การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

52
ผลงานชิ้นที่ ๗ การอนุรักษ์ และฟื้นฟูวัดคูเต่า อาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถาบันอาศรมศิลป์ รางวัลอาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ปี ๒๕๕๔ สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ รางวัลพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รางวัลเเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรม ทางภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก ปี ๒๕๕๔ องค์การการศึกษา วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) รางวัลชนะเลิศวัดพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๒

description

รางวัลอาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ปี ๒๕๕๔ สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ รางวัลเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก ปี ๒๕๕๔ องค์การการศึกษา วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) รางวัลชนะเลิศวัดพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๒ รางวัลพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิพลเอกเปรม ติณสูลานนท์

Transcript of การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

Page 1: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

ผลงานชิ้นที่ ๗

การอนุรักษ์ และฟื้นฟูวัดคูเต่า

อาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อมสถาบันอาศรมศิลป์

รางวัลอาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ปี ๒๕๕๔สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

รางวัลพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียงมูลนิธิพลเอกเปรม ติณสูลานนท์

รางวัลเเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรม ทางภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก ปี ๒๕๕๔

องค์การการศึกษา วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)

รางวัลชนะเลิศวัดพัฒนาดีเด่น ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในระดับจังหวัด

ปี ๒๕๕๒

Page 2: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 3: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 4: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

ผลงานชิ้นที่ ๗

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า

ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า

ประเภทของงาน การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

ที่ตั้งโครงการ วัดคูเต่า เลขที่ ๑ บ.หัวนอนวัด ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำา จ.สงขลา

พื้นที่โครงการ ๗๕ ตารางเมตร (เฉพาะพื้นที่ศาลา)

พื้นที่ใช้สอย ๑๒ยูนิต (๙๖๐ ตารางเมตร)

ปีที่แล้วเสร็จ พ.ศ.๒๕๕๓

งบประมาณ ๓๕๐,๐๐๐ บาท

๑. แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน (เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ) โครงการนีเ้กดิขึน้จากการทีส่ถาบนัอาศรมศลิปไ์ดไ้ปทศันศกึษาเพือ่เรยีนรูว้ถิชีวีติ วฒันธรรมภาคใตข้องประเทศไทย ทำาใหไ้ดพ้บ

กับศาลาเก่าริมคลองขุดที่หมอบตัวราบอยู่บนลานทรายใต้ต้นฉำาฉาใหญ่ เป็นความงดงามบริสุทธิ์ที่ได้พบในวัดคูเต่า หลังจากที่ได้สอบถาม

ความคดิเหน็พบวา่ชมุชนตอ้งการดำาเนนิการอนรุกัษซ์อ่มแซมเพือ่ใหศ้าลาไดใ้ชป้ระโยชนแ์ละเพือ่ใหล้กูหลานไดด้ไูดศ้กึษาถงึอดตีของทอ้งถิน่

ตนเอง แตเ่นือ่งจากทางวดัขาดงบประมาณ และไมม่คีวามรูค้วามชำานาญในการอนรุกัษอ์ยา่งถกูตอ้งจงึยงัไมด่ำาเนนิการใดๆ ซึง่ทางสถาบนัฯ

และแกนนำาชมุชนเหน็วา่ควรดำาเนนิการซอ่มแซมศาลาหลงันีเ้ปน็อนัดบัแรกกอ่น เนื่องจากมอีายกุวา่รอ้ยป ีและอยูใ่นสภาพทรดุโทรมมาก

ซึง่ศาลาหลงันีม้คีณุคา่ทางดา้นจติใจตอ่คนทอ้งถิน่ เพราะเปน็อาคารเรยีนหลงัแรกในทอ้งถิน่และเปน็ศนูยร์วมเพือ่รองรบังานประเพณตีา่งๆ

ที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อและวิถีชีวิต

ด้วยเงื่อนไขและบริบทดังกล่าว จึงได้กำาหนดเป้าหมายเชิงคุณค่าในการดำาเนินโครงการไว้ ๔ ประการได้แก่

๑. ใหก้ารอนรุกัษส์ถาปตัยกรรมเปน็เครือ่งมอืในการฟืน้ฟวูถิวีฒันธรรมของชมุชน ใหว้ดัคเูตา่เปน็ “ขวญั” ของชมุชน

เช่นในอดีต

ที่ผ่านมา

๒. สร้างโอกาสให้ลูกหลานได้เรียนรู้สืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษ ด้วยกระบวนการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม

๓. สรา้งแบบอยา่งในการอนรุกัษส์ถาปตัยกรรมรว่มกบัชมุชน ใหก้บัวดัเกา่ทัว่ประเทศในการรกัษาและสบืสานมรดก

สถาปัตยกรรมท้องถิ่นของตนเอง

๒. เทคนิคและขั้นตอนในการสร้างผลงาน โปรดดูเอกสาร แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน ข้อ ๔ การสร้างสรรค์ผลงาน ประกอบ

กระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์

สามารถแบ่งออกเป็น ๕ ระยะ ได้แก่

๑. ทำ�คว�มเข้�ใจภ�พรวมของชุมชน และประเมินคว�มเป็นไปได้ในก�รอนุรักษ์อย่�งมีส่วนร่วม

เริ่มต้นจากทีมงานได้กระจายตัวอยู่อาศัยกับชาวชุมชนเหมือนลูกหลาน หลังจากนั้นจึงเริ่มสำารวจข้อมูล และเปิดเวที

เสวนากับชาวชุมชน ทำาให้ทราบว่าวัดนี้เคยรุ่งเรืองมากในอดีต แต่ปัจจุบันศรัทธาดังกล่าวกลับเสื่อมถอยลง เกิดการย้ายถิ่นของคนวัยหนุ่ม

สาว อันเนื่องมาจากผลของพัฒนาแบบทุนนิยม และปัญหาจากการบริหารงานในท้องถิ่น

Page 5: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

๒. กระตุ้นให้เกิดก�รมีส่วนร่วมและเห็นคุณค่�ของศ�ล�ในฐ�นะที่เป็นพื้นที่ศูนย์รวมของชุมชน

เมื่อพบกับปัญหาดังกล่าว ทางสถาบันฯ จึงได้จัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้ชาวชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่นเกิดสำานึก

รักษ์มากขึ้น เพื่อให้ศาลาหลังนี้ได้รับการฟื้นฟูอย่างมีคุณค่า เป็นพื้นที่แห่งขวัญ ที่เสริมสร้างให้คนเป็นคนดี ให้ชุมชนเห็นประโยชน์ของการ

อนรุกัษส์ถาปตัยกรรมทีเ่กดิขึน้เชือ่มโยงเขา้กบัประโยชนข์องตน ไมเ่ปน็การอนรุกัษท์ีห่ลดุลอยจากบรบิทและวถิชีวีติในปจัจบุนั กจิกรรมดงั

กล่าวประกอบด้วย แผนที่คนดี นิทรรศการภาพเก่าเล่าเรื่องที่จัดขึ้นในตลาดนัด กิจกรรมศิลปะเด็ก และรวมถึงการทำาแผนที่สัมพันธ์เครือ

ญาติ (Family Tree) เป็นต้น

๓. สื่อส�รคุณค่�คว�มง�มท�งสถ�ปัตยกรรม

ทีมงานได้จัดกิจกรรมค่าย Kutao Vernadoc Camp ร่วมกับสถาบันการศึกษาท้องถิ่นสองแห่งเพื่อปลูกจิตสำานึกใน

คุณค่าศิลปะสถาปัตยกรรม นักศึกษาที่ร่วมกิจกรรมทุกคนประทับใจและเห็นคุณค่าของมรดกวัฒนธรรม ส่งผลให้นักศึกษาส่วนหนึ่งแสดง

ความต้องการที่จะเข้าร่วมบูรณะศาลาหลังนี้ด้วย

๔. ก�รออกแบบบูรณะ

ทีมงานได้ทำาการศึกษาศาลาพื้นถิ่นภาคใต้ รวมถึงลักษณะภูมิศาสตร์ของวัด เนื่องจากสภาพศาลาและพื้นที่แวดล้อม

กอ่นดำาเนนิการบรูณะนัน้ มปีญัหาน้ำาทว่มขงัเพราะเคยมกีารขดุลอกดนิในคลองเพือ่ถมพืน้ทีโ่ดยรอบใหส้งูขึน้ ทำาใหก้ารระบายน้ำาไมด่เีทา่ที่

ควร ความชืน้ทีเ่กดิขึน้ทำาใหโ้ครงสรา้งศาลาเสยีหายกอ่นเวลาอนัควร เพราะฉะนัน้ทมีงานจงึไดอ้อกแบบทางเลอืกทีจ่ะนำามาใชใ้นการบรูณะ

ศาลาพร้อมทั้งสรุปข้อดี ข้อแตกต่างใช้ชุมชนได้พิจารณาคัดเลือก เป็นจำานวนทั้งหมด ๔ รูปแบบ คือ

๑) ซ่อมแซมโดยให้ศาลาอยู่ในระดับเดิม ปรับระดับผิวทรายใต้ฐานออกให้เหมือนภาพถ่ายศาลาที่เคยปรากฏในอดีต

๒) ขุดพื้นรอบฐานรากทั้ง ๔ ด้านและทำาการบูรณะ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงระดับที่เคยเป็นระดับเดียวกับอดีต

๓) ดีดยกศาลาขึ้นจากพื้นให้ได้ระยะห่างเท่ากับระยะห่างตามระดับเดิม และมีการขุดพื้นรอบฐานรากบางฐาน

เพื่อเป็นข้อมูลแสดงร่องรอยทางประวัติศาสตร์

๔) รักษาสภาพ เสริมตอม่อ และดีดยกศาลาขึ้นโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงระดับพื้นรอบศาลาให้ความสูงของพื้นและ

ใต้ถุนศาลามีระยะเท่ากับสมัยก่อน

๕. สรุปรูปแบบก�รบูรณะและก�รห�งบประม�ณเพื่อซ่อมแซม

ทมีงานไดน้ำาเสนอทางเลอืกในการอนรุกัษส์ีร่ปูแบบเพือ่ใหช้มุชนเลอืกรปูแบบทีเ่หมาะสมทีส่ดุ ซึง่ชมุชนไดล้งความเหน็

เป็นมติเอกฉันท์ในรูปแบบที่สี่ ซึ่งเป็นการเสริมความแข็งแรง (Consolidation) และยกศาลาให้สูงขึ้นเท่ากับระดับความสูงในอดีต หลังจาก

นัน้ทางแกนนำาวดัไดจ้ดังานทอดผา้ปา่ขึน้ ชาวบา้นมจีติศรทัธาเปน็อยา่งมาก รวมไดง้บประมาณถงึ หกแสนกวา่บาท เกนิกวา่ทีป่ระเมนิเอา

ไว้มาก การบูรณะศาลาจึงได้เริ่มต้นขึ้น

๖. ก�รศึกษ�คว�มรู้เชิงช่�งโบร�ณ

ในระหวา่งการออกแบบทางทมีงานไดท้ำาการศกึษาความรูเ้ชงิชา่งโบราณรว่มกบัชา่งทอ้งถิน่ โดยการไปดงูานทีศ่าลา

วัดต่างในบริเวณใกล้เคียง เพื่อศึกษาองค์ความรู้เชิงช่างท้องถิ่น เช่น การเข้าไม้ เข้าเดือยแบบโบราณ เช่นกลอนลูกสัก (เดือยไม้สัก)ที่ใช้ยึด

แปหลงัคาแทนการใชต้ะป ูหรอืการศกึษาวธิกีารเขา้เฝอืกหนา้บนัจากชา่งกรมศลิปากรทอ้งถิน่ และรวมถงึการศกึษาวธิกีารทำาปนูหมกัปนู

ตำาจากช่างปูนเมืองเพชร เพื่อให้งานบูรณะศาลาหลังแรกนี้เป็นงานตัวอย่างในการอนุรักษ์โบราณสถานต่างๆ ของวัดต่อไป

๗. ก�รบูรณะซ่อมแซม

การบรูณะไดเ้ริม่ตน้ขึน้ดว้ยการฟืน้ฟพูธิกีรรมบชูาสิง่ศกัดิส์ทิธิเ์พือ่ขอขมาในการบรูณปฏสิงัขรณศ์าลา โดยมหีลกัการ

ในการซ่อมแซมไว้ว่า “จะไม่จัดจ้างผู้รับเหมามาดำาเนินการซ่อมแซม แต่จะให้ช่างท้องถิ่นเป็นทีมหลัก ส่วนใดที่ทำาเองไม่ได้ก็ให้เชิญผู้เชี่ยว

มาดำาเนนิการเฉพาะสว่น” นอกจากนีท้างวดัไดม้แีผนงานประจำาสปัดาหท์ีใ่หช้าวบา้นไดเ้ขา้มามสีว่นรว่มในการซอ่มแซมศาลาของพวกเขา

เริ่มตั้งแต่การรื้อถอนศาลา ตลอดจนถึงการร่วมขัดล้างกระเบื้องหลังคาทีละแผ่น เป็นต้น

Page 6: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

ผลงานชิ้นที่ ๗ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า

๓. การเผยแพร่และการนำางานออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน โปรดดูเอกสาร แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน ข้อ ๖ การเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ ประกอบ

• แสดงผลงานในนิทรรศการ “รวมมิตรอนุรักษ์ REMIX Anurak” ที่หอศิลป์วัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ธันวาคม ๒๕๕๒

• แสดงผลงานในนิทรรศการของอาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถาบันอาศรมศิลป์ ในงานสถาปนิก ของสมาคม

สถาปนิกสยาม พ.ศ.๒๕๕๒

• เสนอผลงานผ่านเวทีเสวนาวิชาการอิโคโมส-ไทย ครั้งที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

• การประชุมสถาปนิกชุมชนในระดับเอเชีย Community Architect Meeting (ACHR) ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มช.

มิถุนายน ๒๕๕๓

• สื่อวิทยุท้องถิ่น มอ. สงขลา FM ๙๖.๕ MCOT

• หนังสือพิมพ์ทั่วไป และหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เช่น เดลินิวส์ คมชัดลึก สมิหลาไทม์ ภาคใต้โพกัส เป็นต้น

• นิตยสาร และจุลสาร เช่น TALA vol.๑๒ จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ์ จุลสารลุ่มน้ำาทะเลสาบสงขลา DACO

(Japan Free Copy) เป็นต้น

• กำาลังอยู่ระหว่างการดำาเนินการจัดทำาหนังสือรวบรวมผลงานของอาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถาบันอาศรมศิลป์

๔. การถ่ายทอดผลงานให้ผู้อื่น • ถ่ายทอดผลงานผ่านเวทีเสวนาต่างๆ

• ถ่ายทอดผลงานผ่านการบรรยายเชิงวิชาการให้นักศึกษา ภาคการวางผังและออกแบบเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• จัดทำาหนังสือ “วัดคูเต่า ก้าวแรกของการอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม”

• การศึกษาดูงานของสถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นต้น

๕. ความโดดเด่น ความมีเอกลักษณ์เฉพาะตนของผลงาน • ก�รรักษ�คว�มเป็นของแท้ดั้งเดิมผ่�นกระบวนก�รอนุรักษ์สถ�ปัตยกรรมอย่�งมีส่วนร่วม

การรักษาความเป็นของแท้ดั้งเดิม (Authenticity) หรือการรักษาในเชิงคุณค่าเป็นหัวใจสำาคัญในการอนุรักษ์ ซึ่งการรักษา

ความดั้งเดิมนี้จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรักษาทั้งในเชิงรูปธรรมและนามธรรม หรือความหมายเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Meaning) ในการ

อนุรักษ์ศาลาเรียนวัดคูเต่าได้ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเป็นเงื่อนไขสำาคัญในการรักษาความดั้งเดิมและคุณค่าดังกล่าว กล่าวคือ การรักษา

ความเป็นของแท้ดั้งเดิมในเชิงนามธรรม หรือความหมายเชิงสัญลักษณ์นั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่การฟื้นฟูพิธีกรรมทางด้านจิตวิญญาณก่อนท่ีจะ

ทำาการบรูณะศาลา เนือ่งจากเปน็พธิกีรรมดัง้เดมิเพือ่เปน็การบอกกลา่วและขอขมาตอ่สิง่ศกัดิส์ทิธิต์ามทีว่ดัเคยทำามาแลว้ในอดตี นอกจาก

นี้ในอดีตที่อาคารต่างๆ ภายในวัดก็ถูกร่วมกันสร้างโดยพระและชาวชุมชน ดังนั้นการที่ชุมชนมีส่วนร่วนกันรื้อศาลาตลอดจนร่วมกันบูรณะ

ศาลาในทุกขั้นตอน จึงเป็นกระบวนการที่สร้างความทรงจำาร่วม (Collective Memory) ให้แก่ชาวชุมชน เป็นการส่งต่อคุณค่าและปลูกฝัง

ความทรงจำาสู่คนรุ่นใหม่บนรากฐานวัฒนธรรมเดิม

ในส่วนของการรักษาความเป็นของแท้ดั้งเดิมในเชิงรูปธรรมเกิดขึ้นจากการที่ชาวชุมชนร่วมกันขัดล้างกระเบื้องหลังคาเก่าที่

ละแผ่นเพื่อนำากลับไปใช้ใหม่ โดยใช้กระเบื้องใหม่เพียง ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ส่วนกลอนลูกสักที่ใช้เพื่อรับแปหลังคาก็ยังคงเทคนิคการก่อสร้าง

แบบเดมิไวเ้พือ่ใหค้นรุน่หลงัไดเ้รยีนรูถ้งึภมูปิญัญาเชงิชา่งทอ้งถิน่ นอกจากในสว่นโครงสรา้งหลกักย็งัคงรกัษาชิน้สว่นชิน้เสรมิเพยีงบางจดุ

เพือ่ความแขง็แรง มเีพยีงตอมอ่เทา่นัน้ทีเ่ปน็ของใหมเ่พือ่ยกระดบัอาคารใหเ้ทา่กบัความสงูในอดตี จงึทำาใหศ้าลาหลงันีเ้มือ่ไดร้บัการบรูณะ

แลว้ยงัคงเหน็ถงึความคล่ำาของอาคารทีผ่า่นกาลเวลา (Patina of Age) เนือ่งจากใชช้ิน้สว่นและองคป์ระกอบเดมิเกอืบทัง้หมดแตเ่สรมิความ

แข็งแรงเพื่อรองรับประโยชน์ใช้สอยในปัจจุบันและอนาคต

Page 7: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

ผลงานชิ้นที่ ๗ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูวัดคูเต่า

• บทบ�ทของสถ�ปนิกอนุรักษ์

บทบาทของทีมงานออกแบบที่ไม่ได้จำากัดขอบเขตการทำางานไว้เฉพาะการออกแบบสถาปัตยกรรม แต่ใช้กระบวนการมีส่วน

ร่วมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรม ส่งผลให้การบูรณะศาลาเรียนหลังนี้ สามารถรักษาและฟื้นฟูคุณค่า

ทั้งในเชิงรูปแบบและเชิงนามธรรม ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในฐานะของการเป็นพื้นที่แห่งขวัญที่รองรับวิถีชุมชนไว้ได้อย่างครบถ้วน

๖. ความมุ่งหวัง คุณค่า ประโยชน์ และความสำาคัญของผลงาน โครงการนี้สำาเร็จได้ด้วยการมีส่วนร่วมและความร่วมมือของหลายฝ่าย เช่น ชาวบ้าน นักวิชาการ สถาบันท้องถิ่น องค์กรท้องถิ่น

ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงเยาวชนและปราชญ์ท้องถิ่น ดังนั้นทีมงานจึงมีความคาดหวังว่าโครงการนี้จะเป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์ที่

สามารถพึ่งพาตนเองได้ให้กับวัดเก่าอื่นๆ ในท้องถิ่นของประเทศไทย

จากการทำางานอนุรักษ์ศาลาหลังนี้ ส่งผลให้ชาวชุมชนเกิดจิตสำานึกในความเป็นเจ้าของ เกิดความรักความหวงแหนมรดก

วัฒนธรรมที่มีคุณค่า จนเกิดเป็นความร่วมมือในการทำางาน ร่วมจัดกิจกรรม และหางบประมาณเพื่อการอนุรักษ์โดยไม่รองบประมาณจาก

ภาครัฐและการบูรณะศาลาหลังแรกนี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นที่ส่งผลให้ทางคณะกรรมการวัดและชุมชนสามารถดำาเนินการบูรณะศาลาบาตรที่

ตั้งอยู่คู่กันจนแล้วเสร็จ จึงเป็นสิ่งที่พิสูจน์ว่าชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองในการปกปักรักษามรดกวัฒนธรรมของตนได้ และยังคงดำาเนินต่อ

ไปด้วยแรงใจ ศรัทธา และความเคารพภูมิปัญญาบรรพบุรุษ

Page 8: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 9: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 10: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 11: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 12: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 13: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 14: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 15: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 16: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 17: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 18: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 19: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 20: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 21: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 22: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 23: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 24: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 25: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 26: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 27: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 28: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 29: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 30: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 31: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 32: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 33: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 34: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 35: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 36: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 37: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 38: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 39: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 40: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 41: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 42: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 43: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 44: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 45: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 46: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 47: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 48: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 49: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 50: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า
Page 51: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า

ตำ�แหน่งอ�ค�ร๑.ตล�ด ๒.หอฉัน ๓.ศ�ล�บ�ตร ๔.ศ�ล�เรียน ๕. สะพ�นแขวน ๖.ประตูวัด ๗.กุฏิ ๘. โรงแรม

๙.ศ�ล�ริมน้ำ� ๑๐.มณฑปอนุส�วรีย์หลวงพ่อหอม ๑๑.ห้องสมุด + เก็บของ ๑๒. อ�ค�รอเนกประสงค์

๑๓.กุฏิเจ้�อ�ว�ส ๑๔.โบสถ์ ๑๕. ห้องน้ำ� ๑๖.เมรุ ๑๗.ประตูวัด๒ (ประตูเต่�) ๑๘. อ�ค�รอเนกประสงค์

๑๙.โรงครัว ๒๐. ห้องน้ำ� ๒๑.แทงค์น้ำ�

Page 52: การอนุรักษ์และฟื้นฟูคูเต่า