชการแผนดิน

สาระสําคัญ

รูเขาใจ การจัดระเบียบการปกครองในสมัยตาง ๆ ตามยุคตามสมัย รวมทั้งการจัดระเบียบบริหาร

ราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น และการปกครองทองที่

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

เมื่อศึกษาจบบทแลวคาดหวังวาผูเรียนจะสามารถ

1. เขาใจในระบบการบริหารราชการของไทย ต้ังแตสมัยอดีตจนถึงปจจุบัน

2. สามารถอธิบายการจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น และการ

ปกครองทองที่ได

ขอบขายเน้ือหา

เร่ืองที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการปกครองของไทย

1.1 การจัดระเบียบการปกครองของไทย

1.2 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง

1.3 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค

1.4 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น

1.5 การปกครองทองที่

Page 5: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

5

เร่ืองที่ 1 ความรูทั่วไปเก่ียวกับการปกครองของไทย

1.1. การจัดระเบียบการปกครองของไทย

การจัดระเบียบการปกครองของรัฐ หรือเรียกวา การจัดระเบียบบริหารราชการของประเทศตาง ๆ น้ัน

จะเปนไปในรูปแบบใดก็สุดแลวแตสภาพการณของประเทศในชวงระยะเวลาน้ัน ซึ่งตามธรรมดามักจะเกี่ยวกับ

สถานการณทางการเมือง และขีดความรูความสามารถของพลเมืองในการที่จะปกครองตนเองเปนสําคัญ

ทั้งน้ีอาจจะมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองมาจากรูปแบบด้ังเดิมตามประเพณีการปกครอง

ของประเทศน้ัน ๆ ต้ังแตสมัยโบราณสําหรับประเทศไทยนับต้ังแตชนชาติไทยไดรวมตัวกันเปนปกแผน

และต้ังราชธานีอยูที่กรุงสุโขทัยต้ังแตปพุทธศักราช 1800 เปนตนมา ไดมีรูปแบบการปกครองที่วิวิวัฒนาการ

มาเปนลําดับจวบจนกระทั่งในปจจุบันน้ี

ประวัติและพัฒนาการของการบริหารราชการไทย

1. การบริหารราชการสมัยสุโขทัย

สมัยสุโขทัย มีการบริหารแบบพอปกครองลูก พระมหากษัตริยอยูในฐานะพอ และ

ผูปกครองตาง ๆ อยูในฐานะลูก เปนลักษณะการปกครองแบบครอบครัว

สภาพเศรษฐกิจ เนนการประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม มีการคาที่มีชื่อเสียงมาก คือ การคา

เคร่ืองสังคโลกเปนหลัก

สภาพสังคม มีการแบงชั้นกันอยางหลวม ๆ เพียงเพื่อใหแตละคนมีหนาที่รับผิดชอบในสังคม

เทาน้ัน

โครงสรางการบริหารราชการไทยสมัยกรุงสุโขทัย จะแบงออกเปนชั้น ๆ คือ

1. ราชธานี (เมืองหลวง) ปกครองโดยพระมหากษัตริย

2. เมืองอุปราช ปกครองโดยอุปราช ซึ่งเปนผูที่จะดํารงตําแหนงพระมหากษัตริยตอไป

เมืองลูกหลวงหรือเมืองหนาดาน จะต้ังอยูรอบราชธานี ทั้ง 4 ทิศ ใชเวลาเดินเทา 2 วัน หรือ ระยะทาง

50 กม. มีเชื้อพระวงศปกครอง

3. เมืองพระยามหานคร เปนหัวเมืองชั้นนอก หรือหัวเมืองใหญ ๆ มีเชื้อพระวงศหรือขุนนาง

ผูใหญ เปนผูปกครอง

4. เมืองประเทศราช เมืองที่อยูนอกราชอาณาจักร และมีชาวเมืองเปนชาวตางชาติ

หลักการบริหารราชการสมัยสุโขทัย

1. การใชอํานาจบริหาร มี 2 ลักษณะคือ ในราชธานีหรือหัวเมืองชั้นใน ใชการบริหาร

แบบรวมอํานาจ คือ รวมอํานาจไวที่สวนกลาง เมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราช ใชการบริหาร

แบบการกระจายอํานาจ

Page 6: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

6

2. นโยบายในการบริหาร ใชหลักสําคัญ ๆ คือ การใชประโยชนจากลัทธิวิญญาณนิยมหรือการ

นับถือผี กลาวคือ การนับถือผีจะทําใหคนมีความเชื่อรวมกันทําใหประชาชนมีความเปนอันหน่ึงอัน

เดียวกัน การใชพระพุทธศาสนาเปนเคร่ืองชวยในการปกครอง ใชศาสนาในการอบรมสั่งสอนซึ่งศาสนา

จะมีความเปนเหตุเปนผลมากกวาการนับถือผี การใชหลักการ ธรรมราชา เปนเคร่ืองชวยในการ

ปกครอง กลาวคือเปนหลักการที่เนนเกี่ยวกับการพระพุทธศาสนา เชน การสรางพระพุทธรูป เปนตน

ชนชั้นทางสังคม

1. ชนชั้นปกครอง พระมาหากษัตริย พระบรมวงศศานุวงศ ขุนนาง ขาราชการ

2. ชนชั้นใตปกครอง ไพร พวกขา หรือทาส

3. พวกนักบวชทางศาสนา

ความสัมพันธระหวางชนชั้นในสังคม

1. ความสัมพันธในกลุมชนชั้นปกครอง ใชระบบเครือญาติในการปกครอง ทําใหความสัมพันธ

แนนแฟน

2. ความสัมพันธระหวางชนชั้นปกครองกับชนชั้นใตปกครอง จะยึดถือคําสั่งชนชั้นปกครอง

อยางเครงครัดเฉพาะในชวงศึกสงคราม ในยามปกติจะปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดีของประเทศ

3. ความสัมพันธระหวางพวกนักบวชทางศาสนากับชนชั้นปกครองและชนชั้นใตปกครอง

พวกนักบวชอยูในฐานะตัวเชื่อมความสัมพันธของทั้งสองชนชั้น

2. การบริหารราชการไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา

ลักษณะการบริหาร เปนแบบเทวสิทธิ์ เทวราชา ความสัมพันธอยูในรูปแบบเจากับขา หรือ

นายกับบาว โดยไดแนวความคิดตามคติขอม ซึ่งไดมาจากอินเดียอีกตอหน่ึง

สภาพเศรษฐกิจ ขึ้นอยูกับการทําเกษตร การทํานา และพืชผลตาง ๆ

สภาพสังคม เปนสังคมที่มีกฎเกณฑมากมาย ประชาชนทุกคนตองมีนาย มีการแบงชนชั้น

ทางสังคม หรือ ระบบ ศักดินา (การใชที่ดินเปนเกณฑการวัดทางสังคม) ศักดินา หมายถึง อํานาจเหนือนา

ความสัมพันธระหวางประเทศ มีเพื่อนบานที่สําคัญคือ พมา เขมร ญวน มลายู สวนใหญความสัมพันธ

ในรูปของการทําสงคราม โดยเฉพาะกับพมา

โครงสรางของการบริหารราชการไทยสมัยอยุธยา

มีการเปลี่ยนแปลงสําคัญ ๆ 3 คร้ัง คร้ังสําคัญ คือ คร้ังสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงยกเลิก

จตุสดมภ ยกเลิกเมืองลูกหลวงเปนหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก

Page 7: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

7

หลักการบริหารราชการไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ

1. แบบรวมอํานาจ ใชกับราชธานีและหัวเมืองชั้นใน มีพระมหากษัตริยทรงดําเนินการบริหาร

ราชการ

2. แบบแบงอํานาจ ใชกับหัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) ชนชั้นทางสังคม

ชนชั้นทางสังคมในสมัยกรุงศรีอยุธยา

1. พระมหากษัตริย

2. ชนชั้นมูลนาย

3. ชนชั้นพิเศษ (สมณะชีพราหมณและชาวตางประเทศที่เปนพอคา)

4. ชนชั้นไพรและทาส (ไพรหลวง ไพรสม)

3. การบริหารราชการไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร

การบริหารราชการไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนยังคงเปนแบบสมัยกรุงศรีอยุธยา

จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ไดมีการปฏิรูประบบราชการใหม

ตามแบบประเทศตะวันตก เพื่อความเปนปกแผนและมั่นคงของประเทศชาติ

โครงสรางการบริหารราชการไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร

ไดมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในสมัยรัชกาลที ่5 โดยแยกการบริหารราชการทหารกับพลเรือน

ออกจากกัน และจัดระเบียบการบริหารราชการสวนกลางออกเปนกระทรวงตามลักษณะงาน จัดราชการ

สวนภูมิภาคเปนมณฑลเทศาภิบาล เพื่อควบคุมดูแลการบริหารหัวเมืองใหใกลชิดยิ่งขึ้น

หลักการบริหารราชการในสมัยรัตนโกสินทร

ใชวิธีการบริหารแบบรวมอํานาจในราชการสวนกลาง แบบแบงอํานาจในราชการสวนภูมิภาค

และแบบกระจายอํานาจในราชการสวนทองถิ่น โดยใหประชาชนมีสวนชวยในการบริหารราชการดวย

สวนพฤติกรรมการบริหารราชการมุงพัฒนาประเทศใหเจริญ และเปนการสรางความมั่นคงใหกับ

ประเทศชาติ

ลักษณะทั่วไปของการบริหารราชการไทยในสมัยรัชกาลที่ 5

เหตุในการปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 5

1. ปญหาการคุกคามและความมั่นคงอธิปไตย

2. ปญหาการลาหลังของระบบราชการ

3. ปญหาการจัดภาษีอากรและการคลัง

4. ปญหาการลาสมัยของระบบกฎหมายและการศาล

Page 8: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

8

5. ปญหาการขาดประสิทธิภาพของระบบทหารแบบเดิม

6. ปญหาการควบคุมกําลังคนในระบบไพร

7. ปญหาการมีทาส

8. ปญหาดานการศึกษาและการพัฒนาคน

ลักษณะการบริหารราชการ

1. การบริหารราชการสวนกลาง

2. การบริหารราชการสวนภูมิภาค จัดใหมีการบริหารงานแบบเทศาภิบาล

3. การบริหารราชการสวนทองถิ่น จัดใหมีการบริหารงานแบบสุขาภิบาล

สภาพเศรษฐกิจ อาศัยธรรมชาติและยึดเกษตรกรรมเปนหลัก

สภาพสังคม รัชกาลที่ 5 ไดทรงยกเลิกระบบทาสและไพร มีการจัดการศึกษาอยางกวางขวาง

ความสัมพันธระหวางประเทศ

มีการสรางความสัมพันธกับตางประเทศอยางกวางขวาง

โครงสรางของการบริหารราชการในสมัยกรุงรัตนโกสินทร (สมัยรัชกาลท่ี 5 )

1. จัดต้ังสภาที่ปรึกษาพระมหากษัตริย มี 2 สภาคือ

1.1 สภาที่ปรึกษาราชการแผนดิน

1.2 สภาที่ปรึกษาในพระองค

2. การบริหารราชการสวนกลาง แบงออกเปนกระทรวงทั้งหมด 12 กระทรวง

3. การบริหารราชการสวนภูมิภาค

4. การบริหารราชการสวนทองถิ่น

5. แยกการบริหารราชการทหารกับพลเรือนออกจากกัน โดยการจัดต้ังกระทรวง

กลาโหมดูแลทหาร และกระทรวงมหาดไทยดูแลหัวเมืองตาง ๆ

ลักษณะท่ัวไปของการบริหารราชการไทยตามรัฐธรรมนูญปจจุบัน

พระมหากษัตริยทรงใชอํานาจนิติบัญญัติรวมกับสภาผูแทนราษฎร ทรงใชอํานาจบริหารรวมกับ

คณะกรรมการราษฎร และทรงใชอํานาจตุลาการทางศาล สภาพเศรษฐกิจ มีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติขึ้น

เมื่อกรุงสุโขทัยเสื่อมอํานาจลง ชนชาติไทยไดมีราชธานีแหงใหม โดยไดสถาปนากรุงศรีอยุธยา

ขึ้นเปนราชธานี ในปพุทธศักราช 1893 ลักษณะการปกครองไดเปลี่ยนแปลงไปตามคติศาสนาพราหมณ

ซึ่งไทยไดรับมาจากเขมรในขณะน้ัน กลาวคือ พระมหากษัตริยพระราชอํานาจเปนลนพน การจัดการ

ปกครองในสวนกลางแบงออกเปน 4 กรม ที่เรียกวาจตุสดมภ โดยแตละกรมใหมีเสนาบดีเปนผูปกครอง

บังคับบัญชา คือ

Page 9: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

9

เมือง รับผิดชอบการปกครองทองที่ ดูแลทุกขสุขของประชาชนและรักษาความสงบ

เรียบรอย

วัง รับผิดชอบเกี่ยวกับราชสํานัก และรักษาพระราชวัง

คลัง รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดเก็บรายได เงินผลประโยชนของแผนดินและการเบิกจาย

พระราชทรัพยทั้งสวนพระองคและสวนราชการโดยทั่วไป

นา รับผิดชอบเกี่ยวกับไรนา รับผิดชอบเกี่ยวกับไรนา และตระเตรียมสะสมเสบียงอาหาร

เพื่อการสงคราม

สําหรับวิธีการปองกันอาณาเขต ไดขยายเขตการปกครองราชธานีกวางขวางออกไป โดยรอบ

กําหนดบรรดาเมืองซึ่งอยูในราชธานีเปนเมืองชั้นจัตวา ขึ้นอยูในอํานาจของเจากระทรวงตาง ๆ ที่อยูใน

ราชธานี หัวเมืองชั้นนอกซึ่งอยูภายนอกของราชธานีออกไปจัดเปนเมืองชั้นเอก โท ตรี ตามขนาดและ

ความสาํคัญของเมือง ซึ่งพระเจาแผนดินทรงแตต้ังพระราชวงศหรือขาราชการชั้นสูงไปปกครอง สวนหัวเมือง

ตอไปซึ่งตางชาติตางภาษาอยูในชายแดนตอประเทศอ่ืนใหเปนเมืองประเทศราช มีเจานายของชนชาติน้ัน

ปกครองตามจารีตประเพณีของชนชาติน้ัน สวนการปกครองทองที่ภายในเขตเมืองหน่ึง ๆ น้ัน การ

ปกครองเร่ิมต้ังแต “บาน” มีผูใหญบานผูปกครองหลายบานรวมกันเปน “ตําบล” มีกํานันเปนผูปกครอง

หลายตําบลรวมกันเปนแขวง มีหมื่นแขวงเปนผูปกครอง หลายแขวงรวมกันเปนเมือง มีผูร้ังหรือพระยาม

หานครเปนผูปกครอง

วิธีการปกครองที่ไดปรับปรุงขึ้นในระหวางพุทธศักราช 1991 - 2072 ในสมัยกรุงศรีอยุธยา

ไดใชเปนหลักของวิธีการปกครองประเทศสืบมา จะแกไขก็เปนเพียงสวนยอยตัวหลักวิธียังคงใชอยูจนถึง

สมัยกรุงรัตนโกสินทร

ตอมาในปพุทธศักราช 2435 ในสมัยรัชการที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร ทรงมองเห็นความจําเปน

ที่จะตองแกไขระบบบริหารราชการแผนดินใหเหมาะสมแกกาลสมัย จึงไดมีพระบรมราชโองการประกาศต้ัง

กระทรวงแบบใหม สําหรับการปกครองสวนกลาง โดยจัดสรรอํานาจและหนาที่ความรับผิดชอบ ของกระทรวง

ใหเปนสวนสัดสาํหรับวิธีการปกครองอาณาเขตไดกําหนดใหอยูในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย

โดยไดทรงมอบหมายให สมเด็จฯกรมพระยาดํารงเดชานุภาพเปนองคปฐมเสนาบดี ดําเนินการจัดรูปแบบ

การปกครองในสวนภูมิภาคที่เรียกวา “เทศาภิบาล” ขึ้น โดยจัดแบงหัวเมืองออกเปนมณฑล เมือง และ

อําเภอ ซึ่งมีสมุหเทศาภิบาล ผูวาการเมือง และนายอําเภอ เปนผูปกครองบังคับบัญชาขาราชการและดูแล

ทุกขสุขของประชาชนในเขตทองที่นั้น ๆ และอนุโลมจัดทองที่ในการปกครองคลายคลึงกับรูปแบบ

ที่มาแตโบราณ คือ ตําบล หมูบาน โดยมีกํานัน และผูใหญบาน เปนผูชวยเหลือปฏิบัติงานในระดับดังกลาว

ขณะเดียวกันก็ไดเร่ิมจัดใหมีการปกครองตนเองของประชาชนในรูปของทองถิ่นเปนการทดลองเปนคร้ังแรก

ทั้งน้ี นับต้ังแตสมัยน้ันเปนตนมา กระทรวงมหาดไทยจึงเปนกระทรวงหลักที่รับผิดชอบดูแลการปกครอง

ในสวนภูมิภาคและทองถิ่นของประเทศมาจนกระทั่งทุกวันน้ี

Page 10: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

10

โครงสรางการบริหารที่ไดจัดวางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังคงใชกันเร่ือยมา โดยมีการเปลี่ยนแปลง

บางเพียงเล็กนอย จนกระทั่งถึงปพุทธศักราช 2475 ประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก

สมบูรณาญาสิทธิราชมาเปนระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ซึ่งก็ไดมีการปรับปรุง

ระเบียบราชการบริหารของประเทศใหเหมาะสมกับสภาพสังคมและความจําเปนของบานเมือง โดยไดมี

กฎหมายเปลี่ยนรูปการจัดระเบียบราชการบริหารเสียใหม ใหมีการกระจายอํานาจปกครองใหทองถิ่นดวย

การจัดระเบียบการปกครองของไทยในปจจุบัน อาจแยกออกเปน

ก. อํานาจในการอํานวยการปกครอง ไดแก อํานาจของรัฐ หรือคณะรัฐมนตรี ในการกําหนด

แนวนโยบายตาง ๆ ของรัฐ เพื่อใหประเทศชาติมีความเจริญกาวหนาและประชาชนมีความเจริญอยาง

ผาสุก ทั้งน้ี การไดมาซึ่งอํานาจการปกครองและวิธีการใชอํานาจปกครองเปนไปตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งได

กําหนดแนวทางหรือวิธีปฏิบัติอยูบนพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย

เปนประมุข

ข. อํานาจในการดําเนินการปกครอง ไดแก อํานาจของกระทรวง ทบวง กรม ที่จะดําเนินการ

ปฏิบัติหรือบริหารใหเปนไปตามนโยบายที่รัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีกําหนดตามกฎหมายวาดวยการจัด

ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ทั้งน้ีในปจจุบัน คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.

2534 ซึ่งเปนกฎหมายที่วางหลักใหญ ๆ ในการบริหารราชการของประเทศ โดยไดแบงราชการบริหาร

ออกเปน 3 สวน คือ

1. ราชการบริหารสวนกลาง

2. ราชการบริหารสวนภูมิภาค

3. ราชการบริหารสวนทองถิ่น

1.2. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดการจัด

ระเบียบบริหารราชการสวนกลางไวดังน้ี

1. สํานักนายกรัฐมนตรี

2. กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง

3. ทบวง ซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง

4. กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสํานัก

นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง

การบริหารราชการสวนกลาง

การบริหารราชการสวนกลางเปนการบริหารแบบรวมอํานาจการบริหารทรัพยากรในการบริหาร

มี 4 ประการคือ คน เงิน วัตถุ สิ่งของ และวิธีการจัดการหลักการบริหารมี 3 หลักคือ

Page 11: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

11

1. หลักการรวมอํานาจในการบริหาร เปนการรวมอํานาจไวที่สวนกลาง เชน กระทรวง ทบวง

กรม

2. หลักการแบงอํานาจในการบริหาร เปนการที่สวนกลางมอบอํานาจในการวินิจฉัยแกไขปญหา

บางอยางโดยการสงเจาหนาที่จากสวนกลางไปปฏิบัติหนาที่ (จังหวัด, อําเภอ)

3 หลักการกระจายอํานาจการบริหาร เปนการที่รัฐโอนอํานาจในการบริหารกิจการบางประเภท

ใหแกองคกรในเขตพื้นที่ตาง ๆ ในการดําเนินการโดยตรง โดยมีอิสระไมขึ้นตรงตอหนวยงานสวนกลาง

การปฏิรูประบบราชการในสมัยรัชกาลที่ 5 เน่ืองจากบานเมืองไดรับแรงกดดันจากลัทธิจักรวรรดินิยม

และการลาอาณานิคมจากตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษ ฝร่ังเศส ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ

บานเมืองที่มีความเจริญมากขึ้น มีประชากรมากขึ้น มีการจัดต้ังกระทรวงขึ้นมาทั้งหมด 12 กระทรวง

(สวนกลาง) สวนภูมิภาค มีการปรับปรุงการปกครองสวนอําเภอใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

สวนทองถิ่น มี 2 รูปแบบ คือ 1. สุขาภิบาลกรุงเทพ 2. สุขาภิบาลหัวเมือง

การจัดระเบียบการบริหารราชการสวนกลาง

1. สํานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเปนกระทรวง)

2. กระทรวง หรือทบวงที่มีฐานะเทียบเทากระทรวง

3. กรมหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอ่ืนที่มีฐานะเปนกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสํานัก

นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง

การแบงสวนราชการภายในกระทรวง

1. สํานักงานรัฐมนตรี มีหนาที่เกี่ยวของกับราชการทางการเมืองของกระทรวง มีเลขานุการ

รัฐมนตรีดูแลรับผิดชอบขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง

2. สํานักงานปลัดกระทรวง มีหนาที่เกี่ยวของกับราชการทั่วไปของกระทรวงและราชการอ่ืน

ที่ไมไดกําหนดใหเปนหนาที่ของกรมใดกรมหน่ึงในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ

3. กรม มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับราชการสวนใดสวนหน่ึงของกระทรวงหรือตามกฎหมายวาดวย

อํานาจหนาที่ของกรม ทั้งน้ีอยูภายใตการรับผิดชอบของอธิบดี

อํานาจหนาท่ีของสํานักนายกรัฐมนตรี

มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับราชการของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหาร

งานทั่วไปเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และ

ราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย

การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การปฏิบัติภารกิจพิเศษ และราชการตามที่กฎหมาย

กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสํานักนายกรัฐมนตรี หรือสวนราชการที่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี

หรือที่มิไดอยูในอํานาจหนาที่ของกระทรวงใดโดยเฉพาะผูบังคับบัญชาสูงสุดคือนายกรัฐมนตรี

Page 12: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

12

หนวยงานภาครัฐที่เปนอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

1. คณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) ประกอบดวยประธาน 1 คน และกรรมการอีก 4 คน

พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังตามคําแนะนําของวุฒิสภา

2. ศาลปกครอง พิจารณาคดีขอพิพาทระหวางหนวยงานราชการ มีสํานักงานศาลปกครองและมี

เลขาธิการศาลปกครองเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอศาลปกครองสูงสุด

3. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) ประกอบดวย ประธาน

1 คน กรรมการ 8 คน พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังตามคําแนะนําของวุฒิสภา

4. ผูตรวจราชการแผนดินของรัฐสภา มีไดไมเกิน 3 คน

5. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประกอบดวย ประธาน 1 คน และกรรมการอีก 10 คน

6. ศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาขอกฎหมายวาขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม ประกอบดวย ประธาน

ศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอีก 14 คน รวม 15 คน ดํารงตําแหนงคร้ังละ 9 ป

วาระเดียว

7. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประกอบดวย ประธาน 1 คน กรรมการอีก 9 คน อยูในวาระ

ได 6 ป วาระเดียว

การปฏิรูปจัดระเบียบการบริหาราชการสวนกลาง

1. การปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสรางสวนราชการหรือที่รัฐบาลประกาศเปนนโยบาย

2. มุงเนนการปราบปรามการทุจริตและการประพฤติมิชอบในการปฏิบัติราชการ

3. การมุงเนนใหรัฐบาลกาวสูการเปนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส

4. การจัดทําระบบการทํางบประมาณแบบใหมในระบบราชการ

5. การแบงอํานาจจากราชการสวนกลางไปสูสวนภูมิภาคและการกระจายอํานาจใหสวนราชการ

ทองถิ่น

6 การสรางขวัญกําลังใจและแรงจูงใจแกขาราชการ

1.3. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค

การบริหาราชการสวนภูมิภาคเปนการจัดระเบียบบริหารแบบการแบงอํานาจจากสวนกลางใหแก

สวนภูมิภาคเปนผูดําเนินการแทน มีความสําคัญในฐานะเปนกลไกทางการเมืองและเปนกลไกทางการ

บริหารราชการ ลักษณะสําคญัของการบริหารคือ เปนการแบงอํานาจการตัดสินใจจากสวนกลางในดาน

การบริหารองคกร การบริหารงานบุคคล และการบริหารงบประมาณ ภายใตหลักเกณฑที่เปนพื้นฐานและ

หลักเกณฑประกอบ

การจัดระเบียบการบริหารราชการสวนภูมิภาคหมายถงึการบริหารราชการระดับจังหวัด การบริหาร

ราชการระดับอําเภอ

Page 13: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

13

ปญหาการบริหารราชการสวนภูมิภาคมี 4 ประการ คือ

1. ปญหาที่เกิดจากแนวคิดการบริหารราชการสวนภูมิภาค

2. ปญหาที่เกิดจากโครงสรางการบริหาร เชน ความไมชัดเจนของบทบาทหนาที่ ลักษณะ

ของการรวมอํานาจไวที่สวนกลาง การเนนวิธีการมากกวาเปาหมาย สายการบังคับบัญชาจากบนลงลาง

ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชา

3. ปญหาที่เกิดจากพฤติกรรมของขาราชการสวนภูมิภาค เชน พฤติกรรมของขาราชการแต

ละคน ทัศนคติและคานิยมที่แตกตางกัน

4. ปญหาที่เกิดจากการนําเอาเทคนิคการจัดการมาประยุกตใชใหสอดคลองตอสถานการณ

เชน กระบวนการจัดการ หรือการบริหาร การบริหารแบบมีสวนรวม การนําเอาเทคนิคและวิทยาการ

สมัยใหมมาใช

หลักเกณฑสําคัญของการบริหารราชการสวนภูมิภาค

1. เกณฑพื้นฐาน หมายถึง องคประกอบอันเปนสาระสําคัญของหนวยบริหารราชการสวน

ภูมิภาคซึ่งหนวยการบริหารทุกรูปแบบในระดับภูมิภาคตองมีอยู ประเด็นในการพิจารณาฐานะของการ

บริหารราชการสวนภูมิภาค คือ การไมมีอํานาจอธิปไตยแหงรัฐ ทั้งน้ีเพราะอํานาจอธิปไตยดังกลาวเปน

ฐานะแหงอํานาจรัฐ

1.1 อํานาจอธิปไตยกับการจัดการปกครองภายในแหงรัฐ การใชอํานาจอธิปไตยจะ

ดําเนินการไดโดยรัฐ

1.2 องคประกอบของหนวยงานแหงรัฐ (คือจะมีองคประกอบเหมือนรัฐ) ประกอบดวย

1.2.1 ขอบเขตพื้นที่

1.2.2 ประชากร

1.2.3 องคการ

1.2.4 อํานาจหนาที่

2. หลักเกณฑประกอบ หมายถึง ขอบเขตการศึกษาหนวยการบริหารราชการสวนภูมิภาคน้ัน

สามารถมองเห็นองคประกอบสวนอ่ืนที่มีอยูในหนวยการปกครองในรูปแบบตาง ๆ กัน และสวนประกอบ

เหลาน้ีเองที่ทําใหเกิดสภาพแหงการหลากหลายของหนวยการบริหารราชการสวนภูมิภาค องคประกอบ

ที่ทําใหเกิดความแตกตางกันมี 2 รูปแบบ คือ

2.1 การจัดทําบริการสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมอ่ืน ๆ ที่มีลักษณะเปนสาธารณะซึ่งมีขอบเขต

กวางขวางมาก เชน กิจกรรมดานความปลอดภัยของชุมชน กิจกรรมดานสาธารณสุข และสวัสดิการสังคม

กิจกรรมดานการศึกษาและสันทนาการ กิจกรรมดานการโยธาและโครงการชุมชนในชนบท กิจกรรมดาน

การวางแผน การวางผังเมือง หรือการกําหนดนโยบายใชพื้นที่บริเวณตาง ๆ

Page 14: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

14

ราชการสวนภูมิภาค หมายถึง ราชการของกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ซึ่งไดแบงแยกออก

ไปดําเนินการในเขตการปกครองของประเทศ เพื่อสนองความตองการของประชาชนในเขตการปกครอง

น้ัน ๆ โดยมีเจาหนาที่ของราชการสวนกลางซึ่งไดรับการแตงต้ังออกไปประจําในพื้นที่การปกครองตาง ๆ

ในสวนภูมิภาคเปนผูปฏิบัติราชการ โดยอยูใตการบังคับบัญชาของราชการสวนกลางที่ไดแบงมอบหมาย

ใหไปดําเนินการแทน เน่ืองจากราชการสวนกลางมีงานกวางขวาง การมีสํานักงานกลางที่จัดต้ังเปน

กระทรวง ทบวง กรม อํานวยการอยูที่เมืองหลวงแหงเดียวไมอาจอํานวยประโยชนใหประชาชนไดทั่วถึง

จึงตองแยกสาขาออกไปต้ังปฏิบัติราชการอยูตามพื้นที่ตาง ๆ

โดยทั่วไปแลว ราชการสวนภูมิภาคมีลักษณะสําคัญที่พอจะสรุปไดดังน้ี

1. การปกครองแบบราชการสวนภูมิภาค เปนการแบงอํานาจการปกครองจากสวนกลาง

ใหแกผูแทนราชการบริหารสวนกลางซึ่งประจําอยูในสวนภูมิภาค มิใชเปนการกระจายอํานาจปกครอง

2. เจาหนาที่ในสวนภูมิภาคยังอยูภายใตอํานาจบังคับบัญชาของสวนกลาง โดยเฉพาะใน

เร่ืองการแตงต้ัง ถอดถอน มีวินัยเปนเคร่ืองบังคับ และผูมีอํานาจบังคับบัญชามีความรับผิดชอบในราชการ

ที่ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติไปตามคําสั่งของตนทุกประการ

3. ราชการสวนภูมิภาคไดรับมอบอํานาจในการวินิจฉัยสั่งการเฉพาะบางเร่ือง บาง

ประการเทาน้ัน ราชการสวนกลางมีอํานาจที่จะเปลี่ยนแปลงแกไขคําวินิจฉัยสั่งการของสวนภูมิภาคได

ฉะน้ัน ผูมีอํานาจสั่งการขั้นสุดทายก็คือ ราชการสวนกลางน่ันเอง

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 51 บัญญัติไววาใหจัด

ระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค ดังน้ี

1. จังหวัด

2. อําเภอ

สําหรับ กิ่งอําเภอ ตําบลและหมูบาน น้ัน มิไดมีการกําหนดใหเปนราชการบริหารสวน

ภูมิภาคตามกฎหมายน้ีแตอยางใด

จังหวัด

จังหวัดมาจากการรวมทองที่หลาย ๆ อําเภอ ต้ังขึ้นเปนจังหวัด แตกฎหมายมิไดกําหนดเปนการ

แนนอนวาจะตองมีจํานวนกี่อําเภอ จังหวัดหน่ึง ๆ จะมีจํานวนมากนอยเทาใดยอมขึ้นอยูกับลักษณะ

ภูมิศาสตรความเปนมาทางประวัติศาสตรและความจําเปนทางการปกครองในปจจุบัน ปจจุบันมีจังหวัด

ทั้งหมด 77 จังหวัด (กรุงเทพมหานครไมนับเปนจังหวัดตามที่กลาวถึงน้ี แตจัดเปนหนวยการปกครอง

ทองถิ่นรูปแบบพิเศษ)

การต้ัง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดตองตราเปนพระราชบัญญัติ จังหวัดจึงมีฐานะเปนนิติ

บุคคล ทําใหมีสิทธิ อํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบตามกฎหมาย และสามารถทํานิติกรรม หรือ

ดําเนินคดีไดในนามของจังหวัด

Page 15: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

15

ก. การแบงสวนราชการของจังหวัด

การแบงสวนราชการของจังหวัด แบงออกเปน 2 สวนใหญ ๆ ดังน้ี

1. สํานักงานจังหวัด มีหนาที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัด มีหัวหนา

สํานักงานจังหวัดเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสํานักงาน

จังหวัด

2. สวนราชการประจําจังหวัด คือ สวนตาง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ไดต้ังขึ้นมีหนาที่

เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรม น้ัน มีหัวหนาสวนราชการประจําจังหวัดน้ัน ๆ เปน

ผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

อําเภอ

อําเภอเปนหนวยราชการสวนภูมิภาครองจากจังหวัด และไมมีฐานะเปน นิติบุคคลเหมือนจังหวัด

ประกอบขึ้นจากทองที่หลายตําบลรวมกันขึ้นเปนอําเภอ

การจัดตั้งอําเภอ

การจัดต้ังอําเภอจะตองกระทําโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา การต้ังอําเภอนอกจากจะอาศัยอํานาจ

ตามกฎหมายวาดวยการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดินแลว ยังตองดําเนินการใหเปนไปตาม

พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พุทธศักราช 2457 ดวย

ก. การแบงสวนราชการของอําเภอ

ในกฎหมายไดกําหนดการแบงสวนราชการในการบริหารราชการอําเภอออกเปน 2 สวน

1. สํานักงานอําเภอ มีหนาที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอําเภอน้ัน ๆ โดยมีนายอําเภอเปน

ผูปกครองบังคับบัญชาขาราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ สํานักงานอําเภอต้ังขึ้น เพื่อเปน

ศูนยกลางในการบริหารราชการของอําเภอ ทํานองเดียวกับสํานักงานจังหวัดของจังหวัด

2. สวนราชการประจําอําเภอ

สวนราชการประจําอําเภอ เปนไปตามที่ กระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ไดจัดต้ังขึ้นใน

อําเภอน้ัน โดยมีหัวหนาสวนราชการประจําอําเภอเปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสวนราชการน้ัน ๆ

และมีหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของกระทรวง ทบวง กรม น้ัน

สวนราชการประจําอําเภอหลัก ๆ ที่สําคัญและจําเปนจะตองมีนอกจากที่ทําการปกครอง

อําเภอแลว เชน สถานีตํารวจภูธรอําเภอ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

สํานักงานเกษตรอําเภอ ที่ทําการสัสดีอําเภอ เปนตน

Page 16: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

16

กิ่งอําเภอ

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 ไดกําหนดการจัดรูปการปกครอง

ในระดับภูมิภาคไวแคอําเภอ แตกิ่งอําเภอเปนรูปการปกครองที่ปรากฏอยูในพระราชบัญญัติลักษณะ

ปกครองทองที่ พุทธศักราช 2547

กิ่งอําเภอมีฐานะเปนสวนราชการที่มีเจาหนาที่ของรัฐไปปฏิบัติงานประจําอยูเปนสวนยอยของ

อําเภอ ตามความจําเปนในการปกครองการต้ังกิ่งอําเภอทําโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย

1.4 การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น

การปกครองทองถิ่นหรือการปกครองตนเอง ซึ่งมีอยู 4 ระดับ คือ

1. การปกครองตนเองแบบพิเศษ คือ การปกครองแบบกรุงเทพฯและการปกครองเมืองพัทยาซึ่ง

ผูวาและนายกพัทยามาจากการเลือกต้ังโดยตรงของประชาชน มีสภากรุงเทพฯซึ่งเปนตัวแทนของแตละ

เขต เปนการกํากับดูแลทําหนาที่เสมือนผูแทนราษฎรและมีสภาสมาชิก สภาเขต ซึ่งทําหนาที่ในการเปน

ฝายนิติบัญญัติของเขต หากแตหัวหนาเขตใน กทม. 52 เขต เปนขาราชการประจําของการปกครองสวน

ทองถิ่น

2. เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร ที่ต้ังอยูในจังหวัดและเทศบาลตําบลที่ต้ังอยูในอําเภอ หรือ

ตําบล ซึ่งทําหนาที่บริหารรับผิดชอบ ในพื้นที่ของตนเปนอิสระแตอยูภายใตการกํากับดูแลขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่น

3. องคการบริหารสวนจังหวัด ทําหนาที่ในการดูแลผลประโยชนของประชาชนที่อยูนอก

เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล ซึ่งเหมือนกับเปนการทับซอนการบริหาร สวนภูมิภาค การ

บริหารเทศบาลฯ

4. องคการบริหารสวนตําบล ซึ่ง มีการปกครองตนเองในระดับตําบลซึ่งมาจากการเลือกต้ัง

โดยตรง รวมทั้งสมาชิก อบต. 2 คน ในแตละหมูบาน

การบริหารกรุงเทพมหานครในปจจุบัน

เปนไปตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 ซึ่งประกอบดวย

1. สภากรุงเทพมหานคร

2. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร

3. เขตและสภาเขต

1. สภาเขตกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (กทม.) มีสภากรุงเทพมหานครที่มีสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) มาจาก

การเลือกต้ังจากประชาชนโดยตรง และประธานสภา กทม. 1 คน รองประธานสภา กทม. ไมเกิน 2 คน

ซึ่งสภา กทม. เลือกจากสมาชิกสภา โดยใหดํารงตําแหนงวาระละ 2 ป

Page 17: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

17

อํานาจหนาท่ีของสภากรุงเทพมหานคร

1. การตราขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร

2. ควบคุมการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร

3. ตราขอบังคับเกี่ยวกับจรรยาบรรณของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร

4. ตราขอบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและปฏิบัติหนาที่ของประธานสภา กทม. และ

รองประธานสภา กทม. ฯลฯ และกิจการอ่ืนอันเปนอํานาจหนาที่ของสภากรุงเทพมหานคร

2. เขตและสภาเขต

กรุงเทพมหานครแบงการปกครองออกเปนเขต ซึ่งปจจุบันมี 50 เขต มีฐานะคลายคลึงกับการ

ปกครองระดับอําเภอ ซึ่งแตละเขตจะจัดองคกรใน 2 สวน ประกอบดวย สํานักงานเขต และสภาเขต

อํานาจหนาท่ีของกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานครมีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการในเขตกรุงเทพมหานครที่บัญญัติไวในพระราช

บัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มาตรา 89 โดยตองปฏิบัติตามกฎหมายอ่ืน

ที่วาดวยเร่ืองน้ัน ๆ ดวย คือ

1. การรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน

2. การทะเบียนตามที่กฎหมายกําหนด

3. การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

4. การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

5. การผังเมือง

6. การจัดใหมีการบํารุงรักษาทางบก หรือทางนํ้าและทางระบายนํ้า

7. การวิศวกรรมจราจร

8. การขนสง

9. การจัดใหมีและควบคุมการตลาด ทาเทียบเรือ ทาขามและที่จอดรถ

10. การดูแลรักษาที่สาธารณะ

11. การควบคุมอาคาร

12. การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัย

13. การจัดใหมีและบํารุงรักษาที่พักผอนหยอนใจ

14. การพัฒนาและอนุรักษสิ่งแวดลอม

15. การสาธารณูปโภค

16. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล

17. การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

Page 18: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

18

18. การควบคุมการเลี้ยงสัตว

19. การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว

20. การควบคุมความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอยและอนามัยในโรงมหรสพ และ

สาธารณสถานอ่ืน ๆ

21. การจัดการศึกษา

22. การสาธารณูปการ

23. การสังคมสงเคราะห

24. การสงเสริมการกีฬา

25. การสงเสริมการประกอบอาชีพ

26. การพาณิชยของกรุงเทพมหานคร

27. หนาที่อ่ืน ๆ ตามที่กฎหมายระบุใหเปนอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด อําเภอ

เทศบาลนคร หรือตามที่คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย

หรือตามกฎหมายระบุใหเปนอํานาจหนาที่ของกรุงเทพมหานคร

การบริหารเมืองพัทยา

เมืองพัทยา ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา ป 2542 ไดกําหนดรูปแบบแตกตางไป

จากเดิม ตาม พ.ร.บ. เมืองพัทยา ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา ป 2521 มาเปนการเลือกต้ัง

นายกเมืองพัทยาโดยตรงจากประชาชน โครงสรางการบริหารเมืองพัทยา จึงประกอบดวย

1. สภาเมืองพัทยา

2. นายกเมืองพัทยา

1. สภาเมืองพัทยา ประกอบดวย สมาชิก จํานวน 24 คน อยูในวาระคราวละ 4 ป ซึ่งเลือกต้ังโดย

ราษฎรผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเมืองพัทยา และสภาเมืองพัทยาในเขตเมืองพัทยา และสภาเมืองพัทยาใหมี

ประธานเมืองพัทยา 1 คน รองประธานเมืองพัทยา 2 คน แลวเสนอผูวาราชการจังหวัดแตงต้ัง และใหมี

หนาที่ดําเนินการประชุมและดําเนินกิจการอ่ืน ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับเมืองพัทยา

2. นายกเมืองพัทยา ใหมาจากการเลือกต้ังโดยตรงจากประชาชนในเขตเมืองพัทยา ดํารงตําแหนง

คราวละ 4 ป และนายกพัทยาสามารถแตงต้ังรองนายกเมืองพัทยา จํานวนไมเกิน 4 คน

อํานาจหนาท่ีของเมืองพัทยา

(1) การรักษาความสงบเรียบรอย

(2) การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

(3) การคุมครองและดูแลรักษาทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน

(4) การวางผังเมืองและการควบคุมการกอสราง

Page 19: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

19

(5) การจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัยและการปรับปรุงแหลงทรุดโทรม

(6) การจัดการจราจร

(7) การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

(8) การกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล และการบําบัดนํ้าเสีย

(9) การจัดใหมีนํ้าสะอาดหรือการประปา

(10) การจัดใหมีการควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ และที่จอดรถ

(11) การควบคุมอนามัยและความปลอดภัยในรานจําหนายอาหาร โรงมหรศพ และสถานบริการอ่ืน

(12) การควบคุมและสงเสริมการทองเที่ยว

(13) การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

(14) อํานาจหนาที่อ่ืนตามกฎหมายกําหนดใหเปนของเทศบาลนครหรือเมืองพัทยา

การบริหารองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.)

องคการบริหารสวนจังหวัด หรือเรียกชื่อยอวา “อบจ.” ซึ่งในปจจุบัน อบจ. ถือเปนรูปแบบ

การปกครองทองถิ่นไทยรูปแบบหน่ึงที่มีความเปนมา และมีวิวัฒนาการการปรับปรุงแกไขตลอดมา

ตามลําดับ

พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 ไดแยกขาราชการสวนภูมิภาค ออกจากฝายบริหาร

ของ อบจ. (ซึ่งเดิมผูวาราชการจังหวัดเคยดํารงตําแหนงนายก อบจ.) มาให สภาจังหวัดเปนผูเลือกนายก

อบจ. ขึ้นทําหนาที่เปนฝายบริหาร

โครงสราง อบจ. ตาม พ.ร.บ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540

ซ่ึงถือวาเปนกฎหมาย อบจ. ฉบับลาสุดที่ใชอยูในปจจบุัน

1. โครสรางและองคประกอบของ อบจ. ประกอบดวย สภาองคการบริหารสวนจังหวัด (ฝายนิติบัญญัติ)

และนายกองคการบริหารสวนจังหวัด (ฝายบริหาร)

สภาองคการบริหารสวนจังหวัด

ในจังหวัดหน่ึงใหมีสภาองคการบริหารสวนจังหวัดอันประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎร

เลือกต้ังขึ้นตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาจังหวัด

สําหรับจํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดใหถือเกณฑตามจํานวนราษฎร

แตละจังหวัดตามหลักฐานทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการเลือกต้ัง

ใหสภาองคการบริหารสวนจังหวัดเลือกต้ังสมาชิกสภาเปนประธานสภา 1 คน และเปน

รองประธานสภา 2 คน

Page 20: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

20

2. อํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด

นับต้ังแตป 2540 อบจ. ไดปรับเปลี่ยนรูปแบบอํานาจหนาที่ไปจากเดิมโดยจะมีหนาที่เปนองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นในระดับจังหวัด ซึ่งเนนการประสานงานการพัฒนาระหวางองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น ในระดับตํ่ากวาภายในจังหวัด

พ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 45 ไดกําหนดอํานาจหนาที่ของ อบจ.

ไวดังน้ี

1. ตราขอบัญญัติโดยไมขัดหรือแยงตอกฎหมาย

2. จัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด และประสานการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด

ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

3. สนับสนุนสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอ่ืนในการพัฒนาทองถิ่น

4. ประสานและใหความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ของสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอ่ืน

5. แบงสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะตองแบงใหแกสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่น

6. อํานาจหนาที่ของจังหวัดตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 เฉพาะ

ในเขตสภาตําบล

7. คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8. จัดทํากิจการใด ๆ อันเปนอํานาจหนาที่ของราชการสวนทองถิ่นอ่ืนที่อยูในเขต อบจ. และ

กิจการน้ันเปนการสมควรใหราชการสวนทองถิ่นอ่ืนรวมกันดําเนินการหรือให อบจ. จัดทําตามที่กําหนด

ในกฎกระทรวง

9. จัดทํากิจการอ่ืน ๆ ที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ อบจ. เชน พ.ร.บ. กําหนดแผน

และขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542

นอกจากน้ี พ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 ยังกําหนดให อบจ. มีอํานาจออก

ขอบัญญัติเพื่อเก็บ

1. ภาษีบํารุง อบจ. จากสถานคาปลีกนํ้ามันเบนซิน นํ้ามันดีเซล และนํ้ามันที่คลายกัน และกาซ

ปโตรเลียมไมเกินลิตรละหาสตางค ยาสูบไมเกินมวนละหาสตางค

2. คาธรรมเนียมบํารุง อบจ. จากผูพักในโรงแรม ตามหลักเกณฑและอัตราที่กําหนดใน

กฎกระทรวง

3. ภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพิ่มขึ้นจากภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร คาธรรมเนียม

ใบอนุญาตขายสุราและใบอนุญาตเลนการพนันไมเกินรอยละสิบ

4. ภาษีมูลคาเพิ่ม เพิ่มขึ้นจากอัตราที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร กรณีที่ประมวลรัษฎากร

เก็บภาษีมูลคาเพิ่มในอัตรารอยละศูนย ให อบจ. เก็บในอัตรารอยละศูนย

Page 21: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

21

5. คาธรรมเนียมใด ๆ จากผูใชหรือไดรับประโยชนจากบริการสาธารณะที่ อบจ. จัดใหมีขึ้น

ตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

การกํากับดูแลองคการบริหารสวนจังหวัด

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับปจจุบัน ซึ่งมีผลใชบังคับต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม 2540 มี

เจตนารมณที่มุงเนนใหทองถิ่นมีความเปนอิสระในการบริหารกิจการตามอํานาจหนาที่ที่บัญญัติไวใน

กฎหมาย จึงมีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นในดานตาง ๆ ทั้งดาน

โครงสรางทางการบริหาร อํานาจหนาที่ รายได การบริหารงานบุคคล และการมีสวนรวมของประชาชน

ในการปกครองสวนทองถิ่น โดยสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับการ ปกครองทองถิ่น สรุปไดดังน้ี

(1) รัฐจะตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งตนเอง (ม. 78)

(2) รัฐตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามเจตนารมณของประชาชน (ม. 284)

(3) การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองทําเทาที่จําเปน (ม. 283)

(4) องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหลายยอมมีอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง

การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และมีอํานาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ (ม. 284)

(5) องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองประกอบดวยสภาทองถิ่นและคณะผูบริหารทองถิ่น หรือ

ผูบริหารทองถิ่น และตองมาจากการเลือกต้ังโดยตรงของประชาชน หรือมาจากความเห็นชอบของสภา

ทองถิ่น มีวาระคราวละ 4 ป (ม.285)

(6) ใหอํานาจราษฎรผูมีสิทธิเลือกต้ังในทองถิ่นสามารถถอดถอนผูบริหารหรือสมาชิกสภา

ทองถิ่น และสามารถขอใหสภาทองถิ่นออกขอบัญญัติทองถิ่นได (ม.286 - 287)

(7) ใหมีคณะกรรมการพนักงานสวนทองถิ่นในรูปแบบไตรภาคีทําหนาที่ใหความเห็นชอบการ

แตงต้ังพนักงานและลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนไปตามความตองการของทองถิ่น

(ม. 288)

(8) เพิ่มอํานาจใหทองถิ่นมีหนาที่บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นหรือวัฒนธรรม

อันดีของทองถิ่น และการสงเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (ม.289 - 290)

การบริหารองคการบริหารสวนตําบล

องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) มีวิวัฒนาการและความเปนมาเชนเดียวกับสภาตําบล เหตุที่มี

การจัดต้ังองคการบริหารสวนจังหวัดสวนตําบลขึ้นมาใหมน้ัน เน่ืองจากรัฐบาลในชวงเวลาดังกลาวมี

นโยบายที่จะกระจายอํานาจการปกครองไปสูประชาชนใหมากขึ้น จึงไดพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย

เกี่ยวกับ “สภาตําบล” ที่มีอยูแตเดิมเสียใหม และไดมีการประกาศใช พระราชบัญญัติสภาตําบลและ

องคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 โดยใหมีการยกฐานะสภาตําบลที่มีรายไดตามเกณฑที่กําหนดขึ้น

เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบใหม เรียกวา “องคการบริหารสวนตําบล” และตอมาไดมีการ

แกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติน้ีมาจนถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2543 องคการบริหารสวนตําบลมีฐานะเปนนิติ

บุคคล และเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น

Page 22: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

22

หลักเกณฑการจัดตั้ง

องคการบริหารสวนตําบลจัดต้ังจาก สภาตําบลที่มีรายไดไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณ

ที่ลวงมาติดตอกัน 3 ป เฉลี่ยไมตํ่ากวาปละ 150,000 บาท หรือตามเกณฑรายไดเฉลี่ยที่มีการเปลี่ยนแปลง

(ซึ่งทําเปนประกาศกระทรวงมหาดไทย และประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา) การประกาศยกฐานะ

สภาตําบล เปนองคการบริหารสวนตําบลตองทําเปน ประกาศกระทรวงมหาดไทย และประกาศลงใน

ราชกิจจานุเบกษา โดยในประกาศใหระบุชื่อและเขต ขององคการบริหารสวนตําบลไวดวย

รูปแบบการบริหาร

องคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวย สภาองคการบริหารสวนตําบลและฝายบริหารองคการ

บริหารสวนตําบล (นายกองคการบริหารสวนตําบล)

สภาองคการบริหารสวนตําบล

ประกอบดวย สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งเลือกต้ังขึ้นโดยราษฎรผูมีสิทธิเลือกต้ังใน

แตละหมูบานในเขตองคการบริหารสวนตําบลน้ัน จํานวนอยางนอยที่สุด 6 คน แตจะมีจํานวนมากเพียงใด

ขึ้นอยูกับจํานวนหมูบานในเขต ตามหลักเกณฑดังน้ี

จํานวนหมูบานในเขต อบต. จํานวนสมาชิกสภา อบต.

1 หมูบาน

2 หมูบาน

ต้ังแต 3 หมูบานขึ้นไป

หมูบานละ 6 คน

หมูบานละ 3 คน

หมูบานละ 2 คน

อํานาจหนาท่ีของสภาองคการบริหารสวนตําบล

1. ใหความเห็นชอบแผนพัฒนาตําบลเพื่อเปนแนวทางในการบริหารกิจการขององคการบริหาร

สวนตําบล

2. พิจารณาและใหความเห็นชอบรางขอบังคับตําบล รางขอบังคับงบประมาณรายจายประจําป

และรางขอบังคับงบประมาณรายจายเพิ่มเติม

3. ควบคุมการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารใหเปนไปตามนโยบายและแผนพัฒนาตําบล

ตามขอ 1 และกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับของทางราชการ

Page 23: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

23

การบริหารเทศบาล

เทศบาลถือวาเปนหนวยการปกครองสวนทองถิ่น ที่จัดต้ังขึ้นในเขตชุมชนที่มีความเจริญ และใช

ในการบริหารเมืองเปนหลัก ซึ่งหลายประเทศประสบความสําเร็จในการใช “เทศบาล” เปนเคร่ืองมือ

ที่สําคัญในการปกครองประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลาย สําหรับสังคมไทยเทศบาลเปน

รูปแบบการบริหารราชการสวนทองถิ่นในเขตชุมชนเมืองที่ใชมาต้ังแต พ.ศ. 2476 จนถึงปจจุบัน

(พ.ศ. 2542) เกือบ 66 ปแลว

หลักเกณฑการจัดตั้งเทศบาล

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ไดกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาจัดต้ังทองถิ่นใดขึ้นเปน

เทศบาลไว 3 ประการ ไดแก

1. จํานวนของประชากรในทองถิ่นน้ัน

2. ความเจริญทางเศรษฐกิจของทองถิ่น โดยพิจารณาจากการจัดเก็บรายไดตามที่กฎหมาย

กําหนด และงบประมาณรายจายในการดําเนินกิจการของทองถิ่น

3. ความสําคัญทางการเมืองของทองถิ่น โดยพิจารณาถึงศักยภาพของทองถิ่นน้ันวาจะสามารถ

พัฒนาความเจริญไดรวดเร็วมากนอยเพียงใด

จากหลักเกณฑดังกลาวขางตน กฎหมายไดกําหนดใหจัดต้ังเทศบาลขึ้นได 3 ประเภท ดังน้ี

1. เทศบาลตําบล กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดหลักเกณฑการจัดต้ังเทศบาลตําบลไวอยาง

กวางๆ ดังน้ี

1.1 มีรายไดจริงโดยไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณที่ผานมา ต้ังแต 12,000,000 บาท

ขึ้นไป

1.2 มีประชากรต้ังแต 7,000 คนขึ้นไป

1.3 ไดรับความเห็นชอบจากราษฎรในทองถิ่นน้ัน

2. เทศบาลเมือง มีหลักเกณฑการจัดต้ังดังน้ี

2.1 ทองที่ที่เปนที่ต้ังศาลากลางจังหวัดทุกแหง ใหยกฐานะเปนเทศบาลเมืองไดโดยไมตอง

พิจารณาถึงหลักเกณฑอ่ืน ๆ ประกอบ

2.2 สวนทองที่ที่มิใชเปนที่ต้ังศาลากลางจังหวัดจะยกฐานะเปนเทศบาลเมือง ตอง

ประกอบดวยหลักเกณฑดังน้ี

(1) เปนทองที่ที่มีพลเมืองต้ังแต 10,000 คนขึ้นไป

(2) มีรายไดพอแกการปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามที่กฎหมายกําหนดไว

(3) มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเปนเทศบาลเมือง

Page 24: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

24

3 เทศบาลนคร มีหลักเกณฑการจัดต้ังดังน้ี

3.1 เปนทองที่ที่มีพลเมืองต้ังแต 50,000 คน ขึ้นไป

3.2 มีรายไดพอแกการปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามที่กฎหมายกําหนดไว

3.3 มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเปนเทศบาลนคร

โครงสรางเทศบาล

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ไดแบงโครงสรางของเทศบาลออกเปน 2 สวน คือ สภา

เทศบาล และคณะเทศมนตรี

1. สรุปแบงหนาท่ีตามฐานะของเทศบาลไวดังน้ี

เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร

1. รักษาความสงบเรียบรอย

ของประชาชน

2. ใหมีและบํารุงทางบกและ

ทางนํ้า

3. รักษาความสะอาดของถนน

หรือทางเดิน และที่สาธารณะ

รวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอย

สิ่งปฏิกูล

4. ปองกันและระงับโรคติดตอ

5. ใหมีเคร่ืองใชในการดับเพลิง

6. ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม

หนาที่อ่ืน ๆ ซึ่งมีคําสั่ง

กระทรวงมหาดไทย หรือ

กฎหมายบัญญติใหเปนหนาที่

ของเทศบาล

มีหนาที่เชนเดียวกับเทศบาลตําบล

ตามขอ 1 - 7 และมีหนาที่เพิ่มอีก

ดังน้ี

1. ใหมีนํ้าสะอาดหรือการประปา

2. ใหมีโรงฆาสัตว

3. ใหมีและบํารุงสถานที่ทําการ

พิทักษและรักษา

4. ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า

5. ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ

6. ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสง

สวางโดยวิธีอ่ืน

7. ใหมีการดําเนินกิจการโรงรับ

จํานําหรือสถานสินเชื่อทองถิ่น

มีหนาที่เชนเดียวกับเทศบาลเมือง

ตามขอ 1 - 12 และมีหนาที่เพิ่มอีก

ดังน้ี

1. ใหมีและบํารุงการสงเคราะห

มารดาและเด็ก

2. กิจการอยางอ่ืน ซึ่งจําเปนเพื่อ

การสาธารณสุข

Page 25: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

25

2. อํานาจหนาท่ีท่ีจะเลือกปฏิบัติ

เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร

1. ใหมีนํ้าสะอาดหรือการประปา

2. ใหมีโรงฆาสัตว

3. ใหมีตลาดทาเทียบเรือและทาขาม

4. ใหมีสุสานและฌาปนสถาน

5. บํารุงและสงเสริมการทํามาหา

กินของราษฎร

6. ใหมีและบํารุงสถานที่ทําการ

พิทักษและรักษาคนเจ็บไข

7. ใหมีและบํารุงการไฟฟาและ

แสงสวางโดยวิธีอ่ืน

8. ใหมีและบํารุงทางระบายนํ้า

9. เทศพาณิชย

1. ใหมีตลาดทาเทียบเรือและทาขาม

2. ใหมีสุสานและฌาปนสถาน

3. บํารุงและสงเสริมการทํามาหากิน

ของราษฎร

4. ใหมีและบํารุงการสงเคราะห

มารดาและเด็ก

5. ใหมีและบํารุงโรงพยาบาล

6. ใหมีการสาธารณูปการ

7. จัดทํากิจกรรม ซึ่งจําเปนเพื่อ

การสาธารณสุข

8. จัดต้ังและบํารุงโรงเรียน

อาชีวศึกษา

9. ใหมีและบํารุงสถานที่สําหรับ

การกีฬาและพลศึกษา

10. ใหมีและบํารุงสวนสาธารณะ

สวนสัตว และสถานที่พักผอน

หยอนใจ

11. ปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรมและ

รักษาความสะอาดเรียบรอยของ

ทองถิ่น

12. เทศพาณิชย

มีหนาที่เชนเดียวกันกับเทศบาล

เมืองตามขอ 1 - 12

อํานาจหนาท่ีตามท่ีกฎหมายเฉพาะอื่น ๆ กําหนด

นอกจากอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 กําหนดไว แลวยังมีกฎหมาย

เฉพาะอ่ืน ๆ กําหนดใหเทศบาลมีอํานาจหนาที่ดําเนินกิจการใหเปนไปตามกฎหมายน้ัน ๆ อีกเปนจํานวนมาก

การบริหารงานของเทศบาล

การบริหารงาน ประกอบดวย คณะเทศมนตรี จะทําหนาที่เปนผูกําหนดนโยบายแนวทางการ

ปฏิบัติงานในการพัฒนาทองถิ่น จึงเห็นไดวาหนาที่สําคัญในการวางแผนดําเนินงาน ก็คือคณะเทศมนตรี

เปนผูรับผิดชอบควบคุมจัดทําใหเปนไปตามแผนน้ัน จึงเทากับวาคณะเทศมนตรีรับผิดชอบในดาน

Page 26: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

26

การวาง “นโยบาย” น่ันเอง เมื่อเปรียบเทียบกับการบริหารงานของรัฐบาลแลว คณะเทศมนตรีก็

เชนเดียวกับคณะรัฐมนตรี ซึ่งบริหารราชการดานนโยบาย สวนงานประจําทั้งหมดยอมอยูในความ

รับผิดชอบของปลัดเทศบาลหรือคลายกับปลัดกระทรวง

1.5 การปกครองทองท่ี

ความเปนมา

การจัดการปกครองทองที่ไดเร่ิมตนมาจากรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

รัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงมีพระราชดําริใหมีการฟนฟูการปกครอง ระดับหมูบานที่มาแตเดิมขึ้นใหม เพราะทรง

เล็งเห็นวาการปกครองในระดับน้ีจําเปนและสําคัญยิ่งในการบริหารราชการแผนดิน เน่ืองจากเปนหนวย

การปกครองที่ใกลชิดกับราษฎรมากที่สุด โดยไดทรงใหมีการทดลองจัดระเบียบการปกครองตําบล หมูบาน

ขึ้นที่อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ ร.ศ. 111 (พ.ศ. 2435) โดยใหราษฎรเลือกกันเองเปน

ผูใหญบานแทนการแตงต้ังโดยเจาเมืองดังแตกอน นับแตน้ันมาจึงไดมีการจัดระเบียบการปกครองตําบล

หมูบาน ตามหัวเมืองตาง ๆ โดยตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ ร.ศ. 116

ตอมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ไดมีการตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองทองที่ พุทธศักราช

2457 ขึ้นใชบังคับแทน และไดมีการใชสืบเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน

การจัดการปกครองทองท่ี

การจัดการปกครองทองที่ตามที่กําหนดไว พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พุทธศักราช

2457 ประกอบไปดวย

1. หมูบาน

2. ตําบล

3. กิ่งอําเภอ

4. อําเภอ

หมูบาน

ก. การจัดตั้งหมูบาน

หมูบานตามที่กําหนดไวในลักษณะปกครองทองที่ มี 2 ประเภท คือ หมูบาน ที่จัดต้ังขึ้นอยาง

เปนทางการ กับหมูบานที่จัดขึ้นเปนการชั่วคราว

1. หมูบานท่ีจัดข้ึนอยางเปนทางการ การจัดต้ังทําโดยประกาศจังหวัดภายใตหลักเกณฑดังน้ี

หลักเกณฑตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พุทธศักราช 2457 ตามกฎหมายวาดวยลักษณะ

ปกครองทองที่ที่ใชอยูปจจุบันน้ี ไดวางหลักเกณฑการต้ังหมูบานไวกวาง ๆ 2 ประการ คือ

1.1 ถาเปนที่มีคนอยูรวมกันมากถึงจํานวนบานนอย โดยถือเอาจํานวนคนเปนสําคัญ

ประมาณราว 200 คน เปนหมูบานหน่ึง

1.2 ถาเปนที่ผูคนต้ังบานเรือนอยูหางไกลกัน ถึงจํานวนคนจะนอย ถามีจํานวนบาน

ไมตํ่ากวา 5 บานแลว จะจัดเปนหมูบานหน่ึงก็ได

Page 27: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

27

2. หมูบานท่ีจัดข้ึนเปนการชั่วคราว

หมูบานชั่วคราว เปนหมูบานที่จัดต้ังขึ้นในกรณีที่ทองที่อําเภอใดมีราษฎรไปต้ังชุมชนทําการ

หาเลี้ยงชีพแตในบางฤดู และจํานวนราษฎรซึ่งไปต้ังทําการอยูมากพอสมควรจะจัดเปนหมูบานตาม

หลักเกณฑการต้ังหมูบานปกติได เพื่อความสะดวกแกการปกครอง ใหนายอําเภอประชุมราษฎรใน

หมูบานน้ัน ๆ เลือกผูใหญบาน มีอํานาจและหนาที่เหมือนผูใหญบานปกติ

ข. การจัดระเบียบการปกครองหมูบานตามกฎหมายลักษณะปกครองทองท่ี มีองคประกอบ

ที่สําคัญดังน้ี

1. ผูใหญบาน

2. ผูชวยผูใหญบาน

3. คณะกรรมการหมูบาน

ผูใหญบาน

ในหมูบานหน่ึงมีผูใหญบาน 1 คน ทําหนาที่ปกครองราษฎรในเขตหมูบาน โดยมีที่มาจากการ

เลือกของราษฎรในหมูบานน้ัน

ผูชวยผูใหญบาน

นอกจากจะมีผูใหญบานเปนผูปกครองหมูบานแลว ยังมีผูชวยผูใหญบานเปนผูชวยเหลือ

ผูใหญบาน

ประเภทของผูชวยผูใหญบาน มี 2 ประเภท คือ

1. ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง มีหมูบานละ 2 คน เวนแตหมูบานใดมีความจําเปนตองมี

มากกวา 2 คน ตองขออนุมัติกระทรวงมหาดไทย

2. ผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ หมูบานใดจะมีไดตองใหผูวาราชการจังหวัดเปนผูอนุมัติ

ตามจํานวนที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

คณะกรรมการหมูบาน

คณะกรรมการหมูบาน ประกอบดวย

1. ผูใหญบาน เปนประธานโดยตําแหนง

2. ผูชวยผูใหญบาน เปนกรรมการโดยตําแหนง

3. สมาชิกสภาองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนกรรมการโดยตําแหนง

4. ผูนําหรือผูแทนกลุมหรือองคกรในหมูบาน เปนกรรมการโดยตําแหนง

5. กรรมการหมูบานผูทรงคุณวุฒิจํานวน 2 - 10 คน โดยการเลือกของราษฎรในหมูบานอยูใน

ตําแหนงคราวละ 4 ป

Page 28: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

28

หนาท่ีของคณะกรรมการหมูบาน

1. ชวยเหลือแนะนําใหคําปรึกษาแกผูใหญบานเกี่ยวกับกิจการอันเปนอํานาจหนาที่ของ

ผูใหญบานและปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนของทางราชการหรือที่นายอําเภอ

มอบหมายหรือผูใหญบานรองขอ

2. เปนองคกรหลักที่รับผิดชอบในการบูรณาการจัดทําแผนพัฒนาหมูบานและบริหารจัดการ

กิจกรรมที่ดําเนินงานในหมูบานรวมกับองคกรอ่ืนทุกภาคสวน

การควบคุมดูแล

ใหนายอําเภอมีอํานาจหนาที่ควบคุมดูแล การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการหมูบาน และมติ

ที่ประชุมประชาคมหมูบานใหเปนไปตามกฎหมายระเบียบขอบังคับของทางราชการและใหปลัดอําเภอ

ประจําตําบลเปนผูชวยเหลือนายอําเภอในการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ของนายอําเภอในตําบลที่รับผิดชอบ

ค. การจัดระเบียบหมูบานตามกฎหมายจัดระเบียบบริหารหมูบานอาสาพัฒนาและปองกัน

ตนเอง

นอกจากการบริหารหมูบานตามกฎหมายลักษณะปกครองทองที่แลว ยังมีการบริหารหมูบาน

ในแบบ หมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง (หมูบาน อพป.) ซึ่งเปนไปตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบ

บริหารหมูบานอาสาพัฒนาและปองกันตนเอง พ.ศ. 2522

1. การกําหนดหมูบาน อพป.

การบริหารหมูบาน อพป. ถือเอาหมูบานตามกฎหมายวาดวยลักษณะปกครองทองที่เปนหลัก

การจะกําหนดใหหมูบานใดหมูบานหน่ึงหรือต้ังแตสองหมูบานขึ้นไปเปนหมูบาน อพป.

กระทรวงมหาดไทยตองประกาศกําหนดเปนคราว ๆ ไป ตามความเหมาะสมแหงสภาพทองที่

2. การจัดระเบียบบริหารหมูบาน อพป.

หมูบาน อพป. แตละหมูบานมีคณะกรรมการกลางหมูบาน และคณะกรรมการฝายตาง ๆ

เปนผูบริหารกิจการของหมูบาน

ตําบล

ตําบลเปนหนวยการปกครองทองที่ ที่รองลงมาจากอําเภอหรือกิ่งอําเภอ

การจัดการปกครองตําบลเปนไปตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พระพุทธศักราช

2457 ซึ่งกําหนดใหตําบล ประกอบดวยหลาย ๆ หมูบานรวมกัน

ก. หลักเกณฑการจัดตั้งตําบล

1. หลักเกณฑตาม พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองท่ี พุทธศักราช 2457

1. ตําบลหน่ึงประกอบกันดวยหลายหมูบานรวมกันราว 20 หมูบาน

2. ใหจัดเคร่ืองหมายเขตตําบลไวใหชัดเจน โดยถือตามแนวลําหวย ลําคลอง บึง บาง หรือ

สิ่งใดเปนสําคัญ เชน ภูเขา

Page 29: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

29

3. ถาไมมีหมายเขต ไมมีแนวตามขอ 2 ก็ใหจัดทําหลักปกหมายเขตไวทุกดานเปนสําคัญ

2. หลักเกณฑตามท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนด

กระทรวงมหาดไทยไดวางหลักเกณฑการจัดต้ังตําบลไว ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14

พฤษภาคม 2539 ดังน้ี

ก. กรณีเปนชุมชนหนาแนน

1. เปนชุมชนที่มีราษฎรไมนอยกวา 4,800 คน

2. มีหมูบานไมนอยกวา 8 หมูบาน

3. ไดรับความเห็นชอบจากสภาตําบล หรือสภาองคการบริหารสวนตําบล และที่ประชุม

หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ

ข. กรณีเปนชุมชนหางไกล

1. เปนชุมชนที่มีราษฎรไมนอยกวา 3,600 คน

2. มีหมูบานไมนอยกวา 6 หมูบาน

3. ชุมชนใหมหากจากชุมชนเดิมไมนอยกวา 6 กิโลเมตร

4. ไดรับความเห็นชอบจากสภาตําบล หรือสภาองคการบริหารสวนตําบล และที่ประชุม

หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ

ข. การจัดระเบียบปกครองตําบล

การบริหาราชการตําบลมีพนักงานปกครองตําบลดังน้ี คือ

1. กํานัน 2. แพทยประจําตําบล 3. สารวัตรกํานัน

กํานัน

ในตําบลหน่ึงมีกํานันคนหน่ึงเปนผูปกครอง และรับผิดชอบในการดูแลทุกขสุขของประชาชน

ทุกหมูบานทั่วทั้งตําบลน้ัน

ใหนายอําเภอเรียกประชุมผูใหญบานในตําบลน้ัน เพื่อปรึกษาหารือคัดเลือกผูใหญบานคน

หน่ึงในตําบลขึ้นเปนกํานัน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการคัดเลือกกํานัน พ.ศ. 2511 กํานัน

ไดรับเงินคาตอบแทนเปนรายเดือนซึ่งมิใชเปนเงินเดือน เพราะไมไดมีฐานะเปนขาราชการแตเปน

พนักงานฝายปกครอง

แพทยประจําตําบล

การดํารงตําแหนงของแพทยประจําตําบล ตองใหกํานันและผูใหญบานประชุมพรอมกันเลือก

บุคคลผูมีคุณสมบัติตอไปน้ีคือ บุคคลผูมีสัญชาติไทย และมีความรูในวิชาแพทยแผนปจจุบัน หรือแผน

โบราณตลอดจนเปนผูมีถิ่นที่อยูในตําบลน้ันเวนแตผูที่เปนแพทยประจําตําบลใกลเคียงกันและยอมกระทํา

การรวมเปนสองตําบล และตองไดรับความเห็นชอบจากผูวาราชการจังหวัด

Page 30: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

30

สารวัตรกํานัน

ในตําบลหน่ึง ๆ ใหมีสารวัตรกํานันจํานวน 2 คน ทําหนาที่เปนผูชวย และรับใชสอยของกํานัน

ผูที่จะเปนสารวัตรกํานันน้ันแลวแตกํานันจะพรองของใหเปน แตตองไดรับความเห็นชอบของผูวา

ราชการจังหวัด และกํานันมีอํานาจเปลี่ยนสารวัตรกํานันได

Page 31: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

31

แบบทดสอบหลังเรียน

1. หลักการบริหารราชการไทย มีอะไรบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

2. ความสําคัญของการบริหารราชการ มีอะไรบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

2. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินมีกี่สวน

อะไรบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

4. การบริหารราชการสวนทองถิ่นแบงออกเปนรูปแบบใดบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

Page 32: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

32

5. ปญหาอันเปนมูลเหตุในการปฏิรูประบบราชการสมัยรัชกาลที่ 5

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

6. ผูมีสิทธิเลือกต้ังไมนอยกวา 50,000 คน มีสิทธิทําอะไรไดบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

7. คณะกรรมการการเลือกต้ัง มีวิธีอยางไรในการแตงต้ัง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

8. การควบคุมโดยองคการอิสระตาม พ รบ. พ.ศ. 2540 มีอะไรบาง

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………….

Page 33: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

33

9. การบริหารราชการแผนดินแบงออกเปนกี่ประเภทอะไรบาง

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

10. นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาลมีอํานาจหนาที่อยางไร

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

Page 34: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

34

บทท่ี 2

การบริหารจัดการชุมชน

สาระสําคัญ

การดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง การยึดหลักธรรมาภิบาล และการสรางรากฐานให

ชุมชนเขมแข็ง

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. อธิบายหลักการ เทคนิคในการบริหารจัดการชุมชน/องคกร

2. อธิบายหลักปรัชญาแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

3. ระบุสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการของชุมชน องคกร

4. นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต และบริหารจัดการชุมชน

องคกร

5. สรุปบทเรียนจากกรณีตัวอยางการบริหารจัดการชุมชน/องคกร ที่ประสบความสําเร็จและนํามา

ประยุกตใชในการจัดทําแผนกิจกรรม โครงการในการพัฒนาชุมชน/องคกร

ขอบขายเน้ือหา

เร่ืองท่ี 1 สังคมแหงการเรียนรู

1.1 ภูมิศาสตร

1.2 ประวัติศาสตร

1.3 การเมืองการปกครอง

1.4 เศรษฐกิจ

1.5 สังคม

1.6 ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม

1.7 สุขภาพอนามัย

1.8 ศิลปวัฒนธรรม

เร่ืองท่ี 2 การสรางความเขมแข็งในชมุชน

2.1 เศรษฐกิจพอเพียง

2.2 ธรรมาภิบาล

2.3 รากฐานชุมชนเขมแข็ง

2.4 แผนแมบทชุมชน

2.5 การจัดการกองทุนชุมชน

2.6 กระบวนการกลุม

Page 35: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

35

แบบทดสอบกอนเรียน

คําสั่ง จงทําเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงหนาขอที่ถูกตองที่สุด

1. ขอใดไมใชเหตุผลในการนับศักราชของ

มนุษยโบราณ

ก. กําหนดฤดูกาล

ข. กําหนดวันสําคัญทางศาสนา

ค. กําหนดเหตุการณทางประวัติศาสตร

ง. กําหนดวัน เวลาสําหรับเพาะปลูกพืช

2. ลักษณะการดํารงชีวิตในขอใดไมได

เร่ิมตนในยุคหินใหม

ก. การใชเคร่ืองมือหินขัด

ข. มีภาษาพูดสื่อสารกันในกลุม

ค. รูจักการรมดําและการเขียนลายสี

ง. เล้ียงสุนัข

3. ขอใดกลาวไมถูกตอง

ก. วัฒนธรรมทําใหมนุษยมีความ

แตกตางจากสัตวอ่ืน ๆ ท้ังปวง

ข. วัฒนธรรมเปนมรดกของสังคม

จึงจําเปนตองมีการสืบทอด

ค. ความเหมือนกันของวัฒนธรรมและ

ประวัติศาสตร คือถูกสรางโดย

ผูชนะเทานั้น

ง. วัฒนธรรมไมมีการหยุดนิ่ง มีการ

เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา

4. ขอใดมีผลตอการคงอยูของวัฒนธรรม

หนึ่ง ๆ มากท่ีสุด

ก. อํานาจทางการเมือง

ข. คานิยมของประชาชน

ค. ประโยชนของวัฒนธรรม

ง. ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร

5. วัฒนธรรมไทยในขอใดไมไดรับ

อิทธิพลมาจากตางประเทศ

ก. การแตงกายแบบไทย

ข. ดนตรีไทย

ค. ขนมไทย

ง. อักษรไทย

6. ภูมิปญญาไทยไมปรากฏลักษณะสําคัญ

ในขอใด

ก. มีเอกลักษณเฉพาะของตนเอง

ข. สอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชน

ในแตละทองถ่ิน

ค. การยึดมั่นในหลักการสิทธิเสรีภาพ

และประชาธิปไตย

ง. เปนลักษณะองครวม คือเก่ียวกับ

กิจกรรมทุกอยางในชีวิตมนุษย

Page 36: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

36

7. ขอใดคือความหมายของชวิีตและ

วัฒนธรรม

ก. ลักษณะท่ีแสดงถึงความเจริญ

งอกงาม

ข. ลักษณะเฉพาะของการดํารงชีวิต

แบบไทย

ค. การดํารงชีวิตของคนไทยอยางมี

แบบแผน

ง. การดํารงชีวิตหรือการมีชีวิตอยู

8. หลักศิลาจารึกฯ แสดงใหเห็นถึง

เอกลักษณไทยดานใด

ก. ศิลปกรรม

ข. สถาปตยกรรม

ค. ภาษา

ง. อาหาร เคร่ืองแตงกาย

9. ถาหากเราตองการทราบเก่ียวกับวิถีการ

ดําเนินชีวิตในสังคมหนึ่ง ๆ ควรสังเกต

อะไรเปนหลัก

ก. คานิยมของสังคมนั้น

ข. วัฒนธรรมของสังคมนั้น

ค. ความเจริญทางวัตถุ

ง. สิ่งท่ีมนุษยสรางขึ้น

10. ขอใดเปนการอนุรักษประเพณีและ

วัฒนธรรมไทย

ก. การแตงกาย

ข. การฟอนเล็บ

ค. การบริโภค

ง. การประกอบอาชีพ

11. การจัดหาสารานุกรมภาษาถ่ิน เปน

ภูมิปญญาสาขาใด

ก. ศาสนาและประเพณี

ข. ภาษาและวรรณกรรม

ค. ศิลปกรรม

ง. การจัดการองคกร

12. ขาวยําเปนภูมิปญญาทองถ่ินใด

ก. ภาคเหนือ

ข. ภาคใต

ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ง. ภาคตะวันออก

13. คํากลาวท่ีวา “รูคิด รูใช รูพูด” ตรงกับ

ขอใดมากท่ีสุด

ก. สังคม

ข. วัฒนธรรม

ค. ประเพณี

ง. คานิยม

14. ขอใดไมใชแนวทางการสรางจิต

สาธารณะ

ก. เห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอม

เสมอ

ข. คิดถึงประโยชนท่ีจะเกิดแกตนเอง

เสมอ

ค. มีจิตใจเอ้ือเฟอเผื่อแผตอผูอ่ืนเสมอ

ง. รักษาระเบียบกฎเกณฑของสังคม

เสมอ

Page 37: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

37

15. ขอใดคือความสําคัญของวัดและศาสนา

ท่ีเปนศูนยกลางของสังคม

ก. ดานสังคม

ข. ศิลปวัฒนธรรม

ค. เศรษฐกิจ

ง. การเมือง

16. การสรงน้ําพระจะกระทําในวันใด

ก. วันลอยกระทง

ข. วันออกพรรษา

ค. วันเขาพรรษา

ง. วันสงกรานต

17. สถาบันท่ีเปนพื้นฐานทางเอกลักษณ

วัฒนธรรมไทยคือสถาบันใด

ก. ศาสนา

ข. การศึกษา

ค. ครอบครัว

ง. การเมืองการปกครอง

18. ขอใดมีความสําคัญในการสรางจิต

สาธารณะ

ก. การไมมีโรคเปนลาภอันประเสริฐ

ข. ท่ีใดมีรักท่ีนั่นมีทุกข

ค. ตนเปนท่ีพึ่งแหงตน

ง. เพื่อนกินหางายเพื่อนตายหายาก

19. การปฏิบัติของสมาชิกในสังคมท่ี

เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตท่ียึดถือมา

แตอดีต และยังคงปฏิบัติอยูจน

กลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตทางสังคม

เรียกวาอะไร

ก. บรรทัดฐาน

ข. จารีต

ค. คานิยม

ง. วัฒนธรรม

20. เพราะอะไรพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยจึง

ไดรับการยกยองวามีลักษณะท่ีงดงาม

ก. บานเมืองสงบรมเย็นเปนสุข

ชางปนมีอารมณสุนทรีย

ข. สมัยพอขุนรามคําแหงมีประเทศ

ราชมาสวามิภักดิ์มาก

ค. พระยาลิไทกวาดตอนชางหลอ

พระพุทธรูปท่ีมีฝมือมาจากพมา

ง. ชางปนมีความรัก ศรัทธา และได

คาตอบแทนสูง

Page 38: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

38

เร่ืองที่ 1 สังคมแหงการเรียนรู

1.1 ภูมิศาสตร

ภูมิศาสตร (อังกฤษ : geography) เปนสาขาหน่ึงที่ทําการศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับ

คุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตรจะเปนเร่ืองเกี่ยวกับการจัดวางสิ่ง

ตาง ๆ และความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ที่แบงแยกสิ่งหน่ึงออกจากสิ่งอ่ืน ๆ โดยภูมิศาสตรพยายามคนหา

เพื่อที่จะตีความใหกระจางถึงความสําคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกตางกันระหวางพื้นที่ในรูปของสาเหตุ

และความเกี่ยวเน่ือง

ภูมิศาสตรประเทศไทย

ประเทศไทยต้ังอยูในแหลมอินโดจีน การที่เรียกวาแหลม

อินโดจีน เพราะถือวาอยูระหวางประเทศอินเดีย กับประเทศจีน ซึ่งเปน

การถือเอาประเทศใหญเปนจุดอาง แตถาถือเอาสภาพทางภูมิศาสตร

เปนจุดอางก็นาจะเรียกวา อินโด - แปซิฟค เพราะเปนแหลมที่แบง

นานนํ้าออกเปนมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟค มีพิกัดทาง

ภูมิศาสตร ดังน้ี

ทิศเหนือ จดเสนรุง 20 องศา 25 ลิบดา 30 พิลิบดา เหนือ

ที่กิ่งอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

ทิศใต จดเสนรุง 5 องศา 37 ลิบดา ที่กิ่งอําเภอเบตง จังหวัดยะลา

ทิศตะวันออก จดเสนแวง 105 องศา 37 ลิบดา 30 พิลิบดา ที่อําเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด

อุบลราชธานี

ทิศตะวันตก จดเสนแวง 97 องศา 22 ลิบดา ตะวันออก ที่อําเภอแมลานอย จังหวัดแมฮองสอน

ภูมิรัฐศาสตร

ประเทศไทยต้ังอยูใจกลางของผืนแผนดินในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

ซึ่งมีพรมแดนธรรมชาติที่เหมาะสมในแงภูมิศาสตร โดยมีเทือกเขาขนาดใหญ

และทุรกันดารทอดตัวเปนแนวยาวจากเหนือมาใต ดังน้ี

ดานทิศตะวันตก มีเทือกเขาอารกันโยมา อันเปนสาขาของเทือกเขา

หิมาลัย ทําใหเกิดปาดงดิบทึบ เปนการแยกประเทศพมาออกจากประเทศ

อินเดียโดยสิ้นเชิง ไมมีปญหาเร่ืองการมีสายนํ้ารวมกัน ในสงครามมหา

เอเชียบูรพา กองทัพญ่ีปุนไดรุกไปทางตะวันตกผานไทย ผานพมา มุงสู

อินเดียก็มาสิ้นสุดที่แนวเทือกเขาแหงน้ีเทาน้ัน

Page 39: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

39

ดานทิศเหนือ เปนเทือกเขาขนาดใหญบนที่ราบสูง ยูนนานของประเทศจีนตอนใต เปนสาขา

ปลายตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย ที่ผานไปสูประเทศจีน เปนยานทุรกันดารเปนปาเขายากแกการ

คมนาคมทางบก

ดานทิศตะวันออก เปนทะเลจีนใตอันเปนสวนหน่ึงของมหาสมุทรแปซิฟค อันเปนพรมแดนทาง

ธรรมชาติอยางแทจริงในทางภูมิรัฐศาสตร

ดานทิศใต เปนทะเลในดานอาวไทย และมหาสมุทรอินเดีย จึงมีสภาพพรมแดนทางธรรมชาติ

เชนเดียวกับดานทิศตะวันออก

ดวยสภาพทางภูมิศาสตร ดังกลาวมาแลวทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในสวนที่เปนผืน

แผนดินใหญ อันประกอบดวย พมา ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และมาเลเซีย มีปราการทางธรรมชาติ ที่

เกื้อกูลตอความปลอดภัยรวมกันไดเปนอยางดี

ขนาดของประเทศไทย

จากหลักฐานของกรมแผนที่ทหาร ประเทศไทยมีพื้นที่ ประมาณ 511,937 ตารางกิโลเมตร

ตัวเลขน้ีเปนตัวเลขที่เปนมาต้ังแตป พ.ศ. 2483 จนถึงปจจุบัน ประเทศไทยมีความยาวที่สุด จากเหนือจดใต

ประมาณ 1,833 กิโลเมตร มีความกวางที่สุดจากตะวันออกไปตะวันตก ตามแนวเสนรุงที่ผานจังหวัด

อุบลราชธานี - อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาไปทางตะวันตก ประมาณ 850 กิโลเมตร สวนที่แคบ

ที่สุดอยูที่ตําบลหวยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีความกวาง ประมาณ 12 กิโลเมตร และตอนแคบที่สุด

ของแหลมมลายูอยูที่ตรงคอคอดกระ กวางประมาณ 64 กิโลเมตร

พรมแดนไทย

พรมแดนไทยกับพมา เร่ิมตนจากจังหวัดระนอง ที่ลํานํ้ากระ (เสนรุง 10 ลิบดา เหนือ) เปนแนว

เสนเขตแดนตอไปทางเหนือ ตามแนวสันเขาตะนาวศรี สันเขาถนนธงชัย สันเขาแดนลาว ไปจดแมนํ้า

โขง ที่จุดเสนรุง 25 องศา 5 ลิบดา เหนือ ที่กิ่งอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แนวพรมแดนดานน้ียาว

ประมาณ 1,450 กิโลเมตร ไมสูคดโคงมากนัก สวนใหญเปนทิวเขาสูงใหญ

พรมแดนไทยกับลาว เร่ิมจากบานใหม (เสนรุง 20 องศา 15 ลิบดา เหนือ) มีลํานํ้าโขงเปนแนว

เสนเขตแดน แลววกเขาหาทิวเขาหลวงพระบาง ลงมาทางใต แลววกไปหาแมนํ้าโขงไปจนจดปากนํ้ามูล

จังหวัดอุบลราชธานี ชวงน้ียาวประมาณ 1,200 กิโลเมตร

พรมแดนไทยกับกัมพูชา เร่ิมจากปากแมนํ้ามูล แนวพรมแดนเปนสันเขาพนมดงรัก ซึ่งโคงมา

ทางตะวันตก จนถึงจังหวัดบุรีรัมย เปนระยะทาง ประมาณ 320 กิโลเมตร จากน้ันแนวเสนเขตแดนจะเปน

ที่ราบจนจดทะเลที่อาวไทย

Page 40: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

40

พรมแดนไทยกับมาเลเซีย เร่ิมที่ลํานํ้านราธิวาสทางอาวไทยไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต

เล็กนอย แลวใชสันเขาสันกาลาคีรี เปนแนวเขตแดนไปจนจดมหาสมุทรอินเดีย ที่จังหวัดสตูล

นอกจากน้ีไทยยังมีพรมแดนที่เปนฝงทะเล คือ

- ดานอาวไทย จากจังหวัดตราด ถึง นราธิวาส มีความยาวประมาณ 1,870 กิโลเมตร และดาน

มหาสมุทรอินเดีย จากจังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล ยาวประมาณ 740 กิโลเมตร

ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของไทย แบงออกไดเปน ลักษณะ

ดังน้ี

1. พื้นท่ีราบอันกวางใหญภาคกลาง แบงออกไดเปน

สองประเภทคือที่ราบดินตะกอน และที่ราบซึ่งเกือบไมมีดิน

ตะกอนเลย

2. ท่ีราบภาคตะวันออก เปนที่ราบซึ่งคั่นระหวางภาคกลางของไทยกับประเทศเขมร แบงออก

ไดเปน 2 สวน คือ ตอนบน คือที่ราบปราจีนบุรี เปนที่ราบลุมนํ้าบางปะกง

ตอนลาง เปนที่ราบชายฝงทะเลตะวันออก เปนที่ราบแคบ ๆ

อยูระหวางทิวเขาบรรทัดกับฝงทะเล

3. ท่ีราบในยานภูเขาภาคเหนือ ประกอบดวยที่ราบ

หลายผืน เปนที่ราบระหวางทิวเขา ทําใหมีพื้นที่ไมติดตอถึงกัน

4. ท่ีราบสูงตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสูง ประมาณ

200 - 300 เมตร อยูในวงลอมของทิวเขาเปนที่ราบอันกวางใหญ

อีกผืนหน่ึง มีพื้นที่ประมาณ 154,000 ตารางกิโลเมตร

5. ท่ีราบภาคใต ภาคใตอยูบนแหลมแคบ ๆ ที่มีความกวางที่สุดไมเกิน 200 กิโลเมตร และสวน

ที่แคบที่สุด ประมาณ 60 กิโลเมตร ตอนกลางของแหลมเปนทิวเขาโดยตลอด จึงมีที่ราบชายฝงทะเลผืน

แคบ ๆ เปนตอน ๆ ไมติดตอกัน

ภูเขาและทิวเขา ลักษณะของทิวเขาเกือบจะขนานกัน สวนใหญมีแนวจากทิศเหนือลงใต

แบบเดียวกันทุกภาค ภูเขาในประเทศไทยมีอยูไมหนาแนนมากนัก ที่มีทิศทางขวางก็มีอยูบางแตไม

มากนัก

ภูเขาหิน มีอยูทั่วไป มีลักษณะติดตอกันเปนทิวใหญ

เชน ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี ภูเขาหินแบงออกเปน

สองชนิดคือ ชนิดหินแกรนิต เปนหินแข็งแกรง ทิวเขาชนิดน้ี

มีอยูในภาคเหนือและภาคใตเปนสวนมาก สวนภูเขาชนิด

หินปูน เปนหินที่ไมเหนียวและไมแกรง จึงมักถูกธรรมชาติ

กัดเซาะสวนใหญอยูในภาคกลาง และภาคใตตอนบน

Page 41: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

41

ภูเขาดิน ประกอบดวยดินรวน หรือหินลูกรังปนกับหินกอนขนาดยอม เปนภูเขาสูงปานกลาง

สวนใหญมีลักษณะเปนเนินเต้ีย โดยรอบมักเปนพื้นราบกวางขวาง เชน บริเวณตอนใตของเขาสามมุข

จังหวัดชลบุรี หรือในภาคใตต้ังแตสถานีรถไฟมาบอัมฤทธิ์ถึงสถานีหวยสัก เปนตน

ภูเขาไฟ ภูเขาไฟในประเทศไทย เปนภูเขาไฟที่ดับสนิทมานานแลว เชนที่ภูเขาหลวง จังหวัด

สุโขทัย ซึ่งปรากฏมียอดเปนปากปลองภูเขาไฟและมีหินตะกรันอยูโดยรอบ ในที่ราบสูงภาคอีสานเปน

พื้นที่ภายในปากปลองภูเขาไฟใหญในอดีตซึ่งดับไปแลว และกอใหเกิดที่ราบสูงอันกวางใหญขึ้นมาแทน

ทางนํ้า

เน่ืองจากประเทศไทยต้ังอยูในยานมรสุม มีฝนตกชุกในฤดูฝนที่คอนขางยาวนานถึง 6 เดือน โดย

เฉลี่ยจึงกอใหเกิดลํานํ้ามากมาย แตลํานํ้าที่สําคัญและมีประโยชนมีอยูไมมากนัก ลํานํ้าโดยทั่วไปจะเปน

ลํานํ้าสายสั้น ๆ มีนํ้าเฉพาะในฤดูฝน เมื่อแบงลํานํ้าออกเปนพวก ๆ ตามลักษณะของพื้นที่และตามกําเนิด

ของลํานํ้าพอจะแบงออกไดเปนสี่กลุม ดังน้ี

ลํานํ้าในภาคเหนือ นอกจากลํานํ้าใหญสองสายคือ ลํานํ้าสาละวิน ซึ่งไหลผานชายแดนดาน

ตะวันตก และลํานํ้าโขง ซึ่งไหลผานชายแดนดานตะวันออกเฉียงเหนือแลว ลํานํ้าในภาคเหนือมีอยู

หลายสาย และมีตนนํ้าที่เกิดจากพื้นที่ยานภูเขาในภาคเหนือเองแทบทั้งสิ้น

ลํานํ้าในภาคกลาง สายนํ้าที่สาํคัญคือ ลํานํ้าเจาพระยา

ซึ่งก็เปนลํานํ้าสายสําคัญที่สุดของประเทศไทย เน่ืองจากเปน

ลํานํ้าขนาดใหญ ไหลผานที่ราบลุมภาคกลางของประเทศ ลํานํ้า

ที่สําคัญในภาคกลาง ไดแก ลํานํ้าเจาพระยา ยาวประมาณ

700 กิโลเมตร เปนแมนํ้าสายใหญที่สุดนับเปนเสนโลหิตใหญ

ของประเทศ

ลํานํ้าท่ีไหลลงสูอาวไทยดานตะวันออก ที่สําคัญไดแก ลํานํ้าบางปะกง ยาวประมาณ 300

กิโลเมตร เกิดจากทิวเขาพนมดงรัก แลวไหลไปทางตะวันตก ผานจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก ลงสูอาว

ไทยในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา

ลํานํ้าท่ีไหลลงสูอาวไทยดานตะวันตก ไดแก ลํานํ้าแมกลอง ยาว 300 กิโลเมตร ลํานํ้าเพชรบุรี

ยาว 100 กิโลเมตร

ลํานํ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่สําคัญไดแก ลํานํ้ามูล ยาว 620 กิโลเมตร ลํานํ้าชี ยาว 600

กิโลเมตร

Page 42: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

42

ลํานํ้าในภาคใต แบงออกเปน 2 กลุม คือ

1. ลํานํ้าที่ไหลลงสูอาวไทย ไดแก ลํานํ้าชุมพร ลํานํ้า

หลังสวน ลํานํ้าตาป ลํานํ้าปตตานี ลํานํ้าสายบุรี ลํานํ้าโกลก

2. ลํานํ้าที่ไหลลงมหาสมุทรอินเดีย มีอยู 2 สาย คือ ลํานํ้า

ปากจ่ัน หรือลํานํ้ากระ ยาว 123 กิโลเมตร ลํานํ้าตรัง ยาว 137

กิโลเมตร

ในปจจุบันน้ี ประเทศไทยแบงภาคภูมิศาสตรออกเปน 6 ภาค ไดแก

1. ภาคเหนือ ประกอบดวย 9 จังหวัด ดังน้ี เชียงราย เชียงใหม

แมฮองสอน ลําพูน ลําปาง แพร พะเยา นาน อุตรดิตถ มีเน้ือที่

ภาคเปนอันดับ 2 คือ 93,691 ตร.กม.

2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประกอบ 19 จังหวัด ดังน้ี

เลย หนองบัวลําภู อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร มุกดาหาร

บุรีรัมย นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแกน กาฬสินธุ ศรีสะเกษ สุรินทร

อุบลราชธานี ยโสธร อํานาจเจริญ มหาสารคาม รอยเอ็ด มีเน้ือที่มาก

เปนอันดับ 1 คือ 168,854 ตร.กม. และมีประชากรมากเปนอันดับ 1

3. ภาคกลาง มี 22 จังหวัด ดังน้ี สุโขทัย กําแพงเพชร พิจิตร

เพชรบูรณ พิษณุโลก อุทัยธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี

พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ กรุงเทพฯ

นครสวรรค ลพบุรี สิงหบุรี สระบุรี อางทอง ปทุมธานี นครนายก มีเน้ือที่

ภาคเปนอันดับ 3 คือ 91,795 ตร.กม. มีประชากรมากเปนอันดับ 2

4. ภาคตะวันออก ประกอบ 7 จังหวัด ดังน้ี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี

ระยอง ปราจีนบุรี สระแกว จันทบุรี ตราด มีเน้ือที่ภาคเปนอันดับสุดทาย

คือ 34,381 ตร.กม.

Page 43: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

43

5. ภาคตะวันตก ประกอบ 5 จังหวัด ดังน้ี

ตาก กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ

มีเน้ือที่ภาคเปนอันดับ 5 คือ 53,679 ตร.กม.

มีประชากรนอยที่สุด

6. ภาคใต ประกอบดวย 14 จังหวัด

ดังน้ี ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล ชุมพร

สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ยะลา สงขลา

พัทลุง นราธิวาส ปตตานี มีเน้ือที่ภาคเปนอันดับ 4

คือ 70,715 ตร.กม. มีประชากรมากเปนอันดับ 3

ภูมิศาสตรโลก

การจําแนกภูมิอากาศ

ในป ค.ศ.1918 วลาดิเมียร เคิปเปน (Vladimir Kóppen) นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน ไดจําแนก

ภูมิอากาศโลกโดยใชเกณฑอุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนและปริมาณหยาดนํ้าฟา โดยใชสัญลักษณเปนตัวอักษร

ภาษาอังกฤษ ดังน้ี

A ภูมิอากาศรอนชื้นแถบศูนยสูตร ทุกเดือนอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกวา 18°C

B ภูมิอากาศแหงแลง ฝนตกนอย อัตราการระเหยของนํ้ามาก

C ภูมิอากาศอบอุน ฤดูรอนอากาศอบอุน ฤดูหนาวไมหนาวมาก อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่หนาว

ที่สุดตํ่ากวา 18°C และสูงกวา -3°C

D ภูมิอากาศหนาวเย็น ฤดูรอนอากาศเย็น ฤดูหนาวหนาวเย็น อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่อบอุน

ที่สุดไมตํ่ากวา 10°C อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่หนาวที่สุดตํ่ากวา -3°C

E ภูมิอากาศขั้วโลก อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่อบอุนที่สุดตํ่ากวา 10°C

ภูมิอากาศรอนชื้น (Tropical Climates) : A

เปนบริเวณที่มีอากาศรอนชื้น มีฝนตกมากกวา 1,500

มิลลิเมตร และทุก ๆ เดือนมีอุณหภูมิเฉลี่ยไมตํ่ากวา 18°C

กลางวันและกลางคืนมีอุณหภูมิไมแตกตางกันมาก โดยกลางวัน

มีอุณหภูมิเฉลี่ย 32°C กลางคืนมีอุณหภูมิเฉลี่ย 22°C ความชื้นสูง

มีไอนํ้าในอากาศจํานวนมาก ไดแก ลุมนํ้าอเมซอนในประเทศบราซิล ลุมนํ้าคองโกในตอนกลางของทวีป

แอฟริกา หมูเกาะในประเทศอินโดนีเซีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมทั้งประเทศไทย พื้นที่บางสวนปก

คลุมดวยปาฝนเขตรอน (Tropical Rain Forest) มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งปาฝนเขตรอนน้ันมี

พื้นที่เพียง 7% ของโลก แตมีสปชีสของสิ่งมีชีวิตมากกวาคร่ึงหน่ึงของโลก

Page 44: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

44

ภูมิอากาศแหงแลง (Dry Climates) : B

เปนบริเวณที่อากาศแหง ปริมาณการระเหยของนํ้ามากกวา

ปริมาณหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมา ทําใหทองฟาโปรง แสงอาทิตยตก

กระทบพื้นผิวมีความเขมแสงมากกวา 90% กลางวันและกลางคืนมี

อุณหภูมิตางกันมาก โดยกลางวันมีอุณหภูมิสูงกวา 38°C (50°C

ในชวงฤดูรอน) กลางคืนอาจจะมีอุณหภูมิตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง

(-15°C ในชวงฤดูหนาว) ปริมาณนํ้าฝนในรอบปเพียงประมาณ 50 มิลลิเมตร บางปอาจไมมีฝนตกเลย

ไดแก ทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกาตอนเหนือ ทะเลทรายโกบีในประเทศจีน ทะเลทรายเหลาน้ี

มักจะประกอบดวยดินทราย ซึ่งจะมีพืชบางประเภทเทาน้ันที่สามารถมีชีวิตอยูได เชน กระบองเพชร

ภูมิอากาศอบอุน (Mesothermal Climate) : C

ภูมิอากาศแถบอบอุน (Temperate Climates) พื้นที่

สวนใหญอยูระหวางละติจูดที่ 25° ถึง 40° เหนือ ไดแก ทวีป

ยุโรปตอนกลาง และซีกตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกา

และประเทศจีน เกาหลีเหนือ-ใต ญ่ีปุน นิวซีแลนด ซีกตะวันออก

ของออสเตรเลียและอารเจนตินาและตอนใตของบราซิล ปริมาณนํ้าฝนในรอบปประมาณ

500 - 1,500 มิลลิเมตร ไมที่ขึ้นแถบน้ีเปนไมเขตอบอุนซึ่งจะผลัดใบในฤดูหนาว

ภูมิอากาศหนาวเย็น (Microthermal Climates) : D

อากาศหนาวเย็นพื้นที่สวนใหญอยูระหวางละติจูด

ที่ 40° ถึง 60° เหนือ ของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรปเหนือ(แถบ

สแกนดิเนเวีย ไดแก สวีเดน เดนมารก นอรเวยและฟนแลนด)

และเอเชีย (สหพันธรัฐรัสเซีย) ปาไมในเขตน้ีสวนมากจะเปน

ตนไมไมผลัดใบที่ทนอากาศหนาวได อาทิ สนฉัตร สนสองใบ

สนใบแหลม

ภูมิอากาศข้ัวโลก (Polar Climates) : E

มีอากาศแหง ลมแรง และหนาวเย็นตลอดทั้งป ฤดูรอน

มีอุณหภูมิสูงกวาจุดนํ้าแข็งเพียงแค 2-4 เดือน (ตํ่ากวา 10°C) มี

ฤดูหนาวที่ยาวนาน และมีอุณหภูมิตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง พื้นที่สวน

ใหญอยูเหนือเสนอารคติกเซอรเคิล (66.5° เหนือ) ขึ้นไป และใต

เสนแอนตารคติกเซอรเคิล (66.5° ใต) ลงมา บริเวณใกลกับ

ขั้วโลก เชน เกาะกรีนแลนดและทวีปแอนตารกติกมีแผนนํ้าแข็งถาวรหนาหลายรอยเมตรปกคลุม

พื้นมหาสมุทรเต็มไปดวยภูเขานํ้าแข็ง พื้นทวีปในสวนที่หางไกลจากขั้วโลก นํ้าในดินแข็งตัวอยางถาวร

พืชสวนใหญไมสามารถเจริญเติบโตได

Page 45: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

45

1.2 ประวัติศาสตร

ประวัติศาสตร (อังกฤษ: history; รากศัพทภาษากรีก iotopia หมายถึง "การสอบถาม ความรู

ที่ไดมาโดยการสอบสวน") เปนการคนพบ รวบรวม จัดระเบียบและนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณ

ในอดีต ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตรชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูก

พิจารณาวาเปน "บิดาแหงประวัติศาสตร" เขารวมกับธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตรรวมสมัย กอต้ังรากฐาน

ของการศึกษาประวัติศาสตรสมัยใหม อิทธิพลของพวกเขา รวมกับแบบแผนทางประวัติศาสตรอ่ืนในสวนอ่ืน

ของโลก ไดกอใหเกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตรไปตาง ๆ นานา ซึ่งไดวิวัฒนามาเปนเวลา

หลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยูในปจจุบัน

การแบงยุคสมัย

การจัดแบงยุคทางประวัติศาสตรของไทยน้ัน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

ทรงแสดงพระทัศนะไวในพระนิพนธเร่ือง "ตํานานหนังสือพระราชพงศาวดาร" ในพระราชพงศาวดาร

ฉบับพระราชหัตถเลขาเมื่อ พ.ศ.2457 ถึงการแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรของไทยไววา "เร่ืองพระราช

พงศาวดารสยาม ควรจัดแบงเปน 3 ยุค คือ เมื่อกรุงสุโขทัยเปนราชธานียุค 1 เมื่อกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี

ยุค 1 เมื่อกรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานียุค 1" ซึ่งการลําดับสมัยทางประวัติศาสตรแบบเสนตรง (Linear)

โดยวางโครงเร่ืองผูกกับกําเนิดและการลมสลายของรัฐ กลาวคือใชรัฐหรือราชธานีเปนศูนยกลางเชนน้ี

ยังคงมีอิทธิพลอยูมากตอการเขาใจประวัติศาสตรไทยในปจจุบัน

หลักฐานยุคกอนประวัติศาสตร

56ยุคกอนประวัติศาสตรและรัฐโบราณในประเทศไทย56

แผนที่แสดงรัฐโบราณในอาณาเขตประเทศไทยปจจุบันชน

พื้นเมืองและการอพยพเขามาในประเทศไทย นักมานุษยวิทยาได

จัดประเภทมนุษยสมัยโบราณรุนแรกในตระกูลออสโตเนเซียน

ซึ่งเปนพวกที่อพยพเขามาในประเทศไทยเมื่อหลายพันปที่แลว

รวมทั้งเปนบรรพบุรุษของชนชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

ปจจุบัน ตอมา มนุษยในตระกูลมอญและเขมรจะอพยพเขามา

จากจีนหรืออินเดียดวย กอนที่พวกไทยจะอพยพเขามาแยงชิง

ดินแดนจากพวกละวา ซึ่งเปนชนชาติลาหลัง ชาวเขาที่อาศัยอยู

ในประเทศไทยปจจุบันจึงสันนิษฐานวาสืบเชื้อสายมาจากพวก

ละวา

Page 46: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

46

แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกําเนิดของชนชาติไทย

รัฐโบราณในประเทศไทย

จากหลักฐานดานโบราณคดี ตํานาน นิทานพื้นบาน บันทึกราชการของจีน และบันทึกของ

พระภิกษุจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตในพุทธศตวรรษที่ 12 ทําใหทราบวามีอารยธรรมมนุษยไดสถาปนา

อํานาจในประเทศไทยเปนเวลานานแลว โดยอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน สามารถ

จําแนกไดดังรายชื่อดานลาง

• อาณาจักรทวารวดี

• อาณาจักรละโว

• อาณาจักรฟูนัน

• อาณาจักรขอม

• แควนจําปาศักด์ิ อาณาจักร

เจนละ

• แควนศรีจทาศะปุระ

• อาณาจักรโคตรบูร

• อาณาจักรหริภุญชัย

• อาณาจักรโยนก

เชียงแสน

• รัฐผั่น-ผั่น

• อาณาจักรตามพรลิงก

• รัฐลังกาสุ

• รัฐเชียะโท

1. สมัยอาณาจักรสุโขทัย และยุครุงเรืองของอาณาจักรลานนา

การลมสลายของจักรวรรดิขะแมรเมื่อตน

คริสตศตวรรษที่ 13 ทําใหเกิดอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งกอต้ัง

ขึ้นในป พ.ศ. 1781 อาณาจักรสุโขทัยขยายดินแดนออกไป

อยางกวางขวางในรัชสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราชแต

เสถียรภาพของอาณาจักรไดออนแอลงภายหลังการ

สวรรคตของพระองคลักษณะการปกครองเปนแบบพอ

ปกครองลูก เน่ืองจากมีความใกลชิดระหวางผูปกครองและ

ราษฎร แตในรัชสมัยพญาลิไทก็ไดมีการเปลี่ยนรูปแบบการ

ปกครองมาเปนธรรมราชา จากการรับอิทธิพลของศาสนา

พุทธเขามา

56รายพระนามพระมหากษัตริยสุโขทัย56

56ราชวงศนําถุม (ราชวงศผาเมือง)

• พอขุนศรีนาวนําถุม ครองราชยปใดไมปรากฏ - พ.ศ. 172456

56ขอมสบาดโขลญลําพง

• ขอมสบาดโขลญลําพง (พ.ศ. 1724 - พ.ศ. 1780)

Page 47: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

47

56ราชวงศพระรวง

• พอขุนศรีอินทราทิตย (พ.ศ. 1780 - สวรรคตปใดไมปรากฏ (ประมาณ พ.ศ. 1801) )

• พอขุนบานเมือง (หลังพอขุนศรีอินทราทิตยสวรรคต - พ.ศ. 1822)

• พอขุนรามคําแหงมหาราช (พ.ศ. 1822 - พ.ศ. 1842) (ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เรียกวา พอขุนรามราช)56

• ปูไสสงคราม (รักษาราชการชั่วคราวแทน พญาเลอไท ซึ่งขณะน้ันไมไดอยูในเมืองสุโขทัย)56

• พญาเลอไท (พ.ศ. 1842 - พ.ศ. 1833)

• พญางั่วนําถุม (พ.ศ. 1833 - พ.ศ. 1890)

• พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) (พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1913)

• พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท) (พ.ศ. 1913 - พ.ศ. 1931) (ตกเปนประเทศราชของอยุธยา

56 ในป พ.ศ. 1921)

ดานการปกครอง

แบงเปน 2 แบบ เรียกวา สมบูรณาญาสิทธิราช ดังน้ี

1. แบบพอปกครองลูก (ปตุลาธิปไตย) สุโขทัยมีลักษณะการปกครองแบบพอปกครองลูก

ผูปกครองคือ พอขุน ซึ่งเปรียบเสมือนพอที่จะตองดูแลคุมครองลูก ในสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช

พระองคทรงโปรดใหสรางกระด่ิงแขวนไวที่หนาประตูพระราชวัง เมื่อประชาชนมีเร่ืองเดือดรอนก็ใหไป

สั่นกระด่ิงรองเรียน พระองคก็จะเสด็จมารับเร่ืองราวรองทุกข และโปรดใหสรางพระแทนมนังคศิลาอาสน

ไดกลางดงตาล ในวันพระจะนิมนตพระสงฆมาเทศนสั่งสอนประชาชน หากเปนวันธรรมดาพระองคจะ

เสด็จออกใหประชาชนเขาเฝาและตัดสินคดีความดวยพระองคเอง การปกครองแบบพอปกครองลูก

(ปตุลาธิปไตย) ใชในสมัยกรุงสุโขทัยตอนตน

2. แบบธรรมราชา การปกครองแบบธรรมราชา หมายถึง พระราชาผูปฏิบัติธรรมหรือ กษัตริย

ผูมีธรรม ในสมัยของ 1 มีกําลังทหารที่ไมเขมแข็ง ประกอบกับอาณาจักรอยุธยาที่กอต้ังขึ้นใหมไดแผ

อิทธิพลมากขึ้น พระองคทรง เกรงภัยอันตรายจะบังเกิดแกอาณาจักรสุโขทัย หากใชกําลังทหารเพียง

อยางเดียว พระองคจึงทรงนําหลักธรรมมาใชในการปกครอง โดยพระองคทรงเปน แบบอยางในดาน

การปฏิบัติธรรม ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา นอกจากน้ันพระมหาธรรมราชาที่ 1 ทรงพระราชนิพนธ

วรรณกรรมเร่ือง ไตรภูมิพระรวง ที่ปรากฏแนวคิดแบบธรรมราชาไวดวย การปกครองแบบธรรมราชา

ใชในสมัยกรุงสุโขทัยตอนปลาย ต้ังแตพระมหาธรรมราชาที่ 1 - 4

2. สมัยอาณาจักรอยุธยา

พระเจาอูทองทรงกอต้ังอาณาจักรอยุธยา

ในป พ.ศ. 1893 ซึ่งในชวงแรกน้ันก็มิไดเปนศูนยกลาง

ของชาวไทยในดินแดนคาบสมุทรอินโดจีนทั้งปวง แต

ดวยความเขมแข็งที่ทวีเพิ่มขึ้นประกอบกับวิธีการ

ทางการสรางความสัมพันธกับชาวไทยกลุมตาง ๆ

Page 48: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

48

ในที่สุดอยุธยาก็สามารถรวบรวมกลุมชาวไทยตาง ๆ ในดินแดนแถบน้ีใหเขามาอยูภายใตอํานาจได

นอกจากน้ียังกลายมาเปนรัฐมหาอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางรวดเร็ว

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองโดยการรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง การ

ยึดครองมะละกาของโปรตุเกสในป พ.ศ. 2054 ทําใหอยุธยาเร่ิมการติดตอกับชาติตะวันตก ในสมัย

อาณาจักรอยุธยามีการติดตอกับตางประเทศอยูหลายชาติโดยชาวโปรตุเกสไดเดินทางมายังกรุงศรีอยุธยา

ในชวงคริสตศตวรรษที่ 16 หลังจากน้ัน ชาติที่เขามาอาศัยอยูในกรุงศรีอยุธยาเปนจํานวนมากและมี

บทบาทสําคัญ ไดแก ชาวดัตช ชาวฝร่ังเศส ชาวจีน และชาวญ่ีปุน

อาณาจักรอยุธยาเปนอาณาจักรที่มีอาณาเขตกวางใหญไพศาล จากทิศเหนือจรดอาณาจักร

ลานนา ไปจรดคาบสมุทรมลายูทางทิศใต ความสัมพันธระหวางประเทศของอยุธยารุงเรืองขึ้นอยางมาก

ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช อาณาจักรอยุธยาเร่ิมเสื่อมอํานาจลงราวพุทธศตวรรษที่ 24 การทํา

สงครามกับพมาหลังจากน้ันสงผลทําใหอยุธยาถูกปลนสะดมและเผาทําลาย เมื่อป พ.ศ. 2310

3. สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร

รัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทรตอนตน

ในป พ.ศ. 2310 - 2325 เร่ิมตนหลังจากที่สมเด็จพระ

เจากรุงธนบุรีไดขับไลทหารพมาออกจากแผนดินไทย ทํา

การรวมชาติและไดยายเมืองหลวงมาอยูที่กรุงธนบุรี โดย

จัดต้ังการเมืองการปกครอง โดยมีพระมหากษัตริยมีอํานาจ

เด็ดขาดในการเมืองการปกครอง อยางไรก็ตาม ภายหลังสิ้น

รัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธ

ยอดฟาจุฬาโลกไดสถาปนาตนขึ้นเปนพระมหากษัตริยแหง

ราชวงศจักรี และทรงยายเมืองหลวงมายังกรุงเทพมหานคร เร่ิมยุคสมัยแหงกรุงรัตนโกสินทร

ในชวงน้ี กรุงรัตนโกสินทรยังไมคอยมีการติดตอคาขายกับชาติตะวันตกมากนัก ตอมาเมื่อ

ชาวตะวันตกเร่ิมเขามาคาขายอีก ไดตระหนักวาพวกพอคาจีนไดรับสิทธิพิเศษเหนือคนไทยและพวกตน

จึงไดเร่ิมเรียกรองสิทธิพิเศษตาง ๆ มาโดยตลอด มีการเดินทางเยือนของทูตหลายคน อาทิ จอหน ครอเฟรต

ตัวแทนจากบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ซึ่งเขามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา

นภาลัย แตยังไมบรรลุขอตกลงใด ๆ สนธิสัญญาที่มีการลงนามในชวงน้ี เชน สนธิสัญญาเบอรนี และ

สนธิสัญญาโรเบิรต แตก็เปนเพียงขอตกลงที่ไมมีผลกระทบมากนัก และชาวตะวันตกไมคอยไดรับ

สิทธิพิเศษเพิ่มมากขึ้นแตอยางใด

Page 49: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

49

การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไดมีกลุมบุคคลที่เรียกวา คณะราษฎรไดทําการเปลี่ยนแปลง

รูปแบบการปกครอง จากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเปนราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ เปนเหตุการณที่

สรางความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยอยางมาก และทําใหสถาบันกษัตริย

ที่เคยเปนผูปกครองสูงสุดของประเทศมาชานานตองสูญเสียอํานาจสวนใหญไปในที่สุด โดยมีการราง

รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 ขึ้นเปนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยอยางถาวรเปนฉบับแรก

ประวัติศาสตรโลก

ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตรจะเร่ิมนับตรงที่มนุษยเร่ิมมีการจดบันทึกเหตุการณอยาง

เปนลายลักษณอักษร สวนกอนหนาน้ันก็จะเรียกวายุคกอนประวัติศาสตร ยุคกอนประวัติศาสตรตราบ

จนถึงทุกวันน้ีก็ยังไมมีอะไรแนนอน เพราะมีเพียงแคหลักฐานทางวัตถุบางชิ้น และก็ไมคอยจะสมบูรณ

เทาไหรดวย สวนยุคประวัติศาสตรน้ัน คอนขางชัดเจนกวา แตก็ใชวาจะทั้งหมด เพราะเมื่อมีการศึกษา

ประวัติศาสตรกันมากขึ้น ก็ทําใหรูวาเราเคยเขาใจผิดอะไรหลาย ๆ อยางมานาน และตองเปลี่ยนความ

เขาใจทางประวัติศาสตรกันใหมอยูหลายคร้ังก็มี การแบงสมัยในยุคประวัติศาสตรจะแบงโดยใชเหตุการณ

สําคัญที่ถือเปนจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเปนตัวแบง ซึ่งมีคนแบงเอาไวหลายแนวทาง เพราะมันไมมีเสนแบง

ที่ชัดเจนใหเราเห็น แตสวนใหญจะแบงออกเปน

57ประวัติศาสตรสมัยโบราณ (Ancient History) สมัยน้ีนักประวัติศาสตรมักจะรวมเอา

เหตุการณในยุคกอนประวัติศาสตรเขาไปดวย สมัยน้ีสวนมากมักจะใหสิ้นสุดลงพรอมกับการลมสลาย

ของอาณาจักรโรมันตะวันตก ซึ่งเสียใหแกเยอรมันในปค.ศ. 476

57ประวัติศาสตรสมัยกลาง (Medieval History) เร่ิมเมื่อปค.ศ. 476 แตระยะเวลาสิ้นสุด

น้ัน บางกลุมถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปลตกเปนของพวกเติรก ในปค.ศ.1453 แตบางกลุมก็ถือวา

สิ้นสุดเมื่อมีการคนพบทวีปอเมริกา ในปค.ศ. 1492 และบางกลุมก็ถือวาสิ้นสุดลงพรอมกับการเร่ิมตน

การปฏิรูปตาง ๆ ในยุโรป

57ประวัติศาสตรสมัยใหม (Modern History) เร่ิมต้ังแตการสิ้นสุดของประวัติศาสตรสมัย

กลางจนถึงปจจุบัน แตก็มีบางกลุมที่ถือวาสมัยน้ีสิ้นสุดในราว ค.ศ. 1900 และไดแบงออกเปนอีกสมัยหน่ึง

คือ ประวัติศาสตรสมัยปจจุบัน เร่ิมต้ังแตสิ้นสุดประวัติศาสตรสมัยใหมจนถึงปจจุบัน เพราะระยะชวงน้ี

เกิดเหตุการณที่สําคัญ ๆ ขึ้นมากมาย มีการแบงหลักฐานทางประวัติศาสตรออกเปน 2 ประเภทคือ

หลักฐานที่เปนวัตถุ (Material Remains) กับหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษร (Written accounts)

Page 50: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

50

57ยุคกอนประวัติศาสตร57

56ยุคหิน56

56ยุคหินเกา (Paleolithic Age หรือ Old Stone Age)

1. อายุประมาณ 2 ลานปกอนคริสตศักราช

2. ดํารงชีพดวยการลาสัตวและเก็บผลไมปา

3. อาศัยตามถ้ําหรือที่พักหยาบ ๆ

4. พึ่งพาธรรมชาติและไมเขาใจปรากฏการณธรรมชาติ

5. รูจักใชไฟ

6. ประกอบพิธีฝงศพอันเปนจุดเร่ิมตนของศาสนา

7. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ําตามความเชื่อและพิธีกรรม

ยุคหินกลาง (Mesolithic Age หรือ Middle Stone Age)

1. อายุประมาณ 8 พันปกอนคริสตศักราช

2. เร่ิมรูจักเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวแบบงายๆ

3. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ํามีความซับซอนมากขึ้น จุดมุงหมายเพื่อพิธีกรรมความเชื่อเร่ืองวิญญาณ

4. มีพิธีกรรมเกี่ยวกับพระ

56ยุคหินใหม56

1. อายุประมาณ 4 พันปกอนคริสตศักราช

2. ผลิตอาหารไดเอง รูจักเก็บกักอาหาร หยุดเรรอน

3. เคร่ืองมือเคร่ืองใชที่ทําดวยหินประณีตขึ้น

4. รูจักการทอผา เคร่ืองปนดินเผา ทําเคร่ืองทุนแรง เชน การเสียดสีใหเกิดไฟ การประดิษฐเรือ

5. รวมกลุมเกษตรกรรมเปนหมูบาน มีการจัดระเบียบเพื่อควบคุมสังคม มีหัวหนาชุมชน

6. อนุสาวรียหิน (Stonehenge) ซึ่งถือเปนการเร่ิมตนงานสถาปตยกรรมของมนุษย เชื่อวา

สรางเพื่อคํานวณทางดาราศาสตร พิธีกรรมทางศาสนาที่เกี่ยวของกับการเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย

1.3 การเมืองการปกครอง

ระบบการเมืองการปกครอง

เปนแบบแผนความสัมพันธระหวางมนุษย ซึ่งกอใหเกิดขอตกลงที่มีอํานาจบังคับใน

สังคม ทุกระบบจะปรากฏลักษณะสําคัญเบื้องตนรวมกันดังน้ี

1.1 หลักการสําคัญ เปนกฎเกณฑในการจัดต้ังองคการหรือในการดําเนินการตามกระบวนการ

เพื่อกําหนดลักษณะ ใหเปนไปในแนวหน่ึง

Page 51: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

51

1.2 อุดมการณ หมายถึง ความเชื่อมั่นศรัทธาในคุณคาอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยาง

1.3 รูปแบบแหงโครงสราง หมายถึง การกําหนดสถานภาพเพื่อใหสอดคลองกับหลักการ

อุดมการณ

การแบงระบอบการเมืองโดยพิจารณาจากอํานาจอธิปไตย

1. การปกครองโดยคนคนเดียว (Government of One) คือ บุคคลผูเดียวเปนผูใชอํานาจสูงสุด

มี 2 แบบ คือ

1.1 สมบูรณาญาสิทธิราช (Absolute Monarchy) สืบทอดตําแหนงโดยการสืบสันตติวงศ

1.2 เผด็จการ (Dictatorship) ผูปกครองเรียกวา ผูเผด็จการ มีอํานาจเด็ดขาดเชนเดียวกับกษัตริย

อาจจะไดอํานาจทางการเมืองมาโดย การปฏิวัติยึดอํานาจ หรือไดรับเลือกต้ังจากประชาชน

2. การปกครองโดยคนสวนนอย (Government of Many) หรือการปกครองแบบประชาธิปไตย

ประชาชนเปนผูใชอํานาจอธิปไตย โดยการเลือกต้ังผูแทนราษฎรไปบริหารประเทศ หากไมพอใจก็อาจ

เรียกอํานาจกลับคืนมาได

สถาบันการปกครอง ระบบการเมืองการปกครองแบงได 3 ประเภท ดังน้ี

1. การปกครองแบบรัฐสภา คือ ใหรัฐสภา (ฝายนิติบัญญัติ) กับคณะรัฐมนตรี (ฝายบริหาร) มี

ความสัมพันธกันอยางใกลชดิ โดยใหรัฐสภามีฐานะและอํานาจ ความสําคัญเหนือกวาคณะรัฐมนตรี คือ

รัฐมนตรีจะเขาดํารงตําแหนงไดก็ตอเมื่อไดรับความไววางใจจากรัฐสภา รัฐสภามีอํานาจควบคุมการ

บริหารราชการแผนดินของคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีจะยุบสภาไดในกรณีที่รัฐสภาไมรับรองนโยบาย

ของคณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาลแพคะแนนเสียงในการลงมติรับรองรางพระราชบัญญัติสําคัญที่เสนอโดย

รัฐบาล ฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา กับฝายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรี จะมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด

2. การปกครองแบบประธานาธิบด ี เปนการใชระบบการแยกอํานาจ ระหวางฝายนิติบัญญัติ

(รัฐสภา ) ฝายบริหาร (ประธานาธิบดี) และฝายตุลาการ (ศาล) ใหแตละฝายมีอํานาจ และความเปนอิสระ

ในการปฏิบัติหนาที่ของตน โดยรัฐสภาและประธานาธิบดีตางฝายตางมาจากประชาชน ประธานาธิบดี

จะอยูในตําแหนงจนครบวาระและมีอํานาจแตงต้ังคณะรัฐมนตรี ใหมีการถวงดุลอํานาจกันระหวาง

ประธานาธิบดี รัฐสภา และศาล คือ ประธานาธิบดี มีอํานาจถวงดุลรัฐสภา แมวารัฐสภาจะเปนผูออก

กฎหมาย แตจะประกาศใชกฎหมายไดตอเมื่อประธานาธิบดีเปนผูลงนาม สวนรัฐสภาก็มีอํานาจถวงดุล

ประธานาธิบดีไดเชนกัน ประธานาธิบดีและรัฐสภาสามารถถวงดุลอํานาจของศาล ไดดวยการที่

ประธานาธิบดีมีอํานาจในการแตงต้ังผูพิพากษาศาลสูงสุด และตองไดการรับรองจากรัฐสภา แตศาลก็มี

อํานาจถวงดุลประธานาธิบดีและรัฐสภา

3. การปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา ใหประธานาธิบดีเปนทั้งประมุขของชาติและเปน

ประมุขของฝายบริหาร ประธานาธิบดีสามารถอยูในตําแหนงไดจนครบวาระ ประเทศที่ใหกําเนิดรูปแบบ

การปกครองแบบน้ี คือ ประเทศฝร่ังเศส

Page 52: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

52

ระบบการเมืองการปกครองท่ีปรากฏในโลกน้ีมี 2 ระบบ คือ

1. ระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย หมายถงึ การที่ประชาชนมีอํานาจปกครอง

ตนเอง สําหรับในแงการเมืองการปกครองน้ัน

หลักของระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยท่ีสําคัญ ไดแก

1. หลักความเสมอภาค หมายถึง ความเทาเทียมกันของคนในสังคม

2. หลักสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ สิทธิ หมายถึง อํานาจหรือประโยชนของบุคคลซึ่งกฎหมาย

รับรองและคุมครองใหแกบุคคล ซึ่งเปนประชากรของรัฐ เสรีภาพ หมายถึง โอกาสที่บุคคลเลือกปฏิบัติได

ในสิ่งที่เปนประโยชนแกตนมากที่สุด โดยจะถูกควบคุมนอยที่สุด

3. หลักนิติกรรม หมายถึง การยึดถือกฎหมายเปนกฎเกณฑกติกาของประเทศ เทากับทําให

ประชาชนไดรับการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

4. หลักการยอมรับเสียงสวนมาก การใชเสียงขางมากจะตองไมกระทํา เพื่อไปละเมิดสิทธิของ

เสียงสวนนอย

5. อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย คือ การปกครอง

โดยรับความยินยอมจากประชาชน

6. หลักแหงการใชเหตุผล รูปแบบของการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย

2. รูปแบบการเมืองการปกครองแบบเผด็จการ

1. เผด็จการอํานาจนิยม ระบบเผด็จการแบบน้ีมีความมุงหมายที่จะควบคุมสิทธ ิและเสรีภาพ

ทางการปกครองของประชาชนเปนสําคัญ แตผูปกครองอาจยอมใหประชาชนมีเสรีภาพทางสังคม เชน

เสรีภาพในการนับถือศาสนา สิทธิในครองครัวและเสรีภาพในการดํารงชีวิตสวนตัว

2. เผด็จการเบ็ดเสร็จนิยม มีความมุงหมายสําคัญที่ตองการควบคุมการดําเนินการตาง ๆ ของ

ประชาชน ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม

ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข

ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย

1. ทรงเปนประมุขของประเทศ

2. เปนจอมทัพไทย

3. เปนที่เคารพสักการะของชาวไทย

พระราชอํานาจของกษัตริยไทย

1. ทรงใชอํานาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา

2. ทรงใชอํานาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี

3. ทรงใชอํานาจตุลาการทางศาล

Page 53: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

53

พระมหากษัตริยจะทรงลงพระปรมาภิไธยในรางพระราชบัญญัติที่ไดรับความเห็นชอบจาก

รัฐสภาและนายกรัฐมนตรีจะเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทุกคร้ัง ศาลจะเปนผูพิจารณาคดี

ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยพระราชอํานาจในการเลือกและแตงต้ังประธานองคมนตรีและ

องคมนตรี ประธานรัฐสภาจะเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการในการแตงต้ัง และประธานองคมนตรี

จะเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังองคมนตรีคนตอไป

อํานาจอธิปไตยและการใชอํานาจ

อํานาจนิติบัญญัต ิ คือ อํานาจสูงสุดในการออกกฎหมายโดยสถาบันรัฐสภา ในรัฐสภามี 2 สภา คือ

1. สภาผูแทนราษฎร มาจากการเลือกต้ังของประชาชน ในอัตราสวน 1 : 150,000 มีวาระ 4 ป

2. วุฒิสภา มาจากการแตงต้ังของพระมหากษัตริย มีสมาชิก 2 ใน 3 ของสภาผูแทนราษฎร มีวาระ

4 ป

หนาท่ีของรัฐสภา

1. ทําหนาที่ออกกฎหมาย

2. ทําหนาที่คัดเลือกรัฐบาลเขามาบริหารประเทศ

3. รัฐสภาควบคุมการปฏิบัติงานของรัฐบาล

4. วุฒิสภาหรือวุฒิสมาชิกทําหนาที่กลั่นกรองพิจารณารางกฎหมาย

บทบาทของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือ ส.ส.

1. เลือกคณะรัฐบาลเพื่อบริหารงาน

2. เปนสื่อกลางระหวางรัฐบาลกับประชาชน

3. รวมกันเสนอแนะ ปรับปรุงและรักษาการปกครองแบบประชาธิปไตยในสังคมใหดีขึ้น

4. รวมกันตรากฎหมาย แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ขอบังคับของสภา

5. ควบคุมการทํางานของรัฐบาล

6. อนุมัติงบประมาณของแผนดิน

อํานาจบริหาร คือ อํานาจในการนํากฎหมายไปบังคับใชหรือบริหารประเทศโดยรัฐบาล

อํานาจและหนาท่ีของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี

1. ถวายสัตยปฏิญาณตอพระมหากษัตริยวาจะปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต

2. อุทิศเวลาใหแกการบริหารราชการแผนดิน

3. รับผิดชอบรวมกับสภาผูแทนราษฎร

4. มิสิทธิเขาประชุมสภาผูแทนราษฎร

5. มีสิทธิขอใหรัฐสภาเปดอภิปรายทั่วไป

6. มีสิทธิเสนอรางพระราชบัญญัติ

7. มีอํานาจขอกราบบังคมทูลใหยุบสภาผูแทนราษฎร

Page 54: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

54

8. มีอํานาจกราบบังคมทูลแตงต้ังหรือถอดถอนขาราชการฝายทหาร พลเรือน ปลัดกระทรวง

อธิบดี

9. มีอํานาจกราบบังคมทูลขอใหพระมหากษัตริย ประกาศกฎอัยการศึก และพระราชทานอภัย

โทษแกนักโทษได

อํานาจตุลาการ คือ อํานาจในการตัดสินคดี โดยสถาบันศาล ซึ่งศาลแบงเปน 3 ระดับ คือ ศาล

ชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา ผูพิพากษาและตุลาการ มีอิสระในการพิจารณาพิพากษาคดีใหเปนไป

ตามกฎหมาย

1.4 เศรษฐกิจ

สถานการณเศรษฐกิจของไทยในปจจุบัน

ประเทศไทยเปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปด (open economy) คือ เปนประเทศที่

ติดตอทําการซื้อขายสินคาและบริการกับประเทศเพื่อนบาน การคาระหวางประเทศจึงมีบทบาทสําคัญ

ในฐานะกลไกในการพัฒนาและนําความเจริญรุงเรืองมาสูประเทศ รวมทั้งมีสวนสําคัญในการผลักดันให

เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว นับต้ังแต พ.ศ. 2504 ซึ่งเปนปที่รัฐบาลประกาศใชแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 มาเปนแนวทางในประเทศ การคาระหวางประเทศของไทยที่ผาน

ประเทศไทยสวนใหญจะขาดดุลการคา และไดดุลการคาการชําระเงินเปนสวนใหญ เน่ืองจากสินคา

สงออกของไทยสวนใหญจะเปนสินคาเกษตรกรรม ไดแก ขาว ยางพารา ไมสัก ดีบุก ขาวโพด ผลิตภัณฑ

มันสําปะหลัง กุงสด ทุเรียน มังคุดและที่สงออกมากขึ้นโดยเปนสินคาสงออกที่สําคัญไดแก ซีเมนต

อัญมณี ชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส ผาไหมไทย แตในขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็ไดนําเขาสินคาเยอะมาก

เปนเหตุใหเราขาดดุลการคา สามารถจําแนกสินคานําเขาไดดังน้ี

• สินคาอุปโภคบริโภคประเภทอาหาร ผลิตภัณฑนม เคร่ืองด่ืม เคร่ืองใชในบาน มีแนวโนมลดลง

เพราะมีการผลิตทดแทนการนําเขา และพัฒนาไปสูการผลิตเพื่อการสงออก

• สินคากึ่งสําเร็จรูปและวัตถุดิบ เพื่อใชในอุตสาหกรรมภายใน มีแนวโนมสูงขึ้น

• สินคาประเภททุน ไดแก เคร่ืองจักร เคร่ืองมือเคร่ืองใช เคร่ืองทุนแรงรถแทรกเตอร ปุยเคมี มี

แนวโนมสูงขึน้

ระบบเศรษฐกิจของไทย

ความหมายระบบเศรษฐกิจ

- รัฐเขามาดําเนินการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยกําหนดวากิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ชนิดใดรัฐจัดทํากิจกรรมใดใหเอกชนดําเนินการ

- การรวมกันของหนวยเศรษฐกิจ (หนวยธุรกิจ/หนวยครัวเรือน) เพื่อดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

โดยมีการกําหนดหนาที่ของหนวยเศรษฐกิจตาง ๆ

Page 55: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

55

ประเภทระบบเศรษฐกิจ ในปจจุบันแบงระบบเศรษฐกิจเปน 3 ประเภท

1. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมหรือแบบบังคับ

- รัฐกําหนดควบคุม วางแผน ตัดสินใจเกี่ยวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ

- ทรัพยสิน ทรัพยากรและปจจัยการผลิตเปนของรัฐ

- เชนในประเทศเวียดนาม เกาหลีเหนือ คิวบา

2. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือระบบตลาด

- เอกชนหรือหนวยธุรกิจตาง ๆ มีอิสระในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

- เนนการแขงขันของเอกชน เกิดการผลิตสินคาที่มีคุณภาพเพื่อแยงตลาดการขาย เปนไปตาม

กลไกราคา

- เอกชนมีสิทธิ์ในทรัพยสินและปจจัยการผลิต เงิน

- สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญ่ีปุน

3. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบผสม

- กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางรัฐเปนผูดําเนินการ บางอยางเอกชนดําเนินการ

- เอกชนมีสิทธิ์ในทรัพยสิน มีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมภายใตกฎหมาย มีการแขงขัน

ภายใตกลไกราคา มีกําไร

- รัฐประกอบกิจกรรมที่เปนสาธารณูปโภคพื้นฐานที่จําเปน

- รัฐเขาแทรกแซงการผลิตของเอกชนเพื่อปองกันการเอารัดเอาเปรียบ

ลักษณะเศรษฐกิจไทย

ไทยใชระบบเศรษฐกิจแบบผสมแตคอนขางไปทางทุนนิยม เอกชนมีบทบาทในการผลิตดาน

ตาง ๆ มากกวารัฐบาลเอกชนมีสิทธิ์ในทรัพยสินและปจจัยการผลิต มีเสรีภาพในการดําเนินกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจ มีการแขงขันเพื่อพัฒนาคุณภาพของสินคารัฐบาลดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจดานกิจกรรม

สาธารณูปโภค

กลไกราคา หมายถึง ภาวการณของตลาดเปนการเคลื่อนไหวของราคาสินคาที่ขึ้นอยูกับความ

ตองการของผูบริโภคและผูผลิตรวมกันในตลาด

อุปสงค (Demand) คือ ปริมาณความตองการที่จะซื้อสินคา

กฎของอุปสงค เมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ความตองการซื้อจะลดลง เมื่อสินคาราคาถูกปริมาณความ

ตองการซื้อจะเพิ่มขึ้น

อุปทาน (Supply) คือ ปริมาณสินคาที่ผูผลิตหรือผูขายพอใจ จะผลิตหรือขายแกผูบริโภค

กฎของอุปทาน เมื่อสินคาราคาแพง ผูผลิตหรือพอคาจะนําสินคาออกมาขายมาก หรือผลิตมากขึ้น

เมื่อสินคาตํ่าลงจะนําออกมาขายนอยหรือผลิตนอยลง

Page 56: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

56

ปจจัยท่ีมีผลตออุปสงคและอุปทาน

1. ราคาสินคา

2. รายไดของผูบริโภค ตนทุนการผลิต

3. รสนิยมของผูบริโภค

4. ราคาสินคาอ่ืนที่ใชแทนกันได

5. จํานวนผูผลิตคูแขง

6. สภาพลมฟา อากาศ ลักษณะธรรมชาติ

สถาบันการเงิน

คือ สถาบัน ที่ทําหนาที่ระดมเงินออมจากประชาชน โดยจายดอกเบี้ยให จากน้ันก็จะนําเงินออม

ดังกลาวไปปลอยกูหรือสินเชื่อแกผูตองการใชเพื่อใชในการบริโภคหรือเพื่อการลงทุน

ประเภทของสถาบันการเงิน

- ธนาคารแหงประเทศไทย มีหนาที่จัดการดูแล ควบคุมระบบเงินของประเทศมีชื่อเรียกวา

ธนาคารชาติ

- ธนาคารพาณิชย มีหนาที่เปนแหลงเงินออมและเงินกูสําคัญของประชาชน ซื้อขายเงินตรา

ตางประเทศใหเชาตูนิรภัย โอนเงิน ชําระคาไฟฟา ประปา ฯลฯ

- ธนาคารที่ต้ังขึ้นเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ เชน ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห ธกส.

ธนาคารเพื่อการนําเขาและสงออก

- บริษัทเงินทุน มีหนาที่ ระดมเงินทุนหรือกูยืมเงินจากประชาชน โดยออกต๋ัวสัญญาใชเงินให

เปนประกันคร้ังละไมตํ่ากวา 10,000 บาท บางคร้ังเรียกวา ไฟแนนซ หรือ ทรัสต

- บริษัทหลักทรัพย มีหนาที่ เปนนายหนาหรือตัวแทน (โบรกเกอร) ซื้อขายหลักทรัพย (หุน)

แกบุคคลอ่ืน หรือแนะนําการซื้อขายหุนแกประชาชน

- บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย จัดต้ังเพื่อใหสินเชื่อแกเอกชนในระยะยาว เพื่อ

การลงทุนผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยคิดดอกเบี้ยเงินกูในอัตราตํ่า

- บรรษัทประกันชีวิตและประกันภัย ทําหนาที่ระดมเงินออมจากประชาชนในรูปของการขาย

กรมธรรม เปนหนังสือสัญญาการประกันชีวิต ประกันภัย หรือประกันอุบัติเหตุใหแกผูซื้อ บริษัทจะไดรับ

ผลประโยชนจากการนําเงินการขายกรมธรรมไปลงทุนในรูปแบบตาง ๆ

- บริษัทเครดิตฟองซิเอร ทําหนาที่ปลอยสินเชื่อใหลูกคาโดยมีที่อสังหาริมทรัพยประเภทที่ดิน

หรือบาน เปนหลักประกัน (จํานอง) แหลงที่มาของเงินทุนมาจากการกูเงินจากธนาคารพาณิชย

- โรงรับจํานํา มีหนาที่เปนสถาบันการเงินขนาดเล็ก มีทั้งของรัฐและเอกชน โดยมีทรัพยสิน

ประเภทสังหาริมทรัพย (แหวน สรอย ทองคํา เปนตน) มีชื่อเรียกวาสถานธนานุบาล สถานธนานุเคราะห

Page 57: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

57

- สหกรณออมทรัพย เกิดจากสมาชิกที่ประกอบอาชีพเดียวกัน รวมกลุมกันเพื่อชวยเหลือสมาชิก

ดานการเงิน โดยรับฝากเงินและใหกูเงินเมื่อมีความจําเปน

- ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนสถาบันการเงินภายใตการควบคุมของรัฐ

(กระทรวงการคลัง) ทําหนาที่เปนศูนยกลางในการซื้อขายหลักทรัพย (หุน) ควบคุมการซื้อขายใหมี

ระเบียบยุติธรรม เกิดผลดีตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11

คือ เพื่อมุงสู "สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอ

การเปลี่ยนแปลง" ปจจุบันใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 จากป พ.ศ. 2554 - 2559

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11

จุดเดน คือ นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนาประเทศ

อยางตอเน่ือง เพื่อมุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนา

ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน

เปาหมาย

1. เพื่อเสริมสรางสังคมที่เปนธรรมและเปนสังคมสันติสุข

2. เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุมวัยอยางเปนองครวมทั้งทางกาย ใจ สติปญญา อารมณ คุณธรรม

จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ

3. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจใหเติบโตอยางมีเสถียรภาพ คุณภาพ และยั่งยืน มีความเชื่อมโยงกับ

เครือขายการผลิตสินคาและบริการบนฐานปญญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรคในภูมิภาคอาเซียน

มีความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน การผลิตและการบริโภคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นําไปสูการเปน

สังคมคารบอนตํ่า

4. เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอการรักษาสมดุลของ

ระบบนิเวศ และเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ

รายไดและรายจายของรัฐ

รายจายของรัฐ รัฐมีบทบาทในการบริหารเศรษฐกิจและกิจกรรมทางเศรษฐกิจผานงบประมาณ

รายจายจําแนกตามกระทรวง

1. งบกลางที่จัดสรรโดยคณะรัฐมนตรีใหแกกระทรวง กรมตาง ๆ หนวยงาน รัฐวิสาหกิจ

2. งบหมุนเวียน งบประมาณที่จัดสรรใหกองทุนตาง ๆ ของรัฐ เชน กองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา

กองทุนชวยเหลือเกษตรกร เปนตน

Page 58: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

58

รายไดของรัฐ

1. ภาษีอากร

2. การเรียกเก็บคาบริการของรัฐ

3. เงินกู

- กูโดยตรงของรัฐบาล

- กูโดยรัฐวิสาหกิจโดยรัฐค้ําประกัน

1.5 สังคมไทย

ลักษณะท่ัวไปของสังคมไทยลักษณะท่ัวไปของสังคมไทย

สังคมไทยเปนสังคมเกษตร โดย

พิจารณาจากวิวัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และสภาพทีต้ั่ง

ของประเทศไทยอาจกลาวไดวา ชุมชนของคนไทยโดยทั่วไป

เปนชุมชนในชนบท เปนสวนใหญ และมีชุมชนในเขตเมือง

โดยเฉพาะ ในเมืองหลักของแตละภูมิภาคและเมืองหลวง

ของประเทศ อันไดแก เชียงใหม เปนเมืองหลักของภาคเหนือ

นครราชสีมา เปนเมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ชลบุรี เปนเมืองหลักของภาคตะวันออก สงขลา เปนเมืองหลักของภาคใต และกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑล เปนเมืองหลวงของประเทศไทย

ลักษณะท่ัวไปของสังคมชนบทไทยลักษณะท่ัวไปของสังคมชนบทไทย

1. สมาชกิของครอบครัวมีความสัมพันธกันอยางแนนแฟน

2. ครอบครัวเปนหนวยที่สําคัญทางเศรษฐกิจ และมีลักษณะเบ็ดเสร็จชวยกันทํางาน

3. วัด เปนสถานที่สําคัญอยางหน่ึงและมีอยูมากมาย เพื่อใชสําหรับประกอบพิธีกรรมทาง

ศาสนา

4. ชาวชนบทสวนใหญยึดมั่นอยูกับประเพณีเดิม

5. ชาวชนบทเชื่อถือสิ่งศักด์ิสิทธิ์

6. ชาวชนบทมีอัตราการเกิดสูง

7. ระดับการศึกษาและเทคนิคในอาชีพตํ่า

8. เปนสังคมที่มีความสัมพันธกันตามประเพณี

9. ชาวชนบทสวนใหญใชเงินไปในพิธีกรรมตาง ๆ

10. ชาวชนบทมีระดับความคิดและความเขาใจแคบ มักมองอยูแตเฉพาะเร่ืองใกล ๆ ตัว

11. คานิยมชาวชนบทไทย การนับถือผูใหญ ยกยองนักเลงหรือผูมีอํานาจเอ้ือเฟอเผื่อแผ

จิตใจกวางขวาง รูจักบุญคุณ ไมเอารัดเอาเปรียบและไมเบียดเบียนเพื่อนบาน รักญาติพี่นองและทองถิ่น

Page 59: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

59

ลักษณะท่ัวไปของสังคมเมืองของไทยลักษณะท่ัวไปของสังคมเมืองของไทย

1. มีความสัมพันธกันในลักษณะทุติยภูมิ

2. ความผูกพันกันในครอบครัวมีนอย

3. อาชีพของชาวเมืองมีมากมาย

4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนไปอยางรวดเร็ว

5. เปนศูนยรวมของการศึกษา การปกครอง ธุรกิจการคาและอ่ืน ๆ

6. ชาวเมืองสวนใหญชวยเหลือตนเองไมคอยได

7. เปนสังคมที่มีประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วโดยการอพยพเขามาในเมือง

8. คนในเมืองมีการแขงขันแยงชิงกันสูง

9. คานิยมความโออา วัตถุนิยม เปนตน

ปจจัยท่ีทําใหระดับความแตกตางระหวางชนบทกับเมืองลดลงปจจัยท่ีทําใหระดับความแตกตางระหวางชนบทกับเมืองลดลง

1. ความเจริญกาวหนาทางดานการสื่อสาร การคมนาคม

2. การเคลื่อนยายของชาวชนบทเขาไปสูในเมือง

3. เน่ืองจากชาวเมืองอพยพโยกยายไปอยูในชนบท หรือเขตชานเมือง

4. เน่ืองจากการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม

5. เน่ืองจากความเจริญทางดานการศึกษา

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีลักษณะที่สําคัญ

1. เปนการเปลี่ยนแปลงในดานความสัมพันธระหวางมนุษย ( Social relationship ) ที่มนุษยได

ปฏิบัติตอกันในสังคมน้ันเอง

2. เปนการเปลี่ยนแปลงในดานโครงสราง การหนาที่ การกระบวนตาง ๆ ภายในโครงสรางของ

สังคม

3. การเปลี่ยนแปลงสามารถเกิดขึ้นไดทุกเวลา โอกาส และการเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจจะสงผล

กระทบตอบุคคลในสังคม

ประเภทของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมประเภทของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนปรากฏการณทางสังคมที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา บางคร้ังก็สามารถ

ประสานความรวมมือกันได เชน การรวมมือกัน (Cooperation) การปรับตัวเขาหากัน (Accommodation)

การกลืนกลายทางดานวัฒนธรรม (Assimilation) และบางคร้ังก็ขัดแยงกัน เชน การแขงขัน (Competition)

ความขัดแยงกัน (conflict)

Page 60: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

60

จากรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวแบงออกเปน 2 ประเภท

1. Progressive social change

2. Regressive social change

ปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

1. ปจจัยทางดานประยุกต (Technology Factor)

1.1 การคมนาคมขนสง (Communication)

1.2 สื่อสารมวลชน (Mass media)

1.3 เคร่ืองจักรกล (machinery)

2. ปจจัยทางดานประชากร (Population Factor)

3. กระบวนการอุตสาหกรรม (Industrialization)

4. ตัวนําการเปลี่ยนแปลง (Change agent)

5. การเคลื่อนไหวทางสังคม (Social mobility)

6. สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ

7. ปจจัยทางดานวัฒนธรรม

8. ทัศนคติและคานิยม

9. ความตองการที่จะรับการเปลี่ยนแปลง

1.6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สิ่งแวดลอมมีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตเกิดจากการกระทําของมนุษยหรือมีอยูตาม

ธรรมชาติ เชน อากาศ ดิน หิน แรธาตุ นํ้า หวย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว

ตาง ๆ ภาชนะเคร่ืองใชตาง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดลอมดังกลาวจะมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ โดยเฉพาะมนุษย

เปนตัวการสําคัญยิ่งที่ทําใหสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสรางและทําลาย จะเห็นวา ความหมาย

ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ตางกันที่สิ่งแวดลอมน้ันรวมทุก

สิ่งทุกอยางที่ปรากฏอยูรอบตัวเรา สวนทรัพยากรธรรมชาติเนนสิ่งที่อํานวยประโยชนแกมนุษยมากกวา

สิ่งอ่ืน

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ก. ทรัพยากรธรรมชาติ แบงตามลักษณะที่นํามาใชได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวไมหมดสิ้น ไดแก

1) ประเภทที่คงอยูตามสภาพเดิมไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เชน พลังงานจากดวงอาทิตย

ลม อากาศ ฝุน ใชเทาไรก็ไมมีการเปลี่ยนแปลงไมรูจักหมด

Page 61: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

61

2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงได เน่ืองจากถูกใชในทางที่ผิด เชน ที่ดิน นํ้า ลักษณะภูมิประเทศ

ฯลฯ ถาใชไมเปนจะกอใหเกิดปญหาตามมา ไดแก การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ํา ๆ ซาก ๆ ในที่เดิม ยอมทํา

ใหดินเสื่อมคุณภาพ ไดผลผลิตนอยลงถาตองการใหดินมีคุณภาพดีตองใสปุยหรือปลูกพชืสลับและหมุนเวียน

2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแลวหมดสิ้นไป ไดแก

1) ประเภทที่ใชแลวหมดไป แตสามารถรักษาใหคงสภาพเดิมไวได เชน ปาไม สัตวปา

ประชากรโลก ความอุดมสมบรูณของดิน นํ้าเสียจากโรงงาน นํ้าในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ

ซึ่งอาจทําใหเกิดขึ้นใหมได

2) ประเภทที่ไมอาจทําใหมีใหมได เชน คุณสมบัติธรรมชาติของดิน พรสวรรคของมนุษย

สติปญญา เผาพันธุของมนุษยชาติ ไมพุม ตนไมใหญ ดอกไมปา สัตวบก สัตวนํ้า ฯลฯ

3) ประเภทที่ไมอาจรักษาไวได เมื่อใชแลวหมดไป แตยังสามารถนํามายุบใหกลับเปนวัตถุ

เชนเดิม แลวนํากลับมาประดิษฐขึ้นใหม เชน โลหะตาง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคํา ฯลฯ

4) ประเภทที่ใชแลวหมดสิ้นไปนํากลับมาใชอีกไมได เชน ถานหิน นํ้ามันกาซ อโลหะ ฯลฯ

สวนใหญ ถูกนํามาใชเพียงคร้ังเดียวก็เผาไหมหมดไป ไมสามารถนํามาใชใหมได

ทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สําคัญของโลกและของประเทศไทย ไดแก ดิน ปาไม สัตวปา นํ้า

แรธาตุ และประชากร (มนุษย)

ข. สิ่งแวดลอม

สิ่งแวดลอมของมนุษยที่อยูรอบ ๆ ตัว ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งเกิดจากการกระทํา

ของมนุษย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ จําแนกได 2 ชนิด คือ

1.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ไดแก อากาศ ดิน ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ

ทัศนียภาพตาง ๆ ภูเขา หวย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด

1.2 สิ่งแวดลอมทางชีวภาพหรือชีวภูมิศาสตร ไดแก พืชพันธุธรรมชาติตาง ๆ สัตวปา ปาไม

สิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ ที่อยูรอบตัวเราและมวลมนุษย

2. สิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดลอมประดิษฐ หรือมนุษยเสริมสรางขึ้น ไดแก

สิ่งแวดลอมทางสังคมที่มนุษยเสริมสรางขึ้นโดยใชกลวิธีสมัยใหม ตามความเหมาะสมของสังคม

เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนาและวัฒนธรรม เชน เคร่ืองจักร เคร่ืองยนต ฝนเทียม เขื่อน บานเรือน อ่ืน ๆ

ไดแก อาหาร ที่อยูอาศัย และสุขภาพอนามัย ซึ่งเกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ

2.1 มนุษยเปนตัวการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อผลประโยชนของตนเองมากกวาสิ่งอ่ืน เชน

การลักลอบตัดไมทําลายปา เพื่อนํามาสรางที่อยูอาศัย ปลอยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนต

ทําใหสิ่งแวดลอมเปนพิษ (นํ้าเนา อากาศเสีย)

Page 62: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

62

2.2 ธรรมชาติแวดลอม สวนใหญมีการเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ เชน แมนํ้าที่พัดพาตะกอน

ไปทับถมปากแมนํ้าตองใชเวลานานจึงจะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดินก็เชนเดียวกัน สวน

การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วน้ันเกิดจากแรงภายในโลก เชน แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อ่ืน ๆ ไดแก

อุทกภัยและวาตภัย ไฟปา เปนตน ซึ่งภัยธรรมชาติดังกลาวจะไมเกิดบอยคร้ังนัก

วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลก

1. ปญหาวิกฤตดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลก ปญหาวิกฤตการณดาน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลกในปจจุบัน แบงไดเปน 3 ปญหาใหญ ๆ ดังน้ี

1.1 ปญหาทรัพยากรธรรมชาติลดความอุดมสมบูรณ ทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ

ไดแก ดิน นํ้า ปาไม สัตวปา และแรธาตุตาง ๆ

1.2 ปญหาการเกิดมลภาวะหรือมลพิษตาง ๆ ของสิ่งแวดลอม เชน นํ้าเนาเสีย อากาศเปน

พิษ มลพิษของเสียง และมลพิษจากขยะมูลฝอย เปนตน

1.3 ปญหาที่เกิดจากการทําลายระบบนิเวศทางธรรมชาติ เชน ฝนทิ้งชวง ภัยจากความ

แหงแลง อุทกภัย วาตภัย และภาวะโลกรอนมีอุณหภูมิสูง เปนตน

2. สาเหตุท่ีทําใหโลกเกิดวิกฤตดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สาเหตุพื้นฐานของปญหา

วิกฤติการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลกในปจจุบัน คือ

2.1 การเพิ่มของจํานวนประชากรโลก ในปจจุบัน ประชากรโลกมีประมาณ 6,314 ลานคน

(พ.ศ. 2546) จึงเปนสาเหตุโดยตรงทําใหเกิดการสูญเสียในทรัพยากรธรรมชาติอยางรวดเร็ว และเกิดมลพิษ

ของสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตามมา สรุปไดดังน้ี

(1) อัตราการเพิ่มของประชากร ประเทศที่พัฒนาแลวมีอัตราการเพิ่มของประชากรคอนขาง

ตํ่าเฉลี่ยรอยละ 0.1 ตอป สวนประเทศที่กําลังพัฒนามีอัตราการเพิ่มของประชากรอยูในเกณฑสูงเฉลี่ย

รอยละ 1.5 ตอป

(2) การเพิ่มของจํานวนประชากรในชนบท ทําใหผูคนในชนบทอพยพเขามาหางานทํา

ในเมืองเกิดการขยายตัวของชุมชนเมืองอยางรวดเร็ว และยิ่งมีการนําเทคโนโลยีมาใชในการผลิต

ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้นก็ยิ่งสงผลใหเกิดปญหามลพิษของสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตามมา

(3) การเพิ่มของจํานวนประชากรสงผลใหเกิดการแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติเพื่อนํามาใช

ประโยชนสนองความตองการของประชาชนมากยิ่งขึ้น มีการบุกรุกพื้นที่ปาไมเพื่อนํามาใชเปนพื้นที่

เกษตรกรรม เชน พื้นที่ปาลุมแมนํ้าอะเมซอน (Amazon) ในทวีปอเมริกาใต ซึ่งทําใหทั่วโลกหว่ันวิตกวาจะ

เปนการสูญเสียพื้นที่ปอดของโลก

Page 63: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

63

2.2 ผลกระทบจากการใชวิทยาการและเทคโนโลยี ในปจจุบันมีการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัย

มาใชในการผลิตดานตาง ๆ อยางกวางขวางทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการ แตถานํา

เทคโนโลยีไปใชอยางไมเหมาะสม อาจสงผลกระทบทําใหเกิดการสูญเสียความอุดมสมบูรณของ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได ดังเชน

(1) การสํารวจ ขุดเจาะ หรือขนสงนํ้ามันดิบจากแหลงขุดเจาะในทะเลโดยทางเรือบรรทุก

นํ้ามัน อาจเกิดอุบัติเหตุทําใหนํ้ามันร่ัวไหลมีคราบนํ้ามันปนเปอนบริเวณพื้นผิวนํ้า เปนอันตรายตอ

สิ่งมีชีวิตในทะเล และทําใหระบบนิเวศของทองทะเลตองเสียความสมดุลไป

(2) การสรางเขื่อนและอางเก็บนํ้าขนาดใหญ ทําใหสูญเสียพื้นที่ปาไมจํานวนมาก

(3) การต้ังโรงงานอุตสาหกรรมอยางหนาแนน ทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ เสียง และ

แหลงนํ้าตามธรรมชาติ เปนตน

3. สรุปวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลก

3.1 วิกฤตการดานทรัพยากรธรรมชาติของโลก มีดังน้ี

(1) การตัดไมทําลายปา และการสูญเสียพื้นที่ปาไม

(2) ความเสื่อมโทรมของดิน และการชะลางพังทลายของดิน

(3) การขาดแคลนทรัพยากรนํ้าจืด

3.2 วิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมของโลก

(1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (ภาวะโลกรอน และชั้นโอโซนถูกทําลาย)

(2) มลพิษทางอากาศ

(3) หมอกควัน และฝนกรด

(4) ปรากฏการณเรือนกระจก (Green house effect)

(5) ปรากฏการณเอลนิโญ (El Nino)

(6) การละลายของธารนํ้าแข็งและภาวะนํ้าทวม

(7) การเพิ่มขึ้นของขยะเทคโนโลยี

การอนุรักษทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก

(1) ปลูกตนไมเพื่อทดแทนของเดิมที่ถูกทําลายไป

(2) อนุรักษปาไมไวไมใหบุกรุกไปสรางบานเรือนจนกินเน้ือที่ปามาก

(3) ควบคุมดูแลการใชนํ้า ไฟ อยางประหยัด

ผลการจัดลําดับความสําคัญของปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การจัดลําดับความสําคัญของปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใชเกณฑ 2 ประการ ดังน้ี

(1) การจัดลําดับความสําคัญดวยมูลคาความเสียหายของปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม4

เน่ืองจากความแตกตางของลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงทํา

Page 64: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

64

4ใหวิธีการคํานวณมูลคาความเสียหายในการศึกษาน้ีมีหลากหลายวิธี เชน ทรัพยากรที่ใชแลวไมหมดไป

เชน ทรัพยากรดิน ปา นํ้า ประมงทะเลและทรัพยากรชายฝง เปนการคํานวณตนทุนการทดแทน การ

สูญเสียรายได การสูญเสียทรัพยสิน สําหรับดานมลพิษทางอากาศและมลพิษทางนํ้า เปนการคํานวณมูลคา

ความเสียหายดานสุขภาพ สวนมลพิษจากขยะและของเสียอันตรายจะคํานวณตนทุนการปองกันและการ

กําจัด เปนตน4

จากการประเมินมลูคาความเสยีหายที่เกิดจากการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เกินระดับของการพัฒนาที่ยั่งยืน พบวา ลําดับความสําคัญของปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ในระดับประเทศในชวง 5 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2542 - 2546) พบวาปญหาในลําดับตน ๆ เปนปญหาดาน

ทรัพยากรธรรมชาติ

(2) การจัดลําดับความสําคัญดวยทัศนคติของประชาชนที่มีตอปญหาทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

ลําดับ 1 ทรัพยากรปาไม51

ที่ผานมาพื้นที่ปาไมในประเทศไทยไดลดลงอยางตอเน่ือง โดยในป พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมี

พื้นที่ปาไม 171 ลานไร หรือรอยละ 53.3 ของพื้นที่ประเทศ และลดลงเหลือ 81 ลานไร หรือรอยละ 25.3

ของพื้นที่ประเทศ ในป พ.ศ. 2543 มีพื้นที่เทากับ 106 ลานไร หรือรอยละ 33.1 ของพื้นที่ประเทศ อยางไร

ก็ตาม ในป พ.ศ. 2547 พื้นที่ปาในประเทศไทยกลับลดลงเหลือ 105 ลานไร หรือรอยละ 32.5 ของพื้นที่

ประเทศ การลดลงของพื้นที่ปาเกิดไดจากหลายสาเหตุ ทั้งจากการใชประโยชนที่ดิน การตัดไมเพื่อการคา

รวมทั้งนโยบายของรัฐที่เนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคม ไดแก การใหสัมปทานการทําไม การ

กอสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานตาง ๆ และการเกิดไฟปา

ลําดับ 2 ทรัพยากรนํ้า51

ประเทศไทยถือวาเปนประเทศที่มีปริมาณนํ้าพอเพียง แตมีปญหาในเร่ืองการบริหารจัดการนํ้า

ทําใหบางพื้นที่มีปญหาการขาดแคลนนํ้าในชวงฤดูแลง โดยพิจารณาจากปริมาณนํ้าหมุนเวียนที่ใชไดใน

ประเทศ (internal renewable water resource) ซึ่งเทากับ 3,308 ลูกบาศกเมตรตอคน สูงกวาเกณฑเฉลี่ยที่

ยอมรับไดขององคการสหประชาชาติ คือ ตองไมนอยกวา 1,700 ลูกบาศกเมตรตอคนตอป

ลําดับ 3 ทรัพยากรดินและการใชท่ีดิน51

ทรัพยากรดินและที่ดินถือเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอประเทศไทยเปนอยางมาก

เน่ืองจากดินและที่ดินเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญในภาคการเกษตร และเปนที่ต้ังของที่อยูอาศัยและสิ่ง

ปลูกสรางตาง ๆ แตจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร การขยายตัวของเขตเมือง และนโยบายภาครัฐที่

มุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ทําใหที่ผานมามีการใชประโยชนจากทรัพยากรดินอยางไม

เหมาะสมและไมมีประสิทธภิาพในหลายพื้นที่ ซึ่งเมื่อประกอบกับปญหาการใชที่ดินที่ไมถูกตองตาม

Page 65: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

65

หลักการอนุรักษดินและนํ้า การพังทลายของดิน และการใชปุยเคมีในอัตราที่เพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง โดยเพิ่ม

จาก 506,428 ตัน ในป พ.ศ. 2518 เปน 4,035,570 ตัน ในป พ.ศ. 2546 จึงสงผลใหทรัพยากรดินในหลาย

พื้นที่ของประเทศมีปญหาความเสื่อมโทรม เชน การเกิดดินเค็ม ดินเปร้ียว และดินขาดอินทรียวัตถุ เปนตน

ลําดับ 4 มลพิษจากขยะ

ขยะที่เพิ่มขึ้นเปนผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของประชากร ในรอบ 10 ปที่ผานมา

ขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนทั่วประเทศมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง ในป พ.ศ. 2539 มีปริมาณขยะชุมชน

13.2 ลานตัน ในป พ.ศ. 2548 ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นเปน 14.3 ลานตัน ดังน้ันการนําขยะกลับมาใชใหมจึงเปน

แนวทางจัดการกับปญหาขยะที่สําคัญ ซึ่งในปจจุบันรอยละ 21.7 ของขยะที่เกิดขึ้นไดถูกนํากลับมาใชใหม

ลําดับ 5 มลพิษทางอากาศ51

คุณภาพอากาศของประเทศไทยมีแนวโนมดีขึ้นในชวงป พ.ศ. 2539 - 2548 แตยังมีปญหาทางดาน

ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน และกาซโอโซนที่มีคาเกินมาตรฐาน และสงผลกระทบตอสุขภาพของ

ประชาชนในพื้นที่ ปญหาเหลาน้ีเกิดจากการปลอยมลพิษจากยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟา

และการเผาในที่โลง ทั้งน้ี ปญหาฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศยังสงผลกระทบตอสุขภาพของมนุษยที่

เกี่ยวของกับระบบทางเดินหายใจคอนขางรุนแรง

ลําดับ 6 มลพิษทางนํ้า

สถานการณคุณภาพแหลงนํ้าจืด บริเวณแมนํ้าสายสําคัญ 49 สายและแหลงนํ้าน่ิง 4 แหลง ในชวง

ป พ.ศ. 2544 - 2548 พบวาคุณภาพนํ้าโดยรวมมีแนวโนมเสื่อมโทรมมากขึ้น

ลําดับ 7 ทรัพยากรพลังงาน

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ สงผลใหความตองการ

ใชพลังงานมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคการขนสง และภาคอุตสาหกรรมการผลิต ถึงแมวา

ประเทศไทยมีการผลิตพลังงานจากกาซธรรมชาติและลิกไนตแตยังไมเพียงพอตอความตองการ ทําใหตอง

พึ่งพาพลังงานจากตางประเทศ มีการนําเขาพลังงานถึงรอยละ 60 ของปริมาณการใชทั้งหมด

ลําดับ 8 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

ในอดีตประเทศไทยมีปาชายเลนที่อุดมสมบูรณกระจายอยูทั่วไปตามแนวชายฝงทะเลโดยในป

พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีพื้นที่ปาชายเลนอยูกวา 2.30 ลานไร แตในป พ.ศ. 2539 พื้นที่ปาชายเลนเหลือ

เพียง 1.05 ลานไร ทั้งน้ีเน่ืองจากการพัฒนาเขตอุตสาหกรรม แหลงชุมชน นากุง และกิจกรรมอ่ืน ๆ ใน

พื้นที่ปาชายเลน จนทําใหปาชายเลนถูกทําลายไปเปนจํานวนมาก จากขอมูลดาวเทียมในป พ.ศ. 2543

พบวามีพื้นที่ปาชายเลน 1.53 ลานไร และเพิ่มขึ้นเปน 1.72 ลานไร ในป พ.ศ. 2547 เน่ืองจากทุกภาคสวน

ไดตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลนจนทําใหมีการอนุรักษ ฟนฟู และปลูกปาชายเลนมากขึ้น โดยใน

ปจจุบันพื้นที่ปาชายเลนทั้งหมดเปนพื้นที่ปาอนุรักษ

Page 66: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

66

ลําดับ 9 มลพิษจากสารอันตราย

จากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางตอเน่ืองทําใหความตองการใชสารอันตรายเพิ่มมากขึ้น

ซึ่งสารเคมีที่ใชมาจากทั้งที่นําเขาและผลิตเองในประเทศ มลพิษจากสารอันตรายที่เกิดขึ้น คือ อุบัติภัย

จากสารอันตรายที่เกิดจากการขนสงและการประกอบกิจการที่ใชสารอันตรายในลักษณะการร่ัวไหล

เพลิงไหม และการระเบิด ผลกระทบจากสารอันตราย คือ การเกิดพิษตอรางกายจากการไดรับสาร

อันตรายโดยตรงและการแพรกระจายของสารอันตรายสูสิ่งแวดลอม ในป พ.ศ. 2538 - 2547 ประเทศไทย

มีผูปวยจากการไดรับสารอันตรายทางการเกษตรเฉลี่ยปละกวา 3,000 ราย

ลําดับ 10 มลพิษจากของเสียอันตรายจากชุมชน

ของเสียอันตรายครอบคลุมสิ่งของวัสดุที่ไมใชหรือใชไมไดที่เจือปนดวยสารมีพิษ สารกัดกรอน

สารไวไฟ เชน แบตเตอร่ี ถานไฟฉาย หลอดไฟ กระปองสเปรย เปนตน ในปจจุบันประเทศไทยยังไมมี

ระบบจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ดังน้ัน ของเสียอันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นประมาณ 0.3 - 0.4

ลานตันตอป จึงถูกทิ้งรวมกับขยะทั่วไป กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของประชาชนได

ลําดับ 11 ทรัพยากรธรณีและแร

ทรัพยากรแร เปนปจจัยการผลิตที่สําคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ จึงไดมีการ

พัฒนาแหลงแรและนําแรมาใชประโยชนอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะกลุมแรอุตสาหกรรมและหินปูน การ

ปนเปอนสารพิษในสิ่งแวดลอม มลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง และผลกระทบตอสุขภาพของ

ประชาชนทั้งที่เกิดจากตัวแรและกระบวนการพัฒนาแรขึ้นมาใชซึ่งกอใหเกิดตนทุนการรักษาพยาบาลและ

การสูญเสียรายได เชน เหตุการณการปนเปอนของสารหนูบริเวณอําเภอรอนพิบูลย จังหวัดนครศรีธรรมราช

ทําใหประชาชนในพื้นที่เปนโรคพิษสารหนูและสูญเสียชีวิตเน่ืองจากการเปนมะเร็งผิวหนัง

ลําดับ 12 มลพิษทางเสียง

สถานการณมลพิษทางเสียงในบริเวณริมถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลในชวงป

พ.ศ. 2540 - 2547 มีคาระดับเสียงเฉลี่ยเกินคามาตรฐาน (70 เดซิเบล เอ) โดยพบวามีจํานวนวันที่ระดับเสียง

เกินคามาตรฐานมากกวารอยละ 80 ของจํานวนวันที่ตรวจวัดทั้งหมด แหลงกําเนิดเสียงที่สําคัญมาจาก

ยานพาหนะ โรงงาน สถานประกอบการ การกอสราง และแหลงชุมชน สําหรับในพื้นที่ทั่วไป พบระดับ

เสียงเฉลี่ยอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนบริเวณจังหวัดสระบุรี มีระดับเสียงเกินคามาตรฐาน ซึ่งเกิดจาก

กิจกรรมเหมืองหิน

Page 67: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

67

หลักการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไป ไดแก นํ้ามันปโตเลียม กาซธรรมชาติและสินแร

- นํ้ามันปโตเลียมและกาซธรรมชาติ เปนทรัพยากรธรรมชาติที่

หมดสิ้นไดเมื่อหมดแลวก็ไมสามารถเกิดขึ้นมาใหมได หรือถาเกิดใหมก็ตอง

ใชเวลานานหลายลานปจึงจะเกิดมีขึ้น แตในการใชเราจะใชหมดไปในวัน

เวลาอันรวดเร็ว การจัดการทรัพยากรประเภทน้ี จึงตองเนนใหใชอยาง

ประหยัด ใชใหคุมคาที่สุดและใหไดประโยชนที่สุด ไมเผาทิ้ง

ไปโดยเปลาประโยชน

- สินแร เปนทรัพยากรที่หมดสิ้นได และถาหมดสิ้น

แลวก็ยากที่จะทําใหมีใหมได การจัดการเกี่ยวกับสินแรทําได

โดยการใชแรอยางฉลาดเพื่อใหแรที่ขุดขึ้นมาใชไดประโยชน

มากที่สุด แรชนิดใดที่เมื่อใชแลวอาจนํากลับมาใชใหมไดอีก

ก็ใหนํามาใช ไมทิ้งใหสูญเปลา นอกจากน้ันยังตองสํารวจหา

แหลงแรใหม ๆ อยูเสมอ

ทรัพยากรท่ีใชไมหมดสิ้น มีอยูในธรรมชาติมากมายหลายชนิด เชน ปาไม สัตวปา นํ้า ดิน และอากาศ

- ปาไม ปาไมเปนทรัพยากรไมหมดสิ้น เพราะถาปาถูกทําลาย ก็อาจปลูกปาขึ้นมาทดแทนได การ

จัดการเกี่ยวกับปาไมทําได โดยการรักษาปาไมใหคงสภาพความเปนปา ถาตัดตนไมลงเพื่อนํามาใช

ประโยชนก็ตองปลูกใหมเพื่อทดแทนเสมอ ไมที่ตัดจากปาตองใชใหคุมคา และหาวัสดุอ่ืนมาใชแทนเพื่อ

ลดการใชไมลงใหมาก

- สัตวปา สัตวปาเปนทรัพยากรไมหมดสิ้น เพราะเพิ่มจํานวนได การจัดการเกี่ยวกับสัตวปาทําได

โดยการปองกันและรักษาสัตวปาใหคงอยูได ไมสูญพันธุหมดไป ไมยอมใหสัตวปาถูกทําลายถูกลา ถูกฆา

มากเกินไป หรือถึงกับสูญพันธุ

- นํ้า นํ้าเปนทรัพยากรไมหมดสิ้น เพราะธรรมชาติจะนํานํ้ากลับคืนมาใหมในรูปของนํ้าฝน

หลักการจัดการเร่ืองนํ้าก็คือ การควบคุมและรักษานํ้าธรรมชาติไวทั้งในรูปปริมาณและคุณภาพไดอยางดี

ไมปลอยใหแหงหายหรือเนาเสีย ทั้งน้ีก็เพื่อใหคงมีนํ้าใชตลอดเวลา

- ดิน ดินเปนทรัพยากรไมหมดสิ้น แตเสื่อมสภาพไดงาย เพราะฝนและลมสามารถทําลายดิน

ชั้นบนใหหมดไปไดโดยรวดเร็ว คนก็เปนอีกสาเหตุหน่ึงที่ทําใหดินเสื่อมสภาพไดมาก หลักการจัดการ

เร่ืองดิน ไดแก การรักษาคุณภาพของดินใหคงความอุดมสมบูรณอยูเสมอ โดยการรักษาดินชั้นบนใหคงอยู

ไมปลอยสารพิษลงในดินอันจะทําใหดินเสีย

Page 68: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

68

- อากาศ อากาศเปนทรัพยากรที่ไมหมดสิ้น และมีอยู

มากมายที่เปลือกโลก หลักการจัดการกับอากาศ ไดแก การรักษา

คุณภาพของอากาศไวใหบริสุทธิ์พอสําหรับหายใจ ไมมีกาซพิษ

เจือปนอยู กาซพิษ ควันพิษในอากาศน้ีเองที่ทําใหอากาศเสีย

ในปจจุบันมีหนวยงานรับผิดชอบในดานสิ่งแวดลอม

โดยตรง 3 หนวยงาน ภายใตกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม คือ สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กรมควบคุม

มลพิษและกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม นอกจากน้ียังไดมีการจัดต้ังสํานักงานสิ่งแวดลอม

ภูมิภาคขึ้น 4 ภาค ในภาคเหนือ ภาคใต ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1.7 สุขภาพ อนามัย

สุขภาพ (Health) องคการอนามัยโลก (World Health Organization) หรือ WHO หมายถึง

“ภาวะแหงความสมบูรณของรางกายและจิตใจรวมถึงการดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยดีและคําวาสุขภาพน้ี

มิไดหมายความเฉพาะเพียงแตการไมเปนโรคหรือทุพลภาพเทาน้ัน “สุขภาพ” พจนานุกรมฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหความหมายของสุขภาพไววาหมายถึง “ความสุขปราศจากโรค ความ

สบาย”

56อนามัย56 ตามความหมายที่องคการอนามัยโลกไดใหคําจํากัดความไววา “ ” (Health is defined

as a state complete physical, mental and social well - being and merely the absence of disease infirmity)

56อนามัย56 ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 คือ “ความไมมีโรค

ถูกหลักสุขภาพหรือมีสุขภาพดี”

เพราะฉะน้ัน สุขภาพอนามัย หมายถึง การมีสุขภาพสมบูรณดีทั้งทางรางกายและจิตใจ ปราศจาก

โรคและสามารถดํารงชีพอยูในสังคมไดดวยดี

ขอบขายของสุขภาพ

อนามัยสุขภาพอนามัย แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

1. สุขภาพอนามัย สวนบุคคล (Personal Health) เปนการกลาวถึงความรู เจตคติ และการปฏิบัติ

ตามหลักของสุขภาพในแตละบุคคลที่เกี่ยวของกับสภาพของรางกายและจิตใจ เชน สุขภาพ หู ตา ปาก ฟน

ผิวหนัง มือ ผม เทา การปฏิบัติดานการแปรงฟน การอาบนํ้า การรับประทานอาหารใหถูกสุขลักษณะ เพื่อ

กอใหเกิดสุขภาพที่ดี มีสวัสดิภาพ

2. สุขภาพอนามัย สวนชุมชน (Community Health) เปนการกลาวถึงความรูเจตคติและการ

ปฏิบัติตามหลักของสุขภาพในสวนที่เกี่ยวของกับชุมชนหรือสาธารณะซึ่งถือเปนการสงเสริมสุขภาพ

ของคนแตละคนที่อาศัยอยูในชุมชนน้ัน โดยมีจุดมุงหมายที่จะชวยกันปฏิบัติทางสุขภาพที่ถูกตองตาม

สุขลักษณะ เชน การจัดหานํ้าด่ืมที่สะอาด การกําจัดขยะมูลฝอย การลดมลภาวะที่กอใหเกิดอันตรายตอ

สุขภาพรวมถึงการปองกันโรคระบาดตาง ๆ เปนตน

Page 69: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

69

องคประกอบของสุขภาพอนามัย

สุขภาพ อนามัย ที่สมบูรณของบุคคลน้ัน ยอมประกอบไปดวย 3 สวน คือ

1. สุขภาพอนามัยทางกาย (Physical Health) หมายถึงสภาพที่ดีของรางกาย มีการพัฒนาที่

เหมาะสมกับวัย ทําใหอวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายอยูในภาวะที่ปกติแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ไม

มีความพิการใด ๆ รางกายสามารถทํางานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งลักษณะสขุภาพอนามัยที่ดีทาง

กายน้ัน ควรประกอบดวย

1.1 รางกายมีความสมบูรณแข็งแรง ระบบตาง ๆ และอวัยวะทุกสวนทํางานไดดีมี

ประสิทธิภาพ

1.2 รางกายมีความเจริญงอกงาม การเจริญของอวัยวะตาง ๆ เปนไปเหมาะสมกับวัย รวมทั้ง

ภาวะทางสมองดวย

1.3 รางกายมีสมรรถภาพสูง สามารถทํางานไดนาน ๆ โดยไมเหน่ือยงาย

1.4 การนอนและการพักผอนเปนไปตามปกติภายหลังจากการนอนหลับและพักผอนแลว

รางกายจะคืนสูสภาพปกติสดชื่น

1.5 สุขภาพฟนมีความแข็งแรง หูสามารถรับฟงไดดี ตาสามารถมองเห็นถนัด

1.6 ผิวพรรณผุดผอง หนาตาอ่ิมเอิบ มีความสดชื่น

1.7 รูปรางทรวดทรงสมสวน สงางาม

1.8 รางกายปราศจากโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ

2. สุขภาพอนามัยทางจิต (Mental Health) หมายถึง มีสภาพจิตปกติ สามารถปรับตัวใหเขากับ

บรรยากาศของสังคมไดทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณไดเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ ซึ่งผูมี

สุขภาพจิตดี ยอมมีผลมาจากสุขภาพอนามัยกายดีดวย ดังที่ John Lock ไดกลาวไววา “A Sound mind is in

a sound body” คือ “จิตใจที่แจมใส ยอมอยูในรางกายที่สมบูรณ”

3. สุขภาพอนามัยทางสังคม (Social Health) หมายถึงการมีสภาพของความเปนอยูหรือการ

ดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุขไมทําใหผูอ่ืนหรือสังคมเดือดรอนอีกดวยสามารถเขากับบุคคลและ

ชุมชนไดทุกสถานะอาชีพ ไมเปนคนถือตัว ไมเปนคนเอารัดเอาเปรียบบุคคลอ่ืน จะอยูที่ไหนทํางานใน

ตําแหนงหนาที่อะไร มีแตคนเขาชมชอบไปหมด เปนที่เคารพรักและเปนที่นับถือของคนทั่วไป

ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพ

แบงออกเปน 3 องคประกอบ คือ

1. ปจจัยภายใน เปนปจจัยดานตัวบุคคล ซึ่งประกอบดวยองคประกอบสําคัญคือ มิติทางดาน

ชีวภาพ มิติทางดานจิตวิทยา และมิติทางดานความรู ความเชื่อ

Page 70: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

70

1.1 มิติทางดานชีวภาพ แบงออกเปน 4 ปจจัย คือ

1.1.1 พันธุกรรม เปนปจจัยดานตัวบุคคลที่สําคัญตอการเกิดโรคหรือความผิดปกติ ที่ไม

สามารถหลีกเลี่ยงได ซึ่งไดรับการถายทอดมาจากบรรพบุรุษสูลูกหลาน เชน โรคเลือดธาลัสซีเมีย เปนตน

1.1.2 เชื้อชาติ เปนปจจัยหน่ึงที่สัมพันธกับสุขภาพ ทําใหมโีอกาสหรือแนวโนมตอการ

เจ็บปวยบางชนิดไดงาย เชนคนผิวดําจะมีความตานทานตอไขมาเลเรีย เปนตน

1.1.3 เพศ ยกตัวอยางเชน โรคมะเร็งเตานม มักเกิดกับเพศหญิง โรคไทรอยด โรคมะเร็ง

ตับ มักเกิดกับเพศชาย เปนตน

1.1.4 อายุและการพัฒนาในวัยตาง ๆ โรคที่เกิดในแตละกลุมที่มีอายุแตกตางกัน เชน โรค

อีสุกอีใส พบในวัยเด็กมากกวาวัยผูใหญ โรคหัวใจ พบในวัยกลางคนมากกวาคนหนุมสาว สวนในวัย

สูงอายุพบวา มีความเสื่อมของความสามารถตอการรับรูสิ่งแวดลอม เชน ความจํา หู และสายตา

1.2 มิติดานจิตวิทยา จะเกี่ยวของกับการทํางานของจิตใจ ทั้งจิตสํานึก อารมณ ความรูสึก

บุคลิกภาพระดับสติเชาวปญญา การรับรู การเรียนรู การคิด การจัดการกับอารมณ สามารถควบคุมอารมณ

และพฤติกรรมตาง ๆ

1.3 มิติทางดานความรู ทําใหบุคคลมีความแตกตางกันในเร่ืองการเลือกแบบแผนการปฏิบัติ

เพื่อดูแลสุขภาพอนามัย ทําใหบุคคลมีความสามารถในการเลือกพิจารณา ไตรตรองการปฏิบัติตนในเร่ือง

การดูแลสุขภาพ เพื่อใหสมรรถภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง

2. ปจจัยภายนอก ไดแก สภาพภูมิศาสตร ภาวะเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมประเพณีและ

ขนบธรรมเนียมตาง ๆ เปนตน ปจจัยดังกลาวมีผลกระทบตอสุขภาพบุคคลทั้งทางบวกและทางลบ

2.1 สภาพภูมิศาสตร มีความเกี่ยวของกับสุขภาพอนามัยของบุคคล เปนผลมาจากการ

เปลี่ยนแปลงของลักษณะดิน ฟา อากาศ ของแตละภูมิภาค เชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่หางไกลทะเล

ทําใหไดรับสารอาหารจากสัตวทะเลไมเพียงพอ จึงขาดธาตุไอโอดีนทําใหเกิดโรคคอพอก

2.2 สภาพสิ่งแวดลอม เปนสิ่งที่ตองปฏิสัมพันธดวยตลอดเวลา ซึ่งแบงออกเปน 4 ประเภท

ดังน้ี

2.2.1 สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เชน สัตว แมลง พืช เชื้อจุลินทรีย ไวรัส

พยาธิตาง ๆ เปนตน ปจจัยเหลาน้ีเปนสิ่งเราที่มีผลตอสุขภาพอนามัยของบุคคล ดังเชนโรคตาง ๆ ที่มีสัตว

เปนพาหะนําโรค เชน โรคพิษสุนัขบา โรคเลปโตสไปโรซิส เปนตน

2.2.2 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนสภาพแวดลอมที่เกี่ยวกับสถานที่อยูอาศัย ที่ทํางาน

รวมถึงสภาพความรอน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน รังสีตาง ๆ

2.2.3 สิ่งแวดลอมทางเคมี คือ สภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับสารเคมีในรูปแบบตาง ๆ เชน

สารตะกั่ว ฝุน ควัน กาซคารบอนมอนออกไซด เปนตน ซึ่งสารเหลาน้ีหากสัมผัส ไมวาจะดวยการสูดดม

สัมผัส บริโภค หรือมีการดูดซึมผานผิวหนัง ยอมทําใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ระคายเคือง แสบตา เปนตน

Page 71: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

71

2.2.4 สิ่งแวดลอมทางสังคม เกี่ยวกับมาตรฐานการดํารงชีวิตของบุคคล ที่เปนโครงสราง

ของสังคม เชน การศึกษา เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา เปนตน

3. ปจจัยดานคุณภาพการบริการสุขภาพ

โดยการบูรณาการพัฒนาปจจัยตาง ๆ ที่มีความสัมพันธตอสภาวะสุขภาพ

รวมกับระบบสาธารณสุข โดยมุงเนนใหคนมีความรูในการสงเสริมสุขภาพ

ควบคูไปกับคุณภาพบริการสุขภาพ เพื่อแกไขปญหา และความตองการของ

ประชาชนในเร่ืองสุขภาพอนามัย บุคคลควรไดรับการสงเสริมใหมี

สุขภาพรางกายแข็งแรง มีสุขภาพจิตที่ดี รวมถึงมี

สุขภาวะทางสังคมที่ดีดวย การสามารถปรับตัวให

อยูในสังคมไดอยางปกติสุข ซึ่งจะสอดคลองตาม

ความหมายของสุขภาพ ตามที่องคกรอนามัยโลกได

ใหคํานิยามเอาไว

สุขภาพชุมชน ( Community Health)

คําวา สุขภาพชุมชน อาจเรียกอีกอยางหน่ึงวา อนามัยชุมชน หมายถึง ภาวะแหงการรวมเอา

สุขภาพของบุคคลตาง ๆ ในชุมชนเขาไวดวยกัน ซึ่งสุขภาพอนามัยของแตละบุคคลจะดีได ก็ยอมขึ้นกับ

สภาพสิ่งแวดลอมดวย ปจจัยในการดูแลสุขภาวะในชุมชน ไดแก การปองกันโรคระบาดที่อาจเกิดขึ้นใน

ชุมชน การมีการสุขาภิบาลที่ดี ซึ่งจะชวยสงเสริมภาวะสุขภาพของบุคคล โรคสามารถจําแนกตามปจจัย

ที่ทําใหเกิดโรคโดยแบงไดเปน 2 ประเภท คือ โรคไรเชื้อ และโรคติดเชื้อ

1. โรคไรเชื้อ หรือโรคไมติดตอ33 หมายถึง โรคที่มีสาเหตุจากสิ่งที่ไมใชจุลินทรียมากระทําตอ

รางกาย เชน สารเคมี ความรอน แสง เสียง รังสี สารอาหาร เปนตน สิ่งเหลาน้ีเมื่อรับเขาไปในรางกายใน

ปริมาณมาก ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือขัดขวางการทํางานตามปกติของอวัยวะในรางกาย จน

กอใหเกิดโรค เชน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคน่ิว โรคเบาหวาน โรคแผลในกระเพาะอาหาร โรคพิษสุรา

เร้ือรัง คอพอก ขาดสารอาหาร และความแปรปรวนทางจิตใจ เปนตน

2. โรคติดเชื้อ หรือโรคติดตอ33 หมายถึง โรคที่มีสาเหตุมาจากตัวเชื้อโรค ไดแก แบคทีเรีย ไวรัส ริค

เค็ทเซีย เชื้อรา และปรสิต ซึ่งตัวเชื้อโรคเหลาน้ี มีพิษที่สามารถถายทอดจากแหลงโรค ซึ่งอาจจะเปนคน

หรือสัตวก็ได เมื่อบุคคลสัมผัสเชื้อน้ัน ๆ ในปริมาณที่มากพอก็จะเกิดอาการและอาการแสดงของโรค เชน

โรคอุจจาระรวง โรควัณโรค โรคเอดส โรคเร้ือน โรคตับอักเสบ โรคพิษสุนัขบา โรคแอนแทรกซ โรคเลป

โตสไปโรซิส ไขหวัดนก เปนตน

Page 72: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

72

การแพรกระจายของโรคติดตอ มีการแพรกระจายได 2 ลักษณะ ดังน้ี

1. การติดตอโดยตรง37 เปนการแพรกระจายของเชื้อ จากแหลงแพรเชื้อสูคน หรือจากคนสูคน โดย

ไมตองผานสื่อหรือพาหะนําไป เชน การสัมผัสโดยตรงจากผูติดเชื้อ การจาม การมีเพศสัมพันธ เปนตน

2. การติดตอโดยทางออม37 เปนการติดตอโดยผานพาหะ หรือสื่อนําโรค เชน นํ้า อาหาร ซึ่งเปน

ตัวการสําคัญของการติดตอโรคของทางเดินอาหาร เชน โรคอหิวาตกโรค ไทฟอยด ตับอักเสบ เปนตน

38โรคติดตอท่ีเปนปญหาสาธารณสุข38

1. โรคติดตอจากอาหารและนํ้า33 แบงออกเปน 4 กลุม ไดแก กลุมโรคอุจจาระรวง กลุมโรคตับ

อักเสบจากเชื้อไวรัส กลุมโรคไขสันหลังอักเสบ และกลุมโรคหนอนพยาธิ

1.1 โรคอุจจาระรวง หมายถึงโรคดังตอไปน้ี

1.1.1 โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หมายถึง ภาวะที่รางกายมีการถายอุจจาระเหลวผิดปกติ

ต้ังแตสามคร้ังขึ้นไป ในเวลา 24 ชั่วโมง และมีอาการไมเกิน 2 สัปดาห ถาเกิน 4 สัปดาห ถือวาเปนโรค

อุจจาระรวงเร้ือรัง

1.1.2 โรคบิดเกิดจากเชื้อในกลุมชิเกลลา หรือโปรโตซัวและบิดที่ยังไมสามารถระบุชนิดได

1.1.3 อาหารเปนพิษ เกิดจากเชื้อรา แบคทีเรีย สารพิษ หรือสารเคมีในอาหาร

1.1.4 ไขไทฟอยด หรือเรียกวาไขเอ็นเทอริค เกิดจากเชื้อในกลุมซาลโมเนลลา

(Salmonella)

1.1.5 อหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อที่มีชื่อวา Vibrio cholera ซึ่งเปนโรคที่พบมีการระบาดมาก

ในหนารอน

1.2 กลุมโรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัส โรคตับอักเสบมีหลายชนิด ไดแก ไวรัสตับอักเสบชนิดเอ

บี ซี ดี และอี แตเพียงชนิดเอ เทาน้ัน ที่ติดตอทางอาหารหรือนํ้า กลุมอาการที่สําคัญไดแกมีไข เบื่ออาหาร

คลื่นไส อาเจียน ตาเหลือง ตัวเหลือง ซึ่งอาจทําใหตับวาย และเปนสาเหตุที่สําคัญของโรคมะเร็งตับ โรคใน

กลุมน้ีสามารถปองกันไดดวยวัคซีน ผูปวยที่หายจากโรคน้ีแลวจะไมเปนโรคน้ีอีกตลอดชีวิต

1.3 โรคไขไขสันหลังอักเสบ เรียกสั้น ๆ วาโรคโปลิโอ เกิดจากเชื้อไวรัส ที่ชื่อ Poliovirus โดย

การกินเขาไปพรอมกับอาหารหรือนํ้า เชื้อไวรัสน้ีจะไปทําใหไขสันหลังอักเสบ และทําลายเซลลไขสันหลัง

ทําใหประสาทที่ควบคุมกลามเน้ือถูกทําลาย และกลามเน้ือน้ันลีบเปนอัมพาต โรคน้ีสามารถปองกันได

อยางมีประสิทธิภาพสูงดวยการฉีดวัคซีน

1.4 โรคหนอนพยาธิ เกิดจากหนอนพยาธิตาง ๆ เชน พยาธิปากขอ พยาธิไสเดือน พยาธิ

เสนดาย พยาธิใบไม เปนตน

2. โรคติดตอทางเดินหายใจ33 หมายถึง โรคที่เกิดขึ้นเน่ืองมาจาก การไดรับเชื้อโรคเขาสูรางกาย

โดยการหายใจ แตอาการและสภาพจะเกิดกับอวัยวะในระบบทางเดินหายใจหรือระบบใดก็ไดโรคที่สําคัญ

ของโรคติดตอจากการหายใจ และเปนปญหาสาธารณสุขมีดังน้ี

Page 73: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

73

2.1 โรคติดตอจากการหายใจแบบเฉียบพลัน ไดแก ไขหวัด ไขหวัดใหญ คออักเสบ ตอมทอม

ซิลอักเสบ คอตีบ ปอดบวม กาฬโรคปอด จมูกอักเสบ หลอดลมอักเสบ

2.2 โรคติดตอทางเดินหายใจแบบเร้ือรัง ไดแก ไอกรน ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ อาการ

สําคัญที่พบในโรคติดตอทางเดินหายใจ ไดแก อาการไข อาการไอ มีเสมหะ อาการหายใจลําบาก อาการ

เจ็บหนาอก เปนตน

3. โรคติดตอจากการสัมผัส33 หมายถึง โรคติดตอจากการสัมผัสระหวางบุคคลที่เสี่ยงตอโรคและ

เปนโรค ซึ่งแหลงโรคอาจเปนคนหรือสัตว หรือสิ่งไมมีชีวิต การสัมผัสโรคน้ัน อาจเปนการสัมผัสโดยตรง

เชน การมีเพศสัมพันธ การแตะตองกัน หรือโดยออม เชนสัมผัสนํ้าลาย หรือเสมหะ หรือสัมผัสผานเสื้อผา

ของใชผูปวย เปนตน โรคติดตอจากการสัมผัสที่สําคัญ มีดังน้ี

3.1 โรคติดตอจากการสัมผัสสิ่งขับหลั่งจากระบบทางเดินหายใจ หมายถึง การสัมผัสกบันํ้ามูก

นํ้าลาย เสมหะ ซึ่งอาจจะสัมผัสจากการหายใจรดกัน การไอ การจาม การจูบ โรคที่พบไดแก ปอดบวม

วัณโรคปอด ไอกรน โรคเร้ือน

3.2 โรคติดตอจากการสัมผัสทางผิวหนัง ไดแก โรคซิฟลิส โรคเชื้อราบนผิวหนัง เชน กลาก

เกลื้อน โรคหิด โรคเหาและโลน โรคสุกใส พยาธิปากขอ

3.3 โรคติดตอจากการสัมผัสดวยการมีเพศสัมพันธ ไดแก โรคเอดส โรคหนองใน โรคซิฟลิส

โรคเริม โรคแผลริมออน โรคหูด โรคตับอักเสบบี

3.4 โรคติดตอจากการสัมผัสแบบอ่ืน ๆ ไดแก โรคเยื่อบุตาอักเสบ จากการใชมือไมสะอาด

ขยี้ตา หรือการสัมผัสลมแรง หรือแสงจา ๆ ทําใหเยื่อบุ ตาอักเสบ โรคหนองในที่ตาของทารก โรคเอดส

ในทารก และโรคซิฟลิสในทารก ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อผานรก จากแมสูลูก

4. โรคติดตอที่นําโดยสัตวและแมลง33 โรคติดตอที่นําโดยสัตว หมายถึง โรคติดตอที่มีสัตวเปน

พาหะนําโรคมาสูคน สวนใหญคนจะติดโรคจากสัตวดวยการสัมผัสหรือบริโภค โรคติดตอที่นําโดยแมลง

หมายถึง โรคติดตอที่มีแมลงเปนสื่อนําโรคมาสูคนดวยวิธีการตาง ๆ

4.1 โรคติดตอที่นําโดยสัตว สามารถแบงกลุมตามเชื้อที่เปนสาเหตุของโรคไดดังน้ี

4.1.1 กลุมโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งโรคที่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญไดแก โรคพิษ

สุนัขบา โรคไขหวัดนก

4.1.2 กลุมโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคที่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญ ไดแก โรค

แอนแทรกซ โรคเล็ปโตสไปโรซิสหรือโรคฉี่หนู

4.1.3 กลุมโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิ ไดแก โรคพยาธิตืดหมู โรคพยาธิตืดวัว โรคพยาธิ

ใบไมในตับ โรคพยาธิตัวจ๊ีด

4.1.4 โรคติดตอที่นําโดยแมลง ไดแก โรคไขเลือดออก โรคไขสมองอักเสบ โรคไข

เหลือง สครับ ไทฟส ( Scrub typhus) กาฬโรค โรคไขมาลาเรีย โรคเทาชาง

Page 74: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

74

38หลักในการปองกันและควบคุมโรคติดตอ

1. การใหความรูกับชุมชนในเร่ืองโรคติดตอ

2. การรณรงคในชวงเสี่ยงของการเกิดโรค

3. การสงเสริมในการสรางภูมิตานทานดวยการฉีดวัคซีน

4. การสงเสริมสุขภาพ เชน การพักผอนอยางเพียงพอ การงดเสพสิ่งของมึนเมา การออกกําลังกาย

อยางเหมาะสม การรับประทานอาหารที่มีประโยชนและสะอาด

5. การกําจัดสิ่งปฏิกูลใหถูกหลักสุขาภิบาล

6. การควบคุมสัตวและแมลงนําโรค

7. การคนหาผูปวยที่มีอาการในชุมชน และทําการรักษาพยาบาลผูปวยใหหายขาดโดยเร็ว

38การรายงานโรคตามพระราชบัญญัติโรคติดตอ

• โรคติดตอ

• โรคติดตอตองแจงความ

• โรคติดตออันตราย

26ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่ือง “โรคติดตอ” ประกาศ ณ วันท่ี 18 ธันวาคม 2524

1. อหิวาตกโรค 2. กาฬโรค 3. ไขทรพิษ

4. ไขเหลือง 5. ไขกาฬหลังแอน 6. คอตีบ

7. ไอกรน 8. บาดทะยัก 9. โปลิโอ

10. หัด 11. หัดเยอรมัน 12. คางทูม

13. สุกใส 14. ไขหวัดใหญ 15. ไขสมองอักเสบ

16. ไขเลือดออก 17. โรคพิษสุนัขบา 18. โรคตับอักเสบ

19. ตาแดงจากไวรัส 20. อาหารเปนพิษ 21. บิดแบซิลลาร่ี

22. บิดอมีบา 23. ไขรากสาดนอย 24. ไขรากสาดเทียม

25. ไขรากสาดใหญ 26. สครัพไทฟส 27. มูรีนไทฟส

28. วัณโรค 29. โรคเร้ือน 30. ไขจับสั่น

31. แอนแทรกซ 32. ทริคิโนสิส 33. คุดทะราด

34. เลปโตสไปโรซิส 35. ไขกลับซ้ํา 36. โรคอุจจาระรวง

37. โรคแผลเร้ือรัง 38. โรคเทาชาง 39. ซิฟลิส

40. หนองใน 41. หนองในเทียม 42. กามโรคของตอมและทอ

43. แผลริมออน 44. แผลกามโรคเร้ือรังที่ขาหนีบ นํ้าเหลือง

Page 75: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

75

ในป พ.ศ. 2534 มีประกาศเพิ่มเติม โดยให เอดส จัดอยูในกลุมโรคติดตอดวย ดังน้ัน มีโรคติดตอ

ทั้งหมด รวม 45 โรค

56ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง “ ชื่อโรคติดตอตองแจงความ” ประกาศ ณ วันท่ี 18 ธันวาคม 2524

1. อหิวาตกโรค 2. กาฬโรค 3. ไขทรพิษ

4. ไขเหลือง 5. คอตีบ 6. บาดทะยักในเด็กเกิดใหม

7. โปลิโอ 8. ไขสมองอักเสบ 9. โรคพิษสุนัขบา

10. ไขรากสาดใหญ 11. แอนแทร็กซ 12. ทริคิโนซิส

13. ไขกาฬหลังแอน 14. คุดทะราดระยะติดตอ

ในป พ.ศ. 2541 มีประกาศเพิ่มเติม โดยให เพิ่ม AFP (Acute Flaccid Paralysis) และป พ.ศ. 2546 เพิ่ม

โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง จัดอยูในกลุมโรคติดตอที่ตองแจงความดวย ดังน้ัน มีโรคติดตอที่ตอง

แจงความ ทั้งหมด รวม 16 โรค

56ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง “ ชื่อโรคติดตออันตราย” ประกาศ ณ วันท่ี 18 ธันวาคม 2524

1. อหิวาตกโรค

2. กาฬโรค

3. ไขทรพิษ

4. ไขเหลือง

ในป พ.ศ. 2546 มีประกาศเพิ่มเติม โดยให ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) จัดอยูในกลุม

โรคติดตออันตรายดวย ดังน้ัน มีโรคติดตออันตราย ทั้งหมด รวม 5 โรค

• โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง

56 • โรคไขหวัดนก

ยาสามัญประจําบาน

ยาสามัญประจําบาน หมายถึง ยาแผนปจจุบันหรือยาแผนโบราณที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศ

ใหเปนยาสามัญประจําบาน โดยมุงหมายที่จะใหประชาชนไดใชยาเหลาน้ีรักษาอาการเจ็บปวยเล็ก ๆ

นอย ๆ และไมมีอาการรุนแรง เชน ไอ ปวดศีรษะ ถูกนํ้ารอนลวก ทองอืดทองเฟอ ถูกมีดบาด เปนตน

ยาสามัญประจําบาน มีทั้งหมด 53 ชนิด นํามาใชกับโรคหรืออาการของโรคได 16 กลุม เชน

1. ยาแกปวดทอง ทองอืด ทองขึ้น ทองเฟอ ยาสามัญประจําบานในกลุมน้ีคือ ยาแกทองอืด

ทองเฟอ ยาธาตุนํ้าแดง ยาเม็ดแกทองอืดทองเฟอโซดามินต ยาขับลม ยานํ้าแกทองอืดทองเฟอโซเดียม

ไบคารบอเนต ยาทาแกทองอืดทองเฟอทิงเจอรมหาหิงค ยาเม็ดลดกรดอะลูมินา - แมกนีเซีย ยานํ้าลดกรด

อะลูมินา - แมกนีเซีย

Page 76: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

76

2. ยาบรรเทาปวดลดไข มียาเม็ดบรรเทาปวดลดไขแอสไพริน ยาเม็ดบรรเทาปวดลดไขพารา

เซตามอล ขนาด 500 ม.ก. และขนาด 325 ม.ก. และยานํ้าบรรเทาปวดลดไขพาราเซตามอล ปลาสเตอร

บรรเทาปวด

หลักการรับประทานยาใหปลอดภัยและไดผลดี

ยารับประทานกอนอาหาร ตองรับประทานกอนอาหารอยางนอย ประมาณ 30 นาที เพราะในขณะ

ที่ทองวาง ยาจะถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดไดดี

ยารับประทานหลังอาหาร ตองรับประทานหลังอาหารอยางนอย ประมาณ 15 - 30 นาที เพื่อ

ประโยชนในการที่ยาจะถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดในลําไสเล็กรวมกับอาหารไดดี

ยารับประทานพรอมกับอาหาร หรือ รับประทานนํ้าตามมาก ๆ ไดแก ยาแกปวดตางชนิด เชน ยา

แอสไพริน ยาเม็ดสีชมพู ยาทัมใจ ยาปวดหาย เปนตน ยาแกปวดลวนมีฤทธิ์เปนกรด หรือ ไปเรงให

กระเพาะหลั่งนํ้ายอยออกมา ทําใหเกิดอาการระคายเคืองและเปนแผลในกระเพาะ เลือดไมแข็งตัว

กระเพาะทะลุ โลหิตจาง จึงตองรับประทานพรอมกับอาหาร หรือรับประทานหลังอาหารทันที หรือ

ตองรับประทานนํ้าตามมาก ๆ เพื่อชวยลดอาการเปนพิษของยาลงเสีย

ยารับประทานระหวางอาหาร ไดแก ยาลดกรดแกโรคกระเพาะซึ่งเกิดจากมีนํ้ายอยและกรดหลั่ง

ออกมามาก ขณะทองวาง หรือขณะมีอารมณหงุดหงิด คิดมาก กรดก็จะกัดกระเพาะเปนแผล ทําให

เสียเลือด และเจ็บปวดมาก หรือเปนมากจนกระเพาะทะลุก็ได ยาลดกรดสวนใหญมีฤทธิ์เปนดาง มันจะไป

ทําลายกรดและเคลือบผนังกระเพาะเอาไว ดังน้ัน ยาลดกรดน้ีจะใหผลดี จะตองรับประทานขณะทองวาง

หรือรับประทานระหวางอาหาร

สมุนไพร หมายถึง พืชที่มสีรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ การใชสมุนไพร

สําหรับรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ น้ี จะตองนําเอาสมุนไพรต้ังแตสองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกัน

ซึ่งจะเรียกวา “ยา”ในตําหรับยานอกจากพืชสมุนไพรแลว ยังอาจประกอบดวยสัตวและแรธาตุอีกดวย เรา

เรียกพืช สัตว หรือแรธาตุที่เปนสวนประกอบของยาน้ีวา “เภสัชวัตถุ” พืชสมุนไพรบางชนิด เชน เรว

กระวาน กานพลู จันทนเทศ เปนตน เปนพืชที่มีกลิ่นหอมและมีรสเผ็ดรอน ใชเปนยาสําหรับขับลม แก

ทองอืด ทองเฟอ พืชเหลาน้ีถานํามาปรุงอาหารเราจะเรียกวา “เคร่ืองเทศ” ในพระราชบัญญัติยา ฉบับที่ 3

ปพุทธศักราช 2522 ไดแบงยาที่ไดจากเภสัชวัตถุน้ีไว 2 ประเภท คือ

1. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใชในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบําบัดโรค

ของสัตว ซึ่งปรากฏอยูในตําราแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศหรือยาที่รัฐมนตรีประกาศ ใหเปนยาแผน

โบราณ หรือไดรับอนุญาตใหขึ้นทะเบียนตํารับยาเปนยาแผนโบราณ

2. ยาสมุนไพร หมายถึง ยาที่ไดจากพืช สัตว หรือแรธาตุที่ยังมิไดผสมปรุงหรือแปรสภาพ

Page 77: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

77

ขอควรระวังในการใชยาสมุนไพร

1. ไมควรใชสมุนไพรนานเกินความจําเปน ถาใชยาสมุนไพรแลว 3 - 5 วัน อาการยังไมดีขึ้น

ควรปรึกษาแพทย ทั้งน้ีอาจเน่ืองจากใชยาไมถูกกับโรค

2. เมื่อใชยาสมุนไพรควรสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ถามีอาการผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย

แผนปจจุบัน

3. ควรใชยาตามหลักการรักษาของแพทยแผนโบราณอยางเครงครัด เพราะการดัดแปลงเพื่อความ

สะดวกของผูใชอาจทําใหเกิดอันตรายได

4. อยาใชยาเขมขนเกินไป เชน ยาบอกวาใหตมกิน อยานําไปเคี่ยวจนแหง เพราะจะทําใหยา

เขมขนเกินไปจนทําใหเกิดพิษได

5. ขนาดที่ระบุไวในตํารับยามักเปนขนาดของผูใหญ เด็กจะตองลดขนาดลง

6. ควรระวังความสะอาดของสมุนไพร

ยาเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเปนผลิตภัณฑธรรมชาติ หรือจากการสังเคราะห ซึ่งเมื่อเสพ

เขาสูรางกายไมวาจะโดย การกิน ดม สูบ ฉีด หรือ ดวยประการใด ๆ แลวจะทําใหเกิดผล ตอรางกายและ

จิตใจในลักษณะสําคัญ เชน

- ตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเร่ือย ๆ

- มีอาการอยากยาเมื่อขาดยา

- มีความตองการเสพทั้งรางกายและจิตใจอยางรุนแรงและตอเน่ือง

- สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง

ประเภทของยาเสพติด

ยาเสพติด แบงไดหลายรูปแบบ ตามลักษณะตาง ๆ ดังน้ี

1. แบงตามแหลงท่ีเกิด ซึ่งจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เชน ฝน กระทอม

กัญชา เปนตน

1.2 ยาเสพติดสังเคราะห (Synthetic Drugs) คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นดวยกรรมวิธีทางเคมี เชน

เฮโรอีน แอมเฟตามีน เปนตน

2. แบงตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบงออกเปน 5 ประเภท คือ

2.1 ยาเสพติดใหโทษ ประเภทที่ 1 ไดแก เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบา ยาอีหรือ

ยาเลิฟ

2.2 ยาเสพติดใหโทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทน้ีสามารถนํามาใชเพื่อประโยชนทาง

การแพทยได แตตองใชภายใตการควบคุมของแพทย และใชเฉพาะกรณีที่จําเปนเทาน้ัน ไดแก ฝน มอรฟน

โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน

Page 78: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

78

2.3 ยาเสพติดใหโทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทน้ีเปนยาเสพติดใหโทษที่มียาเสพติด

ประเภทที่ 2 ผสมอยูดวย มีประโยชนทางการแพทย การนําไปใชเพื่อจุดประสงคอ่ืน หรือเพื่อเสพติด จะมี

บทลงโทษกํากับไว ยาเสพติดประเภทน้ี ไดแก ยาแกไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแกทองเสีย ที่มีฝนผสมอยูดวย

ยาฉีดระงับปวดตาง ๆ เชน มอรฟน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝน

2.4 ยาเสพติดใหโทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษ ประเภทที่ 1

หรือประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทน้ีไมมีการนํามาใชประโยชนในการบําบัดโรคแตอยางใด และมี

บทลงโทษกํากับไวดวย ไดแก นํ้ายาอะเซติคแอนไฮไดรย และอะเซติลคลอไรด ซึ่งใชในการเปลี่ยน

มอรฟนเปนเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใชในการผลิตยาบาได และวัตถุออกฤทธิ์ตอจิต

ประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถนํามาผลิตยาอีและยาบาได

2.5 ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 5 เปนยาเสพติดใหโทษที่มิไดเขาขายอยูในยาเสพติดประเภทที่

1 ถึง 4 ไดแก ทุกสวนของพืชกัญชา ทุกสวนของพืชกระทอม เห็ดขี้ควาย เปนตน

3. แบงตามการออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ซึ่งแบงออกเปน 4 ประเภท คือ

3.1 ยาเสพติดประเภทกดประสาท ไดแก ฝน มอรฟน เฮโรอีน สารระเหย และยากลอมประสาท

3.2 ยาเสพติดประเภทกระตุนประสาท ไดแก แอมเฟตามีน กระทอม และ โคคาอีน

3.3 ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ไดแก แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย

3.4 ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กลาวคือ อาจกดกระตุน หรือ หลอนประสาทได

พรอม ๆ กัน ตัวอยางเชน กัญชา

ความหมายของสุขภาพจิต

องคการอนามัยโลกใหความหมายของคําวาสุขภาพจิตไว คือ ความสามารถของบุคคลที่จะ

ปรับตัวใหมีความสุขอยูกับสังคมและสิ่งแวดลอมไดดี มีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอ่ืนและดํารงชีวิต

อยูไดดวยความสมดุลอยางสุขสบาย รวมทั้งสนองความสามารถของตนเองในโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลงน้ี

ไดโดยไมมีขอขัดแยงภายในจิตใจ ทั้งน้ี คําวา สุขภาพจิตมิไดหมายความเฉพาะเพียงแตความปราศจาก

อาการของโรคประสาทและโรคจิตเทาน้ัน

สาเหตุของปญหาสุขภาพจิต

ปญหาสุขภาพจิตเปนภาวะจิตใจที่คอนขางยุงยากซับซอนผสมผสานกัน ในทางจิตวิทยาเชื่อวา

ปญหาสุขภาพจิตมีสาเหตุแบงไดเปน 2 กลุมปจจัยคือ

1. ปจจัยภายในตัวบุคคล แบงออก เปน 2 ประการ ไดแก

1.1 สาเหตุของรางกาย ซึ่งมกีารถายทอดทางพันธุกรรมได โดยโครโมโซม (Chromosome)

เชนเดียวกับโรคเบาหวาน มะเร็งตับ และความพิการของอวัยวะตาง ๆ เชน ในกลุมบิดา มารดา พี่นองที่เคย

เปนโรคจิตมีโอกาสที่จะเปนไดรอยละ 7 - 16 แตในคนทั่วไปจะเปนโรคจิตเพียงรอยละ 0.9 เทาน้ันหรือ

Page 79: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

79

คูแฝดของผูปวยโรคจิตจากไขใบเดียวกัน มีโอกาสเปนโรคจิตดวยรอยละ 70 - 90 นอกจากน้ีความเจ็บปวย

ทางกาย ความพิการ หรือมีโรคเร้ือรังจะทําใหบุคคลน้ันมีอารมณแปรปรวน เกิดความวิตกกังวล ทอแท

คิดมาก มีผลกระทบตอสุขภาพจิตได ดังน้ี

1.1.1 โรคทางสมอง โรคทางสมองที่พบบอย ไดแก

- ความเสื่อมของสมองตามวัย (Senile dermentia)

- ความเสื่อมจากหลอดเลือดสมองตีบ (Arteriosclerosis dermentia)

- การอักเสบของสมอง (Encephalitis)

1.1.2. สารจากตอมไรทอ สารจากตอมตาง ๆ ในรางกายมีผลตอรางกาย เชน ตอม

ไทรอยดเปนพิษ (Hyperthyroidism) มีอาการหงุดหงิดกระวนกระวาย มีความเครียด มีอาการซึมเศราและ

เฉื่อยชา ความจําเสื่อมเมื่ออาการทางจิตเปนมาก อาจกลายเปนโรคจิตหรือโรคจิตเภท สําหรับโรคขาด

ฮอรโมนจากตอมไทรอยด (Hypothyroidism) ผูปวยจะมีอาการออนเพลีย เฉื่อยชา ความจําเสื่อม อารมณ

เฉยเมย ไมอยากพูด ประสาทหลอน และมีอาการซึมเศรา

1.1.3. อุบัติเหตุทางสมอง เมื่อสมองไดรับอุบัติเหตุ เชน กระโหลกศีรษะไดรับอุบัติเหตุ

กระโหลกศีรษะฟาดพื้นหรือของแข็ง และสมองไดรับความกระทบกระเทือนมากจนเกิดพยาธิสภาพของ

เซลลสมอง หรืออาจมีเลือดออกภายในเน้ือสมองจนเลือดไปกดดันเน้ือเยื่อของสมองยอมทําใหเซลลของ

สมองเสื่อมไปตามความรุนแรงของอุบัติเหตุ และพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นทําใหเกิดความผิดปกติ และความ

แปรปรวนของจิตได

1.1.4. สารพิษตาง ๆ ถารางกายไดรับสารพิษ เชน กัญชา มอรฟน เฮโรอีน ฝน โคเคอีน

ยานอนหลับ แอมแฟตตามีน( ยาบา ) เมื่อใชสารตาง ๆ เหลาน้ีจนติด หากไมไดกินหรือเสพจะทําใหเกิด

อาการแปรปรวนของจิตได เชน หงุดหงิด ทุรนทุราย หาวนอน ประสาทหลอน หมดความละอาย กาวราว

ชอบทะเลาะวิวาท คุมสติไมอยูและมักทํารายรางกายผูอ่ืน

1.1.5. โรคพิษสุราเร้ือรัง สุรามีสารที่สําคัญคือแอลกอฮอล เมื่อแอลกอฮอลอยูในกระแส

เลือดสามารถทําลายเซลลของสมองใหเสื่อมลงตามลําดับ ถาด่ืมสุรามากและด่ืมทุกวันสมองจะเสื่อมมากขึ้น

จนเกิดความวิปริตทางจิต หรือเกิดโรคจิตไดหลายอยาง เชน มีอาการพลุงพลาน อาละวาด ดุรายจนถึงขั้น

ทํารายรางกาย และทําลายชีวิตผูอ่ืนได

1.1.6. การทํางานหนักเกินกําลัง การทํางานหนักเกินกําลังของตนเองทุก ๆ วันจะ

กอใหเกิดความเครียด ความกังวล ความหงุดหงิด คิดมาก นอนไมหลับ ออนเพลียจนเกิดความสับสน

และตัดสินใจผิดพลาด ทําใหเกิดปฏิกิริยาทางจิตใจและเปนเหตุของโรคประสาทได

1.2 สาเหตุทางจิตใจ

เน่ืองจากมนุษยมีความตองการดานจิตใจอยูเสมอตราบใดที่ยังมีชีวิตอยูความตองการ

ดังกลาวคือ ความตองการพื้นฐานที่เปนแบบแผนเดียวกันกับทฤษฎีของมาสโลว ซึ่งแบงออกเปน 5 ขั้น

ดังน้ี

Page 80: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

80

ขั้นที่ 1 ตองการทางดานรางกาย เชน ตองการอาหาร ที่อยูอาศัย เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค

เปนตน

ขั้นที่ 2 ตองการความปลอดภัย ไมตองการใหชีวิตไดรับอันตราย

ขั้นที่ 3 ตองการความรัก เชน ความรักจากพอแม เพื่อน เปนตน

ขั้นที่ 4 ตองการมีชื่อเสียง เชน อยากใหเปนที่รูจักของสังคม

ขั้นที่ 5 ตองการประสบความสําเร็จ เชน ประสบความสําเร็จดานการประกอบอาชีพ

ดานการเรียน เปนตน

2. ปจจัยภายนอกตัวบุคคล แบงออกเปน 6 ประการ ไดแก

2.1. สาเหตุจากครอบครัวและสัมพันธภาพระหวางพอแม ลูก บุคคลที่ไมไดรับความรักความ

อบอุนจากพอแม เมื่อโตขึ้นจึงไมสามารถปรับตัวได จิตใจไมเขมแข็ง ไมสามารถเผชิญปญหาของชีวิต

2.2. สาเหตุจากฐานะเศรษฐกิจ หากครอบครัวใดไมสามารถแกปญหาเศรษฐกิจใหสมดุลกับ

รายจายได จึงเกิดหน้ีสินก็กระทบกับสุขภาพจิตของครอบครัวได

2.3. การขาดการศึกษาอบรม การขาดการศึกษาอบรมสั่งสอนที่ดี ทําใหชีวิตหมกมุนอยูแตใน

ความมืดมน หมดหวังยอมทําใหจิตใจหดหูเกิดความเสื่อมของสมองเปนปญหาสุขภาพจิตได

2.4. สภาพชีวิตสมรสหรือชีวิตโสดที่มีปญหายุงยาก ในชีวิตสมรสมีปญหาเกิดขึ้นไดเสมอ

เชน ความขัดแยง การต้ังครรภ การมีบุตร สิ่งเหลาน้ีนําปญหาเขามาในชีวิตสมรส ถาหาทางออกไมไดก็จะ

กอใหเกิดปญหาสุขภาพจิต สําหรับคนเปนโสดอาจเกิดปญหา เชน วาเหวขาดเพื่อน เหงา คิดมาก นอนไมหลับ

เกิดปญหาสุขภาพจิตไดเชนกัน

2.5. สาเหตุจากสภาวการณแวดลอมตาง ๆ เหตุการณหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชวงวัยตาง ๆ

ที่คนตองปรับตัวต้ังแตวัยเด็กจนถึงวัยผูใหญ ถาปรับตัวไมไดก็จะทําใหเกิดปญหาสุขภาพจิตได

2.6. สาเหตุจากวัฒนธรรมและคานิยมของสังคม ในสังคมปจจุบันน้ีมีการเปลี่ยนแปลงทาง

วัฒนธรรม และคานิยมอยางรวดเร็ว เด็กและวัยรุน มักรับวัฒนธรรมที่เปลี่ยนใหมไดงายและรวดเร็ว ซึ่งจะเกิด

ความขัดแยงกับผูใหญ ทําใหผูใหญไมพอใจ สงผลใหเกิดปญหาสุขภาพจิตไดทั้งเด็กและผูใหญ

1.8 ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย

พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติพุทธศักราช 2485 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศกัราช

2486 ไดใหความหมายของวัฒนธรรมไวดังน้ี

วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความ

กลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน

Page 81: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

81

ความสําคัญของวัฒนธรรม

วัฒนธรรมเปนเร่ืองที่สําคัญยิ่งในความเปนชาติ ชาติใดที่ไรเสยีซึ่งวัฒนธรรมอันเปนของตนเองแลว

ชาติน้ันจะคงความเปนชาติอยูไมได ชาติที่ไรวัฒนธรรม แมจะเปนผูพิชิตในการสงคราม ดังน้ันจึงพอสรุป

ไดวา วัฒนธรรมมีความสําคัญดังน้ี

- วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ชี้แสดงใหเห็นความแตกตางของบุคคล กลุมคน หรือชุมชน

- เปนสิ่งที่ทําใหเห็นวาตนมีความแตกตางจากสัตว

- ชวยใหเราเขาใจสิ่งตาง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นน้ันขึ้นอยูกับ

วัฒนธรรมของกลุมชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรูและถายทอดวัฒนธรรม

- วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดปจจัย 4 เชน เคร่ืองนุงหม อาหาร ที่อยูอาศัย การรักษาโรค

- วัฒนธรรมเปนตัวกําหนดการแสดงความรูสึกทางอารมณ และการควบคุมอารมณ

- เปนตัวกําหนดการกระทําบางอยาง ในชุมชนวาเหมาะสมหรือไม ซึ่งการกระทําบางอยางใน

สังคมหน่ึงเปนที่ยอมรับวาเหมาะสมแตไมเปนที่ยอมรับในอีกสังคมหน่ึง

จะเห็นไดวาผูสรางวัฒนธรรมคือมนุษย และสังคมเกิดขึ้นก็เพราะ มนุษย วัฒนธรรมกับสังคมจึง

เปนสิ่งคูกัน โดยแตละสังคมยอมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญหรือมีความซับซอน มากเพียงใด

ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมักจะมีมากขึ้นเพียงใดน้ันวัฒนธรรมตาง ๆ ของแตละสังคมอาจเหมือน

หรือตางกันสืบเน่ืองมาจากความแตกตางทางดานความเชื่อ เชื้อชาติ ศาสนาและถิ่นที่อยู เปนตน

ลักษณะของวัฒนธรรม

เพื่อที่จะใหเขาใจถึงความหมายของคําวา "วัฒนธรรม" ไดอยางลึกซึ้ง จึงขออธิบายถึงลักษณะของ

วัฒนธรรม ซึ่งอาจแยกอธิบายไดดังตอไปน้ี

- วัฒนธรรมเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู มนุษยมีการรูจักคิด มีการเรียนรู จัดระเบียบชีวิต

ใหเจริญ อยูดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รูจักแกไขปญหา

- วัฒนธรรมเปนมรดกของสังคม เน่ืองจากมีการถายทอดการเรียนรู จากคนรุนหน่ึงไปสูคนรุนหน่ึง

ทั้งโดยทางตรงและโดยทางออม

- วัฒนธรรมเปนวิถีชีวิต หรือเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตของมนุษย มนุษยเกิดในสังคมใด

ก็จะเรียนรูและซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเองอาศัยอยู ดังน้ัน วัฒนธรรมในแตละสังคมจึง

แตกตางกัน

- วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมคงที่ มนุษยมีการคิดคนประดิษฐสิ่งใหม ๆ และปรับปรุงของเดิมให

เหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสมและความอยูรอดของสังคม

Page 82: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

82

56วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น

คําวา "ทองถิ่น" หมายถึง พื้นที่และขอบเขตที่ชุมชน หมูบาน เมือง มีการปะทะสรรคกันทางดาน

สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบทางวัฒนธรรมที่เหมือนกัน และแตกตางกันไปจาก

ชุมชน หมูบาน และเมือง ในทองถิ่นอ่ืน ซึ่งเราพอจะสรุปลักษณะสําคัญของวัฒนธรรมและประเพณี

ทองถิ่นของไทยไดดังน้ี

56วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่นภาคกลาง56

ภาคกลางเปนภาคที่มีประชากรสูงสุด โดยรวมพื้นที่อันเปนที่ต้ัง ของจังหวัดมากกวาภูมิภาค

อ่ืน ๆ ใชภาษากลางในการสือ่ความหมายซึ่งกันและกัน วัฒนธรรมไทยทองถิ่นภาคกลาง ประชาชน

ประกอบอาชีพทํานา การต้ังถิ่นฐานจะหนาแนนบริเวณที่ราบลุมแมนํ้า มีวิถีชีวิตเปนแบบชาวนาไทย คือ

การรักพวกพอง พึ่งพาอาศัยกัน

56วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคอีสานเปนศูนยรวมวัฒนธรรมอันเกาแก ซึ่งปจจุบันสามารถ แบงคนอีสานตามเชื้อสายบรรพ

บุรุษ ได 3 กลุมคือ

1) ลาว มีถิ่นฐานต้ังแตเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด

2) ไทย มีถิ่นฐานตํ่าลงมาในเขตจังหวัดนครราชสีมา กลุมน้ีมีวัฒนธรรม ภาษา และประเพณี

แตกตางไปจากพวกลาวอีสาน

3) เขมร มีถิ่นฐานทางดานตะวันออกในเขตบุรีรัมย ศรีสะเกษ

กลุมคนในภาคอีสาน เปนผูรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยางเครงครัด ยึดมั่นในพุทธศาสนา และ

วัฒนธรรมประจําทองถิ่น นับถือสิ่งศักด์ิสิทธิ์คูบานคูเมือง ซึ่งเปนศูนยรวมชาวอีสานต้ังแตอดีตจนถึง

ปจจุบัน

56วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น56ภาคใต

มีประเพณีที่เปนที่โดยเดนเปนเอกลักษณเชนกัน โดยเฉพาะประเพณีที่เกี่ยวของทางศาสนา ไดแก

ประเพณีแหผาขึ้นธาตุ ประเพณีสารทเดือนสิบ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเปนศูนยกลางทางพุทธ

ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมในอดีต งานแขงโพนลากพระ จังหวัดพัทลุง เทศกาลกินเจ จังหวัดภูเก็ตและ

ตรัง งานสมโภชเจาแมลิ้มกอเหน่ียว จังหวัดปตตานี หรืองานประเพณีเล็ก ๆ อยางประเพณีลอยเรือชาวเล

ที่เกิดจากความเชื่อของชาวเกาะหลีเปะ จังหวัดสตูล และอีกหลายพื้นที่ในภูเก็ต พังงา และกระบี่

Page 83: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

83

56วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น56ภาคเหนือ

ประเพณีที่สําคัญของภาคเหนือ คือ งานปอยหลวง คําวา "ปอย" แปลวา ฉลอง คําวา "หลวง"

แปลวา ใหญโต งานปอยหลวงจึงแปลวา งานฉลองที่ยิ่งใหญ งานน้ีจัดขึ้นเพื่อฉลองวัดวาอาราม เชน สราง

กุฏิใหม ศาลาการเปรียญใหม ซอมเจดียเสร็จ เปนตน กําหนดจัดงานขึ้นในชวงเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือน

มิถุนายน เปนเวลา 7 วัน โดยวัดที่มีงานปอยหลวงจะบอกบุญใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ใกลเคียงและวัด

ตาง ๆ ในจังหวัดทราบ (เรียกวาแจกใบฎีกาแผหนาบุญ)

Page 84: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

84

แบบทดสอบหลังเรียน

คําสั่ง จงทําเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงหนาขอที่ถูกตองที่สุด

2. ประเทศไทยมีบทบาทสําคัญในการ

แกปญหายาเสพติดระหวางประเทศ

อยางไร

ก. รวมลงนามในกฎหมายระหวาง

ประเทศท่ีเก่ียวกับการควบคุมยา

เสพติด

ข. จับกุมและทําลายแหลงผลิตยาเสพ

ติดท่ีสําคัญ ๆ หลายแหง

ค. เปนศูนยกลางการฟนฟูและบําบัด

ผูติดยาเสพติด

ง. ใหความรูกับนานาประเทศเก่ียวกับ

โทษของยาเสพติด

2. ขอใดไมใชการเร่ิมตนการนับศักราช

ก. การเกิดของพระศาสดา

ข. การตายของพระศาสดา

ค. การประกาศศาสนาของพระศาสดา

ง. การขึ้นครองราชยของกษัตริย

3. ขอใดมีความสําคัญนอยท่ีสุดตอ

พัฒนาการของเมืองทายุคโบราณ

ก. ชายฝงน้ําลึก

ข. อาวและเกาะแกง

ค. ทรัพยากรธรรมชาติ

ง. ทิศทางการไหลของแมน้ํา

4. ขอใดตางจากพวก

ก. วัตถุธรรม

ข. คติธรรม

ค. สหธรรม

ง. เนติธรรม

5. ปจจัยขอใดมีอิทธิพลตอวัฒนธรรม

ไทยโบราณมากท่ีสุด

ก. พระมหากษัตริย

ข. การเกษตรกรรม

ค. พระพุทธศาสนา

ง. การคาขายกับตางประเทศ

6. ขอแตกตางท่ีเดนชัดท่ีสุดระหวาง

ภูมิปญญากับวัฒนธรรมคืออะไร

ก. เปนการปรับตัวเขากับสภาพ

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ

บรรพบุรุษ

ข. บรรพบุรุษในแตละทองถ่ินเปนผู

ถายทอดใหกับลูกหลาน

ค. เปนแนวปฏิบัติท่ีทําใหคนใน

ทองถ่ินดํารงชีวิตไดอยางมี

ความสุข

ง. มีการคัดสรร เลือกสรร ปรุงแตง

และถายทอดสืบตอกันมา

Page 85: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

85

7. ความสําคัญของเอกลักษณวัฒนธรรมไทย

คือขอใด

ก. แสดงใหเห็นถึงฐานะทางเศรษฐกิจ

ของไทย

ข. แสดงใหเห็นถึงจํานวนประชากร

ของไทย

ค. แสดงใหเห็นถึงลักษณะการ

ประกอบอาชีพของคนไทย

ง. แสดงใหท่ัวโลกรูจักประเทศไทย

และเขามาทองเท่ียวมากขึ้น

8. ขอใดไมเก่ียวกับประเพณีวัฒนธรรม

ก. การทําอาชีพการเกษตร

ข. ประเพณีการลอยกระทง

ค. การนัดหยุดงาน

ง. การเปนทหาร

9. สถาบันใดท่ีสรางจิตสํานึกการอนุรักษ

วัฒนธรรมไทยเปนสถาบันแรกคือ

สถาบันใด

ก. ศาสนา

ข. การศึกษา

ค. ครอบครัว

ง. เศรษฐกิจ

10. ขอใดไมไดหมายถึงจิตสาธารณะ

ก. รักษาสิ่งแวดลอม

ข. ประหยัดพลังงาน

ค. ใชโทรศัพทสาธารณะ

ง. ชวยคนพิการขามถนน

11. ขอใดคือการไมมีจิตสาธารณะตอ

ตนเอง

ก. เขาชั้นเรียนและสงงานสม่ําเสมอ

ข. ใชเวลาวางเลนเกมสเสมอ

ค. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ

ง. รูจักใชจายประหยัดเก็บออมเสมอ

12. วัฒนธรรมประเภทใดท่ีไมไดบังคับให

ปฏิบัติ

ก. กฎหมาย

ข. จารีตประเพณี

ค. กฎศีลธรรมจรรยา

ง. วิถีประชา

13. ขอใดคือลักษณะเอกลักษณของชาติ

ไทยท่ีแสดงใหเห็นวา “เลือดขนกวา

น้ํา”

ก. กตัญูรูคุณ

ข. กตเวทีตอบแทนคุณ

ค. ความผูกพันทางสายโลหิต

ง. การยกยองผูมีความรู

Page 86: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

86

14. ขอใดมีความสําคัญในการสรางจิต

สาธารณะ

ก. การไมมีโรคเปนลาภอันประเสริฐ

ข. ท่ีใดมีรักท่ีนั่นมีทุกข

ค. ตนเปนท่ีพึ่งแหงตน

ง. เพื่อนกินหางายเพื่อตายหายาก

15. ลักษณะเดนท่ีสุดท่ีแสดงวา “มนุษยเปน

สัตวสังคม” คือขอใด

ก. มนุษยปฏิบัติตนตามคานิยมของ

สังคม

ข. มนุษยทุกคนยินดีรับการสรรเสริญ

จากสังคม

ค. มนุษยมีความตองการท่ีจะปฏิบัติ

ตนตามบรรพบุรุษ

ง. มนุษยตอสูแยงชินอาหารเพื่อบําบัด

ความหิวของตน

16. การปฏิบัติของสมาชิกในสังคมท่ี

เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตท่ียึดถือมา

แตอดีต และยังคงปฏิบัติอยูจน

กลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตทางสังคม

เรียกวาอะไร

ก. บรรทัดฐาน

ข. จารีต

ค. คานิยม

ง. วัฒนธรรม

17. อะไรเปนสาเหตุของการเกิดวัฒนธรรม

ก. การเกิดสังคม

ข. ภาษาเขียนทางสังคม

ค. ความตองการทางกายภาพ

ง. ความตองการทางชีวภาพ

18. วิไลวรรณ เปนคนท่ีมีกิริยามารยาท

เรียบรอย ไดรับคํายกยองชมเชยจาก

เพื่อนและครูในวิทยาลัย พฤติกรรม

ของเธอตรงกับขอใดมากท่ีสุด

ก. จารีต

ข. ประเพณี

ค. สหธรรม

ง. นิติธรรม

19. “ธงชาติและเพลงชาติไทยเปน

สัญลักษณของความเปนไทยเราจง

รวมใจกันยืนตรงเคารพธงชาติดวย

ความภาคภูมิใจในเอกราช และความ

เสียสละของบรรพบุรุษไทย” จาก

ขอความดังกลาวธงชาติไทยเปน

เอกลักษณของสังคมดานใด

ก. ความเปนชาตินิยม

ข. ความเปนคนไทย

ค. ความเปนชาติไทย

ง. ความเปนแบบแผนอันดีงาม

ของไทย

Page 87: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

87

20. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจอม

เกลาเจาอยูหัวจึงไดรับการยกยองวา

“พระบิดาแหงวิทยาศาสตร”

ก. ทรงเปนพระมหากษัตริย

พระองคแรกท่ีจางครูฝร่ังเขามา

สอนวิทยาศาสตร

ข. ทรงเปนพระมหากษัตริยไทย

พระองคแรกท่ีสําเร็จการศึกษาคณะ

วิชาวิทยาศาสตร

ค. ทรงคํานวณการเกิดสุริยุปราคา

ณ ตําบลหวากอ จังหวัด

ประจวบคีรีขันธไดแมนยํา

ง. ทรงเปนนักวิทยาศาสตรของไทย

Page 88: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

88

เร่ืองที่ 2 การสรางความเขมแข็งในชุมชน

2.1 เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชการที่ 9 ทรงมีพระราชดํารัส

ชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ต้ังแตกอนวิกฤติการณทาง

เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยาง

มั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ

หลักพิจารณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย 5 สวน ดังน้ี 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน โดยมี

พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลก

เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและ

ความยั่งยืนของการพัฒนา

2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดย

เนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน

3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ พรอม ๆ กัน ดังน้ี

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบียน

ตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะตองเปนไป

อยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํา

น้ัน ๆ อยางรอบคอบ

3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง

ดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณ ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต

ทั้งใกลและไกล

4. เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงน้ัน ตองอาศัยทั้ง

ความรู และคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ

4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน

ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ

ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ

ซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 89: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

89

5. แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช

คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม

สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

(http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/phaithoon_s/poopeag/sec01p01.html

คนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2555)

ตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียง

ทฤษฎีใหม

ทฤษฎีใหม คือ ตัวอยางที่เปนรูปธรรมของการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงที่เดนชัดที่สุด ซึ่ง

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริน้ี เพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรที่มักประสบ

ปญหาทั้งภัยธรรมชาติและปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบตอการทําการเกษตร ใหสามารถผานพนชวงเวลา

วิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนํ้าไดโดยไมเดือดรอนและยากลําบากนัก

ความเสี่ยงที่เกษตรกร มักพบเปนประจํา ประกอบดวย ความเสี่ยงดานราคาสินคา ความไม

แนนอนดานราคา การที่ตองพึ่งปจจัยการผลิตจากตางประเทศ ฝนทิ้งชวง ฝนแลง ภัยธรรมชาติ โรค

ระบาด แบบแผนการผลิต การขาดแคลนแรงงาน ภาวะหน้ีสิน การสูญเสียที่ดิน

ทฤษฎีใหม จึงเปนแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและนํ้า เพื่อการเกษตร

ในที่ดินขนาดเล็กใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยใหเกษตรกรรูจักการบริหารและจัดแบงที่ดินออกเปน

สัดสวนที่ชัดเจน มีการคํานวณโดยใชหลักวิชาเกี่ยวกับปริมาณนํ้าที่จะกักเก็บ และใหมีการวางแผนที่

สมบูรณแบบสําหรับเกษตรกรรายยอย 3 ขั้นตอน คือ

ข้ันตอนท่ี 1 ใหแบงพื้นที่ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30:30:30:10 หมายถึง พื้นที่สวนที่หน่ึง

ประมาณ 30 % ใหขุดสระเก็บกักนํ้าเพื่อใชเก็บกักนํ้าฝนในฤดูฝน และใชเสริมการปลูกพืชในฤดูแลง

ตลอดจนการเลี้ยงสัตวและพืชนํ้าตาง ๆ พื้นที่สวนที่สอง ประมาณ 30 % ใหปลูกขาวในฤดูฝนเพื่อใชเปน

อาหารประจําวันสําหรับครอบครัวใหเพียงพอตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่

สวนที่สาม ประมาณ 30 % ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหาร

ประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย พื้นที่สวนที่สี่ ประมาณ 10 % เปนที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว

ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืน ๆ

ข้ันตอนท่ี 2 เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดปฏิบัติในที่ดินของตนจนไดผลแลว ก็ตองเร่ิม

ขั้นที่สอง คือใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ รวมแรงรวมใจกันดําเนินการในดาน

(1) การผลิต (พันธุพืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิต

โดยเร่ิมต้ังแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุพืช ปุย การจัดหานํ้า และอ่ืน ๆ เพื่อการเพาะปลูก

Page 90: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

90

(2) การตลาด (ลานตากขาว ยุง เคร่ืองสีขาว การจําหนายผลผลิต) เมื่อมีผลผลิตแลว

จะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหไดประโยชนสูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การ

จัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเคร่ืองสีขาว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตใหไดราคาดีและลดคาใชจาย

ลงดวย

(3) การเปนอยู (กะป นํ้าปลา อาหาร เคร่ืองนุงหม ฯลฯ) ในขณะเดียวกันเกษตรกรตองมี

ความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมีปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหารการกินตาง ๆ กะป นํ้าปลา

เสื้อผา ที่พอเพียง

(4) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู) แตละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จําเปน เชน

มีสถานีอนามัยเมื่อยามปวยไข หรือมีกองทุนไวกูยืมเพื่อประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน

(5) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) ชุมชนควรมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษา เชน

มีกองทุนเพื่อการศึกษาเลาเรียนใหแกเยาวชนของชมุชนเอง

(6) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเปน

ที่ยึดเหน่ียว

โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกลาวขางตน จะตองไดรับความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ไมวา

สวนราชการ องคกรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนน้ันเปนสําคัญ

ข้ันตอนท่ี 3 เมื่อดําเนินการผานพนขั้นที่สองแลว เกษตรกร หรือกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนา

กาวหนาไปสูขั้นที่สามตอไป คือติดตอประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหลงเงิน เชน ธนาคาร หรือบริษัท

หางรานเอกชน มาชวยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ทั้งน้ี ทั้งฝายเกษตรกรและฝายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะไดรับประโยชนรวมกัน

กลาวคือ

- เกษตรกรขายขาวไดราคาสูง (ไมถูกกดราคา)

- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อขาวบริโภคในราคาตํ่า (ซื้อขาวเปลือกตรงจาก

เกษตรกรและมาสีเอง)

- เกษตรกรซื้อเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดในราคาตํ่า เพราะรวมกันซื้อเปนจํานวนมาก

(เปนรานสหกรณราคาขายสง)

- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดําเนินการในกิจกรรม

ตางๆ ใหเกิดผลดียิ่งขึ้น

( http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpeing/porpeing.html#porpeing651 คนเมื่อวันที่ 23

กรกฎาคม 2555 )

Page 91: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

91

ตัวอยางผูดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ธีรพันธ บุญบาง : ผูนําวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

ธีรพันธุ บุญบาง เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2497 เปนบุตรคนที่ 3 ใน

จํานวน 6 คน ของนายแหวน บุญบาง (อดีตกํานันตําบลหนองบัว) กับนาง

คํา บุญบาง ศึกษาจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนโพฒิสารศึกษา

อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ปจจุบันกําลังศึกษาระดับปริญญา

ตรี สาขารัฐศาสตร (การปกครอง) ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เร่ิมตนชีวิตการ

เปนผูนําดวยการเปนผูใหญบานต้ังแตป 2530 ปจจุบันอาศัยอยูบานเลขที่

4 หมูที่ 1 ตําบลหนองบัว อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค สมรสกับ

นางกาญจนา บุญบาง มีบุตร, ธิดา รวม 3 คน โทรศัพท 056-251252 และ

086 - 2034703

เบาหลอมนักปกครอง / นักพัฒนา

นับแตเยาววัยจวบจนวัยหนุม ธีรพันธุ บุญ

บาง ไดเรียนรูและซึมซับความเปนนักปกครองและ

นักพัฒนาจากกํานันแหวน บญุบาง ผูเปนบิดาไว

อยางแนบแนน จิตวิญญาณ ของนักปกครองและ

นักพัฒนาไดปลุกเราความสํานึกของธีรพันธุ บุญบาง

อยูตลอดเวลา จนกระทั่งในปพุทธศักราช 2530

ธีรพันธุ บุญบาง ไดรับการเลือกต้ังใหเปนผูใหญบาน

หมูที่ 1 ตําบลหนองบัว อําเภอหนองบัว จังหวัด

นครสวรรค

ระหวางการเปนผูใหญบานธีรพันธุ บุญบาง

ไดริเร่ิมนํา ผูติดยาเสพติดในหมูบานที่มีอยูจํานวน 13 ราย มาทําการบําบัดรักษาในลักษณะของ " ธรรม

บําบัด " ผลงานคร้ังน้ันทําใหอําเภอตาง ๆ ในจังหวัดนครสวรรคสงผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษา

กับธีรพันธุ บุญบาง เปนจํานวนถึง 8 รุน ๆ ละ 120 คน

บานเนินนํ้าเย็น หมูที่ 1 ตําบลหนองบัว อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค ในความปกครอง

ดูแลของ ธีรพันธุ บุญบาง มีจํานวนครัวเรือนถึง 323 ครัวเรือน ประชากร จํานวน 1850 คน อาชีพสวน

ใหญทํานา และทําสวน ธีรพันธ บุญบาง และคณะกรรมการหมูบานไดแบงการปกครองออกเปน 22 คุม

คณะกรรมการหมูบานของธีรพันธ บุญบาง พบวาประชากรสวนใหญขาดการศึกษา ไมมีความรูในการ

Page 92: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

92

บริหารจัดการระบบตนทุนในการประกอบอาชีพ ทําใหฐานะยากจนมีผูตกเกณฑความจําเปนพื้นฐาน

เร่ืองรายไดเปนจํานวนมากกวา 100 ครัวเรือน ธีรพันธ บุญบาง และคณะกรรมการหมูบานไดนําระบบ

การจัดทําบัญชีครัวเรือนมาใชทุกครัวเรือน มีการวิเคราะหรายรับ รายจาย ของครัวเรือนและชุมชน

บานเนินนํ้าเย็นของ ธีรพันธ บุญบาง จึงไดรับการคัดเลือกเปนหมูบานตนแบบ การจัดทําบัญชีครัวเรือน

ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ

หน่ึงงานพอเพียง

ผลการทํางานของ ธีรพันธ บุญบาง ทั้งดาน

การปกครองและการพัฒนา สงผลดีตอประชากรของบาน

เนินนํ้าเย็นเปนอยางมาก ทําใหธีรพันธ บุญบาง ไดรับ

รางวัลจากหนวยงานตาง ๆ มากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งใน

ปพุทธศักราช 2546 ธีรพันธ บุญบาง ไดรับรางวัล

ผูใหญบานยอดเยี่ยมแหนบทองคํา จาก

กระทรวงมหาดไทย ขณะเดียวกันธีรพันธ บุญบาง ซึ่ง

เชื่อมั่น และศรัทธาตอแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงแหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดนอมนํา

แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตปฏิบัติใน

ครอบครัว ดวยการนําหลักการพอประมาณขององค

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาปฏิบัติในพื้นที่ 1 งาน

ดวยการดํานาปลูกขาว เลี้ยงปลาดุกและเลี้ยงกบไปพรอม ๆ

กัน ธีรพันธ บุญบาง คนพบวาพื้นที่ 1 งาน สามารถผลิต

ขาวเปลือกไดถึง 27 ถัง ปลาดุก 190 กิโลกรัม กบ

235 กิโลกรัม ภายในระยะเวลา 3 เดือน คิดเปน

รายได 29,600 บาท ในรอบระยะเวลา 1 ป สามารถทํา

รายไดเชนน้ีได 3 คร้ัง จึงทําให 1 ป มีรายไดถึง

88,800 บาท

นอกจากน้ียังพบวาแมลงและวัชพืชที่เกิดในนา

สามารถเปนอาหารของกบและปลาไดดวยขณะเดียวกัน

ขี้ปลา ขี้กบ ยังเปนปุยใหแกตนขาวไดเปนอยางดี

กระบวนการในพื้นที่นา 1 งานของธีรพันธุ บุญบาง จึงเปนกระบวนการที่มีทั้งความพอประมาณ ความ

มีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันไปในตัว รายไดจากการใชพื้นที่นา 1 งานทําใหครอบครัวของธีรพันธุ

บุญบาง มีรายไดอยางเพียงพอ

Page 93: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

93

จาก 1 งานพอเพียงสู 1 ไรหลอเลี้ยงครอบครัว

จากพื้นที่เพยีง 1 งาน ธรีพันธุ บุญบาง ไดขยายพื้นที่เปน 1 ไร โดย

แบงพื้นที่ออกเปน 4 สวน ๆ ละ 1 งาน มีการจัดระบบนํ้า พืช และสัตว

ใหสามารถเกื้อกูลและสนับสนุนกันได โดยในสวนที่ 1 ธีรพันธุ บุญบาง

ใชพื้นที่สรางคอกหมู คอกไก และทํานาบัว โดยใหคอกหมู คอกไก อยู

ในพื้นที่สูง และระบายมูลสัตวจากคอกลงสูนาบัว ที่เลี้ยงปลาดุกและกบ

ไวดวย พื้นที่ในสวนน้ีธีรพันธุ บุญบาง มีรายไดจากการขายดอกบัว

ปลาดุก กบ หมู และไก รวมทั้งมีการปลูกพืชผักสวนครัวไวรอบนาบัวดวย ในสวนที ่2 เปนพื้นที่ทํานา

ปลูกขาว เลี้ยงปลาดุก และเลีย้งกบ พื้นที่ สวนน้ีจะเปนพื้นที่ราบตํ่าเพื่อระบายนํ้าจากพื้นที่สวนที่1 ลงสู

พื้นที่น้ี

ในสวนที่ 3 เปนพื้นที่ใชเพาะตนกลาเพื่อนําไปดํานา รวมทั้งมีรองนํ้าเลี้ยงปลาดุก ปลูกพืชผัก

สวนครัวทั้งชะอม ตะไคร ขิง ขา กระเพราและโหระพา ในสวนที่ 4 เปนพื้นที่อยูอาศัย ธีรพันธุ บุญบาง

ใชพื้นที่สวนน้ีปลูกบานพักอาศัยขนาดพออยูอาศัย ใตถุนบานมีบอเลี้ยงกบ ปลาดุก และเลี้ยงเปดไขไวดวย

ระหวางพื้นที่ทั้ง 4 สวน ธีรพันธุ บุญบาง จัดระบบทางเดินใหเชื่อมตอกัน ธีรพันธุ บุญบาง ปลูก

พืชผักสวนครัว และตูเย็นกลางแจงไวตลอดแนวทางเดิน มีการจัดระบบนํ้าใหสามารถถายเททั้ง 4 สวน

ในลักษณะลาดชันแบบขั้นบันได

ปจจัยท่ีทําใหการทํางานในชุมชนประสบผลสําเร็จ

ธีรพันธุ บุญบาง แสดงทัศนะไววา " ความสําเร็จของการทํางาน ขึ้นอยูกับผูนําเปนหลัก ผูเปน

ผูนําจะตองมีความเชื่อมั่นในตัวเองวาสามารถทํางานใหสําเร็จได และตองเชื่อมั่นตอเพื่อนรวมงาน

รวมทั้งคนในชุมชนวาพวกเขามีความสามารถที่จะทํางานใหสําเร็จได เหนืออ่ืนใดเราจะตองมีความ

เชื่อมั่นและศรัทธาตองานที่ทําวาสามารถอํานวยประโยชนใหแกสวนรวมได ขณะเดียวกันผูนําจะตองมี

ความรูในงานที่ทําอยางถองแท รวมทั้งตองมีคุณธรรมเปนเคร่ืองกํากับดวย "

Page 94: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

94

ธีรพันธุ บุญบาง เร่ิมตนการพัฒนาตนเองดวยการนําตัวชี้วัดมาตรฐานงานชุมชน ระดับบุคคล มา

เปนแนวทางในการพัฒนาตนเอง พรอม ๆ กับสงเสริมใหผูนําในชุมชนไดใชแนวทางน้ีพัฒนาตนเองดวย

ทําใหกระบวนการทํางานในบานเนินนํ้าเย็น ของธีรพันธุ บุญบาง มีพลังเพื่อจัดการกับปญหาของชุมชนได

วันน้ี ............. รายไดจากการใชพื้นที่ 1 ไร ของธีรพันธุ บุญบาง สามารถสรางรายไดใหกับ

ครอบครัวของธีรพันธุ บุญบาง ไดเปนอยางดี และยังเปนแหลงถายทอดองคความรูในการนําปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงแหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาประยุกตใชอยางเปนรูปธรรมและสามารถ

ถายทอดใหแกผูสนใจไดเปนอยางดียิ่ง

(http://panyasa.blogspot.com/2010/07/blog-post.html คนวันที่ 23 กรกฎาคม 2555)

Page 95: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

95

กิจกรรมทายบท

1. ใหนักศึกษาแบงกลุมจัดทํารายงาน แบบอยางผูดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ในชุมชนที่นักศึกษาอาศัยอยู ตามหัวขอตอไปน้ี

1. ประวัติความเปนมา

2. แรงบันดาลใจ

3. ผลงาน

4. ปรัชญาที่ใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต

2. ใหนักศึกษาตอบคําถามทายบท

1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

ก. พอประมาณ สมดุล มีเหตุผล

ข. มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน พอไปวัดไปวา

ค. พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน

ง. มีเหตุผล มั่นคง ยืนไดดวยตนเอง

2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวพระราชดําริของรัชกาลใด

ก. รัชกาลที่ 6

ข. รัชกาลที่ 7

ค. รัชกาลที่ 8

ง. รัชกาลที่ 9

3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีเปาหมายคือสิ่งใด

ก. ดําเนินชีวิตไดทุกสถานการณ

ข. ดําเนินชีวิตไดทุกประเทศ

ค. ดําเนินชีวิตไดทุกวัย

ง. ดําเนินชีวิตไดทุกสภาพอากาศ

Page 96: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

96

4. สหกรณที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะเปนอยางไร

ก. พัฒนามั่งคั่ง มั่นคง

ข. พัฒนาสังคมดี เศรษฐกิจดี

ค. พัฒนาอยางมั่นคง ยั่งยืน

ง. พัฒนาอยางมั่นคง เยิ่นเยอ

5. กระบวนการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือสิ่งใด

ก. ชุมชน ประเทศ รายคน

ข. ประเทศ ชุมชน รายคน

ค. ประเทศ รายคน ชุมชน

ง. รายคน ชุมชน ประเทศ

6. บุคคลใดในสหกรณใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ก. สมาชิก

ข. กรรมการ

ค. เจาหนาที่

ง. ถูกทุกขอ

7. บุคคลที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะเปนอยางไร

ก. ยืนบนจมูกตัวเองได

ข. ยืนบนขาตนเองได

ค. ยืนบนลําแขงตนเองได

ง. ยืนบนคนอ่ืนได

8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหความสําคัญในเร่ืองใด

ก. คน คุณคาคุณธรรม

ข. คน คุณคาความเปนคน

ค. คน คุณคาความรู

ง. คน คุณคาชุมชน

Page 97: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

97

9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวปฏิบัติคลายกับขอใด

ก. ชุมชน

ข. บุคคล

ค. สหกรณ

ง. ปราชญ

10. ขอใดถูกตองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ก. นาย ก รูจักกิน รูจักใช จนอยูไดไมเดือดรอน

ข. นาย ข ขยันทํามาหากิน จนมีเงินใชจายไมเดือดรอน

ค. นาย ค ขยันทํามาหากิน รูจักเก็บออม ใชจายอยางไมเดือดรอน

ง. นาย ง ขยันทํามาหากิน รูจักเก็บออม จนมีเงินใหกู

Page 98: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

98

2.2 ธรรมาภิบาล

ความหมายของธรรมาภิบาล

ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี เปนแนวทางสําคัญในการจัด

ระเบียบใหสังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝายวิชาการ ฝายปฏิบัติการ ฝาย

ราชการและฝายธุรกิจ สามารถอยูรวมกันอยางสงบสุข มีความรูรักสามัคคีและรวมกันเปนพลังกอใหเกิด

การพัฒนาอยางยั่งยืน และเปนสวนเสริมความเขมแข็งหรือสรางภูมิคุมกันแกประเทศ เพื่อบรรเทาปองกัน

หรือแกไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายที่หากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรูสึกถึงความยุติธรรม ความ

โปรงใส และความมีสวนรวม อันเปนคุณลักษณะสําคัญของศักด์ิศรีความเปนมนุษยและการปกครองแบบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สอดคลองกับความเปนไทย รัฐธรรมนูญ และกระแส

โลกยุคปจจุบัน (ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี

พ.ศ. 2542)

ธรรมาภิบาล เปนหลักธรรมที่ชวยใหเกิด การบริหารจัดการบานเมืองที่ดี ซึ่งรูจักกันในนาม

“Good Governance” ที่หมายถึง การปกครองที่เปนธรรมน้ัน ไมใชแนวคิดใหมที่เกิดในสังคม แตเปนการ

สะสมความรูที่เปนวัฒนธรรมในการอยูรวมกันเปนสังคมของมวลมนุษยเปนพัน ๆ ป ซึ่งเปนหลักการเพื่อ

การอยูรวมกันในบานเมืองและสังคมอยางมีความสงบสุข สามารถประสานประโยชนและคลี่คลายปญหา

ขัดแยงอยางสันติวิธีและพัฒนาสังคมใหมีความยั่งยืน

องคประกอบของหลักธรรมาภิบาล

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542

ระบุวาธรรมาภิบาลมีองคประกอบ 6 ประการ คือ

1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัยและเปน

ธรรม เปนที่ยอมรับของสังคม ไมเลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมายและกฎ

ขอบังคับเหลาน้ัน โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจ หรือตามอํานาจของตัว

บุคคล

2. หลักความโปรงใส (Transparency) คือ การทําใหสังคมเปนสังคมที่เปดเผยขอมูลขาวสารอยาง

ตรงไปตรงมาและสามารถตรวจสอบความถูกตองไดโดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทํางานของ

องคกรใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสาร หรือเปดโอกาสใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูล

ขาวสารไดโดยสะดวก ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง

จะเปนการสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน และชวยใหการทํางานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจาก

การทุจริตคอรัปชั่น

Page 99: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

99

3. หลักการมีสวนรวม (Participation) คือ การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู และรวม

คิด รวมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญของประเทศ ในดานตาง ๆ เชน การแจงความเห็น

การไตสวนสาธารณะ การประชาพิจารณ การแสดงประชามติ และขจัดการผูกขาดทั้งโดยภาครัฐ หรือโดย

ภาคธุรกิจเอกชน รวมไปถึงการรวมตรวจสอบ และรวมรับผิดชอบตอผลของการกระทําน้ัน ซึ่งจะชวยให

เกิดความสามัคคี และความรวมมือกันระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน

4. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได (Accountability) คือ การที่ผูบริหาร ผูปฏิบัติงานในระดับ

ตาง ๆ ตองต้ังใจปฏิบัติภารกิจหนาที่อยางดียิ่ง โดยมุงใหบริการแกผูมารับบริการ เพื่ออํานวยความสะดวก

ตาง ๆ มีความรับผิดชอบตอความบกพรองในหนาที่การงานที่ตนรับผิดชอบอยูและพรอมที่จะปรับปรุง

แกไขไดทันทวงที ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบไดจึงเปนการสรางกลไกใหมีผูรับผิดชอบ ตระหนักใน

หนาที่ ความสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาสาธารณะของบานเมือง และกระตือรือรน

ในการแกปญหาตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกตางและความกลาที่จะยอมรับผลจากการกระทํา

ของตน

5. หลักความคุมคา (Cost-effectiveness of Economy) คือ การที่ผูบริหาร ผูปฏิบัติงานในระดับ

ตาง ๆ ตองตระหนักวามีทรัพยากรคอนขางจํากัด จะตองปฏิบัติภาระหนาที่อยางไรเพื่อใหการบริหาร

จัดการและการใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเกิดประโยชนคุมคา เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวม

6. หลักคุณธรรม (Ethics) คือ การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกตองดีงาม โดยการรณรงคเพื่อ

สรางคานิยมที่ดีงามใหแกผูปฏิบัติงานในองคกรหรือสมาชิกของสังคมปฏิบัติ ไดแก ความซื่อสัตยสุจริต

ความเสียสละ ความอดทน ขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย เคารพในสิทธิของผูอ่ืน ยึดมั่นในความ

ถูกตองดีงาม สํานึกในหนาที่ของตนเอง

การประยุกตใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารของรัฐ

การบริหารงานในรูปแบบของธรรมาภิบาลน้ันจะเนนที่การเจริญเติบโตอยางตอเน่ือง มั่นคง ไม

ลมละลาย ไมเสี่ยงตอความเสียหาย พนักงานมีความมั่นใจในองคการวาสามารถปฏิบัติงานในองคการได

ในระยะยาว การนําธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารน้ัน เพื่อใหองคการมีความนาเชื่อถือและไดรับการ

ยอมรับจากสังคม ปจจุบันการบริหารงานในภาครัฐไดรับความสนใจจากประชาชนเปนอยางมากในเร่ือง

ของความโปรงใสในการดําเนินงาน ดังน้ันการนําหลกัธรรมาภิบาลมาใชในหนวยงานของรัฐก็เพื่อให

ประชาชนเกิดความเชื่อถือศรัทธาวาปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริต คอรัปชั่นของหนวยงานภาครัฐ

จะลดลง ซึ่งสิ่งที่จําเปนในการบริหารงานของหนวยงานในภาครัฐคือ

Page 100: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

100

1. ความรับผิดชอบตรวจสอบได หมายถึง การที่บุคคล องคการ และผูที่ทําหนาที่ในการ

ตัดสินใจ ซึ่งหนาที่เกี่ยวกับการบริหารงานภาครัฐ ตองมีภาระความรับผิดชอบตอสาธารณะเกี่ยวกับการ

กระทํา กิจกรรม หรือการตัดสินใจใด ๆ ซึ่งสงผลกระทบตอสาธารณะ ความรับผิดชอบที่กลาวมา หมายถึง

การเปดเผยขอมูล การมีความยุติธรรม ปฏิบัติตอทุกคนดวยความเสมอภาค และตรวจสอบได โปรงใส

และดําเนินการภายใตกรอบของกฎหมาย

2. ความโปรงใส หมายถึง การตัดสินใจและการดําเนินการตาง ๆ อยูบนกฎระเบียบชัดเจน การ

ดําเนินงานของรัฐบาลในดานนโยบายตาง ๆ น้ัน สาธารณะชนสามารถรับทราบ และมีความมั่นใจไดวา

การดําเนินงานของรัฐน้ันมาจากความต้ังใจในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุผลตามเปาหมายของนโยบาย

3. การปราบปรามทุจริตและการประพฤติมิชอบ การที่องคการภาครัฐใชอํานาจหนาที่หรือการ

แสวงหาผลประโยชนในทางสวนตัว เหลาน้ีถือเปนการทุจริต และการประพฤติมิชอบทั้งตอองคการ

ภาครัฐเองและองคการในภาคเอกชน การปรับปรุงประสิทธิภาพในการทํางานและการทําใหเกิดความ

โปรงใส รวมไปถึงการปฏิรูประบบราชการจะเปนเคร่ืองมือในการปราบปรามการฉอฉล และเสริมสราง

ธรรมาภิบาล

4. การสรางการมีสวนรวม การมีสวนรวมเปนการเปดโอกาสใหกับประชาชน หรือผูที่มีสวน

เกี่ยวของเขามามีบทบาทในการตัดสินใจดําเนินนโยบาย มีสวนรวมในการควบคุมการปฏิบัติงานของ

สถาบัน การมีสวนรวมจะกอใหเกิดกระบวนการตรวจสอบ และเรียกรองในกรณีที่เกิดความสงสัยใน

กระบวนการดําเนินงานของรัฐไดเปนอยางดี

5. การมีกฎหมายท่ีเขมแข็ง ธรรมาภิบาลมีพื้นฐานการดําเนินการอยูบนกรอบของกฎหมายโดยไม

เลือกปฏิบัติ มีการใหความเสมอภาคเทาเทียม และเปนธรรมกับทุกฝาย มีกฎหมายที่เขมแข็ง มีการระบุการ

ลงโทษที่ชัดเจนและมีผลบังคับใชไดจะเปนสิ่งที่ชวยพัฒนาระบบการปกครองเพื่อปองกันการละเมิด หรือ

ฝาฝน การมีระบบกฎหมายที่ดีจะสงเสริมการปกครองตามหลักนิติธรรม

6. การตอบสนองท่ีทันการ ธรรมาภิบาล หมายถึง การใหการตอบสนองที่ทันการตอผูมีสวน

เกี่ยวของทุกฝาย ในเวลาที่ทันการ

7. ความเห็นชอบรวมกัน สังคมที่ประกอบดวยบุคคลที่มีความคิดเห็นแตกตางกันไป ธรรมาภิบาล

จะทําหนาที่เปนตัวกลางในการประสานความตองการที่แตกตางใหบนพื้นฐานของประโยชนสวนรวม

และขององคกรเปนหลัก

8. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในหลักธรรมาภิบาลน้ัน ตองการ

ใหมีการใชทรัพยากรตาง ๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุดและคุมคา

9. ความเสมอภาคและความเกี่ยวของ หลักธรรมาภิบาลจะเนนใหบุคลากรทุกคนในองคการรูสึก

มีสวนรวมหรือรูสึกเปนสวนหน่ึงกับองคการ บุคคลสามารถมีสวนเกี่ยวของในกิจกรรมหลักที่จะชวย

สรางความเติบโตใหกับหนวยงาน

Page 101: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

101

สรุปไดวา การใชหลักธรรมาภิบาลทําใหองคการสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานได อีก

ทั้งยังเปนกลไกในการควบคุมติดตาม และตรวจสอบ โดยมีประชาชน หรือองคการภายนอกมีสวนรวม

ทั้งน้ีเพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหายแกการบริหารองคการ เพราะการสรางธรรมาภิบาลใหเกิดขึ้นใน

องคการเปนการสรางสํานึกที่ดีในการบริหารงาน และการทํางานในองคการ และจัดระบบที่สนับสนุนให

มีการปฏิบัติตามสํานึกที่ดี ไมวาจะเปนในเร่ืองของการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพไมสิ้นเปลือง การ

ติดตามการทุจริต ความโปรงใส โดยคํานึงถึงผูที่เกี่ยวของที่จะไดรับผลกระทบ เน่ืองจากผูที่ไดรับ

ผลกระทบจากการปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐน้ันจะเกี่ยวของกับประชาชนโดยตรง

Page 102: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

102

กิจกรรมทายบท

ใหนักศึกษารวมกันจัดทําโครงการ การจัดการสิ่งแวดลอมในชุมชุนโดยใชหลักธรรมาภิบาล

โดยใหมีรายละเอียด ในเร่ือง

1. ความเปนมา ความสําคัญของโครงการ

2. วัตถุประสงคของการดําเนินงาน

3. เปาหมายของโครงการ

4. วิธีดําเนินงาน และระยะเวลาที่ตองใชในการดําเนินงาน

5. งบประมาณ

6. การติดตาม ประเมินระหวางการดําเนินงาน

7. การติดตามประเมินเมื่อสิ้นสุดการดําเนินงาน

8. การรายงานและเผยแพร

ทั้งน้ีในตัวโครงการใหแสดง ถึงการยึดหลักธรรมาภิบาล คือ ความคุมคา ความรับผิดชอบ

คุณธรรม ความโปรงใส การยึดหลักกฎหมาย และหลักการมีสวนรวม

Page 103: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

103

2.3 รากฐานชุมชนเขมแข็ง

ความหมาย และองคประกอบ

ชุมชนเกิดจากการรวมตัวของผูคนทั้งในชนบทและในเมือง ในหมูบานและระหวางหมูบาน

อําเภอ จังหวัด ในอาชีพหน่ึงหรือในความสนใจรวมกันของคนหลายอาชีพจากหลายแหงหลายพื้นที่การ

รวมตัวกันดังกลาวมีทั้งที่เปนมูลนิธิ เปนสหกรณ สมาคม หรือรูปแบบอ่ืนๆ ที่ไมไดจดทะเบียน รวมกัน

เปนกลุมอาชีพ เปนชมรม มีกติกาหลักการและกฎเกณฑของการอยูรวมกัน การเสริมสรางใหชุมชนมีการ

รวมตัวอยางเขมแข็งมารวมคิดรวมเรียนรูสูการปฏิบัติ มีกระบวนการเรียนรูและการจัดการองคความรูใน

รูปแบบที่หลากหลายตามภูมิสังคมที่เหมาะสมสอดรับกับการดําเนินชีวิตบนฐานทรัพยากร ภูมิปญญา และ

วิถีวัฒนธรรมชุมชน ดวยความรอบคอบและระมัดระวัง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรักความเอ้ืออาทร

มีความสามัคคี เสียสละ มุงมัน่ที่จะพัฒนาตนเองและผูอ่ืน จึงเปนการอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

มาเปนหลักในการดําเนินกิจกรรมรวมกันของคนในชุมชน เพื่อมุงไปสูความสุขที่เกิดจากความสมดุล

ความพอประมาณอยางมีเหตุผล และมีภูมิคุมกันที่ดี สามารถพึ่งตนเองได ชุมชนสามารถบริหารจัดการ

ใชประโยชนจากทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีอยูอยางมี

ดุลยภาพสอดคลองเชื่อมโยงกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน เพิ่มพูนความสัมพันธอัน

ใกลชิดทางสังคมระหวางผูคนทั้งภายในและภายนอกชุมชน ทั้งน้ี การรวมตัวกันอยางเขมแข็งของคนใน

ชุมชนนอกจากจะสามารถปองกันและแกไขปญหาที่ยากและสลับซับซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาความ

ยากจนที่มีความเปนองครวมเกี่ยวพันทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการปกครอง ซึ่งตองอาศัย

ชุมชนที่เขมแข็งเปนเสาหลักในการรวมมือรวมใจดําเนินการใหหลุดพนจากความยากจนตลอดไปแลว ยัง

ชวยใหชุมชนสามารถพัฒนาอนาคตของชุมชนไดอีกดวย

ชุมชน “Community” หมายถึงสถานภาพ/สภาพการ และ/หรือ สถานที่ ซึ่งคนหลาย ๆ คน

หลาย ๆ ครอบครัวมารวมตัวกัน และอยูภายใตสิ่งแวดลอมเดียวกัน เพราะการเปนเครือญาติ เกี่ยวของ

ผูกพันกัน มีความสัมพันธกันฉันญาติมิตร เกื้อกูลกัน หรือ มีความผูกพันทางเชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี

วัฒนธรรม และมีความเชื่อคลาย ๆ กัน หรือ มีอาชีพ หนาที่การงาน มีความชอบ ความนาเชื่อถือ และ

ศรัทธาบางสิ่งบางอยางรวมกัน ชุมชนแบงไดหลายลักษณะหลาย ๆ รูปแบบ เชน แบงตามสภาพการเมือง

การปกครอง แบงเปน หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค ฯลฯ แบงตามลักษณะอาชีพ เชน ชาวไร ชาวนา

ชาวสวน เปนเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ชาวประมง ขาราชการ นักธุรกิจ ครูผูใหบริการ แบงตามสภาพ

ภูมิศาสตร เชน ชาวตะวันตก ชาวตะวันออก ชาวเอเชีย ชาวยุโรป กลุมคนเขตรอน เขตหนาว แบงตาม

เขตพื้นที่ เชน ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท และแบงตามสภาพพิเศษอ่ืน ๆ เชน ชุมชนไทยพุทธ ไทยมุสลิม

คนไทยเชื้อสายจีน การแบงชุมชนไมมีหลักเกณฑตายตัว แตโดยรวมแลวชุมชนหมายถึงองคประกอบ

รวมของ

Page 104: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

104

1. กลุมคนที่อาศัยอยูในพื้นที่น้ัน ๆ

2. วิถีชีวิตโดยรวมของคนในพื้นที่น้ัน เชน วิถีชีวิตในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม

พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม หรือการบริการ วิถีชีวิตดานการเมืองการปกครอง การบริหารจัดการชุมชน

เชน ดานความสงบเรียบรอย ดานความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพยสิน วิถีชีวิตดานสังคม ดานการเปนอยู

รวมกัน การสมาคมรวมกัน การรูจักเอ้ือเฟอมีนํ้าใจตอกัน ความรักสามัคคีกัน

3. องคกรตาง ๆ ในชุมชน ทั้งหนวยงานภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคประชาสังคมของชุมชน

4. ทรัพยากรตาง ๆ ในชุมชน ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรอ่ืน ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น เชน

ถนน ไฟฟา ประปา เปนตน

5. ภูมิปญญาตาง ๆ ทุนทางสังคมอ่ืน เชน ขบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามตาง ๆ

ของชุมชน ตนทุนทางสังคม เชน คุณธรรม เปนตน

6. ปจจัยตาง ๆ ที่กระทบตอชุมชน ทั้งปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก ทั้งเชิงบวก และเชิงลบ

เชน มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเกิดขึ้น มีบอนการพนันเกิดขึ้น ลัทธิบริโภคนิยมตามกระแส

โลกาภิวัฒน

ประโยชนของชุมชนเขมแข็ง

ชุมชนเขมแข็ง คือชุมชนที่ “มั่นคง” “มั่งคั่ง” “ยั่งยืน” ชวยตนเองได และพึ่งพาตนเองได การสราง

ความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ การพัฒนาประเทศสูความสมดุล

ยั่งยืน จะตองใหความสําคัญกับการเสริมสรางทุนของประเทศที่มีอยู ทั้งที่เปนทุนทางสังคม ทุนทาง

เศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีมากขึ้นและเชื่อมโยงกันเพื่อประโยชนใน

การพัฒนา ทั้งน้ีการเสริมสรางทุนทางสังคมจะเปนพื้นฐานหลัก โดยตองเร่ิมจากการพัฒนาคุณภาพคนให

เปนคนที่มีความรูคูคุณธรรม มีจิตสํานึกสาธารณะและรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสูการพัฒนา

ชุมชนใหมีความเขมแข็ง ชวยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชนและระหวางชุมชน และเปนพลังของการ

พัฒนาประเทศ ใหชุมชนสามารถชวยตนเองไดในดานสติปญญา มีความรูความสามารถ ดานเศรษฐกิจ

ใหมีความมั่งคั่งทางดานการเงิน และความมั่นคงทางการประกอบอาชีพ ดานการปกครองสามารถดูแล

ตนเองใหเกิดความปลอดภัย มีความสงบสุข ดานสาธารณสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ

และโรคระบาดตาง ๆ ดานสาธารณูปโภค มีปจจัยพื้นฐาน เชน ถนน ไฟฟา นํ้าประปา ดานสิ่งแวดลอม

มีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ดานขนบธรรมเนียมประเพณี มีการอนุรักษสงเสริมวัฒนธรรม

ขนบธรรมเนียมประเพณี และการอยูรวมกันดวยการมีการมีคุณธรรม จริยธรรม ศาสนาธรรม เปนเคร่ือง

กํากับ

Page 105: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

105

การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็ง สามารถทําไดโดยการสงเสริมการรวมตัว

เรียนรูรวมคิด รวมทดลองปฏิบัติจริง รวมทั้งการเสริมหนุนกลุมที่มีการรวมตัวอยูแลวใหเขมแข็ง เนน

ศักยภาพความพรอมของชุมชน เชื่อมโยงกับการทํามาหาเลี้ยงชีพต้ังแตระดับปจเจก ระดับครอบครัวจนถึง

ระดับชุมชน คํานึงถึงความพอประมาณและความพออยูพอกินเปนลําดับแรกกอนที่จะเชื่อมตอกับชุมชน

และสังคมภายนอก มีกระบวนการจัดการองคความรูอยางเปนขั้นเปนตอน มีเครือขายการเรียนรู ทั้งภายใน

และภายนอกชุมชน โดยการสงเสริมการรวมตัวของคนในชุมชนทํากิจกรรมเพื่อประโยชนของชุมชน ใน

รูปแบบที่หลากหลายที่เปนทางการและไมเปนทางการ ทั้งในเชิงพื้นที่หรือประเด็นความสนใจ และเสริม

หนุนชุมชนที่มีการรวมตัวเปนกลุมตาง ๆ อยูแลวใหมีขีดความสามารถในการพัฒนามากขึ้น โดยการเปด

พื้นที่สาธารณะในการจัดกิจกรรมอยางตอเน่ือง เผยแพรขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนผานสื่อบุคคล

สื่อการศึกษา สื่อทองถิ่นและสื่อระดับชาติ รวมถึงการปรับปรุงกลไกทางกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและ

มาตรการการเงินการคลังเพื่อเอ้ืออํานวยใหภาคสวนตางๆ เขามารวมสนับสนุนการสรางชุมชนเขมแข็ง

การทําใหชุมชนเขมแข็งมีผูเสนอแนวคิดในการทําใหชุมชนเขมแข็ง โดยการรวมกลุมกันของ

คนในชุมชน (principle_of_community_administrator_and_management.pdf ) ควรดําเนินการดังน้ี

1. จัดต้ัง เกาะกลุม เร่ิมตนจากคนไมมาก แลวคอยขยายไป

2. ประชุมรวมคิด ตองพบปะ ประชุมแบบมีสวนรวมเสมอ ๆ

3. สรางจิต อุดมการณ ตองรวมปลูกฝงอุดมการณและจิตสํานึก

4. ทํางานเครือขาย ตองขยายเครือขายทั้งแนวด่ิงและแนวราบ

5. ตองเคลื่อนไหวอยูเสมอ ตองมีกิจกรรม และมีกิจกรรมรวมอยูเสมอ ๆ

6. นําเสนอแนวทาง เสนอวาอะไรดี/ไปทางไหน/อะไรถูกผิด

7. สรางอํานาจตอรอง กําหนดและสรางอํานาจตอรองได

ผลจากการทําใหชุมชนเขมแข็ง จะทําใหชุมชนอยูเย็นเปนสุข มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

และการจัดสวัสดิการ ชุมชน มีความมั่นคงดานอาหาร มีดุลยภาพในการดํารงชีวิตภายใตศักยภาพของฐาน

ทรัพยากรและวิถีวัฒนธรรมที่ดีงามในชุมชน มีการบริหารจัดการที่ดี มีความสามารถในการพึ่งตนเอง มี

ภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงในบริบทสังคมไทยภายใตกระแสโลกาภิวัตน และนําไปสูการลดปญหา

ความยากจน

แผนแมบทชุมชน

ความหมายของแผนชุมชน

แผนชุมชน คือ วิธีคิดที่จะนําไปสูการปฏิบัติ นําไปสูเปาหมายรวมกันของคนในชุมชน บน

พื้นฐานความเชื่อวาคนมีศักยภาพ เมื่อคนมีศักยภาพ รูจักตนเอง รูจักทรัพยากรโดยผานกระบวนการเรียนรู

ทําใหเกิดความรูที่หลากหลายรวมกัน เกิดการรวมคิดและกําหนดเปาหมายการทํางานเดียวกัน

Page 106: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

106

เชน เปาหมายคือการพึ่งตนเอง การเรียนรูจะทําใหเกิดองคความรู การใหชุมชนไดศึกษาวิจัยจะทําใหเกิด

องคความรูใหมหรือการร้ือฟนความรูที่อาจจะหายไปเมื่อ10 ป 20 ปคืนมา ในขณะเดียวกันก็สรางองค

ความรูแบบบูรณาการ โดยใหภาคีตาง ๆ มาทบทวนความรูและความรูใหมรวมกัน จะชวยใหกําหนด

เปาหมายตรงกันได (ฉลาด จันทรสมบัติ. 2547 : 21 - 31)

ความสําคัญของแผนชุมชน

แผนชุมชน เปนสิ่งที่ใชเปนแนวทางในการพัฒนาทองถิ่น หรือชุมชน เพื่อใหเกิดการแกไขปญหา

และพัฒนาชุมชนตามความตองการของคนในชุมชน มีความสําคัญคือใชเปนเคร่ืองมือในการคนหาตนเอง

ของชุมชน วาเปนใคร มีปญหา และมีความตองการอะไร เปนเคร่ืองมือในการใหคนในชุมชนมาเรียนรู

รวมกันจึงเกิดประสบการณและองคความรูในการพัฒนาชุมชน เปนเคร่ืองมือสรางกระบวนการมีสวนรวม

ของคนในชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรภาคีตาง ๆ เปนสวนหน่ึงของเคร่ืองมือใน

การแกปญหาสังคม เปนเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และปจจัยหน่ึงที่นําไปสู

ความเปนชุมชนเขมแข็ง ความสําคัญของแผนแมบทพัฒนาชุมชนจึงมีลักษณะดังน้ี

1. แผนชุมชนเปนการสะทอนปญหา ความตองการของชุมชน จากลางสูบน ( จากหมูบานสู

จังหวัด ) หรือเปนลักษณะ Bottom up เปนเคร่ืองวัดความเขมแข็งของชุมชนเปนรากแกวของการ

แกปญหาชุมชน

2. แผนชุมชนเปนโอกาสในการแสดงศักยภาพ โดยกระบวนการภายใตหลักการพัฒนาชุมชน

เปนเคร่ืองมือในการสราง “ วาระชุมชน” ปลุกกระแสใหชุมชนต่ืนตัวเพื่อพัฒนาตนเอง

กระบวนการจัดทําแผนชุมชน

(คนจาก 203.114.112.231/ecs/loction.php?loca=lampang)

การใหชาวบานในหมูบานและชุมชน จัดทําแผนชุมชนเพื่อพัฒนาหมูบานและชุมชนของตนเอง

มีแนวคิด หลักการ และความเชื่อในหลาย ๆ ดาน เชน

1. แนวคิดจากปรัชญาพัฒนาชุมชน ซึ่งเปนสากลที่บอกวา ชาวบานมีศักยภาพ สามารถพัฒนา

ตนเองไดถาใหโอกาส และการพัฒนาตองเร่ิมตนที่ชาวบาน

2. แนวคิดจากหลักการพัฒนาชุมชน คือการมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การชวยเหลือซึ่งกันและกัน

และการรับผิดชอบตอชุมชนตนเอง

3. แนวคิดการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการใหชุมชนไดมีกระบวนการในการจัดการชุมชน มี

การเรียนรูรวมกันในกระบวนการชุมชน

4. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการสรางพลังชุมชน ใชพลังชุมชนในการพัฒนา

ชุมชน

Page 107: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

107

5. แนวคิดที่วาไมมีใครรูปญหาชุมชนเทาคนในชุมชน ดังน้ันการแกปญหาจึงเร่ิมจากชุมชน การ

ใหการสนับสนุนจากรัฐจะตองเปนลักษณะ จากลางขึ้นบน ไมใชจากบนลงลาง

กระบวนการจัดทําแผนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดไวเปน

5 ขั้นตอน คือ

ข้ันตอนท่ี 1 เตรียมความพรอมชุมชน โดยมีกลุมเปาหมายคือ ผูนําชุมชน ผูแทนคุมบาน อบต.

ผูแทนกลุม/องคกรชุมชน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให

1. ทีมงานระดับชุมชนมีความพรอมและมีแนวทางในการจัดกระบวนการแผนชุมชน

2. ผูนําชุมชนตระหนักถึงความสําคัญและสามารถระบุความจําเปนในการจัดกระบวนการแผน

ชุมชน

3. ผูนําชุมชนกําหนดแผนปฏิบัติการ และยอมรับพรอมมีสวนรวมในกระบวนการแผนชุมชน

ข้ันตอนท่ี 2 การวิเคราะหขอมูลเรียนรูตนเอง และชุมชน กลุมเปาหมายคือ ผูนําชุมชน ผูแทน

คุมบาน อบต. ผูแทนกลุม/องคกรชุมชน ตัวแทนครัวเรือน ประชาชนในชุมชนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อให

ชุมชนไดเรียนรูขอมูลตนเอง ดวยการแยกแยะทุนทางสังคม และสภาพปญหา วิเคราะหสาเหตุของปญหา

และจัดลําดับความตองการของชุมชน แยกแยะศักยภาพที่มีอยู และสภาพปญหาที่เปนแนวโนมกําลัง

เกิดขึ้นในชุมชน

ข้ันตอนท่ี 3 การกําหนดเปาหมายและทิศทางการพัฒนา กลุมเปาหมายคือ ผูนําชุมชน ผูแทนคุม

บาน อบต. ผูแทนกลุม/องคกรชุมชน ตัวแทนครัวเรือน ประชาชนในชุมชน วัตถุประสงคเพื่อใหชุมชน

กําหนดเปาหมายวาจะพัฒนาไปเปนชุมชนแบบไหนในอนาคต พรอมทั้งกําหนดทิศทาง และแนวทางการ

พัฒนาตามศักยภาพชุมชน

ข้ันตอนท่ี 4 การกําหนดแผนงาน โครงการพัฒนาชุมชน กลุมเปาหมายคือ ผูนําชุมชน ผูแทน

คุมบาน อบต. ผูแทนกลุม/องคกรชุมชน ตัวแทนครัวเรือน ประชาชนในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีแนวทาง

พัฒนาชุมชนไปสูการเปนชุมชนที่ปรารถนา

ข้ันตอนท่ี 5 การปฏิบัติตามแผนชุมชน กลุมเปาหมายคือ คณะกรรมการบริหารชุมชน อบต.

หนวยงานสนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่ วัตถุประสงคเพื่อใหเกิดการปฏิบัติตามแผนพัฒนาชุมชนอยางเปน

รูปธรรม

สรุปไดวา กระบวนการวางแผนชุมชน จะตองดําเนินการตามขั้นตอนคือ การวิเคราะหวาขณะน้ี

เราอยูจุดใด (อาจจะใชเทคนิค SWOT :ไดแก Strengths การวิเคราะหจุดแข็งและขอไดเปรียบ Weaknesses

การวิเคราะหจุดออนหรือขอเสียเปรียบ Opportunities การวิเคราะหโอกาสที่จะดําเนินการได และ Threats

การวิเคราะหอุปสรรค ขอจํากัด หรือปจจัยที่คุกคามการดําเนินงานของชุมชน) เราตองการไปสูจุดใด โดย

Page 108: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

108

การกําหนดวิสัยทัศน ตําแหนง ทิศทาง เราจะไปสูจุดน้ันไดอยางไร โดยการกําหนดแนวทางแกไข แผน

ยุทธศาสตร เราตองทําอะไรเพื่อไปถึงจุดน้ัน โดยการแปลงแผนยุทธศาสตรสูกิจกรรม /โครงการ และ

สุดทายคือการลงมือปฏิบัติยืนยันเพื่อขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน และติดตามประเมินผล

การจัดการกองทุนชุมชน

ปญหาของชุมชนไมวาจะเปนปญหาที่เกิดขึ้นปจจุบันทันดวน ปญหาที่ยังไมเกิดแตมีแนวโนมที่

จะเปนปญหาในอนาคต หรือแมแตปญหาที่เกิดขึ้นเปนคร้ังคราว หรือปญหาตามฤดูกาล ทุกชุมชนตางมี

โอกาสประสบดวยกันทั้งสิ้น ซึ่งแนวทางและความสามารถในการจัดการกับปญหาของแตละชุมชนจะมี

มากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับจํานวน และความแข็งแรงของสินทรัพยหรือทุนที่ชุมชนมีอยูเปนสําคัญ

แนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน จึงมุงใหชุมชนเปนศูนยกลางการพัฒนาการดํารงชีวิตของคนใน

ชุมชน โดยเสริมสรางความสามารถของสินทรัพยที่เปนตัวเงินและไมใชตัวเงิน ในการจัดการกับปญหา

ของชุมชน และรักษาหรือเสริมสรางศักยภาพของสินทรัพยที่มีอยูในชุมชน ใหคงอยูโดยไมทําลายรากฐาน

ดานทรัพยากรธรรมชาติ สินทรัพยของชุมชนดังกลาว เรียกวา ทุนชุมชน

ความหมายของทุนชุมชน

ทุนชุมชน Community Capital เปนคําที่ยืมคําวา ทุน มาจากเศรษฐศาสตร เพื่อบอกถึงสิ่งที่เปน

มูลคา ที่นับเปนเงินมิได แตมีความหมายตอชีวิตของผูคนเปนอยางยิ่ง หมายถึงทุนทรัพยากรที่กอใหเกิด

ผลผลิตขึ้น เชน ปจจัยสี ่รวมทั้งเงินและสินทรัพยอ่ืน ๆ ความรู ภูมิปญญา ประสบการณชีวิตของผูคน ทุน

ทางสังคม และวัฒนธรรม เปนตน

ประเภทของทุนชุมชน

ชุมชนแตละชุมชนจะประกอบดวยทุนตาง ๆ มากมาย และทุนของชุมชนที่สําคัญ ๆ สามารถ

จําแนกได 5 ประเภท ไดแก

1. ทุนมนุษย (Human Capital) หมายถึง คุณสมบัติของคนในชุมชนกลุมตางๆ ทุกเพศ ทุกวัย

ทั้งในดานสขุภาพอนามัย อายุขัย คุณภาพของการดูแลสุขภาพใหกับกลุมคนกลุมตาง ๆ ระดับการศึกษา

จํานวนปที่เด็กไดเรียน การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การแบงปนความรู

2. ทุนสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสังคมที่ประชาชนใชเพื่อการดํารงชีพ

ทุนทางสังคมมีความสัมพนัธทางสังคมทั้งที่เปนทางการ และไมเปนทางการ รวมทั้งความไวเน้ือเชื่อใจ

การยอมรับซึ่งกันและกันในชุมชน กลุม องคกร เครือขายภาคประชาชน และประชาสังคม รวมถึง

วัฒนธรรมที่เปนวิถีสืบทอดมายาวนาน และเปนที่ยอมรับในสังคมน้ัน ๆ ซึ่งมีความหลากหลายในแตละ

พื้นที่ ในรูปแบบความเชื่อ ความศรัทธา จารีตประเพณีที่ดีงาม

Page 109: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

109

3. ทุนกายภาพ (Physical Capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกในการ

ดําเนินชีวิต ประกอบดวย โครงสรางถิ่นฐานและปจจัยการผลิตที่สนับสนุนการดํารงชีพของประชาชน

ไดแก ระบบการคมนาคมขนสง ที่อยูอาศัย ประปา และสุขาภิบาล พลังงานที่หาได และสะอาด การเขาถึง

ขอมูลขาวสาร

4. ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ และการไดรับบริการทรัพยากร

ธรรมชาติไดแก ที่ดิน ปาไม นํ้า ทรัพยากรทางทะเลและสัตวปา คุณภาพอากาศ การปองกันการพังทลาย

ของดิน การกําจัดขยะ การปองกันพายุ ระดับของความหลากหลายทางชีวภาพ และอัตราการเปลี่ยนแปลง

ซึ่งแตละสังคมมีทุนธรรมชาติที่แตกตางกัน ทุนธรรมชาติเปนตัวกําหนดศักยภาพในการดํารงชีวิตและการ

ดําเนินอาชีพของประชาชนในชุมชน

5. ทุนการเงิน (Financial Capital) หมายถึง ทรัพยากรที่เปนตัวเงิน และโอกาสทางการเงิน

ที่ประชาชนใชเพื่อบรรลุวัตถุประสงคในการดํารงชีพ คํานิยามที่ใชน้ีไมใชความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ แต

รวมกระแสหมุนเวียน หุน การบริโภค การผลิต อยางไรก็ตาม ทุนการเงินที่ชวยในการดํารงชีพที่สําคัญ

เรียกวา การมีเงินสดหรือเทียบเทา ที่ทําใหประชาชนสามารถวางแผนการดํารงชีพที่แตกตางกันไป ทุน

การเงินมี 2 แหลงคือ

1) การออม (Available stock) เปนรูปแบบของทุนเงิน เงินสด เงินฝาก สัตวเลี้ยง และอัญมณี

รวมทั้งที่ไดผานสถาบันสินเชื่อ ลักษณะสําคัญของการออม มี 2 ประการ คือ ประสิทธิภาพการผลิต

(มีมูลคาเทาไร ถาออมไวโดยไมทําอะไร) และความสามารถในการไถถอน (พรอมที่จะเปลี่ยนเปนเงิน)

2) ทุนการเงินที่นอกเหนือจากรายไดจากการหาเลี้ยงชีพ (Regular inflows of money) กระแส

เงินที่มีมาก คือเงินบํานาญ คาตอบแทนหรืออ่ืนๆ ที่ไดจากรัฐ และเงินกองทุนเพื่อใหเห็นความเชื่อมโยง

และกอใหเกิด ความเขาใจในหลักการและบริบทของการพัฒนาทุนชุมชนอันจะสงผลตองานพัฒนาชุมชน

จึงกําหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาทุนชุมชน ดังน้ี

กรอบแนวคิดในการพัฒนาทุนชุมชน

ทุนทั้ง 5 ถือเปนปจจัยนําเขา (input) ในกระบวนการสรางความเขมแข็งของชุมชน จึงตองคิดวา

ทําอยางไรจึงจะแปลงทุนทั้ง 5 ประการน้ี ออกมาเปนผลผลิต หรือผลลัพธ (out put/out come) เพื่อให

ชุมชนบรรลุเปาหมายใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

การจัดการทุนชุมชน

ประชากรสวนใหญของประเทศกวา 60 % ยังอาศัยอยูในชนบท และคนเหลาน้ียังเผชิญกับปญหา

ความยากจน สาเหตุสวนใหญมาจากการขาดพื้นฐานดังตอไปน้ี

- ขาดขอมูล กระบวนการเรียนรู การจัดการ

- ปญหาเร่ืองทุน และการจัดการ

- ปญหาดานการตลาด การขนสง และการสื่อสาร

Page 110: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

110

การขาดทุนหมุนเวียนทําใหคนในชุมชนจําเปนตองหันหนาเขาหาแหลงเงินกูนอกระบบและใน

ระบบ เกิดวัฏจักรของการหมุนเงินจายดอกที่ไมมีที่สิ้นสุด การที่จะทําใหคนเหลาน้ีหลุดจากวงจรของการ

เปนหน้ีจําเปนตองเร่ิมจากการเรียนรูจากตนเอง แลวคอยขยายวงไปสูชุมชนในที่สุด การเร่ิมตนที่ดีที่สุดคือ

การเรียนรูเร่ืองรายไดรายจายของตนเองและของครอบครัวที่เรียกวาบัญชีครัวเรือน เพราะบานเปนหนวยที่

เล็กที่สุดของสังคมถาฐานรากน้ีเขาใจการจัดการทุนของตนเองแลวผลลัพธที่ไดคือสังคมน้ันจะมีบุคลากร

ที่เขาใจในการบริหารเงินกองทุนของชุมชน (กองทุนหมูบาน SML) อยางถูกตอง และดอกผลที่ไดก็จะ

หมุนสรางประโยชนใหชุมชนอยางตอเน่ือง

ดังน้ัน นิยามของทุนจะขยายจากทุนที่เปนเพียงตัวเงินเปนทุนทางสังคม เชน ทรัพยากรสวนรวมของ

ชุมชน จากรูปจะเห็นวาเปาหมายการพัฒนาในระดับชุมชน คือ การจัดการเงินทุนใหมีรายไดมากขึ้น การ

จัดการสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําทรัพยากรอันจํากัดมาบริหารจัดการเปนทุนอยาง

ถูกตองและยั่งยืน เกิดวัฒนธรรมของการรวมกันดูแล จัดการ การบริหารทุนของชุมชน นําไปสูความ

พอเพียงและเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนน้ัน ๆ

กระบวนการกลุม

ความหมาย

คําวา กระบวนการกลุม มาจากภาษาอังกฤษวา Group Dynamics

Group หมายถึงบุคคลต้ังแต 2 คนขึ้นไป ทํางานรวมกันเพื่อจุดประสงคอันเดียวกัน

Dynamics หมายถึง การเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง ไมอยูน่ิง

Page 111: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

111

เมื่อรวมกันเปน Group Dynamics จึงหมายถึง ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ

ภายในกลุม ซึ่งกําหนดเรียกเปนคําไทยวา "กลุมสัมพันธ"

เร่ืองของกระบวนการกลุมเปนเร่ืองใหมที่เพิ่งพัฒนาขึ้นมา และเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับศาสตรดาน

สังคมวิทยา นักสังคมวิทยาในปจจุบันไดพยายามศึกษาและนําความรู ในเร่ืองกลุมสัมพันธมาใชใหเกิด

ประโยชน

ในระยะหลัง กลุมสัมพันธเขามามีบทบาทในวิชาจิตวิทยา โดยเฉพาะในสาขาจิตวิทยา สังคม

วิธีการศึกษามุงไปทางการทดลอง บุคคลสําคัญที่มีสวนชวยใหวิชากลุมสัมพันธเปนที่รูจักของคน

ทั่วไป ทั้งยังเปน ผูบัญญัติศัพทคําวา Group Dynamics ขึ้นมาคือ Kurt Lewin

ความหมายของกระบวนการกลุมก็คือ ความรูและหลักการตาง ๆ ที่อธิบายถึงพฤติกรรมของกลุม

หรือเปนศาสตรหน่ึงที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของกลุม วิชากระบวนการกลุมจะอธิบายถึงการ

เปลี่ยนแปลงภายในกลุม เปนการศึกษาถึงพลังหรือสภาพการณตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอกลุมเปนสวนรวม

รวมถึงพฤติกรรมของบุคคลในกลุมที่ถูกกลอมเกลาจากประสบการณของกลุม

นอกจากน้ันกระบวนการกลุมยังเกี่ยวของกับการใหเหตุผลที่วา เหตุการณตาง ๆ เกิดขึ้นในกลุม

น้ันเพราะเหตุใด ทําไมกลุมจึงมีพฤติกรรมเชนน้ัน บางกลุมไดรับความสําเร็จ บางกลุมไดรับความ

ลมเหลวน้ันเปนเพราะเหตุใด

วิชากระบวนการกลุม จะชวยใหผูเรียนเขาใจถึงกระบวนการของการทํางานรวมกันในกลุมต้ังแต

การเลือกเปาหมาย การเสนอวิธีการแกปญหา การวางโครงการของกลุม ตลอดจนการดําเนินการตาม

โครงการ และการประเมินคา

วิวัฒนาการของกระบวนการกลุม

กอน ค.ศ. 1935 ความสนใจในเร่ืองของกิจกรรมกลุมเร่ิมขึ้นในสหรัฐอเมริกา เปนความสนใจ

ศึกษาในดานของการจัดกลุม (Group Organization) การบริหารกลุม (Group Administration) และ

โครงการของกลุม (Group Program) มากกวาที่จะศึกษาถึงเร่ืองขบวนการของกลุม

การศึกษาเร่ืองกลุมเร่ิมตนขึ้นในวงการธุรกิจ เปนการหาวิธีการตางๆ เพื่อใหธุรกิจกาวหนา

ซึ่งขึ้นอยูกับบุคลากรในบริษัท วิธีการศึกษาใชวิธีสํารวจปญหา จากการสํารวจพบวา ในการทํางานรวมกัน

น้ัน ผูรวมงานยอมเกิดการไมพอใจกันดวยประการทั้งปวง เพื่อความกาวหนาในการทํางานรวมกัน จึง

จัดการอบรมบุคลากร โดยแบงเร่ืองการอบรมเปน 2 เร่ืองคือ ความรูเกี่ยวกับงาน และความสัมพันธ

ของคน ในวงการเดียวกัน โดยใชวิธีเชิญวิทยากรมาบรรยาย ผูเขารับการอบรมน่ังฟงแตอยางเดียว วิธีการ

อบรมน้ี จึงไมคอยไดผล เพราะผูเขาอบรมไมไดลงมือปฏิบัติจริง จนถึง ค.ศ. 1947 จึงไดเปลี่ยนแนว

วิธีการอบรม โดยใหผูเขารับการอบรมไดมีสวนรวมในการพูดและการปฏิบัติดวย ทําใหเกิดการโตตอบกัน

(Interaction) ระหวางวิทยากรและผูเขาอบรม

Page 112: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

112

ระหวาง ค.ศ. 1936 - 1946 มีแนวโนมที่นาสังเกต คือ มีการประสานกิจกรรมรวมหลักสูตรเขา

กับโครงการศึกษา มีการรวมมือกันระหวางโรงเรียนและชุมชน มีการศึกษาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร

ในเร่ืองความสัมพันธระหวางบุคคลและความเปนผูนํา นอกจากน้ันยังมีความสนใจในเร่ืองพัฒนาการ

สวนบุคคลของผูที่ทํางานรวมกัน และมีการฝกความเปนผูนํา

ใน ค.ศ. 1947 ไดมีความเขาใจในเร่ืองงานกลุม (Group Work) ดีขึ้นกวา เปนปฏิกิริยาโตตอบ

ระหวางผูนํากับสมาชิก เปนที่รับรูกันทั่วไปวา กลุมประกอบไปดวยสายใยแหงความสัมพันธระหวาง

สมาชิก ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ การนํากระบวนการกลุมไปใชไดขยายวงกวางออกไป โดยนําไปใช

ในวงการอุตสาหกรรม การบริหารชุมชน และการแกปญหาตาง ๆ เชนเดียวกันกับกิจกรรมกลุม ซึ่ง

นําไปใชในวงการตาง ๆ ของสังคม ในโรงเรียนมัธยม วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และอ่ืน ๆ ในสหรัฐอเมริกาได

จัดหองทดลองปฏิบัติการเพื่อฝกพัฒนาการกลุม การฝกน้ีเปนการฝกทักษะที่แตละคนตองการ และฝกทักษะ

ในการกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ความเขาใจในทัศนคติและการทํางานของแตละคนในกลุม นอกจาก

การฝกทักษะ ดังกลาวแลว ไดมีการศึกษาถึงเร่ืองตาง ๆ คือ

- ความรูในเร่ืองโครงรางของกลุม

- พลังที่มีอิทธิพลตอปฏิกิริยาโตตอบกันในกลุม

- ความรับผิดชอบรวมกันในกลุม

- การใชกลุมเปนเคร่ืองมือปลูกฝงพัฒนาการสวนบุคคล

- ผลของประสบการณตาง ๆ ในกลุมที่มีตอนิสัยและบุคลิกภาพของแตละคนในกลุม

การศึกษากระบวนการกลุม ตอมาศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองการทํางานรวมกลุมกันโดยมุงหมายที่จะให

ไดทั้งผลงานที่ดี และความสัมพันธที่ดีภายในกลุม การจะใหคนสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได คนใน

กลุมจําเปนจะตองมีความเขาใจ และมีทักษะตาง ๆ เกี่ยวกบัการทํางานกลุมพอสมควร ความเขาใจและ

ทักษะเหลาน้ีสามารถฝกฝนไดโดยวิธีการของกระบวนการกลุม

บทบาทของแตละบุคคลในการเขารวมกลุม

บทบาทตาง ๆ ซึ่งเราพบเสมอในกลุมไดแก

1. ผูนํา ในเร่ืองของกลุมสัมพันธน้ี จะกลาวถึงผูนําในฐานะเปนที่ชอบพอของสมาชิกและรวม

การกระทํากันกับผูอ่ืน ๆ ได (รศ.ประกอบ ระกิติ, 2523, 93) ผูนํา คือ ผูที่มีความสามารถในการติดตอ

และความสัมพันธอันดีกับผูอ่ืน และควรจํากัดความสัมพันธน้ีอยูที่การเปนที่รักของสมาชิกอ่ืน ๆ ซึ่งจะ

นําไปสูการใหความรวมมือ และการมีผูตามในแงที่ชอบพอในอุดมการณและบุคลิกลักษณะของผูนําน้ัน

และเปนผูที่กระทําการใด ๆ โดยอาศัยการติดตอสัมพันธกับผูอ่ืนและรวมกันแกปญหาของสวนรวม โดยมี

การจัดกลุมอยางดี

Page 113: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

113

ผูนําอาจไมปรากฏตัวในกลุมอยางออกหนาออกตา จะอยูรวม ๆ ในกลุม แตมีสวนสําคัญมากใน

การจะใหการทํางานสัมฤทธิ์ผล เขาจะมีความสามารถในการชักจูง หรือผลักดันใหผูอ่ืนใหความรวมมือใน

การทํางานรวมกันและเมื่องานน้ันสัมฤทธิ์ผลแลว ผูนําจะไมแสดงตนวาเขาเปนผูทํางานน้ันจนสําเร็จแตจะ

บอกวาสมาชิกทุกคนรวมกันทํางานน้ันจนสําเร็จ

ผูนําก็คือ สมาชิกผูหน่ึงที่มีอิทธิพลที่จะทําใหสมาชิกอ่ืนในกลุมคลอยตามมากกวาที่เขาจะคลอยตามกลุม

ลักษณะของผูนําท่ีดี ควรมีองคประกอบดังตอไปน้ี

1. มีความสามารถดานสติปญญา ภาษา และดานการตัดสินใจ

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทํางานและการเขาสังคมสูง

3. มีความรับผิดชอบ เชื่อถือได และความเชื่อมั่นในตนเอง

4. ใหความรวมมือกับกลุม มีความสามารถในการปรับตัว

5. มีลักษณะแสดงตัว มีคนรูจักมาก

6. อารมณมั่นคง และมีอารมณขันที่เหมาะสม

7. มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดี

บทบาทของผูนํากลุม

1. อธิบายปญหาหรือจุดประสงคของการอภิปรายใหสมาชิกทราบ

2. วางตัวเปนกลางเมื่อมีการขัดแยงกันไมเขาฝายใดฝายหน่ึง

3. สนับสนุนใหสมาชิกมีโอกาสออกความคิดเห็นอยางทั่วถึงกัน

4. สรางความเขาใจในกลุมสมาชิก

5. พูดใหนอยกวาสมาชิก ไมจําเปนตองเปนผูเร่ิมในทุกเร่ือง

6. ไมควรตําหนิหรือขัดการพูดของสมาชิกขึ้นกลางคัน

7. รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน

8. สรางบรรยากาศใหเปนกันเอง ลดความตึงเครียดในกลุม

9. ไมเยาะเยย กระทบกระเทียบสมาชิกที่พลาดพลั้งหรือที่ตนไมชอบ

10. ตรวจสอบบันทึกการอภิปรายรวมกับเลขาฯ วาตรงกันกับที่ไดอภิปรายกันมาหรือไม

2. สมาชิก

กลุมจะทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพหรือไมน้ัน ขึ้นอยูกับการแสดงบทบาทที่แตกตางกันของ

สมาชิก บทบาทตาง ๆ น้ันอาจแยกไดเปน 3 ลักษณะคือ

1) บทบาทเกี่ยวกับงาน เปนบทบาทที่แสดงเพื่อใหงานบรรลุเปาหมาย จะมีพฤติกรรมดังน้ี

1.1 ผูริเร่ิม ไดแก ผูเสนอความคิด วิธีการใหม ๆ และพยายามกอใหเกิดในกลุมเพื่อใหงาน

ของกลุมบรรลุผลตามตองการ

Page 114: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

114

1.2 ผูแสวงหาขอมูลเปนผูซักถามเพื่อใหความกระจาง หรือใหไดขอมูลขอเท็จจริงตาง ๆ เพื่อ

แกปญหาของกลุม

1.3 ผูใหขอมูล เปนผูใหขอเท็จจริง หรือขอสรุปตาง ๆ ที่เปนความเห็น ซึ่งพยายามใหผูอ่ืน

คลอยตาม เปนการใชประสบการณ ความรูสึกนึกคิดของตนเขามาเกี่ยวของกับการทํางานของกลุม

1.4 ผูชี้แจง เปนผูใหรายละเอียดตาง ๆ โดยการใหความหมายหรือยกตัวอยาง พยายามทําความ

กระจางกับความคิดหรือขอเสนอแนะตาง ๆ และพยายามเชื่อมโยงความคิดเห็นของสมาชิกเขาดวยกัน

1.5 ผูบอกกลาว ผูสรุปและผูประเมิน เปนผูคอยบอกวา ขณะน้ีกลุมดําเนินงานไปถึงไหนแลว

ประเมินความกาวหนาของกลุม ถามถึงความเคลื่อนไหวและการปฏิบัติงานของกลุม

1.6 ผูกําหนดมาตรฐาน เปนผูกําหนดมาตรฐานที่จะใหกลุมกาวไปถึง พยายามคาดการณ

ผลงานของกลุมลวงหนา

2) บทบาทในการสรางความสัมพันธ เปนบทบาทที่ทําใหความสัมพันธของสมาชิกในกลุม

กลมเกลียวกันเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน สังเกตจากพฤติกรรมตาง ๆ ดังตอไปน้ี

2.1 ผูสนับสนุนหรือผูกระตุน เปนผูที่สนับสนุนใหสมาชิกในกลุมมีสวนรวม ใหคําชมเชยใน

เวลาที่เหมาะสม แสดงความชื่นชอบในสิ่งที่สมาชิกเสนอ ใหความอบอุนและยอมรับสมาชิกทุกคนใน

กลุม

2.2 ผูอํานวยความสะดวกเปนผูพยายามทําใหการสนทนาในกลุมดําเนินไปดวยดี โดยให

สมาชิกทุกคนมีสวนรวมและไดยินการสนทนาอยางทั่วถึง

2.3 ผูประสานหรือผูประนีประนอม เปนผูคอยไกลเกลี่ยเมื่อสมาชิกเกิดความขัดแยงกัน

ผอนคลายบรรยากาศที่ตึงเครียดของกลุมโดยวิธีประนีประนอม

2.4 ผูสังเกตการณและใหคําติชม เปนผูคอยสังเกตการณกระบวนการดําเนินของกลุมและ

เสนอสิ่งที่เห็นใหกลุมทราบ เพื่อประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของการทํางาน

2.5 ผูผอนคลายความเครียด เปนผูสรางอารมณขันในขณะกลุมเกิดความเครียดหรือความ

ขัดแยงกันอยางรุนแรง ชวยรักษาบรรยากาศของการทํางานรวมกัน

3) บทบาทเฉพาะคน เปนลักษณะนิสัยของสมาชิกแตละคน ถามีมากหรือนอยเกินไป อาจลด

ประสิทธิภาพในการทํางานของกลุมหรือทําใหกลุมแตกแยกได ดูจากพฤติกรรมดังน้ี

3.1 ผูคลอยตาม จะคลอยตามความคิดของผูอ่ืนอยูตลอดเวลา จะไมคอยมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นแกกลุมนัก

3.2 ผูกาวราว เปนผูที่คอยโจมตี ทับถมคนอ่ืน โดยการพูดถากถาง พยายามกดผูอ่ืนใหตํ่าอยู

เสมอ และพยายามทําใหกลุมเกิดความขัดแยงกันมากกวาที่จะพยายามทําความเขาใจกับปญหา

3.3 ผูขัดคอ เปนผูที่ด้ือดึง มองโลกในแงราย มีความขัดแยงไมเห็นดวยกับสิ่งที่ผูอ่ืนเสนอมา

พยายามจะนําประเด็นที่กลุมปฏิเสธไปแลวมาพิจารณาใหม มีความคิดเอนเอียงไปขางใดขางหน่ึงเสมอ

ไมมีการเดินสายกลาง

Page 115: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

115

3.4 ผูชอบเร่ืองหยุมหยิม สนใจแตสิ่งปลีกยอยที่ไมใชเร่ืองสําคัญในปญหาน้ัน

3.5 ผูขมขู พยายามขมขูกลุมใหคลอยตามตน อาจกระทําโดยการบังคับ ใชเสียงดัง ใชอํานาจ

ประจบหรือพยายามจะเปนผูนํากลุม

3.6 ผูเรียกรองความสนใจ พยายามทําใหผูอ่ืนสนใจตน อาจโดยการคุย โออวด พยายามสราง

สัมพันธกับผูอ่ืน พยายามทําตนใหเดนเปนที่นาเชื่อถือ

3.7 ผูผูกขาด พยายามฉวยโอกาสในขณะทํางานรวมกลุม เพื่อที่จะไดมีผูรับฟง รับรูสิ่งตาง ๆ

ที่เพื่อนสมาชิกแสดงออกแกกลุมแตเพียงผูเดียว

3.8 ผูเรียกรองความเห็นใจ ทําตนใหเปนที่นาเห็นใจ โดยแสดงความนาสงสารตาง ๆ เชน

ทําใหเห็นวาตนเปนผูเสียสละ ผูถูกกลั่นแกลง ถูกบังคับใหทําไดรับความลําเอียง เปนตน

3.9 ผูเฉยเมย เปนผูพยายามแสดงวาไมสนใจในการรวมกลุม ไมยินดียินรายใด ๆ ทั้งสิ้น

3. เลขานุการกลุม

บทบาทของเลขานุการกลุม

1. ตกลงรวมกับหัวหนากลุมในเร่ืองการเตรียมสิ่งตางๆ เพื่อความสะดวกของการประชุมให

เปนที่เรียบรอย และกอนหนาการประชุมพอสมควร เชน เร่ืองสถานที่ วัน เวลา ระเบียบวาระ การนัดหมาย

การเชิญวิทยากร ฯลฯ

2. บันทึกเร่ืองราวตาง ๆ ที่มีทั้งหมดและต้ังคําถามและผลของการอภิปราย ผลการลงมติ

ความเห็นที่สําคัญ

3. พยายามเตือนเมื่อเห็นวากลุมกําลังออกนอกเร่ือง

4. รายงานความกาวหนาของการอภิปราย ทบทวนใหสมาชิกทราบ

5. เมื่อจบการประชุมแลว ตองรายงานการบันทึกทั้งหมดใหกลุมทราบ อาจจัดทําเปนเอกสาร

เพื่อแจกใหผูที่เกี่ยวของทราบ

6. รวบรวมเอกสารและเก็บไวใหเขาระเบียบเปนหลักฐาน

7. สามารถใหรายละเอียดอันเกี่ยวเน่ืองกับการประชุมไดถูกตอง

8. พยายามทํางานรวมกับประธานกลุม ผูสังเกตการณ ที่ปรึกษา หรือผูจัดการประชุมอยาง

ใกลชิด

งานสําคัญของเลขานุการกลุม

งานสําคัญของเลขานุการกลุมคือ การจดบันทึก แนวทางในการจดบันทึกมีดังน้ี

1. เวลาจดไมจําเปนตองจดชื่อของผูรวมอภิปราย เพราะถาจดจะเหมือนกับเปนการเพงเล็ง

เฉพาะตัวบุคคลวาเขาพูดอะไร สิ่งที่ตองเพงเล็งคือ ไมตองจดทุกสิ่งที่สมาชิกพูดแตจดสิ่งที่มีความหมาย

สําคัญในหัวขอเร่ืองที่กําลังพูดถึง

Page 116: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

116

2. หมายเหตุประเด็นที่แตกตางกันของความคิด พรอมที่จะนําประเด็นน้ันขึ้นเสนอ

ตอกลุมเพื่อพิจารณาอีก เวลาจดไมควรสรุปเอาวาสิ่งที่หัวหนาหรือสมาชิกพูดบางเร่ืองเปนสิ่งที่กลุมเห็น

ดวย ประเด็นที่ยังมีความแตกแยกใหนํามาเสนอในตอนทายของการบันทึก

3. หมายเหตุขอความที่ตกลงกันและรายงานตอกลุมในตอนสรุป เพื่อกลุมจะไดสํารวจการ

ตัดสินใจของกลุมอีกคร้ังหน่ึง

4. ควรรายงานวากลุมไดพูดอะไรบางเกี่ยวกับปญหาน้ัน ๆ แทนที่จะจดแตหัวขอที่กลุมรวมกัน

อภิปราย

5. ไมจําเปนตองรายงานทุกประเด็นที่สมาชิกทุกคนพูด

6. ในขณะรายงานการประชุม เลขานุการกลุมควรถามกลุมได เมื่อไมแนใจในขอความที่จะ

จดลงไป

7. ถากลุมตองการเปลี่ยนแปลงแนวทางเมื่อใด เลขาฯ ตองพรอมจะสรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปได

4. ผูสังเกตการณ

ในการประเมินความกาวหนาของกลุมน้ัน วิธีการที่นํามาใชคือใหสมาชิกของกลุมคนหน่ึง ทํา

หนาที่สังเกตการณการทํางานของกลุม สวนใหญจะไดแกการอภิปราย บทบาทของแตละคน วิธีการ

ทํางานรวมกัน การใชพลังกลุมใหเปนประโยชน เมื่อการประชุมเสร็จแลวผูสังเกตการณจะรายงานสิ่งที่

พบเห็นใหทราบ สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงคือการเขารวมอภิปรายในกลุมดวย

บทบาทของผูสังเกตการณ

1. สังเกตวามีอะไรเกิดขึ้นในกลุม โดยพยายามทําใจเปนกลางที่สุด

2. จดสิ่งที่พบเห็นไวกันลืม

3. การรายงาน ไมควรติเตียนกลุม งานของผูสังเกตการณคือบอกวาเกิดอะไรขึ้นในกลุม เพื่อที่

กลุมจะไดอภิปรายวาทําไมจึงเกิดเหตุการณเชนน้ันขึ้น มีวิธีใดที่หลีกเลี่ยงไดบาง

4. ไมจําเปนตองจดบันทึกยาว การพูดควรพูดเฉพาะสิ่งสําคัญ เปนสิ่งที่จะชวยพัฒนากลุมและ

จะไดนํามาอภิปรายตอไป

5. ถาสังเกตวาการอภิปรายเนือย ผูสังเกตการณสามารถพูดเพื่อใหกลุมกระตือรือรนขึ้นได

6. ควรประเมินผลการทํางานของกลุมอยางสั้น ๆ

สิ่งตองสังเกต

1. สถานที่ ในการจัดอภิปราย

2. อิสระในการโตตอบกันของสมาชิกในกลุม

3. กลุมมีจุดมุงหมายชัดเจนหรือไม การอภิปรายมีคุณคาตอกลุมหรือไม

4. สิ่งใดบางที่ชวยใหกลุมกาวหนาไปสูจุดมุงหมาย

Page 117: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

117

5. สิ่งใดที่เปนอุปสรรคตอการกาวหนาของกลุม

6. ผูนําชวยเหลือกลุมอยางไรบาง

7. สมาชิกทําอะไรบางที่ชวยเหลือ ถวงความเจริญของกลุม

8. การอภิปรายเนนกลุมหรือเนนบุคคล

9. บทบาทของสมาชิกแบบใดที่เห็นชัดเจนที่สุดในกลุม

11. ความรูสึกโดยสวนรวมของกลุมเปนเชนไร เชน อารมณ ความกังวล ความเครียด

5. ท่ีปรึกษาของกลุม

ในการอภิปรายกลุมบางคร้ังอาจมีสิ่งที่สมาชิกไมกระจางเพราะขาดความรู ประสบการณที่เปน

แนวทางในการแกปญหาน้ัน ในกรณีน้ีควรเชิญที่ปรึกษากลุม ซึ่งมีความชํานาญในเร่ืองน้ัน ๆ มารวมให

ความคิดเห็น

บทบาทของท่ีปรึกษากลุม

1. ใหความเห็นในสิ่งที่กลุมติดขัดเทาน้ัน

2. ไมเขารวมในการอภิปราย แตตองทําตัวคลายพจนานุกรม

3. ใหขอเท็จจริงในสิ่งที่สมาชิกซักถาม แตไมเสนอแนะหรือแสดงความคิดเห็นสวนตัวใด ๆ ทั้งสิ้น

เพราะจะทําใหสมาชิกเกิดการคลอยตามและพึ่งที่ปรึกษาอยูตลอดเวลา

4. อยาใหความคิดเห็น ในขณะที่สมาชิกจะตัดสินใจหรือลงมติในปญหาของกลุม

พลังในการรวมกลุม

ในการที่บุคคลมารวมกันเปนกลุมยอมเกิดพลังที่ผลักดันกลุมทั้งในทางที่ดีพัฒนากลุม และเปน

อุปสรรคตอกลุม จึงควรสนใจศึกษาวาสิ่งใดที่ดีจนไดสรางเสร็จ สิ่งใดที่เปนอุปสรรคจะไดหลีกเลี่ยงและ

ขจัด เพื่อความกาวหนาของกลุม

สภาพท่ีดีของกลุม

สภาพของกลุมจะดีหรือไมน้ันขึ้นอยูกับสมาชิก ซึ่งมีลักษณะแตกตางกันออกไป อยางไรก็ตาม

สมาชิกไดรวมมือกันในสิ่งตอไปน้ีแลวจะทําใหกลุมเปนไปในทางที่ดี ทั้งสภาพการทํางานและ

ความสัมพันธภายในกลุม

1. สมาชิกทุกคนนําความรูและประสบการณมาใชใหเกิดประโยชนตอกลุมไดอยางเหมาะสม

2. สมาชิกทุกคนเขารวมประชุมเพื่อทําความเขาใจในเร่ืองงานที่จะตองปฏิบัติรวมกัน เสนอ

ปญหาที่พบเพื่อชวยกันหาทางแกไข

3. การหมุนเวียนตําแหนงผูนํา เพื่อใหสมาชิกไดรูถึงความสามารถของตนเอง และมีกาํลังใจ ใน

การทํางาน

Page 118: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

118

4. สมาชิกทุกคนกาวหนาไปพรอมๆ กัน อาจทําไดโดยแบงใหเหมาะสมกับความถนัดและ

ความสามารถของสมาชิก เมื่อสมาชิกไดแสดงความสามารถของตน รูสึกวาประสบความสําเร็จและไดรับ

การยอมรับจากกลุม

5. ตัดสินใจปญหาตางๆ ในการทํางานโดยอาศัยขอมูล แมสมาชิกบางคนในกลุมจะมี

ประสบการณมาก ก็ไมควรนําประสบการณเดิมมาใชในการแกปญหาโดยไมหาขอมูลเสียกอน

6. มีการประชุมกลุมยอย ถาสมาชิกจํานวนมากอาจทําใหการแสดงความคิดเห็นไมทั่วถึง การ

แบงกลุมยอยจะทําใหมีการซักถามกันอยางละเอียด และใหขอคิดเห็นกวางขวางยิ่งขึ้น

7. นําเอาความแตกตางระหวางบุคคลมาใหเกิดประโยชนตอกลุม แมวาความแตกตางของบุคคล

น้ี บางคร้ังอาจทําใหเกิดความแตกแยก แตขณะเดียวกันก็อาจเปนสิ่งสรางพลังแกกลุมได ทั้งน้ีโดยเนนถึง

ความเปนสวนหน่ึงของกลุมของสมาชิก ความสําคัญของเขาตอกลุมใชความแตกตางที่เขามีชวยเหลือซึ่ง

กันและกัน

8. การซักถามขอสงสัยอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ การซกัถามสิ่งที่สงสัยเปนสิ่งที่ดี เพราะ

จะทําใหเกิดความเขาใจกัน แตตองดูวาการซักถามน้ันควรเปนการสงเสริมกลุมมากกวาทําลายกลุม

9. มีความเคารพความคิดเห็นของผูอ่ืน ไมแสดงอาการดูถูกหรือตําหนิ แตควรสงเสริมใหความ

คิดเห็นน้ันสมบูรณยิ่งขึ้น ถาเปนความคิดเห็นที่ดี แตถาเปนความคิดเห็นที่ไมเปนประโยชนตอกลุมก็ผาน

ไปโดยไมตองแสดงความไมเห็นดวย

พลังในการปฏิบัติการ

การปฏิบัติงานในกลุมจะกาวหนาไปไดดีเพียงใดน้ันขึ้นอยูกับพลังในการปฏิบัติงานรวมกันของ

สมาชิก พลังดังกลาวน้ีจะมีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับปจจัย คือ

1. ปจจัยสวนบุคคล ไดแก ลักษณะของสมาชิกแตละคนในกลุม บุคคลแตละคนมีอิทธิพล

สามารถทําใหกลุมเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของตน ลักษณะของสมาชิกมีทั้งชวยใหกลุมประสบ

ความสําเร็จและเปนอุปสรรคตอการทํางานของสมาชิกอ่ืน

ลักษณะท่ีชวยใหกลุมประสบความสําเร็จ ลักษณะท่ีเปนอุปสรรคในการทํางานของกลุม

1.1 ใหคําวิจารณและคอยประเมินคากลุม

1.2 ใหขอมูลและใหคําแนะนําแกกลุม

1.3 ทําใหเร่ืองราวตาง ๆ ในกลุมงายขึ้น

1.4 คอยสรุปความคิดของกลุม

1.5 ใหความคิดริเร่ิมแกกลุม

1.6 ใหมโนธรรมแกกลุม

1.7 มีความเปร่ืองปราชญมาก ๆ

1.8 คิดวาตัวเองเปนมหาบุรุษ

1.9 มีลักษณะดอยกวาผูอ่ืน

1.10 มีความตองการเปนใหญในกลุม

1.11 ตองการผลประโยชนสวนตัว

1.12 ตองการใหทุกคนเห็นดวยกับความคิดของตน

Page 119: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

119

2. ปจจัยดานความรู ประสบการณและทักษะในการทํางานกลุม การทํางานรวมกันจะประสบ

ผลสําเร็จตองอาศัยทักษะ 2 ดานดวยกัน คือ

2.1 ทักษะที่จําเปนในการทํางาน แตละชนิด ซึ่งแตละคนจะมีแตกตางกันไปที่เรียกวา

ความแตกตางระหวางบุคคล

2.2 ทักษะในการทํางานรวมกันเปนกลุม ทักษะดานน้ีถาสมาชิกมีเหมือนกันจะชวยใหงาน

ดําเนินไปดวยดี ทักษะในขอน้ีประกอบดวย

- ความสามารถในการฟงอยางสรางสรรค คือ ฟงแลวนํามาคิด

- แสดงความคิดเห็นของตนอยางแจมแจง ทั้งน้ีเชื่อมโยงกับการฟง

- การชวยใหสมาชิกบางคนไดมีสวนรวมในการทํางานกลุม

- ความสามารถในการรวบรวมความคิดของสมาชิกมาวิเคราะหเพื่อชวยใหกลุมกาวหนาไป

ผูมีประสบการณในการรวมงานกลุมยอย ๆ จะใชความรูและทักษะที่มีอยูอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น

เปนการเพิ่มพูนปจจัยขอน้ีแกตนเอง

2.3 ปจจัยเกี่ยวกับจุดมุงหมายของการทํางาน ถาสมาชิกมีความรูสึกไมยอมรับหรือไมเห็นดวย

ในจุดมุงหมายที่สมาชิกอ่ืนเสนอ อาจกลาวไดวาเปนกลุมที่ขาดจุดมุงหมายรวมกัน บางคร้ังสมาชิกมี

จุดมุงหมายรวมกัน แตเขาใจในจุดมุงหมายไมตรงกัน การทํางานก็ดําเนินไปคนละทิศละทาง เมื่อการทํางาน

ไมดําเนินไปตามจุดมุงหมายทําใหสมาชิกเสียกําลังใจ ความพยายามในการทํางานลดลง เพราะเขาจะรูสึกวา

เสียเวลาเปลา และไมไดประโยชนอะไรเลย งานใดก็ตามถาต้ังตนแลวลมเหลว สมาชิกก็ไมอยากทํางานตอไป

ถาจะใหการทํางานดําเนินไปไดดี ควรจะเร่ิมตนดวยการทํางานกระจางเกี่ยวกับจุดมุงหมายของ

การทํางานในคร้ังน้ันเสียกอน เพื่อใหทุกคนเขาใจตรงกัน สมาชิกจะรวมมือกันเต็มที่ ถารูวางานของกลุม

กําลังกาวหนา ไปสูจุดมุงหมายและทุกคนรูสึกพอใจ

ตามปกติแลวในกลุมมักมีการขัดแยงระหวางสมาชิก เพราะแตละคนยอมมีจุดมุงหมายของตนเอง

แยงอยูในการทํางานรวมกัน เมื่อจุดมุงหมายของบางคนไมตรงกัน อาจจะเปนตนเหตุใหเกิดความแตกแยก

ระหวางผูที่เห็นดวยและไมเห็นดวย แตในบางคร้ังแมสมาชิกทุกคนมีจุดมุงหมายเดียวกันก็อาจทําใหเกิด

ความขัดแยงกันขึ้นได เชน ตางตองการความเดนตองการเปนหัวหนากลุม ตองการประโยชนบางอยาง

จากกลุม เปนตน สิ่งเหลาน้ีลวนแตทําใหพลังของกลุมเปนไปในดานทําลายกลุมทั้งสิ้น

4. ปจจัยเกี่ยวกับเกียรติยศ เร่ืองเกียรติยศน้ีมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับ

ความรูสึกตอตนเอง ถาสมาชิกรูสึกวาตนเองมีเกียรติไดรับการยอมรับจากกลุม จะทําใหเขามีกําลังใจที่จะ

ทํางานรวมกันในกลุม และจะทําใหเขารับผิดชอบในงานที่ทําดวย

นอกจากเกียรติสวนบุคคลแลวเกียรติของกลุมก็มีอิทธิพลตอพลังการทํางานของสมาชิกในกลุม

เชนกัน ถาสมาชิกรูสึกวาตนเองไดเขารวมอยูในกลุมที่มีเกียรติหรือกลุมที่ดึงดูดใจคน จะทําใหเขามี

กําลังใจในการรวมงานของกลุมมากกวาอยูในกลุมที่ดอยเกียรติกวา

Page 120: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

120

5. ปจจัยดานขนาดของกลุม ขนาดของกลุมมีความสําคัญตอความสัมพันธและใหความรวมมือ

ระหวางสมาชิก

ถากลุมใหญเกินความจําเปนจะสังเกตไดวามีสมาชิกที่มีความสามารถซ้ํา ๆ กันอยูหลายคนจะ

ทําใหสมาชิกบางคนเกิดความไมอยากรับผิดชอบตอกลุม บางคนอาจรูสึกอัดอัดใจที่ไมไดใชความสามารถ

บางคนไมไดรับภาระหนาที่หรือสมาชิกบางคนที่ไมมีปากมีเสียงในกลุมอาจถูกลืมไป

ในกรณีที่สมาชิกในกลุมมีจํานวนนอยเกินไป ก็อาจทําใหงานลาชาขัดของเพราะการทํางาน

บางอยางตองอาศัยความสามารถหลายดานจากหลายคน จึงจะทําใหงานสําเร็จลงเปนอยางดี บางคร้ัง

สมาชิกนอยกวางานที่ไดรับมอบหมาย ทําใหทุกคนตองทํางานหนักเกินกําลัง เกิดความเครียดขึ้น

ภายในกลุม

ขนาดของกลุมควรใหญหรือเล็กเพียงใดน้ัน ขึ้นอยูกับลักษณะของงานที่ตองทําสถานการณ

จุดประสงค รวมถึงระดับวุฒิภาวะของสมาชิกดวย

6. ปจจัยดานสภาพแวดลอมภายในกลุม สภาพแวดลอมภายในกลุมจะชวยสรางเสริม

ความสัมพันธระหวางสมาชิกและอํานวยความสะดวกในเร่ืองการทํางานใหดําเนินไปดวยดี

สภาพแวดลอมในกลุมเร่ิมต้ังแตการจัดที่น่ัง ลักษณะของหองประชุม เคร่ืองอํานวยความสะดวกตาง ๆ

ตลอดจนบรรยากาศในการรวมกลุม ถาสภาพแวดลอมดีทําใหสมาชิกรูสึกเปนกันเอง มีบรรยากาศอบอุน

โอนออน ไมแข็งกราว จะมีผลอยางมากตอการเกิดพลังในการทํางานรวมกัน

อยางไรก็ดี การจัดสภาพแวดลอมในกลุมตองเปนไปตามลักษณะของการเขารวมกลุม ถาจัดกลุม

เพื่อฟงคําบรรยายความสนใจของสมาชิกจะรวมอยูที่ผูนํา บรรยากาศแบบวิชาการ ตองจัดใหผูที่บรรยาย

อยูเดนกวาผูอ่ืน ถาจัดกลุมแบบอภิปรายรวมกันความสนใจของสมาชิกจะขึ้นอยูกับสมาชิกดวยกันเอง บรรยากาศ

แบบเปนกันเอง ควรจัดกลุมใหสมาชิกทุกคนมองเห็นกัน เชน จัดเปนรูปวงกลม

ประสิทธิผลของกลุม

ตัวกําหนดที่สําคัญอยางหน่ึงสําหรับประสิทธิผลของกลุม ก็คือ

1. ความรูสึกไว (sensitivity) ของสมาชิกในกลุมและผูนําที่เปนทางการที่มีตอปญหาที่เกิดขึ้น

2. การติดตอสื่อสารภายในกลุม ถาสมาชิกไมใหความสนใจตอกัน แลวก็จะทําใหขาดความ

เชื่อถือที่พึงมีตอกัน

3. ความตองการในสถานภาพ ความปลอดภัย ความสนใจ อิทธิพลและความสะดวกสบาย ซึ่ง

เปนไปตามความรูสึกของสมาชิกเอง จะเปนเหตุใหเขายอมรับฟงหรือไมยอมรับฟงผูอ่ืน

ปญหาของกลุม

ในการทํางานรวมกันยอมมีปญหาเกิดขึ้น เพื่อใหผูศึกษาไดเขาใจถึงสภาพปญหาที่อาจเกิดขึ้น

จะไดหาทางชวยกันปองกันและหลีกเลี่ยงปญหาที่จะเกิดขึ้นได

Page 121: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

121

1. ปญหาเร่ืองการขาดวินัย ปญหาน้ีเกิดจากสมาชิกบางคนที่ขาดความสนใจในงานของกลุม

และสรางความรําคาญใหแกกลุมในรูปแบบตาง ๆ เชน แสดงการกาวราว กอความวุนวาย แสดงความ

ไมเปนมิตร ตอตานกลุม ไมทํางานที่ไดรับมอบหมาย ผูนําและสมาชิกของกลุมอาจชวยเปลี่ยนพฤติกรรม

ของสมาชิกที่กอปญหาใหกลายเปนสิ่งที่เกิดประโยชนหรืออยางนอยก็ลดการสรางความรําคาญลงได

ปญหาของสมาชิกก็เทากับปญหาของกลุมเหมือนกัน แทนที่กลุมจะชิงชัง ควรมีความคิดที่วา

1.1 ทําไมกลุมจึงไดรับความรําคาญจากคนบางคน

1.2 ทําไมจึงเกิดความรําคาญ

1.3 ทําไมจึงถูกรบกวน

1.4 มีทางแกปญหาเหลาน้ีไดหรือไม

ปญหาดังกลาวจะชวยไดโดยการสรางสัมพันธภาพระหวางผูนํากับสมาชิกที่มีพฤติกรรมที่เปน

ปญหา บางคร้ังผูนําอาจสรางสัมพันธภาพเปนสวนตัวกับสมาชิกที่เปนปญหา แตตองระวังคือ ตองไม

มากเกินไปจนสมาชิกอ่ืนอิจฉาและสมาชิกเปนปญหามีสิทธิพิเศษกวาผูอ่ืนจะทําใหเกิดการแตกแยกและ

เกิดปญหาอ่ืนตามมาภายหลัง

2. ปญหาเร่ืองความรูสึกไมยินดียินราย มักเกิดในกลุมที่มีบรรยากาศแบบเผด็จการหรือเกิดจาก

กิจกรรมในกลุมงายหรือยากเกินไป หากสมาชิกของกลุมมีพฤติกรรมไมยินดียินราย ผูนําตองพิจารณาการ

ใชอํานาจของตนวาเปนไปในแบบใด เผด็จการ เสรีนิยม ประชาธิปไตย หรืออ่ืนใด ควรปรับใหเหมาะสม

กับกลุม อีกประการหน่ึงควรพิจารณาเปาหมายของงานวาสัมพันธกับความตองการของสมาชิกหรือไม

การวางเปาหมายของงานควรใหอยูในวงความสามารถของสมาชิก กําลังใจของสมาชิกจะดีขึ้น ถาไดเขาใจ

เปาหมายของงานอยางกระจางและเขาจะกระตือรือรนขึ้น ถารูสึกวาเปาหมายของกลุมมีความสัมพันธกับ

ความมุงหวังของเขา นอกจากน้ีแลวตองพิจารณาดวยวา เกิดความโตแยงกันอยางรุนแรงระหวางสมาชิก

กอนที่จะเกิดความไมยินดียินรายหรือไม เพราะความขัดขัดแยงในกลุมเปนอีกสาเหตุหน่ึงที่ทําใหเกิด

ความรูสึกไมยินดียินรายตอการทํางานรวมกัน

3. ปญหาความขัดแยงและแบงแยก ความขัดแยงและแบงแยกในกลุม สวนใหญเร่ิมตนจากความ

เขาใจไมตรงกันของสมาชิก อันเน่ืองมาจากการรับฟงซึ่งกันและกัน การทํางานที่ไมไดตกลงกันใหเขาใจ

ลวงหนาเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความขัดแยงขึ้น เมื่อความขัดแยงยอมเกิดการแบงแยกตามมาเปน

ธรรมดา ทําใหบางคร้ังในกลุมตองแบงแยกออกเปนกลุมยอย ๆ แตละกลุมก็มีความคิดตางกัน แลวยังไม

ยอมรับฟงกลุมอ่ืนเสียอีกเพราะกลัวเสียหนา กลัวผูอ่ืนจะวาไมเกง การลดปญหาความขัดแยงและแบงแยก

อาจทําไดโดย ในระยะเร่ิมตนกลุมควรทําความเขาใจและตกลงกันเสียกอนวาจะทําอะไรและทําอยางไร

ควรใชเวลามากพอสมควรในการรวบรวมขอเท็จจริงตาง ๆ และมีการอภิปรายรวมกันในกลุม เมื่อสมาชิก

เขาใจและตกลงกันแลว จึงเร่ิมดําเนินงาน

Page 122: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

122

4. ปญหาขาดความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน การทํางานรวมกันสมาชิกตองตัดสินใจรวมกันเพราะ

ในการดําเนินงานยอมอาศัยการตัดสินใจของสมาชิกเปนพื้นฐานในการตกลงหรือมีความคิดเห็น

สอดคลองกัน อาจเกิดขึ้นไดหลายทักษะ บางลกัษณะอาจทําใหเกิดปญหาตอไปได ลักษณะของการเกิด

ความสอดคลองที่พบโดยทั่วไปแบงไดเปน 4 ลักษณะ คือ

4.1 มีความคิดเห็นเหมือนกลุม หมายความวาแรกทีเดียวสมาชิกอาจมีความคิดเห็นตาง ๆ กัน

แตเมื่อไดอภิปรายรวมกันแลวตางก็ยินดีจะปฏิบัติตามขอตกลงโดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ ที่จะเปนอุปสรรค

ตอการทํางานตอไป

4.2 มีความเห็นสอดคลอง เพราะไมอยากมีความคิดแตกตางจากกลุม ไมอยากขัดกับเสียง

สวนใหญ หรือเกรงวาผูนําจะไมพอใจ บางคร้ังอาจเกี่ยวกับผลประโยชนบางอยางของกลุมและสวนตัว

การเห็นดวยกับกลุมจึงเปนวิธีที่ดีที่สุด

4.3 มีความเห็นสอดคลองเพราะเบื่อหนายการประชุม อาจเปนเพราะอภิปรายกันนานเกินไป

สมาชิกบางคนพูดมากเกินไป ทําใหเกิดความเบื่อหนาย ออนเพลีย จึงรีบเรงในการตัดสินใจเพื่อใหการ

ประชุมยุติลง โดยไมคํานึงถึงผลของการตัดสินใจ

4.4 จําเปนตองคลอยตามเพราะจากการลงคะแนนเสียง ตนเปนฝายเสียงสวนนอย ตองทําตาม

ขอตกลงเพื่อทําใหงานของกลุมดําเนินตอไป

การจะไดความคิดอันหน่ึงอันเดียวกันของกลุมน้ัน จะไดมาจากการชวยกันคิดแกปญหา อาจใชวิธี

พยายามคิดถึงตนเหตุของปญหา คิดหาทางแกไขและควรใหเปนไปแบบประนีประนอม บางทีความเห็น

อันหน่ึงอันเดียวที่เกิดขึ้นในกลุม แตเปนไปในทางลบ คือทุกคนมีความรูสึกตรงกันวาไมอยากรวมกับกลุม

เลย และอยากถอนตัวออกจากกลุมเหมือนกันหมด ถากลุมมีความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันในลักษณะน้ี

เทากับวากลุมประสบความลมเหลวอยางสิ้นเชิง ผูนําควรมองสถานการณน้ีอยางเปนสวนรวม ดึงดันที่จะ

ทําใหเกิดความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ถาสมาชิกยังไมสมัครใจ ในสถานการณที่กลุมตกลงกันไมไดผูนํา

ควรยอมรับความแตกตางกันของสมาชิก และพยายามนําความแตกตางน้ันมาใชใหเกิดคุณคา

5. ปญหาไมรูวาจะเร่ิมตนทํางานอยางไร "การเร่ิมตนที่ดีเทากับสําเร็จไปแลวคร่ึงหน่ึง" หาก

สมาชิกไมรูวิธีเร่ิมตนทํางาน ไมไดจัดลําดับขั้นหรือจัดไวอยางสับสน งานดําเนินไปไมสะดวก ดังน้ัน

ควรพิจารณาขั้นตอนในการทํางานดังน้ี

5.1 การนําเขาสูเร่ืองงานเปนการสรางความสนใจในเร่ืองงานน้ันแกสมาชิก

5.2 ทําความกระจางแจงในเร่ืองของการทํางานและสรางความเขาใจใหตรงกัน

5.3 สรางความเชื่อมั่นในการทํางานแกสมาชิก สวนใหญเปนหนาที่ของผูนํา

5.4 การลงมือปฏิบัติงาน

Page 123: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

123

ความเหนียวแนนของกลุม (Group Cohesiveness)

หมายถึง ความรูสึกและพฤติกรรมตาง ๆ ที่แสดงออกภายในกลุมและทําใหสมาชิกเกิดการ

รวมแรง รวมใจกันทํางาน เพื่อใหประสบความสําเร็จ เกิดความภูมิใจในผลงานทุกสิ่งทุกอยางที่

แสดงออกก็เพื่อความมั่นคงของกลุม

สาเหตุท่ีทําลายความเหนียวแนนของกลุม

1. เกิดความขัดแยงกันระหวางสมาชิก จนไมสามารถจะประสานใหลงรอยกันได

2. ผูนําของกลุม หรือผลงานของกลุมไมเปนที่ยอมรับของสมาชิก สมาชิกจะคอย ๆ ปลีกตัวออก

หากกลุมไมสามารถแสดงผลงานใหเปนที่พอใจของสมาชิกได กลุมก็จะสลายตัวไปในที่สุด

3. บุคคลอ่ืนที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับกลุม ใชอิทธิพลควบคุมกลุม จนทําใหขาดอิสระในการ

บริหารงาน กลายเปนวางานของกลุมคืองานของบุคคลคณะหน่ึง ผูที่เขารวมกลุมอยางเสียสละและจริงใจ

ก็จะปลีกตัวออกไป

4. สมาชิกบางสวนนําเอาชื่อเสียงของกลุมไปใชในทางเสือ่มเสีย เชน ใหกลุมหาผลประโยชนให

ตัวเอง โดยไมคิดถึงความถูกตอง

5. ผลงานของกลุมหรือพฤติกรรมของสมาชิกไมไดรับการยอมรับจากสังคม หรืองานของกลุม

ทําใหผูอ่ืนเดือดรอนมากกวาไดประโยชน

6. สมาชิกในกลุมชิงดีชิงเดนกัน ทําใหขาดความเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกัน ระดับความเหนียวแนน

ของกลุมจะมีนอยลงไป

7. สมาชิกจะใชคําพูดหรือคิดในแงของ "เรา" มากกวาของ "ฉัน" ผลประโยชนของกลุมตองมา

กอนผลประโยชนของสวนตัว

8. สมาชิกจะรวมกันทํางานเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายและจะอยูรวมกันไมวาจะพบความทุกขหรือ

สุขจะไมทอดทิ้งกัน

9. สมาชิกจะชวยกันปกปองชื่อเสียงของกลุมอยางเต็มความสามารถ

10. สมาชิกมีทัศนคติที่ดีตอกลุมและจะดีขึ้นเร่ือย ๆ

11. สมาชิกของกลุมมักไมขาดความรวมกิจกรรมหรือการประชุม

12. บรรยากาศทั่วไปสนุกสนาน ราเริง ไมเครงเครียด

Page 124: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

124

กิจกรรมทายบท

1. ใหนักศึกษา Download ตัวอยางแผนชุมชนจาก WEBSITE แลวรวมกลุมอภิปราย โดยใช

รูปแบบกระบวนการกลุมกับการอภิปรายในประเด็นตอไปน้ี

1.1 ความสอดคลองของสภาพปญหากับวิสัยทัศนที่กําหนดไวในแผน

1.2 ความเปนไปไดของแผนงาน และยุทธศาสตรที่กําหนดไวในแผน

1.3 ความคุมคาของกิจกรรม โครงการที่กําหนดในแผน

1.4 ขอดีและขอบกพรองของแผนชุมชนน้ี

2. ใหนักศึกษารวมกันสรางแผนชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนของนักศึกษาใหสอดคลองกับความ

เปนจริง

3. ใหนักศึกษาจัดทํารายงานเกี่ยวกับกองทุนชุมชนที่นักศึกษาอาศัยอยู โดยมีเน้ือหาเกี่ยวกับ

ความเปนมา วิธีดําเนินการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานของกองทุน

4. ใหนักศึกษารวมกันอภิปรายถึงบทบาทที่นักศึกษาไดรับจากการรวมกลุม

Page 125: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

125

บทที่ 3 ประชาคมโลก

สาระสําคัญ

การเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ในปจจุบัน มีผลตอการดํารงชีวิต ความ

เปนอยูของมวลมนุษยชาติ ดังน้ันทุกประเทศจึงพยายามที่จะปรับตัวเพื่อพัฒนาในทุกดาน ในกระแส

โลกาภิวัฒน และความกาวหนาของเทคโนโลยีสมัยใหม ซึ่งจะนําไปสูประชาคมโลกที่ไรพรมแดน ใน

ขณะเดียวกันสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการคุมครองสิทธิมนุษยชน การเคารพ

ในศักด์ิศรีความเปนมนุษย มีความสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติสุข

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. อธิบายความเปนมาของประชาคมโลกได

2. สามารถอธิบายระบบเศรษฐกิจแบบตาง ๆ ของประชาคมโลกได

3. อธิบายสาเหตุการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศที่เปนสมาชิกได

4. อธิบายสถานการณการพัฒนาเศรษฐกิจของโลกและการผลิตในปจจุบันได

5. อธิบายความสัมพันธระหวางสิทธิมนุษยชนในกระแสโลกาภิวัตนได

6. อธิบายลักษณะการคุมครองสิทธิมนุษยชนสากลและสิทธิมนุษยชนในสังคมไทยได

ขอบขายเน้ือหา

1. ความเปนมาของประชาคมโลก

2. ระบบเศรษฐกิจ

3. การพัฒนาเศรษฐกิจโลกในสถานการณปจจุบัน

4. สถานการณการผลิต

5. สถานการณการคาระหวางประเทศ

6. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประชาคมโลก

7. สิทธิมนุษยชน

Page 126: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

126

แบบทดสอบกอนเรียน

คําสั่ง จงทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงหนาขอที่ถูกตองที่สุด

1. ขอใดไมใชจุดมุงหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

ก. เพื่อเกื้อกูลกันและกันในทางเศรษฐกิจและการคา

ข. สงเสริมการคาระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน

ค. เพื่อยกเวนภาษีศุลกากรสมาชิกในกลุมเดียวกัน

ง. เพื่อแสงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจของแตละประเทศใหมากที่สุด

2. การรวมมือทางเศรษฐกิจกลุมใดเปนสหภาพเศรษฐกิจสมบูรณแบบ

ก. EU

ข. AFTA

ค. APEC

ง. OPEC

3. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจใดที่เปดโอกาสใหสินคาเงินทุนและการเคลื่อนยายแรงงาน

ระหวางประเทศสมาชิกอยางเสรี

ก. เขตการคาเสรี(Free Trade Areas)

ข. สหภาพศุลกากร(Customs Unions)

ค. ตลาดรวม(Common Market)

ง. สหภาพเศรษฐกิจ(Economic Union)

4. ขอใดไมใชเจตนารมณของการจัดต้ังองคการคาโลก (WTO)

ก.การจัดทําขอตกลงทางการคา

ข. การหาตลาดใหมใหแกประเทศสมาชิก

ค. การระงับขอพิพาททางการคา

ง. การลดมาตรการกีดกันทางการคาทั้งดานภาษีและไมใชภาษี

5. ประเทศจีนเขารวมเปนสมาชิกองคการคาโลกมีผลตอประเทศไทยอยางไร

ก. จีนลดปริมาณการนําเขาสินคาจากไทย

ข. ไทยสามารถสงสินคาออกไปจีนไดเพิ่มขึ้น

ค. จีนมีแนวโนมที่จะต้ังกําแพงภาษีสินคาจากไทย

ง. ไทยจะมีอํานาจตอรองเจรจาการคากับจีนเพิ่มขึ้น

Page 127: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

127

6. องคการคาโลก พัฒนามาจากองคกรใด

ก. GATT

ข. SEATO

ค. AFTA

ง. APEC

7. ครัวเรือนทําหนาที่ใดในระบบเศรษฐกิจ

ก. เปนผูผลิตสินคาและบริการ

ข. เปนผูกระจายสินคาและบริการ

ค. เปนผูนําทรัพยากรมาใชในการผลิต

ง. เปนเจาของปจจัยการผลิต และบริโภคสินคา

8. ประเทศใดใชเงินสกุลยูโร

ก. อเมริกา

ข. เนเธอรแลนด

ค. อังกฤษ

ง. คานาดา

9. การไปหาและเก็บเอาอาหารธรรมชาติในพื้นที่ดินของเพื่อนบานเปนการละเมิด

สิทธิมนุษยชนหรือไม

ก. ละเมิดเพราะอาหารน้ันเปนทรัพยเจาของที่ดินน้ัน

ข.ไมละเมิดเพราะอาหารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติใครๆก็เก็บเอาได

ค.ไมละเมิดเพราะเจาของพื้นที่ดินน้ันไมสนใจเก็บเอาไปเปนอาหาร

ง. ละเมิดเพราะคนไมใชเจาของพื้นที่ดินน้ันไมแบงปนอาหารที่ไดมาใหรับประทาน

10. วิธีการสรางสันติสุขในสังคมคืออยางไร?

ก. ตางคนตางอยู

ข. การยอมรับเสียงขางมาก

ค. การชวยเหลือซึ่งกันและกัน

ง. การยอมรับในหลักสิทธิมนุษยชน

Page 128: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

128

เร่ืองท่ี 1 ประชาคมโลก

1. ความเปนมา

ปจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกดานทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและ

เทคโนโลยี อันเปนผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยี ทําใหโลกไรพรมแดนและการปรับเปลี่ยนโครงสราง

เศรษฐกิจและการเมืองโลก สงผลใหประเทศตางๆ ตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และมคีวามเชื่อมโยง

ระหวางกันมากขึ้น โลกที่เคยกวางใหญกลับเล็กลงดินแดนแตละประเทศที่อยูหางไกลกัน สามารถ

ติดตอกันไดภายในเวลาที่รวดเร็ว ภูเขาและทะเลซึ่งเปนพรมแดนธรรมชาติที่เคยเปนอุปสรรคในการ

ติดตอระหวางกันหมดไปจนกลายเปนโลกที่ไรพรมแดน นอกจากน้ียังนําไปสูการแสวงหากําไรแบบใหม

ที่กระจุกตัวอยูกับประเทศที่เขมแข็งกวา จนกอใหเกิดการขยายตัวของทุนอยางรวดเร็ว ในขณะเดียวกัน

ความกาวหนาของเทคโนโลยีสมัยใหมก็สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก โดยเฉพาะโลกของ

เทคโนโลยีคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากน้ีไปโลกกําลังกาวเขาสูระยะแหงการเปลี่ยนยุคสมัย นับเปนการเปลี่ยนผานที่ยิ่งใหญของ

ประวัติศาสตรโลก ซึ่งจะนําสังคมโลกไปสูโลกที่ไรพรมแดนอยางไมอาจปฏิเสธได ที่มีการเชื่อมโยงทุก

สวนภูมิภาคของทั่วโลก เหตุการณที่เกิดอยูในซีกโลกหน่ึง อาจสงผลกระทบทางตรงหรือทางออมไปทั่ว

โลก ดังน้ันการเปนอยูของคนในสังคมจําเปนตองรูเทาทันตอความเปลี่ยนแปลงวามีผลกระทบตอตนเอง

ครอบครัว ชุมชน ประเทศและระหวางประเทศ อีกทั้งสามารถเชื่อมโยงองคความรูแหงอดีตใหเขากับ

วิทยาการสมัยใหมได

2. เศรษฐกิจโลก

จากสถานการณการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกในปจจุบัน ประเทศตาง ๆ ไดใหความสนใจ

ที่จะแกไขปญหาเศรษฐกิจมาอยางตอเน่ือง มิไดจํากัดขอบเขตอยูแตเฉพาะระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ

ของตนเทาน้ัน หากแตพยายามศึกษาระบบเศรษฐกิจของประเทศอ่ืนที่ประสบความสําเร็จในการพัฒนา

เศรษฐกิจมาเปนตนแบบในการพัฒนา นอกจากน้ีในโลกยุคปจจุบันที่มีความสัมพันธระหวางประเทศ

โดยเฉพาะทางดานการคาที่มีความเจริญกาวหนาเปนอยางมาก ประกอบกับการคมนาคมติดตอสื่อสารที่

สะดวกรวดเร็วทําใหประเทศตางๆ มีโอกาสติดตอทําการคาระหวางประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแตกตางกัน

การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในประเทศใดประเทศหน่ึงอาจมีผลกระทบทั้งทางตรงและ

ทางออมตอประเทศอ่ืน ๆ ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันยิ่งทําใหโลกแคบลง ผลกระทบ

ของการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการคายิ่งรุนแรงมากขึ้น การแขงขันในโลกปจจุบันได

แปรเปลี่ยนจากการแขงขันทางอาวุธและสงครามมาเปนการแขงขันทางการคา ดังน้ัน การศึกษาถึง

ความสัมพันธของระบบเศรษฐกิจจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง

Page 129: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

129

2.1 ระบบเศรษฐกิจ (Economic System)

ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง หนวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจยอยจํานวนมากในสังคมมารวมตัวกัน

ดําเนินการผลิตโดยใชหลักการแบงงานกันตามความถนัด มีการปฏิบัติภายใตระเบียบ กฎเกณฑ นโยบาย

และแนวทางการปฏิบัติที่คลายคลึงกัน

หนวยเศรษฐกิจ คือ หนวยงานที่มีอยูในระบบเศรษฐกิจ ทําหนาที่หรือมีกิจกรรมที่สําคัญดาน

เศรษฐกิจ ต้ังแตการผลิต การบริโภค และการแจกจายสินคาและบริการ หนวยเศรษฐกิจเปนหนวยงาน

ที่มีอยูในแตละระบบเศรษฐกิจ โดยทําหนาที่ดังตอไปน้ี

- หนวยครัวเรือนหรือผูบริโภค อาจจะเปนบุคคลหรือหลายคน ซึ่งเปนทั้งผูผลิตและผูใช

ทรัพยากร สมาชิกของครัวเรือนอาจเปนเจาของปจจัยการผลิต เปนแรงงาน เปนผูประกอบการของ

กิจกรรมหน่ึงกิจกรรมใดในระบบเศรษฐกิจก็ได แตทุกครัวเรือนจะตองมีการบริโภคและเปาหมายหลัก

ก็คือความพึงพอใจสูงสุด

- หนวยธุรกิจหรือผูผลิต เปนบุคคลหรือกลุมบุคคลที่ทําหนาที่ในการนําเอาปจจัยการผลิตมา

ทําการผลิตสินคาและบริการ และนําไปจําหนายใหแกผูบริโภค ซึ่งประกอบดวยผูผลิตและผูขาย อาจจะ

เปนบุคคลเดียวกันก็ได โดยมีจุดมุงหมาย คือแสวงหากําไรสูงสุด

- องคการของรัฐบาล เปนหนวยงานของรัฐ หรือที่รัฐบาลจัดต้ังขึ้นมาเพื่อดําเนินงานตาม

นโยบาย ในการทําหนาที่จะมีบทบาทมากหรือนอย ขึ้นอยูกับความแตกตางของระบบเศรษฐกิจ เชน ใน

ระบบทุนนิยมรัฐบาลจะควบคุมหนวยธุรกิจและครัวเรือนนอยหรืออาจไมควบคุมเลย ขณะที่ในระบบ

เศรษฐกิจแบบสังคมนิยมและคอมมิวนิสต รัฐบาลจะควบคุมทั้งหนวยธุรกิจและหนวยครัวเรือนมากข้ึน

ระบบเศรษฐกิจในประเทศตางๆ มีความแตกตางกันไป เพื่อใชแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ของสังคมน้ัน ๆ โดยจําแนกออกเปน 4 ระบบดวยกัน คือ ระบบทุนนิยม สังคมนิยม คอมมิวนิสต และแบบ

ผสม ซึ่งมีลักษณะสําคัญและขอดี - ขอเสีย สรุปไดดังน้ี

2.1.1. ระบบทุนนิยม (Capitalism) หรือระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (Free Economy)

เปนระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑและสินคามีการจําหนาย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดย

ทางเอกชน เพื่อสรางผลกําไรใหกับหนวยงาน โดยการแลกเปลี่ยนสินคาและการบริการที่มีการรองรับ

ทางกฎหมายและมีการแขงขันการในเชิงการคาเพื่อทํากําไรสูงสุด ซึ่งไมไดควบคุมจากทางรัฐบาลทุนนิยม

จะกลาวถึง ทุนและที่ดินเปนสมบัติสวนบุคคล การตัดสินใจทางเศรษฐกิจเปนกิจกรรมสวนบุคคล ไมใช

การควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเปนตัวกําหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทาง

การผลิต รวมถึงเปนที่สรางรายรับ ระบบเศรษฐกิจในปจจุบันของโลกตะวันตกคือระบบทุนนิยม

อังกฤษเปนประเทศแรกที่ใชระบบน้ี เพราะมีความรุงเรืองทางดานธุรกิจและ

อุตสาหกรรมมากอน ประกอบกับมีอาณานิคมอยูทั่วโลก

Page 130: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

130

ขอดี ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

1. เกิดแรงจูงใจในการทํางาน เพราะทําแลวรายไดตกเปนของตนเอง

2. สินคามีคุณภาพ เน่ืองจากผูผลิตตองแขงขันกันขายสินคาใหมากที่สุด จึงตองปรับปรุงคุณภาพ

อยูเสมอ

3. ผูผลิตสินคามีเสรีภาพในการตัดสินใจวาจะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตในปริมาณเทาใด

4. ผูบริโภคมีโอกาสเลือกบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ ในราคาที่เปนธรรมมากที่สุด

ขอเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

1. มีการกระจายรายไดของประชาชนไมเทาเทียมกัน เพราะบุคคลมีทรัพยสินไมเทาเทียมกัน หาก

ขาดจริยธรรมแลวนายทุนจะเอาเปรียบผูอ่ืนยอมมีมากขึ้น

2. สถานการณระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมไมสามารถจะนํามาใชแกไขสถานการณได เชน ใน

ภาวะฉุกเฉินหรือภาวะสงคราม หากรัฐบาลปลอยใหเอกชนดําเนินการโดยเสรี สถานการณทางเศรษฐกิจ

อาจจะเลวลงกวาที่เปนอยู

3. ระบบน้ีหากมีผูผลิตสินคาและบริการนอยราย โอกาสที่ผูผลิตที่จะรวมตัวกันเพื่อผูกขาดยอม

เปนไปไดงาย โดยรัฐบาลไมสามารถจะเขามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจได

2.1.2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) หรือระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน

(Planned Economy)

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เปนระบบเศรษฐกิจที่รัฐเขาไปควบคุมการดําเนิน

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุงหมายใหเกิดความยุติธรรมในการกระจายผลผลิตแกประชาชน และรัฐ

ยังเปนผูตัดสินใจในการแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยขึ้นอยูกับสวนกลาง ระบบเศรษฐกิจแบบน้ี

รัฐบาลจะเปนเจาของปจจัยการผลิตสวนใหญ แตยังคงใหเอกชนมีสิทธิในการถือครองทรัพยสินสวนตัว

อาทิ ที่พักอาศัย

หลักการสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน

มีหลักที่สําคัญ 2 ประการ คือ

1) กรรมสิทธิ์ในปจจัยการผลิตเปนขององคการหรือหนวยงานสาธารณะ (คือรัฐบาล

และองคการบริหารตาง ๆ)

2) รัฐเปนผูดําเนินกิจการที่สําคัญ ไดแก ดําเนินการปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของ

ชาติทั้งดานการผลิตและจําหนาย ทั้งในระดับนโยบายและการปฏิบัติ เพื่อยกมาตรฐานความเปนอยูของ

ประชาชนใหดีขึ้น

Page 131: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

131

ขอดี ของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

1. ประชาชนมีความสามัคคีมากกวาระบบที่ตางคนตางอยู

2. ประชาชนมีรายไดใกลเคียงกัน

3. เศรษฐกิจไมคอยผันแปรขึ้นลงมากนัก

4. รัฐจะครอบครองปจจัยขั้นพื้นฐานไวทั้งหมด และควบคุมกิจการสาธารณูปโภคทั้งหมด

ขอเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

1. แรงจูงใจในการทํางานตํ่า เพระกําไรตกเปนของรัฐ คนงานจะไดรับสวนแบงตามความจําเปน

2. ผูบริโภคไมมีโอกาสเลือกสินคาไดมาก

3. ประชาชนไมมีเสรีภาพในการทําธุรกิจที่ตนเองมีความรูความสามารถ

4. การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตมีนอย เพราะไมมีการแขงขัน สินคาอาจไมมีคุณภาพ

2.1.3. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต (Communism)

ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต หมายถึง ระบบเศรษฐกิจและการเมืองที่รัฐเปน

เจาของทุนและปจจัยการผลิตทุกชนิด โดยรัฐเปนผูกําหนดและตัดสินใจเองทั้งหมด ซึ่งตรงกันขามกับ

ระบบทุนนิยมโดยสิ้นเชิง ระบบเศรษฐกิจแบบน้ีพัฒนามาจากแนวความคิดของคารล มารค (Karl Marx)

นักเศรษฐศาสตรผูซึ่งไดรับสมญานามวา “บิดาแหงลัทธิคอมมิวนิสต” และเลนิน (Lenin) นักปฏิวัติ

โซเวียต ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงการปกครองและนําระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสตมาใชกับสหภาพรัสเซีย

เปนประเทศแรก

ความแตกตางของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสตและทุนนิยม มีดังน้ี

1) ประชาชนไมมีเสรีภาพในการเลือกสรรบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ ตามความ

พอใจของตน

2) ประชาชนไมมีกรรมสิทธิ์ในการถือครองและเปนเจาของทรัพยสินซึ่งสามารถนําไป

ผลิตสินคาและบริการตาง ๆ หรือนําไปแสวงหารายได เชน ที่ดิน โรงงาน เคร่ืองจักร ฯลฯ

3) ประชาชนไมมีเสรีภาพในการเลือกทํางานหรืออาชีพตามอําเภอใจ เพราะรัฐบาลจะ

เปนผูกําหนดการทํางานและคาจางใหแกประชาชนตามความสามารถ

4) รัฐบาลจะเปนผูกําหนดการผลิตสินคาและบริการ วาจะผลิตอะไร ผลิตอยางไร

ปริมาณมากนอยเทาใด เอกชนไมมีเสรีภาพในการผลิตสินคาและบริการตาง ๆ ไดเอง ทั้งน้ีสืบเน่ืองจาก

ปจจัยการผลิตตาง ๆ ที่จะใชผลิตสินคาและบริการเปนของรัฐ รัฐจึงเปนผูกําหนดราคาโดยไมใชกลไก

ราคาดังเชน ระบบทุนนิยม

ขอดี ของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต

1. ไมเกิดการไดเปรียบ เสียเปรียบของประชาชนในเชิงเศรษฐกิจ

2. เกิดความเสมอภาค เพราะรัฐเปนผูแจกจายผลผลิตใหแกบุคคลในสังคมโดยเทาเทียมกัน

3. ไมเกิดการผูกขาดทางเศรษฐกิจโดยผลิตรายใด

Page 132: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

132

ขอเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต

1. ประสิทธิภาพในการผลิตสินคาและบริการไมพัฒนาเทาที่ควร เพราะขาดแรงจูงใจในการผลิต

2. สิทธิและเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัดโดยรัฐบาล

3. การดําเนินงานลาชาเพราะตองผานขั้นตอนตางๆ มากมายไมตางกับระบบราชการ

2.1.4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รวมเอาลักษณะสําคัญของระบบ

เศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมเขาไวดวยกัน เรียกอีกอยางหน่ึงวา “ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ใหม” เปนระบบเศรษฐกิจที่ทั้งรัฐบาลและเอกชนรับผิดชอบรวมกันในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหา

พื้นฐานทางเศรษฐกิจ ลักษณะที่สําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบผสม มีดังน้ี

1) เอกชนและรัฐบาลมีสวนรวมกันในการวางแผนเศรษฐกิจของประเทศ

2) ทั้งเอกชนและรัฐบาลสามารถเปนเจาของปจจัยในการผลิตสินคาและบริการอยาง

เสรี แตอาจมีการจํากัดสิทธิในการผลิตและบริการบางประเภท ในกรณีที่ไมปลอดภัยตอความมั่นคง

ของชาติ

3) กลไกราคายังเปนสิ่งที่สําคัญในการกําหนดราคาสินคาและบริการตางๆ ในระบบ

เศรษฐกิจแบบผสมน้ี แตรัฐบาลยังมีอํานาจในการเขาไปแทรกแซงภาคเอกชนเพื่อกําหนดราคาสินคาใหมี

เสถียรภาพและเกิดความเปนธรรมทั้งผูผลิตและผูบริโภค

4) รัฐจะใหความคุมครองและชวยเหลืออํานวยความสะดวกแกผูประกอบการ

ภาคเอกชนดวยการสรางปจจัยพื้นฐาน เชน ถนน สะพาน สนามบิน ฯลฯ เพื่อการดําเนินธุรกิจ

ขอดี ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

1. เปนการยกฐานะของคนในสังคมใหเทาเทียมกัน และเปนการแลกเปลี่ยนจากทุนนิยมเปน

สังคมนิยมโดยสันติวิธีทางรัฐสภา

2. รายไดถูกนํามาเฉลี่ยใหผูทํางานตามกําลังงานที่ไดกระทําจริง

3. เอกชนยังมีบทบาททางเศรษฐกิจ มีการแขงขัน สินคาจึงมีคุณภาพสูง

4. ผูบริโภคมีโอกาสเลือกสินคาไดมาก

5. ความไมเทาเทียมในรายไดและทรัพยสินมีนอย

ขอเสีย ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

1. ระบบมีการวางแผนเพียงบางสวน จึงไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ ในกรณีที่ตองการเรงรัดพัฒนา

2. การควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางสวนโดยรัฐ เปนเคร่ืองกีดขวางเสรีภาพของเอกชน

3. การวางแผนจากสวนกลางเพื่อประสานประโยชนของรัฐบาลใหเขากับเอกชนทําไดยาก

Page 133: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

133

4. นักธุรกิจขาดความมั่นใจในการลงทุน เพราะไมแนใจวากิจการของตนจะถูกโอนเปนของรัฐ

หรือไม

5. การบริหารงานอุตสาหกรรมของรัฐมีประสิทธิภาพไมดีไปกวาสมัยที่อยูในมือของเอกชน

ตารางเปรียบเทียบขอดี - ขอเสียของระบบเศรษฐกิจท้ัง 3 ระบบ

ระบบ

เศรษฐกิจ ลักษณะ ขอดี ขอเสีย ประเทศท่ีใช

ทุนนิยม

(เสรี)

1. ปจจัยการผลิตเปนของเอกชน

2. ใชกลไกราคาเปนตัวกําหนด

3. ผูบริโภคไดรับประโยชนสูงสุด

4. เกิดการแขงขันทางดาน

เศรษฐกิจ

เกิดการแขงขันกันสูง

เพื่อคุณภาพ และความ

พึงพอใจสูงสุดของ

ผูบริโภค

เกิดความเหลื่อมล้ํา

ทางดานรายไดและ

ใชทรัพยากร

สิ้นเปลือง

ประเทศที่

พัฒนาแลว

ในยุโรป

อเมริกาเหนือ

ญ่ีปุน

สังคมนิยม 1. รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิต

2. มุงการกระจายรายได

3. จํากัดเสรีภาพของผูบริโภค

เกิดความเปนธรรม

ทางดานรายได

ขาดแรงจูงใจใน

การผลิต และสินคา

อาจไมมีคุณภาพ

จีน เวียดนาม

เกาหลีเหนือ

คิวบา

แบบผสม 1. ทํางานรวมกันระหวางรัฐกับ

เอกชน

2. เอกชนเปนเจาของปจจัยการ

ผลิต

3. รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิตที่มี

ความสําคัญตอรัฐ

4. ใชกลไกราคา

5. รัฐเขามายุงเกี่ยวกับเศรษฐกิจ

นอยที่สุด

ผลิตสินคาตรงความ

ตองการของผูบริโภค

และมีการจัดสรร

รายไดที่เปนธรรม

ปญหาการวางงาน

ปญหาคาจางตํ่า

ปญหาราคาในบาง

เวลา

ไทย (แบบ

ผสมเอนเอียง

ไปทางทุน

นิยม)

ที่มา ดัดแปลงจาก http://smd-s.kku.ac.th/users/aj.mo/data2.htm และ http://www.bus.ubu.ac.th

Page 134: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

134

2.2 การพัฒนาเศรษฐกิจโลกในสถานการณปจจุบัน

การพัฒนาเศรษฐกิจ เปนกระบวนการที่ทําใหรายไดตอบุคคลที่แทจริงของคนในประเทศ

เพิ่มขึ้นในระยะยาว โดยใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ประเทศตาง ๆ จําเปนตอง

พัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อการยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนใหสูงขึ้น การวัด

วาประเทศมีการพัฒนาเศรษฐกิจอยูในระดับใดขึ้นอยูกับหลักเกณฑทางเศรษฐกิจ เคร่ืองมือที่สําคัญ คือ

รายไดตอบุคคล และหลักเกณฑอ่ืน ๆ ที่ไมใชเศรษฐกิจ ซึ่งคาใชจายหรือรายไดตอบุคคลเปนเคร่ืองวัด

ฐานะทางเศรษฐกิจ สามารถแบงประเทศตาง ๆ ออกเปน 3 กลุม คือ

กลุมโลกท่ีหน่ึง (ประเทศที่พัฒนาแลว) เปนประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยตอบุคคลสูงมาก และมีการ

พัฒนาอุตสาหกรรมกาวหนามาก เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญ่ีปุน ฯลฯ

กลุมโลกท่ีสอง (ประเทศสังคมนิยม) เชน สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลีเหนือ คิวบา ฯลฯ

กลุมโลกท่ีสาม (ประเทศดอยพัฒนา) เปนประเทศที่ยากจน เชน ประเทศในทวีปแอฟริกา ละติน

อเมริกา และเอเชีย

มาตรวัดรายรับและผลผลิตของประเทศ (Measures of national income and output)

เปนเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร เพื่อประมาณมูลคาของสินคาและบริการภายในระบบเศรษฐกิจ

ในการคํานวณใชระบบของบัญชีประชาชาติ หรือ “การทําบัญชีประชาชาติ” ที่ถูกพัฒนาขึ้นในชวงคริสต

ทศวรรษ 1940 มาตรวัดที่ใชทั่วไป เชน

- ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (Gross National Product, GNP)

- ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product, GDP)

- ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (Net National Product, NNP)

ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ หรือ จีเอ็นพี (Gross national product, GNP) เปนมาตรวัดผลผลิตทาง

เศรษฐกิจภายในดินแดนใด ๆ ในเชิงของทุนการคลัง ในชวงเวลาหน่ึง ผลิตภัณฑมวลรวมเปนหน่ึงใน

มาตรวัดรายรับและผลผลิตของประเทศ คิดจากมูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทายทั้งหมดที่ผลิตขึ้นใน

ระยะเวลาหน่ึงโดยใชทรัพยากรที่คนประเทศน้ัน ๆ เปนเจาของ

ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ หรือ จีดีพี (Gross domestic product, GDP) เปนวิธีการคํานวณ

รายไดจากผลผลิตและบริการรวมของประเทศในแตละป ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสามารถใช

เปนตัวบงชี้ถึงมาตรฐานคุณภาพชีวิตของบุคคลในประเทศน้ัน คิดจากมูลคาของสินคาและบริการ

ขั้นสุดทายที่ผลิตขึ้นภายในประเทศในระยะเวลาหน่ึงโดยไมคํานึงถึงวาทรัพยากรที่ใชในการผลิตสินคา

และบริการจะเปนทรัพยากรของพลเมืองในประเทศหรือเปนของชาวตางประเทศ ในทางตรงขาม

ทรัพยากรของพลเมืองในประเทศแตไปทําการผลิตในตางประเทศก็ไมนับรวมไวในผลิตภัณฑในประเทศ

GDP ประกอบไปดวย ตัวเลขของ การบริโภค + การลงทุน + รัฐบาล (เงินที่ทําการใชจาย) +

(การสงออก - การนําเขา)

Page 135: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

135

สรุป คือ GDP จะคิดมูลคาสินคาบริการหนวยสุดทายในระยะเวลาหน่ึงภายในประเทศเทาน้ัน

เเต GNP จะตางกันตรงที่มีการรวมการผลิตในตางประเทศที่นําเอาวัตถุดิบเราไปใชดวย

ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (Net Nation Product : NNP) หมายถึง มูลคารวมในราคาตลาดของ

สินคาและบริการขั้นสุดทายที่ประชาชาติผลิตขึ้นได โดยใชปจจัยการผลิตของประเทศในรอบระยะเวลา

หน่ึงภายหลังหักคาเสื่อมราคาทรัพยสินถาวรแลว โดยปกติจะวัดในเวลา 1 ป NNP สามารถหาไดจาก

NNP = GNP – คาเสื่อมราคาทรัพยสินถาวร

นอกจากน้ีประโยชนของบัญชีประชาชาติ ยังสงผลตอปจจัยดานตาง ๆ ดังน้ี

1. ในดานเศรษฐศาสตร ทําใหผูศึกษาเขาใจปรากฏการณทางเศรษฐศาสตรและการวิเคราะห

เศรษฐศาสตรมหภาคไดชัดเจนขึ้น

2. ในดานวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เปนเคร่ืองชี้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ และ

ชี้ใหเห็นการกระจายรายไดและระดับความเปนอยูของประชากร

3. ในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ เปนเคร่ืองมือสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือ

วางแผนเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต

4. เปนเคร่ืองมือสําหรับการวางนโยบายในการจัดเก็บภาษีของรัฐบาลทั้งภาษีทางตรงและภาษี

ทางออม ตัวเลขรายไดประชาชาติจะชี้ใหเห็นขีดความสามารถในการเสียภาษีของประชากรวามีอยู

เพียงใด

5. ใชเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศกับประเทศอ่ืน ๆ จะชี้ใหเห็นฐานะทาง

เศรษฐกิจของประเทศเมื่อเทียบเคียงกับประเทศอ่ืน

2.3 สถานการณการผลิต

การผลิตในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง การสรางสินคาหรือบริการตาง ๆ ขึ้นมาโดยใชปจจัย

การผลิต ทั้งน้ี เพื่อสนองความตองการของมนุษย และยังกอใหเกิดอรรถประโยชนดานรูปราง สถานที่

และเวลา ถามองเปนระบบ การผลิต หมายถึง การนําเอาปจจัยการผลิตทั้งหลายหรือ สวนนําเขา (Input) ที่

ตองใชในการผลิตมาแปรสภาพใหเปนผลผลิต (Output) น่ันคือ สินคาหรือบริการ นอกจากน้ี การผลิตยัง

หมายถึง การสรางสรรคสิ่งตางๆ ใหมีคุณคาขึ้นมาโดยใชปจจัยการผลิตตาง ๆ เพื่อสนองความตองการของ

มนุษย

ปจจัยการผลิต (Factor of Production) คือ สิ่งที่นํามาใชในการผลิต ถือไดวาเปนสินคา คือ

เปนสินคาผูผลิต (Producer’s Goods) เพราะปจจัยการผลิต เปนสินคาที่ผูผลิตตองการแตกตางจากสินคา

และบริการทั่วไป ซึ่งเปนสินคาของผูบริโภคในการผลิตสินคาและบริการ จะใชปจจัยการผลิตแตกตางกัน

ขึ้นอยูกับการผลิตวาตองใชปจจัยอะไรจํานวนมากนอยเพียงใด เพราะในการผลิตไมสามารถจะใชปจจัย

เพียงอยางเดียวได แตตองใชปจจัยหลายชนิดประกอบกัน ซึ่งปจจัยในการผลิตสินคามี 4 ชนิด คือ ที่ดิน

ทุน แรงงาน และผูประกอบการ

Page 136: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

136

โดยสรุป การผลิต หมายถึง การนําเอาปจจัยการผลิตชนิดตาง ๆ มาใสในกระบวนการผลิต แปร

สภาพปจจัยการผลิตใหเปนสินคาและบริการตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย การผลิตเปน

การสรางอรรถประโยชนแกผูบริโภค และยังเปนการเพิ่มมูลคาของสิ่งของใหมีมูลคาเพิ่มขึ้น การผลิตเพื่อ

จําหนายและบริโภคภายในประเทศเมื่อมีสินคาเหลือจึงคอยสงออกไปขายตางประเทศ สําหรับการผลิต

เพื่อสงออกหรือจําหนายยังตางประเทศน้ันมีลักษณะดังน้ี

- เปนการผลิตแบบขนาดใหญ (Mass Production)

- เนนการใชเคร่ืองจักรแทนแรงงานคน

- ใชเทคนิคการผลิตเพื่อใหตนทุนตํ่า

- ปริมาณการผลิตในแตละรุน (Lot) มีจํานวนมากเพื่อใหเกิดการประหยัดขนาดของการผลิต

การจัดการธุรกิจในปจจุบันน้ีไมไดมาจากการดําเนินงานของบริษัทใดบริษัทหน่ึง หากแตเปน

ความสําเร็จที่มาจากการดําเนินการรวมกันระหวางหลาย ๆ บริษัทที่สนับสนุนกันและกัน เชน บริษัทคูคา

ที่ขายวัตถุดิบ บริษัทผูผลิต บริษัทจัดสงสินคา บริษัทขายปลีก ลูกคา ความสําเร็จทางธุรกิจจะดูไดจาก

ความพึงพอใจลูกคาเปนหลัก หากธุรกิจสามารถผลิตสินคาที่ทําใหลูกคาพอใจ เชน คุณภาพตามที่ลูกคา

ตองการ ราคาตํ่า จัดสงสินคาไดสะดวกและรวดเร็ว มีบริการหลังการขายที่ดี มีรูปแบบสินคาใหลูกคา

เลือกไดมากมาย หรือผูผลิตสามารถผลิตสินคาไดหลากหลายรูปแบบหรือพัฒนาสินคาไดรวดเร็ว ก็ยอมจะ

ประสบความสําเร็จไปสูการเปนบริษัทชั้นนําของประเทศและของโลกไดในอนาคต

2.4 สถานการณการคาระหวางประเทศ

การคาระหวางประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินคาและบริการระหวางประเทศหน่ึง

กับประเทศตาง ๆ ทั่วโลก อันเน่ืองมาจากภูมิอากาศของแตละประเทศในโลกน้ีไมเหมือนกัน วัตถุดิบและ

ปจจัยการผลิตมีจํานวนไมเทากัน เปนเหตุใหตนทุนในการผลิตแตกตางกัน ทําใหความชํานาญในการผลิต

สินคาและบริการแตกตางกัน เพื่อใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและถกูตองไดรับ

ประโยชนสูงสุด แตละประเทศจึงเลือกผลิตสินคาหรือบริการที่ใชปจจัยการผลิตที่มีมากมาย

ภายในประเทศน้ันๆ จะทําใหไดสินคาและบริการที่มีคุณภาพดีและตนทุนตํ่า

การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนในดานตาง ๆ ดังน้ี

1) ทําใหผูบริโภคมีโอกาสบริโภคสินคาใหม ๆ เพิ่มมากขึ้นและมีมาตรฐานดีขึ้น น่ันคือ

สินคาใดที่ประเทศเราผลิตไมไดเราก็จะสั่งซื้อมาจากตางประเทศ ถาไมมีการคาระหวางประเทศประชาชน

แตละประเทศก็จะบริโภคแตสินคาที่ผลิตไดภายในประเทศของตนเทาน้ัน ซึ่งสงผลตอชีวิตความเปนอยู

และมาตรฐานการครองชีพของประชาชนดีขึ้น

Page 137: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

137

2) ทําใหผูบริโภคมีโอกาสบริโภคสินคาในราคาที่ถูกลง กรณีน้ีเปนกรณีที่ประเทศน้ีผลิต

ไดแตตนทุนสูงก็จะเลือกนําเขาสินคาจากตางประเทศ เชน ถาประเทศไทยผลิตเคร่ืองใชไฟฟาเองแพงกวา

นําเขาจากตางประเทศ ประเทศไทยก็ไมควรผลิตเอง

3) ทําใหการใชทรัพยากรของโลกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ไดรับประโยชนสูงสุด

กอใหเกิดการแบงงานกันทําตามความถนัด ตามความสามารถ ตนทุนในการผลิตสินคาจึงตํ่า แลวนํามา

แลกเปลี่ยนกันจึงทําใหการใชทรัพยากรของโลกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

4) มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยี ทําใหความรูและวิชาการตางๆ เทคนิคการผลิตกระจาย

ไปยังประเทศตางๆ แตละประเทศก็จะไดมีโอกาสพัฒนาและปรับปรุงการผลิตใหดีขึ้น

5) การแกปญหาวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ ในกรณีเกิดภัยธรรมชาติ การนัดหยุดงานหรือ

วิกฤติการณทางการเมืองภายในประเทศ ซึ่งอาจมีผลทําใหการผลิตในประเทศตกตํ่าหรือหยุดชะงักลง

อาจแกปญหาน้ีโดยการนําเขาสินคาจากตางประเทศ

2.5 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประชาคมโลก

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง การที่ประเทศมากกวาหน่ึงประเทศ

ขึ้นไป มารวมกันอยางเปนทางการ เพื่อความรวมมือหรือรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน

แมหลาย ๆ ประเทศปรารถนาที่จะใหมีนโยบายการคาเสรี แตในทางปฏิบัติแลวยังไมเสรีจริง

เชน มีอุปสรรคดานกําแพงภาษีหรือมาตรการควบคุมการคาในหลายรูปแบบ สงผลใหประโยชนทาง

การคาระหวางประเทศลดลง ดวยเหตุน้ีบางประเทศจึงรวมตัวกันเปนกลุมแลวพยายามลดหรือเลิกใช

นโยบายจํากัดการคาภายในกลุม พรอมกับขยายลูทางการคาใหกวางขึ้น ซึ่งจะเปนประโยชนแกทุกฝาย

แนวคิดดังกลาวจึงเปนที่มาของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

ประเภทของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การใหความรวมมือทางเศรษฐกิจ มีหลายลักษณะ พอสรุปไดดังน้ี

1. เขตการคาเสรี คือ การยกเลิกภาษีนําเขาและขอจํากัดทางการคาระหวางสมาชิก

2. สหภาพศุลกากร คือ การกําหนดอัตราภาษีนําเขาในอัตราเดียวกันระหวางสมาชิก ซึ่งมีผลตอ

ประเทศที่มิใชสมาชิก

3. ตลาดรวม คือ การเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน เทคโนโลยี และแรงงานระหวางสมาชิกได

อยางเสรี

4. สหภาพเศรษฐกิจ คือ การเคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางสมาชิกไดอยางเสรี มีการกําหนด

นโยบายเศรษฐกิจสวนรวมระหวางประเทศสมาชิก และมีการใชเงินตราสกุลเดียวกัน

Page 138: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

138

กลุมหรือองคกรเศรษฐกิจระหวางประเทศท่ีสําคัญ

1) WTO (World Trade Organization) องคกรการคาระหวางประเทศ พัฒนามาจากการทํา

ความตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (GATT : General Agreement on Tariffs and Trade) โดย

มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาระบบการคาเสรีระหวางประเทศ กํากับการดําเนินการของประเทศสมาชิกให

เปนไปตามความตกลงทางการคา ยุติกรณีพิพาททางการคาระหวางประเทศสมาชิก และเปนเวทีเจรจา

การคาของประเทศสมาชิก WTO มีสํานักงานอยูที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ประเทศไทยได

เขาเปนสมาชิกลําดับที่ 59 การต้ังเขตการคาเสรี จะทําใหเกิดสิทธิพิเศษการคาและการลงทุน โดยไมขัด

WTO หากปฏิบัติตามเงื่อนไข ขณะเดียวกัน ยอมสงผลกระทบประเทศนอกกลุม ที่จะถูกกีดกันการคา

และการลงทุน จึงเปนแรงกระตุนใหพิจารณาต้ังเขตการคาเสรีกับประเทศอ่ืนดวย องคการการคาโลก

จะทําหนาที่ดูแลขอตกลงยอย 3 ขอตกลง คือ ความตกลงทั่วไปวาดวยการคาและภาษีศุลกากร (General

Agreement on Tariff and Trade; GATT) ที่ดําเนินการมากอนหนาน้ี, ความตกลงทั่วไปวาดวยการคา

บริการ (General Agreement on Trade in Services; GATS) และ ความตกลงวาดวยการคาที่เกี่ยวของกับ

ทรัพยสินทางปญญา (The agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPS)

หนาท่ีหลักขององคการคาโลก (WTO) มีดังน้ี

1. ระงับกรณีพิพาทหรือขอขัดแยงทางการคาระหวางประเทศสมาชิก

2. สนับสนุนนโยบายการคาเสรี เพื่อใหประเทศสมาชิกยกเลิกมาตรการกัดกันทางการคาตาง ๆ

เชน การต้ังกําแพงภาษี การเขมงวดในคุณภาพสินคา และการทุมตลาด เปนตน

3. คุมครองทรัพยสินทางปญญาของประเทศสมาชิก

ผลประโยชนของไทยกับองคการการคาโลก

1. สิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวกับการคา เชน สิทธิในการผลิตยารักษาโรคราคาถูก

สําหรับประเทศที่กําลังพัฒนา การคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งไทยประสงคใหสินคาไทย 2 ชนิด

ไดรับการคุมครอง ไดแก ไหมไทย และขาวหอมมะลิ

2. ขอพิพาททางการคาที่ไทยยกขึ้นฟองรอง คือ กรณีสหภาพยุโรป (EU) ใหสทิธิพิเศษทางดาน

ภาษีศุลกากร (GSP) ในสินคานําเขาปลาทูนา (Tuna) แกประเทศในทวีปแอฟริกาและแคริบเบียนบาง

ประเทศ ทําใหภาษีนําเขาปลาทูนาจากประเทศเหลาน้ันเปน 0 ในขณะที่ไทยตองจายสูงถึงรอยละ 24

ซึ่งไมเปนธรรมตอไทย นอกจากน้ียังมีขอพิพาทอ่ืน ๆ อีก เชน เร่ืองนํ้าตาล และไกหลกัเกลือ เปนตน

Page 139: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

139

2) EU (European Union) สหภาพยุโรป

สหภาพยุโรปเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ที่มีการพัฒนายาวนานและเปนขั้นตอนตอเน่ือง เร่ิม

จากการที่ประเทศยุโรป 6 ประเทศไดแก เบลเยียม ลักเซมเบอรก เนเธอรแลนด ฝร่ังเศส เยอรมัน และ

อิตาลี ไดตกลงกอต้ังประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community: EEC) ในป 1957

ตอมาในป 1967 ไดเปลี่ยนมาเปนสหภาพยุโรป (European Community) ในปถัดมาทางกลุมได

ดําเนินการจัดต้ังสหภาพศุลกากร (Custom Union) และในป 1992 ประเทศสมาชิกยุโรปไดลงนาม

ขอตกลงที่เมือง Maastricht ประเทศ Netherlands และมีผลใชบังคับในป 1993 ซึ่งทําใหประชาคมยุโรป

กลายมาเปนสหภาพยุโรป (European Union: EU) การเปนสหภาพยุโรป หมายถึง การรวมยุโรปเปน

หน่ึงเดียว หรือเรียกวาเปน ตลาดเดียว (Single Market) ซึ่งจะมีผลใหมีการเคลื่อนยายแรงงาน สินคา

เงินทุน บริการทางดานคมนาคมเปนไปอยางเสรี หลังจากน้ันไดพัฒนาจัดต้ัง (European Monetary Union:

EMU) โดยมีเปาหมายที่จะใหสมาชิกใชเงินสกุลเดียวกัน เรียกวา เงิน euro ในป 2542 และจัดต้ังธนาคาร

กลางยุโรป (Euro Central Bank) รวมทั้งมีนโยบายตางประเทศและความมั่นคงรวมกัน ซึ่งหมายถึง

การรวมประเทศสมาชิกเปนประเทศเดียวในเชิงเศรษฐกิจ

สหภาพยุโรปนับเปนกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญกลุมหน่ึงของโลก มีประชากรรวมกันมากกวา 290

ลานคน โดยมีมูลคาการสงออกคิดเปนรอยละ 40 ของมูลคาสงออกของโลก และการนําเขาคิดเปนรอยละ

39 ของมูลคานําเขาของโลก แตสวนใหญของการคาน้ีเปนการคาในกลุมเดียวกันถึงรอยละ 60 รูปแบบ

การรวมกลุมของสหภาพยุโรปคาดวาจะเปนตัวแบบที่การรวมกลุมในภูมิภาคตาง ๆ จะดําเนินรอยตาม

Page 140: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

140

3) AFTA (ASEAN Free Trade Area) เขตการคาเสรีอาเซียน มี 10 ประเทศคือ ไทย อินโดนีเซีย

สิงคโปร มาเลเซียและฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม ลาว พมา กัมพูชา ไดทําขอตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน หรือ AFTA เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาที่ผลิตภายในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด ทําขึ้นเมื่อ

ป พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียน ในฐานะที่เปนการผลิต

ที่สําคัญในการปอนสินคาสูตลาดโลก โดยอาศัยการเปดเสรีดานการคา การลดภาษี และยกเลิกอุปสรรค

ขอกีดขวางทางการคาที่มิใชภาษี เชน การจํากัดโควตาหรือปริมาณนําเขา รวมทั้งการปรับเปลี่ยน

โครงสรางภาษีศุลกากรเพื่อเอ้ืออํานวยตอการคาเสรี โดยขอตกลงน้ีจะครอบคลุมสินคาทุกชนิด ยกเวน

สินคาที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิต และศิลปะ อยางไรก็ตามประเทศสมาชิกตองใหสิทธิ

ประโยชนทางศุลกากรแกกันแบบตางตอบแทน หมายความวา การที่ไดสิทธิประโยชนจากการลดภาษ ี

ของประเทศอ่ืนสําหรับสินคาชนิดใด ประเทศสมาชิกน้ันตองประกาศลดภาษีสินคาชนิดเดียวกัน

4) APEC (Asia-Pacific Economic Cooperation) ความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟก

ปจจุบันมี 21 ประเทศ หลักการของ APEC ก็คือ เปนเวทีสําหรับการปรึกษาหรือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น

เกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจที่ประเทศสมาชิก APEC สนใจ โดยยึดหลักฉันทามติความเทาเทียมกัน

และผลประโยชนรวมกันของประเทศสมาชิก และในการดําเนินการใดๆ ตองคํานึงถึงความแตกตางของ

ระบบเศรษฐกิจและสังคม และระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก ทั้งน้ีโดยมีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ

• พัฒนาและสงเสริมระบบการคาหลายฝาย

• สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก

• ลดอุปสรรคและอํานวยความสะดวกใหการคาสินคา การคาบริการและการลงทุนระหวาง

ประเทศสมาชิก โดยสอดคลองกับกฎเกณฑของแกตต

5) OPEC (Organization of Petroleum Exporting Countries) กลุมประเทศผูสงออกนํ้ามัน

มีวัตถุประสงคที่สําคัญคือสรางอํานาจตอรองเร่ืองราคาและเงื่อนไขการขายนํ้ามัน ผลจากการรวมกลุม

เศรษฐกิจระหวางประเทศ มีการเคลื่อนยายทุนเขาไปในกลุมประเทศที่มีการรวมกลุมเศรษฐกิจมากขึ้น

เพื่อลดการกีดกันดานภาษีจากประเทศนอกกลุม มีสมาชิก 13 ประเทศ ประกอบดวย อิหราน อิรัก คูเวต

ซาอุดิอาระเบีย กาตาร ลิเบีย สาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตส กาบอง ไนจีเรีย เวเนซุเอลา เอกวาดอร และ

อินโดนีเซีย

6) GMS (Greater Mekong Sub-Region) โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจใน

อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง เปนความรวมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน

(ยูนนาน) ต้ังแตป พ.ศ. 2535 โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB: Asian Development Bank) เปนผูใหการ

สนับสนุนหลัก โครงการ GMS มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหเกิดการขยายตัวทางการคา การลงทุน

Page 141: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

141

อุตสาหกรรม การเกษตร และบริการ สนับสนุนการจางงานและยกระดับความเปนอยูของประชาชนใน

พื้นที่ใหดีขึ้น สงเสริมและพัฒนาความรวมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหวางกัน เนนการใช

ทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจในเวทีการคาโลก

7) ACMECS (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy)

ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี - เจาพระยา - แมโขง หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตรความรวมมือ

ทางเศรษฐกิจระหวางกัมพูชา ลาว พมา ไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia,

Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความรวมมือระหวาง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พมา ไทย

และเวียดนาม (เขารวมเปนสมาชิกทายสุดเมื่อ 10 พฤษภาคม 2547)

8) IMF (International Monetary Fund) กองทุนการเงินระหวางประเทศ จัดต้ังขึ้นจากการ

ประชุมทางดานการเงินของสหประชาชาติ ณ เมืองเบรตตันวูด ในป ค.ศ. 1944 เปนองคกรในสังกัด

ประชาชาติ (UN) มีประเทศมากกวา154 ประเทศ

หนาที่หลัก ของ IMF คือ ใหความชวยเหลือประเทศสมาชิก ดังน้ี

1. รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ

2. สงเสริมใหการคาระหวางประเทศมีการขยายตัวอยางสม่ําเสมอ

3. ใหประเทศสมาชิกกูเงิน เมื่อเกิดปญหาขาดดุลการชําระเงิน

ประเทศไทยกูเงินจาก IMF คร้ังสําคัญเมือ พ.ศ. 2541 เพื่อแกวิกฤตทางเศรษฐกิจจากการขาด

ดุลการชําระเงิน และขาดแคลนเงินตราตางประเทศ

9) IBRD (International Bank for Reconstruction and Development :IBRD) ธนาคารโลก

หรือ (Word Bank) เปนองคกรในสังกัดสหประชาชาติ (UN) มีกระเทศสมาชิกมากกวา 154 ประเทศ

หนาที่หลักของธนาคารโลก คือ ใหประเทศกําลังพัฒนากูเงินไปใชจายเพื่อพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ

เชน การศึกษา การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การคมนาคม และการสาธารณูปโภคตางๆ ยกเวนการกู

เพื่อนําไปใชพัฒนาดานความมั่นคง (ซื้ออาวุธและกิจการทหาร)

ประเทศไทยกูเงินจากธนาคารโลก เพื่อนํามาใชพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เชน การสรางถนน

เขื่อน กิจการไฟฟา ประปา และมหาวิทยาลัยในสวนภูมิภาค

10) FTA (Free Trade Agreement) การรวมกลุมเศรษฐกิจ ลักษณะประเทศสมาชิก มีเปาหมาย

จะลดภาษีศุลกากรระหวางกันภายในกลุมใหเหลือนอยที่สุด หรือเปน 0% ขณะเดียวกัน สมาชิกแตละ

ประเทศมีอิสระเต็มที่ เก็บอัตราภาษีศุลกากรปกติสูงกวากับประเทศนอกกลุมเขตการคาเสรี การซื้อขาย

สินคาและบริการระหวางประเทศภาคีทําไดเสรี ปราศจากขอกีดกันการคา ทั้งที่เปนมาตรการภาษีและ

ไมใชภาษี ขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิก ยังคงสามารถดําเนินนโยบายกีดกันการคา กับประเทศนอก

กลุมไดอิสระ

Page 142: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

142

11) UNCTAD (อังคถัด) The United Nations Conference on Trade and Development

(UNCTAD) การประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา จัดต้ังขึ้นในป ค.ศ.1964 (พ.ศ. 2507)

เปนองคกรสังกัดองคการสหประชาชาติ ทําหนาที่เปนศูนยประสานงานเพื่อสรางความเจริญทางการคา

และการพัฒนา สนับสนุนการดําเนินงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของในสาขาการลงทุน การเงิน เทคโนโลยี การ

พัฒนาองคกรธุรกิจ และการพัฒนาอยางยั่งยืน อีกทั้งยกระดับความเจริญและการพัฒนาใหทันกับภาวะ

เศรษฐกิจโลกในกระแสโลกาภิวัฒน และเปนสถาบันวิชาการ ปฏิบัติงานตามแนวทาง 3 ประการ คือ

1) ทําหนาที่เปนเวทีการหารือระหวางรัฐบาลตาง ๆ 2) ดําเนินงานวิจัย วิเคราะหนโยบาย และรวบรวม

ขอมูลเพื่อใชประกอบการหารือทั้งจากภาครัฐและเอกชน และ 3) จัดใหมีความชวยเหลือทางวิชาการตาม

ความตองการของประเทศกําลังพัฒนา

จะเห็นไดวาการต้ังเขตการคาเสรี เปนยุทธวิธีที่หลายประเทศใชสรางพันธมิตรเศรษฐกิจและ

การเมือง อีกทั้งสรางฐานขยายการคาและการลงทุนระหวางประเทศ หรือกลุมประเทศในภูมิภาคอ่ืน ซึ่ง

ทุกประเทศตางตระหนักวา การรวมกันเปนตลาดขนาดใหญ ใชทรัพยากรรวมกัน และกระจายหนาที่ความ

รับผิดชอบ โดยเฉพาะในกลุมประเทศอาณาบริเวณใกลเคียงกัน สอดคลองกันทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง

วัฒนธรรม และประวัติศาสตร ยอมนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจที่แข็งแกรง มีประสิทธิภาพ และสามารถ

แขงขันกับตลาดใหญๆ ซึ่งมีอํานาจตอรองที่สูงกวาได

2.6 เศรษฐกิจไทยทามกลางสถานการณโลก

ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบเปด (open economy) กลาวคือ เปนประเทศที่ติดตอทําการ

ซื้อขายสินคาและบริการกับประเทศเพื่อนบาน การคาระหวางประเทศจึงมีบทบาทสําคัญในฐานะกลไก

ในการพัฒนาและนําความเจริญรุงเรืองมาสูประเทศ รวมทั้งมีสวนสําคัญในการผลักดันใหเศรษฐกิจของ

ประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว นับต้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1(พ.ศ. 2504) มาเปน

แนวทางในการพัฒนาประเทศ ในทางการคาสวนใหญประเทศไทยจะขาดดุลการคา และไดดุลการคาการ

ชําระเงินเปนสวนใหญ เน่ืองจากสินคาสงออกของไทยสวนใหญเปนสินคาเกษตรกรรม ไดแก ขาว

ยางพารา นอกจากน้ียังมีสิ่งทอ อุปกรณและสวนประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร อัญมณีและเคร่ืองประดับ

สินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก เคร่ืองจักรกลและสวนประกอบ เคร่ืองจักรไฟฟาและ

สวนประกอบ เหล็กกลา และเคมีภัณฑ นํ้ามันดิบ

ในระยะ 10 ปที่ผานมา เศรษฐกิจไทยขยายตัวในอัตราที่สูง โดยเฉพาะการนําเขาสินคาอยูใน

อัตราที่สูงมาก เน่ืองจากการเรงพัฒนาประเทศจําเปนจะตองนําเขาสินคาทุนมากขึ้น อีกทั้งการบริโภคของ

คนไทยก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสวนใหญจะเปนสินคาฟุมเฟอยและมีราคาสูง ประกอบกับประเทศไทยสงเสริม

การคาเสรี ควบคุมการนําเขาเพียงไมกี่รายการ ขณะที่มีการนําเขาสินคาเปนจํานวนมาก ทําใหประเทศไทย

ขาดดุลการคามาตลอด

Page 143: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

143

ดวยสถานการณเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที่เกิดขึ้นในหลายภูมิภาค ยอม

สงผลกระทบตอประชาชนอยางไมอาจหลีกเลี่ยง หลายประเทศไดนํามาตรการตาง ๆ มาเปนขออาง เพื่อ

การกีดกันทางการคา เชน มาตรการตอตานการทุมตลาด การตอบโตการหามนําเขาโดยอัตโนมัติ โดย

เหตุผลทางสุขอนามัย มาตรฐานสินคาที่สงผลตอสิ่งแวดลอม เปนตน

ในสวนของประเทศไทยน้ัน นอกจากจะแสวงหาผลประโยชนจากสถานการณทางเศรษฐกิจ

และการคาโลก โดยเขารวมในกลุมเศรษฐกิจการคาที่มีผลประโยชนสอดคลองกันและผลักดันใหมีการ

พัฒนาอาเซียนเปนเขตการคาเสรีแลว ยังจะตองพัฒนาสินคาใหมีศักยภาพในการแขงขันมากขึ้น ทั้งดาน

รูปลักษณ คุณภาพ มาตรฐานสินคา และประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อรักษาสวนแบงในตลาดโลก อีกทั้ง

จะตองแสวงหาลูทางขยายการลงทุนของไทยไปในภูมิภาคตาง ๆ ใหมากขึ้น ทั้งในการลงทุนโดยตรงและ

การรวมทุน เพื่อใหสินคาออกของไทยกระจายไปสูตลาดโลกอยางไรขีดจํากัด

3. สิทธิมนุษยชนสากล

3.1 มูลเหตุของสิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษยเกิดมาพรอมกับความเทาเทียมกันในแงศักด์ิศรี

ความเปนมนุษยและสิทธิเพื่อดํารงชีวิตอยางมีศักด์ิศรี โดยไมคํานึงถึงความแตกตางในเร่ืองเชื้อชาติ สีผิว

เพศ อายุ ภาษา ศาสนา และสถานภาพทางกายและสุขภาพ รวมทั้งความเชื่อทางการเมือง หรือความเชื่อ

อ่ืน ๆ ที่ขึ้นกับพื้นฐานทางสังคม สิทธิมนุษยชนเปนสิ่งที่ไมสามารถถายทอดหรือโอนใหแกผูอ่ืนได มี

พัฒนาการมาจากความพยายามของมนุษยที่จะใหศักด์ิศรีของมนุษยชนไดรับการเคารพ และจากการตอสู

เพื่อเสรีภาพและความเสมอภาคที่เกิดขึ้นในดินแดนตาง ๆ ทั่วโลก แนวความคิดเร่ืองสิทธิมนุษยชนเกิด

จากบรรดานักคิดที่มาจากหลากหลายประเพณีและศาสนา ตอมาผูบริหารประเทศและนักกฎหมายตางมี

บทบาทในการสงเสริมแนวความคิดดังกลาวและรางขึ้นเปนเอกสารที่ใชปกปองสิทธิของบุคคลและคอย ๆ

กลายเปนบทบัญญัติและรัฐธรรมนูญของชาติตางๆ ตัวอยางเชน ในคริสตศตวรรษที่ 18 ความคิดเร่ือง

กฎแหงธรรมชาติไดพัฒนาไปเปนการยอมรับวา สิทธิโดยธรรมชาติเปนสิทธิทางกฎหมาย ตอมาสิทธิ

ดังกลาวน้ีมีการรวบรวมและรางขึ้นเปนกฎหมายรัฐธรรมนูญของชาติทั้งในยุโรปและอเมริกาเหนือ

สะทอนถึงความผูกพันระหวางรัฐและบุคคลภายในรัฐ ซึ่งอํานาจของรัฐมาจากบรรดาเสรีชน ปฏิญญาวา

ดวยสิทธิของมนุษยและของพลเมือง (Declaration of the Rights of Man and of the Citizen) ซึ่งเปน

กฎหมายรัฐธรรมนูญของฝร่ังเศส ซึ่งรางขึ้นเมื่อ ค.ศ.1789 และกฎหมายรัฐธรรมนูญของอเมริกา (Bill of

Rights) ซึ่งรางขึ้นใน ค.ศ.1791 ลวนพัฒนามาจากแนวความคิดที่กลาวน้ี

รัฐธรรมนูญของชาติตะวันตกที่พัฒนามาจากแนวความคิดเร่ืองสิทธิมนุษยชน ยังไมถือวาเปน

“สากล” เพราะยังไมครอบคลุมไปถึงพลเมืองทุกคน สตรี เด็ก คนตางชาติ และทาส ยังไมไดรับการ

คุมครองในฐานะพลเมืองที่มีสิทธิตามกฎหมาย นอกจากน้ันสิทธิทางสังคมและสิทธิของชนกลุมนอย ก็ยัง

ไมไดรับการกลาวถึงในบทบัญญัติรัฐธรรมนูญของชาติตะวันตกตาง ๆ ในชวงระยะน้ัน

Page 144: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

144

บทบัญญัติการคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับนานาชาติซึ่งแสดงถึงความรวมมือระหวางชาติ

ไดปรากฏขึ้น โดยเฉพาะสนธิสัญญาวาดวยเสรีภาพในการนับถือศาสนา สนธิสัญญาเกี่ยวกับการเลิกทาส

และกฎหมายเกี่ยวกับสงคราม คร้ันเมื่อสงครามโลกคร้ังที่ 1 (ค.ศ.1914 - 1918) สิ้นสุดลง ก็ไดเกิด

ความรูสึกรวมกันวารัฐบาลทั้งหลายไมสามารถปกปองสิทธิมนุษยชนได จําเปนที่จะตองพึ่งพลังของ

นานาชาติรวมกัน ดังน้ัน องคการสันนิบาตชาติ (The League of Nations) ซึ่งเปนองคการสากลระหวาง

รัฐบาลองคการแรก กําเนิดขึ้นหลังสงครามโลกคร้ังที่ 1 จึงหาวิถีทางที่จะคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับ

นานาชาติ แตเร่ืองน้ีก็จํากัดอยูเพียงการคุมครองชนกลุมนอยในบางประเทศเทาน้ัน

ความพยายามระดับนานาชาติที่จะปกปองสิทธิของผูใชแรงงานในอุตสาหกรรมประเภท

ตางๆ ปรากฏขึ้นตนคริสตศตวรรษที่ 20 และไดกลายเปนขอตกลงระดับนานาชาติ รางขึ้นโดยองคการ

แรงงานระหวางประเทศเมื่อ ค.ศ.1919 สวนการเลิกทาสซึ่งพยายามตอสูกันมาเปนระยะเวลานานก็

บรรลุผลสําเร็จ เมื่อนานาชาติที่เกี่ยวของรวมลงนามในอนุสัญญาระหวางชาติวาดวยทาสที่กรุงเจนีวา

เมื่อ ค.ศ.1926 สวนปญหาผูลี้ภัยก็ไดลงนามในอนุสัญญาระหวางชาติเพื่อคุมครองผูลี้ภัยใน ค.ศ.1933

และ 1938

ในชวงระยะระหวางสงครามโลกคร้ังที่ 1 และคร้ังที่ 2 ไดเกิดระบอบการปกครองแบบรวม

อํานาจเบ็ดเสร็จ (Totalitarian regimes) ซึ่งกอตัวขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1920 และดําเนินตอไปจนเร่ิมสงครามโลก

คร้ังที่ 2 ไดลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในดินแดนของตนเองอยางรุนแรง ในขณะที่สงครามโลกคร้ังที่ 2

(ค.ศ. 1939 - 1945) ไดนํามาซึ่งการทําลายลางชีวิตและศักด์ิศรีของมนุษยชนอยางกวางขวาง อีกทั้งมีความ

พยายามที่จะทําลายชนกลุมตางๆ โดยอางเหตุแหงเชื้อชาติและศาสนา ดังน้ันจึงเปนที่ประจักษชัดวาจําเปน

จะตองมีบทบัญญัติระดับนานาชาติ เพื่อเปนเคร่ืองมือในการคุมครองสิทธิมนุษยชน เพราะการเคารพสิทธิ

มนุษยชนนับเปนภาระที่สําคัญอันจะนําไปสูสันติภาพและความกาวหนาของโลก

3.2 กําเนิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

เมื่อบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดลงนามกฎบัตรสหประชาชาติรวมกัน ซึ่ง

เปนสนธิสัญญาที่ถือวามีขอผูกพันทางกฎหมายที่บรรดาสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม รวมถึงการสงเสริมสิทธิ

มนุษยชน และการรวมมือกับสหประชาชาติตลอดจนนานาประเทศ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่บัญญัติไว

ในกฎบัตร อยางไรก็ตาม กฎบัตรสหประชาชาติมิไดมีรายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนโดยตรง หรือ

กลไกที่จะชวยใหประเทศสมาชิกปกปองสิทธิมนุษยชน คร้ันป ค.ศ. 1945 องคการสหประชาชาติไดจัดต้ัง

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Committee on Human Rights) ขึ้น มีหนาที่รางกฎเกณฑระหวางประเทศ

เกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน จึงเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human

Rights) ซึ่งสหประชาชาติ ไดมีมติรับรองเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948

Page 145: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

145

ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซึ่งบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดรวม

รับรองเมื่อ ค.ศ. 1948 ถือเปนมาตรฐานในการปฏิบัติตอกันของมวลมนุษยและของบรรดานานาชาติ

ถึงแมวาปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจะมิไดมีผลบังคับทางกฎหมายเชนเดียวกับสนธิสัญญา

อนุสัญญา หรือขอตกลงระหวางประเทศ แตปฏิญญาสากลฉบับน้ีนับวามีพลังสําคัญทางศีลธรรม

จริยธรรม และมีอิทธิพลทางการเมืองไปทั่วโลก และถือเปนหลักเกณฑสําคัญในการปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ

มนุษยชนที่ทั่วโลกยอมรับ

ขอความในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนเปนพื้นฐานในการดําเนินงานขององคการ

สหประชาชาติ และมีอิทธิพลสําคัญตอการรางรัฐธรรมนูญของบรรดาประเทศที่มีการรางรัฐธรรมนูญใน

เวลาตอมา โดยเฉพาะอยางยิ่งบรรดาประเทศอาณานิคมไดอางปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ในการ

ประกาศอิสรภาพชวง ค.ศ. 1950 ถึง 1960 และหลายประเทศนําขอความในปฏิญญามาใชในการราง

รัฐธรรมนูญของตน

เมื่อสหประชาชาติมีมติรับรองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ

ประกอบดวยประเทศสมาชิกเพียง 58 ประเทศ ตอมาจํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นจนเกินกวาสามเทา

ของสมาชิกเดิม อิทธิพลของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนก็ขยายมากขึ้นจนเปนที่ยอมรับในระดับ

สากล และเปนที่อางอิงถึงเมื่อมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศทั้งหลายทั่วโลก เมื่อพิจารณาดู

มาตราตางๆ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจะเห็นวา มาตราแรกแสดงถึงความเปนสากลของ

สิทธิมนุษยชน โดยกลาวถึงความเทาเทียมกันของศักด์ิศรีและสิทธิของมนุษยทุกคน สวนมาตราที่สอง

กลาวถึงความชอบที่จะมีสิทธิของบุคคลโดยไมเลือกปฏิบัติใด ๆ ทั้งสิ้น สวนหลักการขั้นพื้นฐานของสิทธิ

ที่ประกาศไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ปรากฏในคําปรารภที่เนนการยอมรับ “ศักด์ิศรี

ประจําตัวและสิทธิที่เทาเทียมกัน และไมอาจโอนใหแกกันไดของสมาชิกทั้งมวลของครอบครัวมนุษย”

3.3 สิทธิในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

ในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดจําแนกสิทธิไวกวาง ๆ 2 ประการ ดังน้ี

3.3.1 สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิต เสรีภาพและความมั่นคง

ของบุคคล อิสรภาพจากความเปนทาสและการถูกทรมาน ความเสมอภาคในทางกฎหมาย การคุมครองเมื่อ

ถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศ สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม การมีสวนรวมทางการเมือง สิทธิ

ในการสมรสและการต้ังครอบครัว เสรีภาพขั้นพื้นฐานในทางความคิด มโนธรรม และศาสนา การแสดง

ความคิดเห็น และการแสดงออกเสรีภาพในการชุมนุม และเขารวมสมาคมอยางสันติ สิทธิในการมีสวนใน

รัฐบาลของประเทศตนโดยทางตรงหรือโดยการสงผูแทนที่ไดรับการเลือกต้ังอยางเสรี

3.3.2 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุมถึงสิทธใินการทํางาน การไดรับ

คาตอบแทนเทากันสําหรับงานที่เทากัน สิทธิในการกอต้ังและเขารวมสหภาพแรงงาน สิทธิในมาตรฐาน

การครองชีพที่เหมาะสม สิทธิในการศึกษา และสิทธิในการเขารวมใชชีวิตทางวัฒนธรรมอยางเสรี

Page 146: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

146

ตอมาหลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนไดมีการแปลเจตนาและขยาย

ขอความใหละเอียดยิ่งขึ้น ดวยการรางเปนกติการะหวางประเทศที่มีผลบังคับทางกฎหมาย และ

สหประชาชาติมีมติรับรอง เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1966 คือ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง

และสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) และกติการะหวาง

ประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic Social and

Cultural Rights - ICESCR) การที่สหประชาชาติมีมติรับรองกติการะหวางประเทศดังกลาวน้ี ทําใหบรรดา

นานาประเทศสมาชิกขององคการสหประชาชาติ ไมเพียงแตเห็นชอบดวยกับสิทธิตาง ๆ ที่ระบุไวใน

ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน แตยังถือเปนมาตรการในการปฏิบัติตามดวย ในปจจุบันประเทศตาง ๆ

ไดเขาเปนภาคี 134 ประเทศ

สหประชาชาติไดใหความสําคัญกับองคการเอกชนตาง ๆ ในฐานะเปน “ผูพิทักษสิทธิ

มนุษยชน” ซึ่งมักถูกคุกคามชวิีตและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในหลายประเทศจึงไดมีการ

รวมกลุมและจัดต้ังองคกรภาคประชาสังคมระดับโลก มีการจัดการ พบปะหารือ และแลกเปลี่ยนขอมูล

ความเห็นอยางเปนกระบวนการ เพื่อตอตานกระแสโลกาภิวัตนที่มีผลกระทบตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ภาคประชาชนของประเทศตางๆ ทั่วโลกรับรูและตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิ

มนุษยชนมากขึ้น มีการรวมกลุมเพื่อการปกปองสิทธิและศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ

พื้นฐานของปจเจกบุคคลและชุมชน ตลอดจนกลุมชาติพันธุ หรือกลุมศาสนา ภาษา วัฒนธรรม และกลุมที่

เรียกรองอิสระในการปกครองตนเอง การกอต้ังประเทศติมอรตะวันออกถือเปนตัวอยางที่สําคัญ

3.4 สถานการณสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย

การพัฒนาการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนสากล มีอิทธิพลตอประเทศไทยที่สําคัญ

คือ การที่ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีสนธิสัญญาระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนหลายฉบับ โดยเฉพาะ

อยางยิ่ง 4 ฉบับหลัก ไดแก

- อนุสัญญาวาดวยการตอตานการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ เขาเปนภาคีเมื่อวันที่

9 สิงหาคม พ.ศ. 2528 และพิธีสารเลือกรับ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2543

- อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2535

- กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม

พ.ศ. 2539 และมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2540

- กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 6 กันยายน

พ.ศ. 2542 และมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542

การเขาเปนภาคีสนธิสัญญาตางๆ ของสหประชาชาติ ทําใหรัฐบาลไทยมีพันธกรณีที่จะตอง

สงเสริมและพัฒนาใหมีหลักประกันวา กฎหมายและแนวทางปฏิบัติภายในประเทศจะสอดคลองกับ

มาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศที่ระบุในสนธิสัญญาเหลาน้ัน

Page 147: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

147

การจัดต้ังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และองคกรอิสระตาง ๆ เพื่อเปน

หลักประกันสิทธิการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการทางการเมืองและสิทธิของชุมชน เปนสิ่งที่

ประชาคมระหวางประเทศและสหประชาชาติ เห็นวามีความสําคัญ และยอมรับวาประเทศไทยมี

พัฒนาการในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนที่รวดเร็วและกาวหนาประเทศหน่ึง

อยางไรก็ตาม มีสนธิสัญญาระหวางประเทศอีกหลายฉบับที่ไทยยังมิไดเปนภาคี เชน

อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ อนุสัญญาวาดวยการตอตานการทรมานและการ

ปฏิบัติหรือการลงโทษอ่ืนที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักด์ิศรีและอนุสัญญาวาดวยแรงงานอพยพ

และสมาชิกครอบครัว ฯลฯ ซึ่งควรที่จะมีการพิจารณาเพื่อเขาเปนภาคีอนุสัญญาตางๆ เพิ่มเติมรวมทั้ง

ประเทศไทยควรพิจารณาทบทวนขอสงวนที่ไดทําไวเมื่อรวมเขาเปนภาคีในบางฉบับเพื่อจํากัดการรับเอา

พันธกรณีบางประการของสนธิสัญญาน้ัน ๆ มาปฏิบัติ เพราะสถานการณปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไป

มากแลว

สถานการณการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศที่ปรากฏบอย มีดังน้ี

1) ดานเด็ก เยาวชน และสถาบันครอบครัว มีแนวโนมสูงขึ้นและรุนแรงขึ้น

2) ดานการปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อคุมครองสิทธิผูตองหา

3) ดานนโยบายทางสังคม การเลือกปฏิบัติตอกลุมที่มีความแตกตางกัน

4) ดานฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิชุมชน การรับรองสิทธิของชุมชนในดานภูมิปญญา

ทองถิ่นและการมีสวนรวมในการจัดการบํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรอยางสมดุลและยั่งยืน

จะเห็นไดวา สิทธิมนุษยชนและบทบัญญัติการคุมครองสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับนานาชาติ

และระดับประเทศตลอดถึงชุมชน ยอมมีความสัมพันธเกี่ยวโยงกัน และสงผลทั้งในระดับที่กวางจนถึง

ระดับบุคคล ดังน้ันในการศึกษาถึงความเปนมาเปนไปของประชาคมโลก จึงไมอาจละเลยสาระสําคัญของ

สิทธิมนุษยชน นอกจากน้ียังเปนบทสะทอนความเปนอริยะของมนุษยวาเราไดคํานึงและเคารพในศักด์ิศรี

ซึ่งกันและกันมากนอยเพียงใด นอกเหนือจากผลประโยชนที่ทุกฝายพยายามใฝหากันอยางไมมีที่สิ้นสุด

Page 148: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

148

แบบทดสอบหลังเรียน

คําสั่ง จงทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงหนาขอที่ถูกตองที่สุด

1. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมดีกวาระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในเร่ืองใด

ก. ความเปนธรรมทางดานรายได

ข. สินคามีคุณภาพและราคาไมสูง

ค. มีการแขงขันในการผลิต

ง. มีแรงจูงใจและความคิดริเร่ิม

2. ขอใดไมใชลักษณะการรวมกลุมทางเศรษฐกิจตามหลักเศรษฐศาสตร

ก. ตลาดรวม

ข. ระบบอัตราแลกเปลี่ยน

ค. สหภาพเศรษฐกิจ

ง. เขตการคาเสรี

3. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีผลในทางดานใดมากที่สุด

ก. คุณภาพชีวิต

ข. วัฒนธรรม

ค. การศึกษา

ง. การคาขาย

4. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีหลักการกําหนดนโยบายอยางไร

ก. เจรจาตอรอง

ข. กําหนดนโยบายรวมกัน

ค. กําหนดนโยบายรวมกัน บนพื้นฐานความเทาเทียม

ง. ประเทศรํ่ารวยมีอํานาจเหนือกวาในการกําหนดนโยบาย

5. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ สอดคลองกับขอความใดมากที่สุด

ก. มือใครยาวสาวไดสาวเอา

ข. ปลาใหญกินปลาเล็ก

ค. นํ้าขึ้นใหรีบตัก

ง. สามัคคีคือพลัง

Page 149: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

149

6. รายการใดไมรวมไวในการคํานวณผลิตภัณฑภายในประเทศ (GDP) ของไทย

ก. เกษตรกรจันทบุรีสงมังคุดไปขายญ่ีปุน

ข. กระทรวง ICT ซื้อเคร่ือง Tablet จากจีน

ค. นักทองเที่ยวอังกฤษจายเงินเขาเที่ยวสวนสัตวเชียงใหม

ง. รัฐบาลไทยสงเงินไปชวยบรรเทาทุกขประเทศอินโดนีเซีย

7. การที่ไทยเขาเปนสมาชิกองคกรการคาโลก (WTO) จะตองปรับปรุงดานใดบาง

ก. กฎระเบียบตาง ๆ ภายในประเทศใหเปนไปตามกฎเกณฑขององคการคาโลกและระบบการคาสากล

ข. โครงสรางดานภาษีศุลกากรใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางเศรษฐกิจในปจจุบัน

ค. กฎหมายที่เกี่ยวกับการคาระหวางประเทศเพื่อกํากับดูแลผูประกอบการ

ง. ถูกทุกขอ

8. การจัดสรรทรัพยากรของโลกที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อสนองความตองการของพลโลกไดมากที่สุด

กอใหเกิดกิจกรรมใดในทางเศรษฐกิจ

ก. การคาระหวางประเทศ

ข. การเคลื่อนยายทุน

ค. เศรษฐกิจระหวางประเทศ

ง. การลงทุนระหวางประเทศ

9 . แกวกับแดงอยูบานหลังติดกัน จัดงานเลี้ยงกันสงเสียงดังบอยๆ วันหน่ึงบานขางเคียงแจงตํารวจ

ใหมาตรวจสอบ ทั้งสองบอกวาเปนสิทธิของตนเพราะการสงเสียงดังก็ทําในบานของตนเอง

ทานคิดแกวและแดงละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม

ก. ไมละเมิด เพราะกระทําในบริเวณบานตนเอง

ข. ละเมิดเพราะสงเสียงรบกวนบานใกลเคียงในยามวิกาล

ค. ละเมิดก็ไดไมละเมิดก็ไดเพราะบางคร้ังก็เสียงดังบางคร้ังก็เงียบ

ง. ไมละเมิดเพราะไดขออนุญาตจัดงานเลี้ยงเดือนละ สี่ คร้ัง ไวลวงหนา

10. สิทธิมนุษยชน คือ อะไร

ก. ศักด์ิศรีความเปนมนุษย

ข. การมีสิทธิ เสรีภาพ มีหนาที่

ค. การไดรับคุมครองดวยกฎหมาย

ง. การไดรับการคุมครองจากสนธิสัญญา

Page 150: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

150

บทที่ 4 ประชาคมอาเซียน

สาระสําคัญ

ความเปนมาของการรวมกลุมอาเซียน วิสัยทัศน วัตถุประสงค ประเทศสมาชิก โครงการที่สําคัญ

และผลที่เกิดขึ้นจากการเปนประชาคมอาเซียนที่มีตอประเทศไทย

ผลการเรียนท่ีคาดหวัง

มีความรู ความเขาใจและเห็นความสําคัญการเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน เพื่อการอยูรวมกัน

อยางสันติสุขได

ขอบขายเน้ือหา

1. ความเปนมาของอาเซียน

2. วิสัยทัศน วัตถุประสงค กฎบัตรและประชาคมอาเซียน

3. ประเทศสมาชิกของประชาคมอาเซียน

4. โครงการที่สําคัญอาเซียน

5. ผลที่เกิดขึ้นจากการเปนประชาคมอาเซียนที่มีตอประเทศไทย

Page 151: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

151

เร่ืองท่ี 1 ประชาคมอาเซียน

1. ความเปนมา

โลกาภิวัฒนที่สถานการณโลกเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ประเทศตาง ๆ ใหความสําคัญกับ

การรวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอํานาจตอรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในเวทีระหวางประเทศ

เวทีโลก ขณะที่ปญหาหลายอยางซึ่งเคยเปนปญหาในประเทศกลับขยายวงกวางขึ้นเปนปญหาระหวาง

ประเทศ และสงผลตอโลกมนุษยโดยรวม อาทิ ปญหาสิ่งแวดลอม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โรคติดตอ

อาชญากรรมขามชาติ หรือแมแตปญหายาเสพติด อาเซียนจึงตองปรับตัวใหเทาทันสถานการณเพื่อให

สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที

การจัดตั้ง

27อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian

Nations หรือ ASEAN) กอต้ังขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration ) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม

2510 โดยมีสมาชิกผูกอต้ัง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย

ฟลิปปนสและสิงคโปร ที่ตองการใหอาเซียนเปนดินแดนแหงสันติภาพ มีความรวมมือในการพัฒนาดาน

เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร การเกษตรและอุตสาหกรรม โดยไดลงนามในขอตกลง

รวมกัน เรียกวา “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) ในเวลาตอมาไดมี บูรไนดารุสซาราม (เขา

เปนสมาชิกต้ังแต 8 มกราคม 2527) สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม (เขาเปนสมาชิกต้ังแต 28

กรกฎาคม 2538) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เขาเปนสมาชิกต้ังแต 23 กรกฎาคม 2540)

สหภาพพมา (เขาเปนสมาชิกต้ังแต 23 กรกฎาคม 2540) ราชอาณาจักรกัมพูชา (เขาเปนสมาชิกต้ังแต 30

เมษายน 2542) ตามลําดับทําใหอาเซียนมีสมาชิกครบ 10ประเทศ

27หลักการพื้นฐานของความรวมมือ

27 ประเทศสมาชิกอาเซียนไดยอมรับในการปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานในการดําเนินความสัมพันธ

ระหวางกัน อันปรากฏอยูในสนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty

of Amity and Cooperation in Southeast Asia หรือ TAC)

1. การเคารพซึ่งกันและกันในเอกราช อธิปไตย ความเทาเทียม บูรณาการแหงดินแดนและ

เอกลักษณประจําชาติของทุกชาติ

2. สิทธิของทุกรัฐในการดํารงอยูโดยปราศจากการแทรกแซง การโคนลมอธิปไตยหรือการบีบ

บังคับจากภายนอก

27 3. หลักการไมแทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน

27 4. ระงับความแตกตางหรือขอพิพาทโดยสันติวิธี

27 5. การไมใชการขูบังคับหรือการใชกําลัง

6. ความรวมมืออยางมีประสิทธิภาพระหวางประเทศสมาชิก

Page 152: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

152

สํานักเลขาธิการอาเซียน ต้ังอยูที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย ทําหนาที่เปนศูนยประสานงาน

ในการดําเนินความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก มีเลขาธิการอาเซียนเปนหัวหนาผูบริหารสํานักงาน

เลขาธิการอาเซียน จะไดรับการเสนอชื่อและแตงต้ังโดยประเทศสมาชิก (ตามลําดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ

ของชื่อประเทศสมาชิก) และมีรองเลขาธิการอาเซียน 4 คน โดย 2 คนมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน

เรียงลําดับตามตัวอักษรชื่อภาษาอังกฤษของประเทศ และอีก 2 คนมาจากการคัดเลือกในระบบเปด สํานัก

เลขาธิการอาเซียนจะมีหนวยงานเฉพาะดานที่ดําเนินความรวมมือในดาน ตางๆ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ

สังคมและวัฒนธรรม การ27ดํารงตําแหนงวาระ 5 ป ประเทศไทยไดเปนเลขาธิการอาเซียน27 2 คน คนแรกคือ1

นาย1แผน วรรณเมธี1 ไดขึ้นดํารงตําแหนงระหวางป พ.ศ. 2527 - 2529 คนที่สองคือ ดร.สุรินทร พิศสุวรรณ

ดํารงตําแหนงต้ังแตป พ.ศ. 2551

วัตถุประสงคในการกอตั้งประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน กอต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเร่ิมแรกเพื่อสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต อันนํามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และ

วัฒนธรรม และเมื่อการคาระหวางประเทศในโลกมีแนวโนมกีดกันการคารุนแรงขึ้น ทําใหอาเซียนไดหัน

มามุงเนนกระชับและขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาระหวางกันมากขึ้น วัตถุประสงคหลักที่

กําหนดไวในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังน้ี

1. สงเสริมความรวมมือและความชวยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

เทคโนโลยี วิทยาศาสตรและการบริหาร

2. สงเสริมสันติภาพและความมั่นคงสวนภูมิภาค

3. เสริมสรางความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค

4. สงเสริมใหประชาชนในอาเซียนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดี

5. ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝกอบรมและการวิจัย และสงเสริมการศึกษา

ดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต

6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการคา ตลอดจนการปรับปรุงการ

ขนสงและการคมนาคม

7. เสริมสรางความรวมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องคการ ความรวมมือแหงภูมิภาคอ่ืนๆ

และองคการระหวางประเทศ

ต้ังแตมีการรวมตัว28ที่มีการกอต้ังอาเซียน ถือวาไดประสบความสําเร็จจนเปนที่ยอมรับจากหลาย

ฝายไมวาจะเปนดานการเมืองเเละความมั่นคง ดานเศรษฐกิจและการพัฒนาดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ง

ประเทศไทยไดรับประโยชนอยางมากจากความรวมมือตาง ๆ ของอาเซียน ไมวาจะเปนประโยชนจาก

การที่ภูมิภาค มีเสถียรภาพและสันติภาพ อันเปนผลจากกรอบความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคง

ความรวมมือดานเศรษฐกิจ ความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งถาหากไมมีความรวมมือเหลาน้ีแลว

การที่จะพัฒนาประเทศอาจลาชา

Page 153: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

153

คําขวัญของอาเซียน

"One Vision, One Identity, One Community" :

" หน่ึงวิสัยทัศน หน่ึงเอกลักษณ หน่ึงประชาคม "

ตราสัญลักษณ

ธงของอาเซียน

Page 154: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

154

2 สัญลักษณอาเซียน คือ ตนขาวสีเหลือง 10 ตนมัดรวมกันไว หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อ

มิตรภาพและความเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกัน สีนํ้าเงิน หมายถงึ สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง

ความกลาหาญและความกาวหนา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และ สีเหลือง หมายถึง ความ

เจริญรุงเรือง2

(ที่มา:th.wikipedia.org)

ประเทศสมาชิกของสมาคมอาเซียน ขอมูลท่ีควรรู

1. ประเทศบรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

พื้นที่ 5765 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง บันดารเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)

ประชากร 414,000 คน

ภาษาราชการ ภาษามาเลย

ศาสนาอิสลาม รอยละ 67 ศาสนาพุทธ รอยละ 13 ศาสนาคริสต รอยละ 10 อ่ืน ๆ รอยละ 10

ระบอบการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย

วันชาติ 23 กุมภาพันธ

หนวยเงินตรา ดอลลารบรูไน (BND)

สินคานําเขาที่สําคัญ เคร่ืองจักรอุตสาหกรรม รถยนต เคร่ืองใชไฟฟา สินคาเกษตร

สินคาสงออกที่สําคัญ นํ้ามันดิบ กาซธรรมชาติ เสื้อผา เคร่ืองแตงกาย

Page 155: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

155

2. ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)

พื้นที่ 180,135 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)

ประชากร 14.5 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาเขมร

ศาสนา พุทธ

ระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ

วันชาติ 9 พฤศจิกายน

หนวยเงินตรา เรียล (HKR)

สินคานําเขาที่สําคญั ผลิตภัณฑปโตรเลียม วัสดุกอสราง เคร่ืองจักร ยานพาหนะ

สินคาสงออกที่สําคัญ เสื้อผา สิ่งทอ ไม ยางพารา ขาว

3. ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)

พื้นที่ 5,070,606 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง จาการตา (Jakarta)

ประชากร 243 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาอินโดนีเซีย

ศาสนาอิสลาม รอยละ 85 ศาสนาคริสต รอยละ 11.9 อ่ืน ๆ รอยละ 2.9

ระบอบการปกครอง สาธรณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเปนประมุข

วันชาติ 17 สิงหาคม

หนวยเงินตรา รูเปยร (IDR)

สินคานําเขาที่สําคัญ นํ้ามัน เหล็ก ทอเหล็ก ผลิตภัณฑเหล็ก สิ่งทอ เคมีภัณฑ

สินคาสงออกที่สําคัญ กาซธรรมชาติ แรธาตุ ถานหิน เคร่ืองใชไฟฟา ยางพารา

4. ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ( The Lao People’s Democratic Republic)

พื้นที่ 236,880 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง เวียงจันทร (Vientiane)

ประชากร 6 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาลาว

ศาสนา พุทธรอยละ 76 อ่ืน ๆ รอยละ 14

ระบอบการปกครอง สังคมนิยมโดยมีพรรคการเมืองเดียว

วันชาติ 2 ธันวาคม

หนวยเงินตรา กีบ (LAK)

Page 156: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

156

สินคานําเขาที่สําคัญ รถจักรยานยนตและสวนประกอบ เคร่ืองใชไฟฟา เคร่ืองอุปโภคบริโภค

สินคาสงออกที่สําคัญ ไมซุง ไมแปรรูป ผลิตภัณฑจากไม สินแร เศษโลหะไฟฟา

5. ประเทศมาเลเซีย(Malaysia)

พื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร(kuala Lumpur)

ประชากร 28.9 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษามาเลย

ศาสนา อิสลาม รอยละ 60 พุทธรอยละ 19 คริสตรอยละ 12 อ่ืน ๆ รอยละ 9

ระบอบการปกครอง สหพันธรัฐโดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเปนประมุขและมาจากการเลือกต้ัง

ตามวาระ 5 ป

วันชาติ 31 สิงหาคม

หนวยเงินตรา ริงกิต (MYR)

สินคานําเขาที่สําคัญ ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เคร่ืองจักรและอุปกรณ อุปกรณดานการขนสง

ผลิตภัณฑโลหะ

สินคาสงออกที่สําคัญ ผลิตภัณฑไฟฟาและอีเล็กทรอนิกศ นํ้ามันปาลม กาซธรรมชาติเหลว นํ้ามันดิบ

6. ประเทศสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร

(Republic of the Union of Myanmar)

พื้นที่ 657,740 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง เนปดอร (Naypyidaw)

ประชากร 58.38 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาเมียนมาร/พมา

ศาสนา พุทธรอยละ 89 คริสตรอยละ 5 อิสลามรอยละ 4 อ่ืนๆ รอยละ 2

ระบอบการปกครอง รัฐสภามีสมาชิกมาจากการเลือกต้ัง มีประธานาธิบดีเปนประมุขและ

หัวหนารัฐบาล

วันชาติ 4 มีนาคม

หนวยเงินตรา จ๊ัด (MMK)

สินคานําเขาที่สําคัญ เคร่ืองจักรกล ใยสังเคราะห นํ้ามันสําเร็จรูป

สินคาสงออกที่สําคัญ กาซธรรมชาติ ไม เมล็ดพืชและถั่ว

Page 157: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

157

7. ประเทศสาธารณรัฐฟลิปปนส (Republic of the Philippines)

พื้นที่ 296,170 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง มะนิลา (Manila)

ประชากร 101.4 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาตากาล็อกและอังกฤษ

ศาสนา คริสต รอยละ 92 อิสลาม รอยละ 5

ระบอบการปกครอง สาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร

วันชาติ 12 มิถุนายน

หนวยเงินตรา เปโซ (PHP)

สินคานําเขาที่สําคัญ สินคาอิเลคทรอนิกส แรเชื้อเพลิง นํ้ามันหลอลื่น และวัสดุที่เกี่ยวของ

อุปกรณขนสง

สินคาสงออกที่สําคัญ เสื้อผาและเคร่ืองนุงหม อุปกรณกึ่งตัวนํา ผลิตภัณฑปโตรเลียม มะพราว

และผลไม

8. ประเทศสิงคโปร (Singapore)

พื้นที่ 699.4 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง สิงคโปร (Singapore)

ประชากร 5.08 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ จีน มลายูและทมิฬ

ศาสนา พุทธรอยละ 48.5 อิสลาม รอยละ 14.9 คริสตรอยละ 14.6 ฮินดูรอยละ 4 อ่ืน ๆ รอยละ 24

ระบอบการปกครอง สาธารณรัฐและรัฐสภา มีนายกรัฐมนตรีเปนผูนํารัฐบาล

วันชาติ 9 สิงหาคม

หนวยเงินตรา ดอลลารสิงคโปร (SGD)

สินคานําเขาที่สําคัญ เคร่ืองจักรกล ชิ้นสวนอุปกรณไฟฟา นํ้ามันดิบ เคมีภัณฑ ผลิตภัณฑอาหาร

สินคาสงออกที่สําคัญ อุปกรณอิเล็คทรอนิคสและเคร่ืองมือสื่อสาร เคร่ืองไฟฟา เคมีภัณฑ เสื้อผา

9. ประเทศราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)

พื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok)

ประชากร 66 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาไทย

ศาสนา พุทธรอยละ 95

ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริยเปนประมุข

วันชาติ 5 ธันวาคม

หนวยเงินตรา บาท (THB)

Page 158: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

158

สินคานําเขาที่สําคัญ นํ้ามันดิบ เคร่ืองจักรกลและสวนประกอบ เคร่ืองจักรไฟฟาและสวนประกอบ

เหล็กกลาและเคมีภัณฑ

สินคาสงออกที่สําคัญ สิ่งทอ อุปกรณและสวนประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร อัญมณีและ

เคร่ืองประดับ

10. ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)

พื้นที่ 331,690 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง ฮานอย (Hanoi)

ประชากร 89.57 ลานคน

ภาษาราชการ ภาษาเวียดนาม

ศาสนา ไมมีศาสนาประจําชาติ หากแตมีศาสนาพุทธ

มีคนนับถือมากที่สุด รอยละ 9.3 และมีรอยละ 81ที่ไมนับถือศาสนาใด

ระบอบการปกครอง สังคมนิยมมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวและมีอํานาจสูงสุด

วันชาติ 2 กันยายน

หนวยเงินตรา ดอง (VND)

สินคานําเขาที่สําคัญ นํ้ามันสําเร็จรูป เหล็กและเหล็กกลา เสนใยสิ่งทอ เคร่ืองใชไฟฟา พลาสติก

สินคาสงออกที่สําคัญ สิ่งทอและเสื้อผา นํ้ามันดิบ อาหารทะเล ขาว ยางพารา

กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน คือ กรอบความตกลงที่กําหนดเปาหมาย หลักการ โครงสรางองคกร และกลไก

ที่สําคัญตาง ๆ ของอาเซียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

1. เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามเปาหมายตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการ

รวมตัวไปสูการเปนประชาคมอาเซียน ภายในป 2558

2. สรางกลไกที่จะสงเสริมประเทศในอาเซียนปฏิบัติตามความตกลงตาง ๆ ของอาเซียน

3. ทําใหอาเซียนเปนองคกรที่ใกลชิดและกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนมากขึ้น

โดยกําหนดใหมีการดําเนินการดังน้ี

3.1 ใหเพิ่มการประชุมสุดยอดอาเซียนจากปละ 1 คร้ัง เปนปละ 2 คร้ัง

3.2 ใหมีการจัดต้ังคณะมนตรีประจําประชาคมอาเซียนตามเสาหลักทั้ง 3 ดาน คือ การเมืองและ

ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อกําหนดทิศทางและประสานงานเพื่อใหการดําเนินงาน

ของแตละเสาหลักมีเอกภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น

3.3 ใหประเทศสมาชิกแตงต้ังเอกอัครราชทูตประจําอาเซียนที่จะทํางานรวมกันอยางใกลชิด

เพื่อมุงไปสูการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียนในอนาคต

Page 159: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

159

3.4 หากประเทศสมาชิกไมสามารถตกลงกันได ใหใชการตัดสินใจรูปแบบอ่ืนไดตามที่ผูนํา

กําหนด

3.5 ใหประเทศสมาชิกหารือเพื่อแกไขปญหาหากเกิดปญหาที่สงผลกระทบตอประโยชน

สวนรวมของอาเซียน และกําหนดใหประธานอาเซียนเสนอวิธีการแกไขปญหาดังกลาว

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

เมื่ออาเซียนอายุครบ 30 ป ผูนําอาเซียนไดรับรองเอกสารเพื่อกําหนดการดําเนินงานของอาเซียน

ในอนาคต เรียกวา “วิสัยทัศนอาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020)” เพื่อทําใหอาเซียนเปนดินแดนแหง

สันติภาพ มีความเจริญรุงเรือง และความมั่นคงตอเน่ือง พรอมทั้งสงเสริมใหเกิดสังคมที่ประชาชนทุกคน

รักใครดูแลกัน เอ้ืออาทรและรวมแบงปนกัน ไมมีการแบงแยกกีดกัน มีความสามัคคีกัน ตลอดจนไดตกลง

กันจะจัดต้ังประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป 2563 (ตอมาการประชุมสุดยอดอาเซียน

คร้ังที่ 12 ผูนําอาเซียนตกลงที่จะเรงรัดกระบวนการสรางประชาคมอาเซียนใหสําเร็จภายในป 2558) ที่

ประกอบดวย 3 เสาหลัก

1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Political Security Community - APSC)

2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC)

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community - ASCC)

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Political Security Community - APSC)

จะชวยเสริมสรางความมั่นคงทางการเมือง ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาดานตาง ๆ รวมถึง

การพัฒนาทางเศรษฐกิจมีวัตถุประสงคหลัก

1. สรางแนวปฏิบัติรวมกันของอาเซียนในดานตางๆ ดวยการไมใชกําลังแกไขปญหาและการไม

ใชอาวุธนิวเคลียร

2. เสริมสรางขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามที่มีผลตอความมั่นคงของ

มนุษย เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติดและอาชญากรรมขามชาติ เปนตน

3. สรางความสัมพันธที่แนนแฟนกับประเทศตาง ๆ ในโลก โดยใหอาเซียนมีบทบาทนําใน

ภูมิภาค

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC)

อาเซียนใหความสําคัญในการเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจรวมกันอยางตอเน่ือง โดย

มุงใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจและการอํานวยความสะดวกในการติดตอคาขายระหวางกันเพื่อให

ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่งและสามารถแขงขันกับภูมิภาคอ่ืน ๆ ได เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนใน

ประเทศอาเซียน

Page 160: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

160

อาเซียนมีประชากรรวมกันกวา 600 ลานคน ซึ่งจะรวมตัวเปนฐานตลาดเดียวกันและจะมีการ

เคลื่อนยายสินคา การบริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานมีฝมืออยางเสรี ภายในป 2558 ปจจุบันอาเซียน

ไดยอมรับคุณวุฒิรวมกันใน 7 สาขาวิชาชีพเพื่อใหเกิดการเคลื่อนยายแรงงานโดยเสรี ไดแก วิศวกร

พยาบาล สถาปนิก นักสํารวจ แพทย ทันตแพทยและนักบัญชี

อาเซียนไดกําหนดยุทธศาสตรการกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ท่ีสําคัญดังน้ี

1. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

2. การเปนภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแขงขันสูง

3. การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน

4. การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก

1. 56การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน56

การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เปนยุทธศาสตรสําคัญของการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียน ซึ่งจะทําใหอาเซียนมีความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น โดยอาเซียนไดกําหนดกลไกและ

มาตรการใหม ๆ ที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินมาตรการดานเศรษฐกิจที่มีอยูแลว เรงรัดการ

รวมกลุมเศรษฐกิจในสาขาที่มีความสําคัญลําดับแรก อํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายบุคคล แรงงาน

ฝมือ และผูเชี่ยวชาญ และเสริมสรางความเขมแข็งของกลไกสถาบันในอาเซียนการเปนตลาดและฐานการ

ผลิตเดียวกันของอาเซียน มี 5 องคประกอบหลักคือ

(1) การเคลื่อนยายสินคาเสรี

(2) การเคลื่อนยายบริการเสรี

(3) การเคลื่อนยายการลงทุนเสรี

(4) การเคลื่อนยายเงินทุนเสรีขึ้น

(5) การเคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี

ทั้งน้ี อาเซียนไดกําหนด 12 สาขาอุตสาหกรรมสําคัญลําดับแรกอยูภายใตตลาดและฐานการผลิต

เดียวกันของอาเซียน ไดแก เกษตร ประมง ผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑไม สิ่งทอและเคร่ืองนุงหม

อิเล็กทรอนิกส ยานยนต การขนสงทางอากาศ สุขภาพ e-ASEAN ทองเที่ยว และโลจิสติกส รวมทั้งความ

รวมมือในสาขาอาหาร เกษตรและปาไม การเปนตลาดสินคาและบริการเดียวจะชวยสนับสนุนการพัฒนา

เครือขายการผลิตในภูมิภาค และเสริมสรางศักยภาพของอาเซียนในการเปนศูนยกลางการผลิตของโลก

และเปนสวนหน่ึงของหวงโซอุปทานโลก โดยประเทศสมาชิกไดรวมกันดําเนินมาตรการตาง ๆ ที่จะชวย

เพิ่มขีดความสามารถแขงขันของอาเซียนไดแกยกเลิกภาษีศุลกากรใหหมดไป ทยอยยกเลิกอุปสรรคทาง

การคาที่มิใชภาษี ปรับประสานพิธีการดานศุลกากรใหเปนมาตรฐานเดียวกันและงายขึ้น ซึ่งจะชวยลด

ตนทุนทางธุรกรรม เคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี นักลงทุนอาเซียนสามารถลงทุนไดอยางเสรีในสาขา

อุตสาหกรรมและบริการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเปดใหเปนตน

Page 161: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

161

562. การเปนภูมิภาคท่ีมีความสามารถในการแขงขัน56

เปาหมายสําคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน คือ การสรางภูมิภาคที่มีความสามารถ

ในการแขงขันสูงมีความเจริญรุงเรืองและมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภูมิภาคที่มีความสามารถในการ

แขงขันมี 6 องคประกอบหลัก ไดแก

(1) นโยบายการแขงขัน

(2) การคุมครองผูบริโภค

(3) สิทธิในทรัพยสินทางปญญา (IPR)

(4) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

(5) มาตรการดานภาษี

(6) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ประเทศสมาชิกอาเซียนมีขอผูกพันที่จะนํากฎหมายและนโยบายการแขงขันมาบังคับใชภายในประเทศ

เพื่อทําใหเกิดการแขงขันที่เทาเทียมกันและสรางวัฒนธรรมการแขงขันของภาคธุรกิจที่เปนธรรมนําไปสู

การเสริมสรางการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคในระยะยาว

563. การเปนภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีเทาเทียมกัน56

การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน มี 2 องคประกอบ คือ (1) การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง

และขนาดยอม (SME) (2) ความริเร่ิมในการรวมกลุมของอาเซียน (Initiatives for ASEAN Integration:

IAI) ความริเร่ิมดังกลาวมีจุดมุงหมายเพื่อลดชองวางการพัฒนา ทั้งในระดับ SME และเสริมสรางการ

รวมกลุมของกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม ใหสามารถดําเนินการตามพันธกรณีและเสริมสราง

ความสามารถในการแขงขันของอาเซียน รวมทั้งเพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศไดรับ

ประโยชนจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

564. การเปนภูมิภาคท่ีมีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก56

อาเซียนอยูในทามกลางสภาพแวดลอมที่มีการเชื่อมตอระหวางกันและมีเครือขายกับโลกสูง

โดยมีตลาดที่พึ่งพากันและอุตสาหกรรมระดับโลก ดังน้ัน เพื่อใหภาคธุรกิจของอาเซียนสามารถแขงขันได

ในตลาดระหวางประเทศ ทําใหอาเซียนมีพลวัตรเพิ่มขึ้นและเปนผูผลิตของโลก รวมทั้งทําใหตลาดภายใน

ยังคงรักษาความนาดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศอาเซียนจึงตองมองออกไปนอกภูมิภาคอาเซียน

บูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก โดยดําเนิน 2 มาตรการคือ (1) การจัดทําเขตการคาเสรี (FTA) และความ

เปนหุนสวนทางเศรษฐกิจอยางใกลชิด (CEP)กับประเทศนอกอาเซียน (2) การมีสวนรวมในเครือขาย

หวงโซอุปทางโลก

Page 162: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

162

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community - ASCC)

อาเซียนต้ังเปาหมายการเปนประชาคมที่มีประชาชนเปนศูนยกลางในสังคมที่เอ้ืออาทรและ

แบงปน มีสภาพความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งสงเสริมใหเกิดความรูสึกในความเปนหน่ึง

เดียวกันของอาเซียนโดยมีความรวมมือเฉพาะดาน (Functional cooperation) ภายใตประชาคมสังคมและ

วัฒนธรรมอาเซียนที่ครอบคลุมในหลายดาน เชน การศึกษา การพัฒนาเยาวชน สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม

และการสาธารณสุข เปนตน

การจัดต้ังประชาคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทําใหเกิดความรวมมือในดานตาง ๆ เชน

1. การพัฒนาสังคม โดยยกระดับความเปนอยูใหดีขึ้น

2. การพัฒนาการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

3. การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุข เชน การปองกันและการควบคุมโรคติดตอ

4. การจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอมและการสงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน

5. การสงเสริมความรูสึกรวมในการเปนคนอาเซียน และอยูในครอบครัวอาเซียนรวมกัน เชน

การจัดกิจกรรมคายเยาวชนอาเซียน การจัดกิจกรรมที่จะชวยใหพลเมืองอาเซียนเรียนรูประวัติศาสตร

และวัฒนธรรมของกันและกันได

โครงการความรวมมือของประชาคมอาเซียน อาทิ

1. ความรวมมือดานอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือAICO)โครงการ

ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน หรือ AICO มุงสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมที่ใช

เทคโนโลยีเปนฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใชทรัพยากรรวมกัน การแบงสวนการผลิตตาม

ความสามารถและความถนัด ตลอดจนสงเสริมการลงทุนและการถายทอดเทคโนโลยีจากทั้งประเทศ

สมาชิกและประเทศนอกกลุมโดยใชมาตรการทางภาษี และสิทธิพิเศษอ่ืนๆ ที่มิใชภาษีเปนสิ่งจูงใจ โดยมี

เงื่อนไขดังน้ี

1.1 จะตองมีประเทศสมาชิกเขารวมอยางนอย 2 ประเทศ

1.2 มีบริษัทเขารวมอยางนอย 1 บริษัทในแตละประเทศ

1.3 สินคาที่ผลิตไดขั้นสุดทาย (AICO Final Product) จะไดรับการยอมรับเสมือนสินคาที่

ผลิตไดในประเทศและจะไมถูกจํากัดดวยระบบโควตาหรือมาตรการกีดกันทางการคาที่มิใชภาษี

1.4 บริษัทที่จะขอรับสิทธิประโยชนจาก AICO จะตองมีสัดสวนการถือหุนของคนชาติ

อาเซียนอยางนอยรอยละ 30

1.5 ไดรับการลดภาษีนําเขาในอัตรารอยละ 0 - 5

Page 163: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

163

2. กรอบความตกลงดานการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement on Servicesหรือ AFAS)

ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 5 เดือนธันวาคม 2538 ที่กรุงเทพฯ รัฐมนตรีเศรษฐกิจของประเทศ

สมาชิกอาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน หรือ AFAS) ซึ่งกําหนด

ใหเจรจาเปดเสรีการคาบริการ โดยจัดทําขอผูกพันในดานการเปดตลาด (Market access) การใหการปฏิบัติ

เยี่ยงคนชาติ (National Treatment) และดานอ่ืน ๆ (additional commitments) การเจรจาเสรีการคาบริการ

ในชวงป 2539 - 2544 มุงเนนการเปดเสรีใน 7 สาขาบริการคือ สาขาการเงิน การขนสงทางทะเล การขนสง

ทางอากาศ การสื่อสารโทรคมนาคม การทองเที่ยว การกอสราง และสาขาบริการธุรกิจ ตอมาในชวงป

2545-2549 ไดมีการขยายขอบเขตการเจรจาเปดเสรี รวมทุกสาขา นอกจากน้ี สมาชิกอาเซียนยังตองเรงรัด

เปดตลาดในสาขาบริการที่เปนสาขาสําคัญ 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาสุขภาพ สาขาการทองเที่ยว สาขาการบิน และสาขาบริการโลจิสติกส ทั้งน้ีเพื่อใหอาเซียนมีความ

พรอมในการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ตอไป

3. ความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส (e-ASEAN Framework Agreement)

ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอยางไมเปนทางการ คร้ังที่ 4 ระหวางวันที่ 24 - 25พฤศจิกายน 2543 ที่

ประเทศสิงคโปร ผูนําของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ รวมกันลงนามในกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกส

ของอาเซียน (e-ASEAN Framework Agreement) ซึ่งเปนขอตกลงที่กําหนดแนวทางเสริมสรางความ

รวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร (Information

Technology and Communication-ICT) เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร ในภูมิภาคให

สอดคลองกันและเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีมาตรการที่ครอบคลุมดานตาง ๆ 5 ดาน คือ

3.1 การพัฒนาเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของอาเซียน

(ASEAN Information Infrastructure) ใหสามารถติดตอถึงกันไดอยางทั่วถึงกันและดวยความเร็วสูง

และพัฒนาความรวมมือไปสูการจัดต้ังหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (Digital Libraries) และแหลงรวมขอมูล

ทองเที่ยวอิเล็กทรอนิกส (Tourism Portals) รวมทั้งการจัดต้ังศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล (Internet

Exchanges) และการใหบริการเชื่อมสัญญาณเครือขายขอมูลอินเตอรเน็ต (Internet Gateways)

3.2 การอํานวยความสะดวกดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โดยการออกกฎหมาย

และระเบียบดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับมาตรฐานระหวางประเทศ และมีระบบ

รักษาความปลอดภัยที่เปนมาตรฐานสากล เพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูบริโภคและพัฒนาวัฒนธรรมใน

การทําธุรกิจโดยใชอิเล็กทรอนิกส เชน การยอมรับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสซึ่งกันและกัน การชําระเงิน

โดยระบบอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งการคุมครองทรัพยสินทางปญญาและขอมูลสวนบุคคล เปนตน

3.3 สงเสริม และเปดเสรีดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร (ICT) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะยกเลิกภาษีและอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี

สําหรับสินคา ICT เชน เคร่ืองประมวลผลอัตโนมัติ เคร่ืองโทรสาร เคร่ืองบันทึกเสียงสําหรับโทรศัพท

Page 164: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

164

ไดโอดและทรานซิสเตอร แผงวงจรไฟฟา ฯลฯ ภายในป 2548 สําหรับประเทศสมาชิกอาเซียนด้ังเดิม

6 ประเทศ และภายในป 2553 สําหรับประเทศสมาชิกใหม คือ กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม

3.4 สรางสังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society) เสริมสรางความสามารถและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส

เพื่อประโยชนตอสังคม สงเสริมการพัฒนาความรูความสามารถดาน IT ของบุคลากรในอาเซียน

ลดความเหลื่อมล้ําดาน IT ภายในประเทศและระหวางประเทศสมาชิก อํานวยความสะดวกในการ

เคลื่อนยายแรงงานดาน IT อยางเสรี และสงเสริมการใช IT

3.5 สรางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) สงเสริมใหมีการใช ICT ในการบริการ

ของภาครัฐใหมากขึ้น เชน การจัดซื้อจัดจางโดยรัฐ การอํานวยความสะดวกในเร่ืองขอมูลขาวสาร

การใหบริการของภาครัฐผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน การเสียภาษี การจดทะเบียนการคา พิธีการศุลกากร

เปนตน

4. ความรวมมือดานการเงินการคลัง (Financial Cooperation)

4.1 อาเซียนไดจัดต้ังระบบระวังภัยอาเซียน (ASEAN Surveillance Process) ขึ้น เมื่อวันที่ 4

ตุลาคม 2541 เพื่อสอดสองดูแลสภาวะเศรษฐกิจและการเคลื่อนยายเงินทุนในภูมิภาค โดยใหมีการหารือ

และแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจในประเทศสมาชิกในภูมิภาค และในโลกโดยธนาคาร

พัฒนาเอเชีย (ADB) ไดสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางวิชาการและเงินทุนโดยการจัดการฝกอบรม

ดานเทคนิคแกเจาหนาที่ประเทศสมาชิก และในการจัดต้ัง ASEAN Surveillance Technical Support Unit

ในสํานักงานเลขาธิการอาเซียนเพื่อสนับสนุนระบบดังกลาว

4.2 การเสริมสรางกลไกสนับสนุนและเกื้อกูลระหวางกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

(Enhancing self - help and support mechanism in East Asia) โดยไดกําหนดแนวทางความรวมมือ

กับ จีน ญ่ีปุน และเกาหลีใต ที่สําคัญ ไดแก จัดทําความตกลงทวิภาคีดานการแลกเปลี่ยนการซื้อ - ขาย

คืนเงินตราหรือหลักทรัพยตางประเทศ หารือเกี่ยวกับการจัดต้ังระบบเตือนภัยในภูมิภาค และการ

แลกเปลี่ยนการหารือเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาค

4.3 ความริเร่ิมเชียงใหม (Chiang Mai Initiative) ซึ่งไดจัดต้ังขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2543

เปนการปรับปรุงความตกลงแลกเปลี่ยนเงินตราอาเซียน (ASEAN Swap Arrangement - ASA) ในดาน

โครงสราง รูปแบบและวงเงิน และใหเสริมดวยเครือขายความตกลงทวิภาคีระหวางประเทศอาเซียน

กับจีน ญ่ีปุนและสาธารณรัฐเกาหลี (Bilateral Swap Arrangement-BSA) โดยไดขยายให ASA รวม

ประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศแลว

5. ความรวมมือดานการเกษตรและปาไมของอาเซียน และอาเซียน + 3

ครอบคลุมความรวมมือในดานประมง ปาไม ปศุสัตว พืช และอาหาร เพื่อสงเสริมความ

มั่นคงทางดานอาหารและความสามารถในการแขงขันของอาเซียนในดานอาหารการเกษตรและผลผลิต

ปาไม โครงการความรวมมือระหวางอาเซียนและประเทศอาเซียน + 3 (จีน ญ่ีปุน และเกาหลีใต) ภายใต

สาขาตาง ๆ ดังน้ี

Page 165: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

165

5.1 การขจัดความยากจนและสรางความมั่นคงดานอาหารในภูมิภาคเอเชีย

5.2 การวิจัยและพัฒนาดานอาหาร การเกษตร ประมง และปาไม

5.3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยดานอาหาร การเกษตร ประมง และปาไม

5.4 การประสานงานและรวมมือในระดับโลกและระดับภูมิภาคในประเด็นดานอาหาร

การเกษตร ประมง และปาไม

5.5 การสรางเครือขายขอมูลดานการเกษตร

5.6 การอํานวยความสะดวกดานการคา

ผลท่ีเกิดข้ึนจากการเปนประชาคมอาเซียนท่ีมีตอประเทศไทย

ต้ังแตประเทศไทยเขาเปนสมาชิกสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ต้ังแตวันที่ 8

สิงหาคม 2510 เปนตนมา ไทยไดรับประโยชนทั้งทางตรงและทางออมในหลาย ๆ ดาน ซึ่งเปนผลมาจาก

การรวมกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อเพิ่มอํานาจตอรองและเพิ่มขีดความสามารถ

ในการแขงขันในเวทีระหวางประเทศ และชวยใหเสียงของอาเซียนมีนํ้าหนัก เพราะการที่สมาชิกทั้ง 10

ประเทศมีทาทีเปนหน่ึงเดียวในเวทีระหวางประเทศ จะทําใหประเทศและกลุมความรวมมืออ่ืน ๆ ใหความ

เชื่อถือในอาเซียนมากขึ้น ทายที่สุดแลวประโยชนก็จะตกอยูที่ประชาชนในประเทศน้ัน ๆ เชน

1. การเพิ่มการจางงานและแกไขปญหาความยากจนในภูมิภาค

แมวาการกระตุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ การเพิ่มการจางงานและการลดปญหาความยากจน เปน

ความรับผิดชอบของรัฐบาลแตละประเทศเปนหลัก แตความรวมมือหลายดานของอาเซียนก็เปนปจจัย

สําคัญที่ชวยแกไขปญหาดังกลาวเชนกัน ไมวาจะเปนการเสริมสรางเสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาค

ซึ่งสงผลกระทบตอการลงทุนและการพัฒนาเศรษฐกิจรวมถึงความเปนอยูของประชาชนในภาพรวม

นอกจากน้ี อาเซียนยังไดวางรากฐานสําหรับการรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเพื่อสรางตลาดขนาดใหญ

ที่จะทําใหอาเซียนมีความนาสนใจและดึงดูดการลงทุนไดเพิ่มขึ้น

2. การสงเสริมการทองเท่ียวในภูมิภาค

อาเซียนจัดการประชุมดานการทองเที่ยว (ASEAN Tourism Forum - ATF ) เปนประจําทุกปใน

เดือนมกราคม โดยหมุนเวียนกันจัดในประเทศสมาชิก ซึ่งเปนหน่ึงในการประชุมดานการทองเที่ยวที่

ยิ่งใหญและประสบความสําเร็จมากที่สุดในโลกในระหวางการประชุม หนวยงานที่รับผิดชอบดานการ

ทองเที่ยวของอาเซียน อาทิ โรงแรม รีสอรท สายการบินและผูประกอบการดานการทองเที่ยว จะมีโอกาส

ทําความรูจักและเจรจาทางธุรกิจกับบริษัทนําเที่ยว ผูประกอบธุรกิจดานทองเที่ยวอ่ืน ๆ รวมถึงนักเขียน

ดานการทองเที่ยวอีกดวยประเทศสมาชิกอาเซียนรวมมือกันเพื่อการสงเสริมการทองเที่ยว และยังมี

โครงการจัดทํารายการโทรทัศนที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวในอาเซียนเพื่อเผยแพร ในป 2545 อาเซียนได

จัดทําความตกลงดานการทองเที่ยว เพื่อใหประเทศสมาชิกอาเซียนเปดเสรีดานอุตสาหกรรมการทองเที่ยว

Page 166: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

166

และสงเสริมการทองเที่ยวรวมกันในภูมิภาค รวมถึงรวมมือกันในการเสริมสรางความปลอดภัยใหกับ

นักทองเที่ยวอาเซียนนอกจากน้ี อาเซียนยังไดริเร่ิมความรวมมือในการจัดทําความตกลงการตรวจลงตรา

เพียงคร้ังเดียว (Single Visa) แตใชเดินทางเขาไดหลายประเทศในลักษณะเดียวกับ Schengen Visa ของ

ยุโรป ซึ่งนํารองโดยไทยและกัมพูชา

3. การสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอมในภูมิภาค

อาเซียนมีความรวมมือเร่ืองสิ่งแวดลอมระหวางกันหลายดาน ตัวอยางหน่ึงของความรวมมือที่เห็น

ไดชัดเจนคือ การแกปญหาหมอกควันซึ่งมีสาเหตุจากไฟปาและไฟบนดินผานกรอบความรวมมือเพื่อ

ปองกันและบรรเทาผลกระทบของปญหาหมอกควันขามแดน โดยมีการจัดต้ังศูนยอุตุนิยมวิทยาเฉพาะทาง

อาเซียนที่สิงคโปร เพื่อกําหนดตัวชี้วัดคุณภาพอากาศและระบบการวัดปญหาอันตรายของไฟนอกจากน้ี

เพื่อตอบสนองตอปญหาไฟปา ในป 2540 - 2541 อาเซียนจึงรับรองแผนปฏิบัติการแกปญหามลพิษใน

ภูมิภาคซึ่งเปนการรวมมาตรการตาง ๆ ในการปองกันไฟปา ไฟบนดินและการบรรเทาผลกระทบ

การศึกษาและการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นโดยในป 2545 มีการจัดทําความตกลงอาเซียนวาดวย

มลพิษหมอกควันขามแดน ซึง่มีผลบังคับใชเมื่อป 2546 ไมเพียงเทาน้ัน อาเซียนยังมีความรวมมือเพื่อ

อนุรักษมรดกทางธรรมชาติของอาเซียนโดยกําหนดพื้นที่ 27 แหงใหเปนพื้นที่คุมครองในฐานะมรดกทาง

ธรรมชาติของอาเซียน มีโครงการบริหารการจัดการทรัพยากรนํ้า จัดต้ังศูนยความหลากหลายทางชีวภาพ

อาเซียน และโครงการฟนฟูปาเสื่อมโทรมและระบบนิเวศ รวมทั้งเห็นชอบรวมกันเร่ืองการกําหนดเกณฑ

คุณภาพนํ้าทะเล ตลอดจนรับรองแผนปฏิบัติงานเร่ืองสิ่งแวดลอมศึกษาและการสรางความตระหนักรู

ใหกับสาธารณชนในเร่ืองสิ่งแวดลอม ทั้งน้ีไทยยังไดประโยชนจากการกระชับความรวมมือระหวาง

หนวยงานที่เกี่ยวของในอาเซียนเพื่อสงเสริมความรวมมือดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและการพัฒนาที่

ยั่งยืน หมอกควันขามแดนและการจัดการทรัพยากรนํ้า

4. การปองกันการแพรระบาดของโรคติดตอในภูมิภาค

การรับมือวิกฤตการณโรคซารสในป 2546 ที่ทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมากในอาเซียน ทั้งยังสงผล

กระทบอยางรายแรงตอระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศ คือตัวอยางที่ชัดเจนของความรวมมือในอาเซียน

เพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคติดตอในภูมิภาค โดยรวมมือกับประเทศอ่ืนๆ และองคการอนามัยโลก

ไทยไดเปนเจาภาพจัดประชุมผูนําอาเซียนสมัยพิเศษรวมกับผูนําจีนที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2546

เพื่อหารือเกี่ยวกับความรวมมือกันเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคซารส ซึ่งนําไปสูความรวมมือใน

การตรวจสอบและปองกันการแพรระบาดของโรค เจตนารมณอันแนวแนของแตละประเทศที่เห็น

ความสําคัญของการรวมมือกันชวยใหการแกไขปญหาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพตอมาเมื่อมีการแพร

ระบาดของไขหวัดนก อาเซียนก็ไดรวมมือกับประเทศหุนสวนเพื่อการพัฒนาดําเนินมาตรการเพื่อปองกัน

การแพรระบาด มีการจัดต้ังคลังวัคซีนทั้งในประเทศและประเทศสมาชิกอ่ืน ๆ เชน สิงคโปรและได

รวมกันเตรียมอุปกรณปองกันสําหรับเจาหนาที่สาธารณสุขอาเซียนยังใหการรับรองแผนปฏิบัติการ

ความรวมมือดานโรคเอดสและมีเว็บไซตเพื่อติดตามสถานการณความเคลื่อนไหวของโรคติดตอดวย

Page 167: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

167

5. การแกปญหาการกอการรายสากล อาชญากรรมขามชาติ และการแกปญหายาเสพติด

อาเซียนประณามการกอการรายทุกรูปแบบและมีความรวมมือกันอยางใกลชิดทั้งในอาเซียนและ

ประเทศอ่ืน ๆ เพื่อตอสูกับปญหาการกอการรายขามชาติ และตอตานการระดมเงินทุนของกลุมเหลาน้ี ใน

การประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม 2550 ผูนําอาเซียนไดลงนามในอนุสัญญาตอตาน

การกอการราย ซึ่งวางมาตรการความรวมมือระหวางกันในการตอตานการกอการรายและยังไดจัดทํา

สนธิสัญญาพหุภาคี วาดวยความชวยเหลือทางอาญาซึ่งกันและกัน เพื่ออํานวยความสะดวกสําหรับความ

รวมมือในการตอตานการกอการรายและอาชญากรขามชาติ ซึ่งกําหนดรายละเอียดของโครงการตาง ๆ ที่

ประเทศสมาชิกตองดําเนินเพื่อปองกันปญหาเหลาน้ีอีกดวยสําหรับความรวมมือดานยาเสพติด อาเซียนมี

การจัดประชุมเจาหนาที่อาวุโสอาเซียนดานยาเสพติด ต้ังแตป 2527 ซึ่งถือเปนกลไกหลกัในการแกไข

ปญหายาเสพติดรวมกัน มีการจัดต้ังศูนยฝกอบรมและสงเสริมความตระหนักรูในเร่ืองการบังคับใช

กฎหมาย การใหความรูเพื่อปองกันปญหายาเสพติด รวมถึงการรักษาและการฟนฟู ทั้งยังมีความรวมมือกับ

สํานักงานวาดวยยาเสพติดและอาชญากรรมแหงสหประชาชาติอีกดวย

6. การจัดการกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ

การจัดประชุมรัฐมนตรีอาเซียนสมัยพิเศษ เพื่อการใหความชวยเหลือบรรเทาทุกขผูประสบภัย

ในพมาอันเกิดจากการพายุไซโคลนนารกีสเปนตัวอยางที่ชัดเจนของความรวมมือในอาเซียนกรณีที่เกิดภัย

พิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งนําไปสูการสงมอบความชวยเหลือใหกับพมาโดยมีอาเซียนเปนแกนนําการจัดสง

ทีมแพทยจากอาเซียนไปชวยผูประสบภัย และการจัดประชุมประเทศผูบริจาคซึ่งอาเซียนมีบทบาทนํา

รวมกับสหประชาชาติที่กรุงยางกุงของพมา ซึ่งสามารถระดมความชวยเหลือใหกับพมาเพื่อการฟนฟู

ประเทศตอไป ทั้งน้ีอาเซียนยังมีกลไกเพื่อรับมือกับภัยพิบัติผานคณะกรรมการอาเซียนดานการจัดการภัย

พิบัติ ซึ่งจัดทําแผนปฏิบัติการฝกอบรม การสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐและ

เอกชน ตลอดจนสรางความตระหนักรูในสาธารณชนสมาชิกอาเซียนยังลงนามความตกลงวาดวยการ

จัดการภัยพิบัติและการตอบโตสถานการณฉุกเฉิน เมื่อเดือนกรกฎาคม 2548 เพื่อสงเสริมความรวมมือให

เขมแข็งยิ่งขึ้น นอกจากน้ียังไดจัดต้ังศูนยประสานงานอาเซียนเพื่อใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม

(AHA Center) ขึ้นที่กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเปนศูนยประสานงานระหวางประเทศสมาชิก

กับองคกรระหวางประเทศที่เปนพันธมิตรของอาเซียนในกรณีที่เกิดภัยพิบัติ

7. การสงเสริมและปกปองสิทธิสตรี

แมวาโดยทั่วไปสถานะของสตรีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความเทาเทียมกับบุรุษแต

อาเซียนก็ไมตางจากภูมิภาคอ่ืนๆ ที่มีสตรีจํานวนมากตองตกเปนเหยื่อของความรุนแรง การทํารายรางกาย

และขบวนการคาประเวณีในป 2547 รัฐมนตรีตางประเทศอาเซียนไดลงนามแถลงการณอาเซียนวาดวย

การจัดการใชความรุนแรงตอสตรีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ASEAN Declaration on the

Elimination of Violence Against Women in the ASEAN Region) ซึ่งแสดงทาทีที่ชัดเจนวารัฐบาลของ

ประเทศสมาชิกตอตานการใชความรุนแรงตอสตรี

Page 168: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

168

8. การสงเสริมใหเยาวชนในภูมิภาคมีความใกลชิดกันมากข้ึน

อาเซียนเห็นวาเยาวชนคืออนาคตของอาเซียน และเปนกําลังสําคัญของการสรางประชาคม

อาเซียน จึงพยายามสงเสริมใหเยาวชนมีความใกลชิดและรูจักกันมากขึ้น ผานความรวมมือในหลายสาขา

มีการจัดคายเยาวชนอาเซียนและกิจกรรมสันทนาการอาเซียนอยางตอเน่ือง ขณะที่บางประเทศสมาชิกก็ให

ทุนการศึกษากับนักเรียนจากประเทศอาเซียนอ่ืน ๆ เชน สงิคโปรจัดต้ังกองทุนเยาวชนอาเซียนเพื่อใหการ

สนับสนุนการทํากิจกรรมรวมกันสําหรับเยาวชนอาเซียนนอกจากน้ี ต้ังแตป 2517 รัฐบาลญ่ีปุนไดใหการ

สนับสนุนโครงการเรือเยาวชนโดยเชิญเยาวชน กวา 300 คน จากประเทศสมาชิกอาเซียนและญ่ีปุนใหเขา

ไปมีสวนรวมในกิจกรรมดังกลาวเปนประจําทุกป เรือเยาวชนจะแวะเทียบที่ทาเรือของประเทศในภูมิภาค

ซึ่งมีสวนสําคัญในการสงเสริมมิตรภาพในหมูเยาวชนของเอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใตและญ่ีปุน

9. สินคาหน่ึงตําบล หน่ึงผลิตภัณฑ (OTOP) เปนสินคาเชิงวัฒนธรรม ก็ไมอาจหลีกเลี่ยงผลกระทบที่สืบเน่ืองจากการเปดเสรีดังกลาวได

เน่ืองจากสถานการณแขงขันทางธุรกิจที่รุนแรงในปจจุบัน ประเทศตาง ๆ ลวนหันมาใหความสําคัญกับ

การเพิ่มศักยภาพของชุมชน และใชจุดแข็งของชุมชนทางดานวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปญญา เพื่อ

เชื่อมโยงสูภาคการผลิตและบริการ ในการสรางสัญลักษณและขยายโอกาสทางการตลาดมากยิ่งขึ้น ดังน้ัน

ผูผลิตสินคาหน่ึงตําบล หน่ึงผลิตภัณฑ (OTOP) โดยเฉพาะกลุมสินคาที่ใชในชีวิตประจําวัน อาจจะไดรับ

ผลกระทบจากคูแขงและสภาพการแขงขันในตลาดเพิ่มสูงขึ้น อันเน่ืองมาจากสินคาที่มีคุณภาพตํ่า ราคา

ตนทุนตํ่า หรือสินคาที่สามารถใชทดแทนกันได เขามาวางจําหนายในประเทศไดมากขึ้น ทําใหผูบริโภค

สามารถเลือกบริโภคสินคาที่หลากหลายและมีอํานาจในการตอรองสูง ซึ่งนําไปสูการกดดันทางราคา จึง

ทําใหผูประกอบการตองปรับตัวรับการแขงขันที่เขมขนขึ้นและเกิดตนทุนในการปรับตัว อยางไรก็ตามปจจุบันผูบริโภคในประเทศตางๆกําลังอยูในกระแสบริโภคนิยมสินคาที่เปน

ธรรมชาติ สินคาที่อิงกับวัฒนธรรม สินคาที่สงเสริมสุขภาพ การมีสวนอนุรักษสิ่งแวดลอม หรือสินคาที่

ชวยสนับสนุนชุมชน รวมถึงกระแสความนิยมในความเปนเอเชีย ดังน้ัน สินคา OTOP สามารถไดรับ

ประโยชนจากการมีโอกาสสงสินคาไปขายในตลาดอาเซียนไดมากขึ้นจากการที่มีประชากรรวมกวา

600 ลานคน รวมถึงมีโอกาสในการขยายชองทางตลาดไปยัง ASEAN+3 (จีน ญ่ีปุน เกาหลีใต)

อาเซียน+3 กรอบความรวมมืออาเซียน+3 (ASEAN+3) เปนกรอบความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก

อาเซียนกับประเทศนอกกลุม 3 ประเทศ คือ จีน เกาหลีใต และญ่ีปุน เพื่อสงเสริมความรวมมือในระดับ

อนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนําไปสูการจัดต้ังชุมชนเอเชียตะวันออก (East Asian Community)

โดยใหอาเซียนและกระบวนการตาง ๆ ภายใตกรอบความรวมมืออาเซียน+3 เปนกลไกสําคัญในการ

ผลักดันใหบรรลุเปาหมาย เน่ืองในโอกาสครบรอบ 10 ปของการจัดต้ังกรอบความรวมมืออาเซียนบวก

Page 169: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

169

สามเมื่อป 2007 (พ.ศ.2550) ผูนําของประเทศสมาชิกไดลงนามในแถลงการณรวมวาดวยความรวมมือ

เอเชียตะวันออกฉบับที่ 2 (Second Joint Statement on East Asia Cooperation: Building on the

Foundations of ASEAN Plus Three Cooperation) พรอมกับเห็นชอบใหมีการจัดทําแผนดําเนินงานเพื่อ

สงเสริมความรวมมือระหวางกัน (ASEAN+3 Cooperation Work Plan (2007 - 2017)) เพื่อสงเสริมความ

รวมมือในระยะยาว และผลักดันใหเกิดชุมชนอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป 2015 (พ.ศ.2558)

โดยมุงเนนการสงเสริมความรวมมือใน 5 ดาน ไดแก ดานการเมืองและความมั่นคง ดานความรวมมือทาง

เศรษฐกิจและการเงิน ดานพลังงาน สิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศโลก และการพัฒนา

อยางยั่งยืน ดานสังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา และดานการสงเสริมกรอบการดําเนินงานในดานตาง ๆ

และกลไกตาง ๆ ในการติดตามผล โดยแผนความรวมมือดังกลาวทั้ง 5 ดานน้ี ถือเปนการประสานความ

รวมมือและกระชับความสัมพันธระหวางกลุมประเทศอาเซียนกับประเทศในเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ้น

ประชากรอาเซียน+3 รวมทั้งสิ้นกวา 2,000 ลานคน หรือหน่ึงในสามของประชากรโลก แตเมื่อ

ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) เขาดวยกัน จะทําใหมีมูลคาถึง 9 ลานลานเหรียญสหรัฐ หรือ

ประมาณรอยละ 16 ของจีดีพีโลก ขณะที่ยอดเงินสํารองตางประเทศรวมกันจะสูงถึง 3.6 ลานลานเหรียญ

สหรัฐซึ่งมากกวากึ่งหน่ึงของเงินสํารองตางประเทศของโลก โดยตัวเลขทางเศรษฐกิจเหลาน้ี แสดงใหเห็น

อยางชัดเจนวาอาเซียน+3 จะมีบทบาทเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญที่จะพัฒนาเศรษฐกิจใหมีความกาวหนา

ตอไปในอนาคต

Page 170: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

170

ภาคผนวก

Page 171: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

171

เฉลยกิจกรรมทายบท บทท่ี 2 การบริหารจัดการชุมชน เร่ืองท่ี 2 การสรางความเขมแข็งในชุมชน 1. ค 2. ค 3. ก 4. ค 5. ง 6. ง 7. ค 8. ข 9. ค 10. ค

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน บทท่ี 3 ประชาคมโลก

1. ง 2. ก 3. ค 4. ข 5. ข 6. ก 7. ง 8. ค 9. ก 10. ง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน บทท่ี 3 ประชาคมโลก

1. ก 2. ข 3. ง 4. ข 5. ง 6. ข 7. ง 8. ก 9. ข 10. ก

Page 172: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

172

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารสาระสําคัญหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาด พราว, 2545.

กรมอนามัย. กระทรวงสาธารณสุข. คูมือสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ

องคการสงเคราะหทหารผานศึก, 2535.

ณัฐยา วิสุทธิสิน. สุขภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจูจีนไทย, 2533.

ทิศนา แขมมณี. กลุมสัมพันธเพื่อการทํางานและการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : นิซินแอดเวอร

ไทซิ่ง กรูฟ, 2545.

พัชรี สุวรรณศรี และ สุภัทณี เปยมสุวรรณกิจ. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาประชาคมโลก

(Global Community) คณะสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏเชียงราย. 2550.

มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม รวมกับ NECTEC http://edltv.thai.netโครงการจัดทําเน้ือหา

ระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาส

มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ (โครงการ eDLTV) โดย

วัลลภา รุงศิริแสงรัตน. (2545). บรรพบุรุษไทย: สมัยกอนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย. โรงพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิจิตร บุณยะโหตระ. สัมผัสท่ี 6 เพื่อชีวิตและสุขภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสยามบรรณการพิมพ, 2532.

ศรีนครินทรวิโรฒ, มหาวิทยาลัย. การเสริมสรางคุณภาพชีวิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรไทย.2534.

ศูนยวิทยาศาสตรการกีฬา. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ : ศูนยวิทยาศาสตรการกีฬา,2530.

24สมมต สมบูรณ, นึก ทองมีเพชร. ภูมิศาสตร มัธยมศึกษาปท่ี 5 -- กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช,

2547. หนา 3.

สมศักด์ิ ภูวิภาดาวรรธน. การยึดผูเรียนเปนศูนยกลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม :

โรงพิมพแสงศิลป, 2544.

สวาง กันศรีเวียง. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาประชาคมโลก (Global Community) คณะ

สังคมศาสตร สถาบันราชภัฏเชียงราย. 2550.

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. แนวทางการพัฒนากระบวนการเรียนรูตามพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2543.

http://ประชาคมอาเซียน51.net

http://arit.rmutl.ac.th/2552/สาํนักวิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลลานนา เชียงใหม

Page 173: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

173

http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/Org-Inter/EU.htm

http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpeing/porpeing.html#porpeing651 คนเมื่อวันที่ 23

กรกฎาคม 2555

http://hq.prd.go.th/PRTechnicalDM/ewt_news.php?nid=116 (สํานักงาน51 พัฒนาประชาสัมพันธ

กรมประชาสัมพันธ

http://www.moe.go.th

http://www.nhrc.or.th/2012/wb/th/

http://panyasa.blogspot.com/2010/07/blog-post.html คนวันที่ 23 กรกฎาคม 2555)

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/phaithoon_s/poopeag/sec01p01.html

คนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2555

http://www.thailandlawyercenter.com

w.w.w. UNCTAD.org

Page 174: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

174

คณะผูจัดทํา

คณะท่ีปรึกษา

1. ศาสตราจารย ดร.บุญทนั ดอกไธสง ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

2. นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน.

3. นายชัยยศ อ่ิมสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.

4. นางวัทน ี จันทรโอกุล ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพัฒนาส่ือการเรียนการสอน

5. นางชุลีพร ผาตินินนาท ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา

6. นางศุทธิน ี งามเขตต ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

คณะผูเขียน/เรียบเรียง/บรรณาธกิาร

ครั้งท่ี 1

1. ศาสตราจารยอิมรอน มะลูลีม ขาราชการบํานาญ

2. นางวัทน ี จันทรโอกุล ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพัฒนาส่ือการเรียนการสอน

3. นางชุลีพร ผาตินินนาท ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา

4. นางสาวโสมอุษา เล้ียงถนอม ผูอํานวยการกลุมงานคลัง

5. นายสมชัย ไทยสงวนวรกุล ขาราชการบํานาญ

6. นางอัญชลี ธรรมะวิธีกุล หัวหนาหนวยศึกษานเิทศก

7. นายประยุทธ หลักคํา ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ

8. นายอรัญ คงนวลใยผูอํานวยการสถาบัน กศน.ภาคใต

9. นายสมทบ กรดเต็ม ผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง

10. นางสาวธัญญลักษณ ศรีจนัทรวิโรฒ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ครั้งท่ี 2

1. นางนลิน ี ศรีสารคาม จันทรตรี ผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดมุกดาหาร

2. นายเจริญศักดิ ์ ดีแสน ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเทิง จงัหวัดเชียงราย

3. นายสันติ อิศรพันธุ ครู กศน.อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

4. นางอัจฉรา ใจชาญสุขกิจ กศน.อําเภอเมือง จงัหวัดสมุทรสงคราม

5. นายอนันต เฟองทอง สํานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา

ครั้งท่ี 3

1. นายสมภพ สิริวรรณ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

2. นางสาวอําภรณ ชางเกวียน ผูอํานวยการ กศน.อําเภองาว จังหวัดลําปาง

3. นางสุปราณี จูฑามาตย กศน.อําเภอเมือง จงัหวัดกระบี ่

4. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

Page 175: แบบทดสอบก อนเรียนkorat.nfe.go.th/koratweb/UserFiles/Pdf/685.pdf · 2014-06-02 · การบริหารราชการส วนท องถิ่น

175

คณะจัดทํารูปเลม/ออกแบบปก

1. นายสุรพงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

2. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

3. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

4. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

5. นางจุฑากมล อินทระสันต กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

6. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

7. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

8. นางสาวอลิศรา บานชี กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน