การประเมินบุคลิกภาพ

45
บทที8 การวัดบุคลิกภาพ ถาหากบุคลิกภาพสามารถมองเห็นไดครบทุกดานจากลักษณะภายนอก ซึ่งประกอบดวย รูปรางลักษณะ การแตงกาย คงเปนเรื่องที่ไมยากที่จะเรียนรูบุคลิกภาพของตนเองและผูอื่น แตใน ความเปนจริงบางครั้งบุคลิกภาพที่แทจริงของตนเองก็ยังไมทราบวาตนเองมีบุคลิกภาพอยางไร ถา จะศึกษาบุคลิกภาพของบุคคลอื่นยิ่งเปนการยากที่จะทราบบุคลิกภาพที่เปนจริง ดังนั้นนักจิตวิทยา จึงไดคิดคนวิธีการวัดบุคลิกภาพ เพื่อความสะดวกในการวัดบุคลิกภาพของคนในสังคม และยัง เปนเครื่องมือในการกลั่นกรองคุณสมบัติของบุคลากรที่หนวยงานตองการ รวมทั้งการวัดจะเปน ประโยชนในการทําใหเราทราบบุคลิกภาพของตนเอง เพื่อจะไดนําไปปรับปรุงบุคลิกภาพทั้ง ภายนอกและภายในใหสมบูรณยิ่งขึ้น 8.1 ความหมายของการวัดบุคลิกภาพ การวัดบุคลิกภาพ หมายถึง การวัดลักษณะในดานตาง 8 ประการดังทีสถิตย วงศ สวรรค (2539 : 125) ไดกลาวไวดังนี8.1.1 ลักษณะทางกายภาพ (Physical) เปนลักษณะภายนอกที่สามารถสังเกตไดจากลักษณะภายนอก ไดแก รูปรางหนาตา ผิวพรรณ รูปพรรณสัณฐาน เปนสิ่งที่ไดรับการถายทอดจากพันธุกรรม 8.1.2 ลักษณะทางอารมณ (Temperament) เปนการแสดงออกทางอารมณ ความรูสึกที่ทําใหผูอื่นไดรับทราบ เชน ความรูสึกแจมใส อารมณหงุดหงิดขุนมัว มีอารมณขันตลกโปกฮา 8.1.3 ลักษณะทางสติปญญา (Intellectual) เปนคุณลักษณะทางดานสติปญญา ความเฉลียวฉลาด ความโงเขลา ของแตละบุคคล สิ่ง ที่จะใชวัดไดก็คือ ความสามารถในการแกปญหาความสามารถในการจดจํา เปนตน 8.1.4 ลักษณะความสนใจและคานิยม (Interest & Value) ความสนใจและคานิยมของแตละบุคคลจะมีความแตกตางกัน เชน งานอดิเรกที่ทํา ความ เชื่อความศรัทธาตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง คานิยมของคนแตละชวงวัย เปนตน 8.1.5 ลักษณะทางดานเจตคติ (Attitude) เจตคติ หมายถึงความรูสึกที่เปนบวกหรือลบตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือ เหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง

description

หน่วยที่ 4 การประเมินบุคลิกภาพ

Transcript of การประเมินบุคลิกภาพ

Page 1: การประเมินบุคลิกภาพ

บทที่ 8 การวัดบุคลิกภาพ

ถาหากบุคลิกภาพสามารถมองเห็นไดครบทุกดานจากลักษณะภายนอก ซึ่งประกอบดวย

รูปรางลักษณะ การแตงกาย คงเปนเร่ืองที่ไมยากที่จะเรียนรูบุคลิกภาพของตนเองและผูอ่ืน แตใน

ความเปนจริงบางครั้งบุคลิกภาพที่แทจริงของตนเองก็ยังไมทราบวาตนเองมีบุคลิกภาพอยางไร ถา

จะศึกษาบุคลิกภาพของบุคคลอ่ืนยิ่งเปนการยากที่จะทราบบุคลิกภาพที่เปนจริง ดังนั้นนักจิตวิทยา

จึงไดคิดคนวิธีการวัดบุคลิกภาพ เพื่อความสะดวกในการวัดบุคลิกภาพของคนในสังคม และยัง

เปนเคร่ืองมือในการกล่ันกรองคุณสมบัติของบุคลากรที่หนวยงานตองการ รวมทั้งการวัดจะเปน

ประโยชนในการทําใหเราทราบบุคลิกภาพของตนเอง เพื่อจะไดนําไปปรับปรุงบุคลิกภาพทั้ง

ภายนอกและภายในใหสมบูรณยิ่งข้ึน

8.1 ความหมายของการวัดบุคลิกภาพ การวัดบุคลิกภาพ หมายถึง การวัดลักษณะในดานตาง ๆ 8 ประการดังที่ สถิตย วงศ

สวรรค (2539 : 125) ไดกลาวไวดังนี้ 8.1.1 ลักษณะทางกายภาพ (Physical) เปนลักษณะภายนอกที่สามารถสังเกตไดจากลักษณะภายนอก ไดแก รูปรางหนาตา

ผิวพรรณ รูปพรรณสัณฐาน เปนส่ิงที่ไดรับการถายทอดจากพันธุกรรม 8.1.2 ลักษณะทางอารมณ (Temperament) เปนการแสดงออกทางอารมณ ความรูสึกที่ทําใหผูอ่ืนไดรับทราบ เชน ความรูสึกแจมใส

อารมณหงุดหงิดขุนมัว มีอารมณขันตลกโปกฮา 8.1.3 ลักษณะทางสติปญญา (Intellectual)

เปนคุณลักษณะทางดานสติปญญา ความเฉลียวฉลาด ความโงเขลา ของแตละบุคคล ส่ิง

ที่จะใชวัดไดก็คือ ความสามารถในการแกปญหาความสามารถในการจดจํา เปนตน 8.1.4 ลักษณะความสนใจและคานิยม (Interest & Value)

ความสนใจและคานิยมของแตละบุคคลจะมีความแตกตางกัน เชน งานอดิเรกที่ทํา ความ

เชื่อความศรัทธาตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง คานิยมของคนแตละชวงวัย เปนตน 8.1.5 ลักษณะทางดานเจตคติ (Attitude)

เจตคติ หมายถึงความรูสึกที่เปนบวกหรือลบตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง บุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือ

เหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง

Page 2: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 194

8.1.6 ลักษณะดานแรงจูงใจ (Motives) เปนแรงจูงใจที่อยากจะทําการอยางใดอยางหนึ่งใหประสบผลสําเร็จลุลวงดวยดีหรือที่

เรียกวาแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ (Achievement) สวนแรงจูงใจที่อยากอยูรวมกับบุคคลอ่ืนในสังคมเปน

แรงจูงใจใฝสัมพันธ (Affiliative motives) 8.1.7 ลักษณะทางสังคม (Social)

เปนลักษณะที่พิจารณาจากความสามารถในการเขาสังคมหรือการทํางานรวมกับผูอ่ืน เชน

ความมีมนุษยสัมพันธ ความเปนสุภาพชน มีคุณธรรมมีมารยาททางสังคมที่ดี 8.1.8 ลักษณะทางสุขภาพจิต (Mental Health)

สุขภาพจิตเปนส่ิงที่มีความสําคัญอยางมาก โดยเฉพาะในชวงเศรษฐกิจตกตํ่าบุคคลสวน

ใหญตกอยูในสภาวะความตึงเครียดซ่ึงสงผลตอสุขภาพจิตอยางมาก การวัดสุขภาพจิตจะใชกับคน

ทั่วไปหรือกับบุคคล ที่มีอาการปวยทางจิตและมีแนวโนมที่จะเปนโรคจิตประสาทไดส่ิงที่สังเกตได

คือพฤติกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม ชอบเก็บตัวเงียบคนเดียว ไมเขาสังคม มีโลกของตนเองไมสนใจ

สังคม เปนตน

8.2 ประโยชนของการวัดบุคลิกภาพ การวัดบุคลิกภาพสามารถกระทําไดหลายวิธีการ ซึ่งแตละวิธีมีการปฏิบัติที่แตกตางกัน

ดังนั้น ถาการวัดมีมาตรฐานสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดดังนี้ 8.2.1 ประโยชนในดานการศึกษาของตนเอง เพื่อเปนเคร่ืองมือชวยตัดสินใจเลือกสาขาวิชาที่เรียนและเลือกอาชพีไดตรงกับ

ความสามารถและความถนดัของตนเอง 8.2.2 ประโยชนในดานคลีนิก

เปนประโยชนในการใหคําปรึกษาทางดานจิตวิทยาเพื่อชวยเหลือผูที่มคีวามเดือดรอน หรือ

ผูที่มีพฤติกรรมเปล่ียนแปลง แปรปรวน ขาดความสุขในการดําเนินชวีติ 8.2.3 ประโยชนในดานธุรกิจ

ชวยในการคัดเลือกบุคลากรที่มีความรูความสามารถพรอมที่จะทํางานรวมกับบุคคลอ่ืนใน

องคการไดอยางมีความสุข เปนการลดภาวะความขัดแยงที่อาจจะเกิดข้ึนจากการที่บุคลากรขาด

มนุษยสัมพนัธในการทํางาน ซึ่งเปนปญหาที่จะทาํใหผูบริหารตองเสียเวลาตองคอยไกลเกล่ียความ

ขัดแยงที่เกิดข้ึนในองคการ

Page 3: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 195

8.2.4 ประโยชนเกี่ยวกับการใหความยติุธรรมดานกฎหมาย ในกรณีที่บุคคลกระทําความผิดทางกฎหมายโดยเกิดจากอาการผิดปกติทางจิต บคุคลนั้น

ควรไดรับการบําบัดอยางถกูวิธ ี สวนบุคคลที่กลาแสดงพฤติกรรมเยี่ยงคนเสียสติ การใชการวัด

บุคลิกภาพจะชวยแยกแยะระหวางคนทีจ่ติปกติกับคนทีจ่ิตแปรปรวนออกจากกันได การวดั

บุคลิกภาพจึงเปนเคร่ืองมือชวยใหทุกคนในสังคมไดรับความเปนธรรม 8.2.5 ประโยชนในการศกึษาคนควา

เพื่อปรับปรุงสวนละเอียดทัง้หมด อันเกี่ยวกับการประเมนิบุคลิกภาพ ขณะเดียวกนัจะเกิด

การเรียนรูลึกซ้ึงและกวางขวางข้ึนเพื่อผลในการวิจัยตอไป 8.2.6 ชวยใหทราบถึงพัฒนาการของบคุลิกภาพของแตละบุคคล

ซึ่งจะมพีัฒนาการที่ชาเร็วแตกตางกนั ในแตละชวงวยั 8.2.7 ชวยในการตัดสนิคัดเลือกบุคคลใหเหมาะสมกับการเรียน

รวมทัง้การเลือกอาชีพใหเหมาะสมกับบุคลิกภาพของตนเอง เพื่อที่จะไดทํางานตามความ

ถนัดของตนเองและมีความสุขจากการทํางาน 8.2.8 ชวยใหเขาใจปญหาพฤติกรรม

หรือปญหาในการปรับตัวรวมถึงสาเหตุของปญหาน้ัน ๆ เพื่อประโยชนในการแกปญหาได

ถูกจุดไดอยางรวดเร็วและมปีระสิทธิภาพ 8.2.9 ชวยในการวิเคราะหวิจัยปญหาตาง ๆ

ที่เกี่ยวของกบับุคลิกภาพของบุคคลโดยใหเคร่ืองมือในการวัดที่มีอยูแลวและคิดคนข้ึนมา

ใหมชวยใหมีแนวทางในการแกปญหาไดอยางเปนระบบ 8.3 จุดมุงหมายของการวดับุคลิกภาพ การวัดบุคลิกภาพมีจุดมุงหมายหลายประการดังนี ้ 8.3.1 เพื่อใหผูที่ศึกษาไดเขาใจธรรมชาติของตนเอง

เขาใจบุคลิกภาพความรูสึกนึกคิด สภาวะทางอารมณ ขีดความสามารถ สมรรถภาพและ

คุณสมบัติของตนเอง รวมทัง้ปมดอยปมเดนของตนเอง เมี่อบุคคลสามารถวิเคราะหพฤติกรรมของ

ตนเองไดถูกตองตรงกับสภาพความเปนจริง จะชวยใหเกิดการปรับปรุงพฤติกรรมการแสดงออกได

อยางเหมาะสม ซึ่งมีผลตอการปรับตัวเขากับบุคคลอ่ืนและสถานการณตาง ๆ ไดเปนอยางดี 8.3.2 เพื่อใหเขาใจผูอ่ืน

โดยความตองการของมนุษยแลวยอมตองการเปนที่ยอมรับจากบุคคลอ่ืน การที่จะยอมรับ

บุคคลอ่ืนไดนั้น เราตองพยายามทําความเขาใจพฤติกรรมของเขาดวยความรูสึกที่เปนกลางและมี

เหตุผล เขาใจถึงความแตกตางกนัของแตละบุคคล เพราะสาเหตุของความแตกตางกันนัน้ ทาํให

Page 4: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 196

8.3.3 เพื่อเปนแนวทางในการเสริมสรางบุคลกิภาพท่ีเหมาะสมแกตนเอง บุคคลในครอบครัวรวมถึงบุคคลที่สนิทสนมใกลชิด เพื่อใหเปนผูมีบุคลกิภาพดีและ

สามารถปรับตัวอยูรวมกนัในสังคมไดอยางมีความสุขและราบร่ืน

วิธกีารวดับุคลิกภาพ 8.4

วิธีการวัดบุคลิกภาพโดยทั่วไปมีหลายวธิีดังนี ้(อัจฉรา สุขารมณ. 2542 : 5) วิธกีารประมาณคา (Rating Scale) 8.4.1

โดยการใชชุดขอคําถามที่กาํหนดใหบุคคลอ่ืน กระทําการประเมินตัดสินพฤติกรรมของคน ๆ

หนึง่ ตามขอความที่กาํหนดให ซึ่งใหผูประเมินนัน้พิจารณาบุคลิกภาพของบุคคลนัน้ แลวนํามาเช็ค

ในสเกล ซึ่งโดยมากนิยมใช 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยแทนคา

คะแนนจาก 5 4 3 2 1 คะแนนตามลําดับ แบบทดสอบประมาณคานี ้เปนเคร่ืองมือที่เหมาะที่จะใช

ในการวัดบุคลิกภาพลักษณะตาง ๆ ทีเ่ปนนามธรรม เชน ความเสียสละ ความรวมมือ

วิธีการประมาณคา เปนเคร่ืองมือที่ใชสําหรับประมาณบุคลิกลักษณะตาง ๆ ของผูหนึง่ซึ่ง

อาจจะเปนตัวเองหรือใหคนอ่ืนประเมนิ แตตองทําดวยความเทีย่งตรงปราศจากอคติ ในการ

คัดเลือกบุคคลเขาทํางาน หรือคัดเลือกคนเขารับทนุการศึกษาอาจใชวิธีนี ้ (ฉันทนชิ อัศวนนท

,2543) ไดยกตัวอยางไวดังนี ้

แบบวิเคราะหจุดยืนแหงชีวิต

โปรดกาเคร่ืองหมาย 7ลงบนตัวเลขที่ตรงกับความเปนจริงในความรูสึก ความคิด หรือการ

แสดงออกในดานตาง ๆ ของตัวทาน โดยพิจารณาจากสภาพการทํางานและการดําเนินชีวิตของ

ทาน

0 หมายถึง ไมเปนความจริงเลย 1 หมายถึง มีสวนเปนจริงบางเล็กนอย 2 หมายถึง เปนจริงราว ๆ ครึ่งหนึ่ง 3 หมายถึง เปนจริงคอนขางมาก 4 หมายถึง เปนจริงทั้งหมด

Page 5: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 197

ขาพเจาเปนบุคคลที่ ………

1. สนุกกับงาน 0 1 2 3 4

2. ลูกนองทุกคนดูจะเกรงใจเกินไป ไมกลาแสดงความเห็น 0 1 2 3 4

คานกับขาพเจา

3. เมื่อประสงคส่ิงใดที่คิดวาถูกตอง ตองทําใหได 0 1 2 3 4

4. ลูกนองหลายคน ดูเหมือนเขาไมเขาในขาพเจา 0 1 2 3 4

5. ในแตละวันจําเปนตองสาละวนกับเร่ืองตาง ๆ หลาย 0 1 2 3 4

เร่ืองจนทําใหรูสึกเครียดและสับสน

6. คอยพิจารณาทบทวนการทํางานของลูกนองวาเขาทําไป 0 1 2 3 4

ถูกตองตามเกณฑที่วางไวหรือไม

7. ใชเวลาในแตละวันอยางมีคา 0 1 2 3 4

8. ในวงสนทนา สวนมากเห็นเพื่อน ๆ เขาคุยสนุกกวา 0 1 2 3 4

ขาพเจาจึงเงียบ เปนผูฟงเสียมากกวา

9. สภาพที่ทํางานคอยขางวุนวาย หาความสงบไมได 0 1 2 3 4

10. การพูดจาสนทนา ขาพเจามักเปดโอกาสและเชิญชวน 0 1 2 3 4

ใหผูอ่ืนพูดเร่ืองที่เขาสนใจกอนเสมอ

11. ภาวะแวดลอมที่เปนอยูในแตละวันวุนวายสับสน ทําให 0 1 2 3 4

เครียด อึดอัดอยางไมจบส้ิน

12. เมื่อทําส่ิงใดผิดพลาด ลมเหลว จะรูสึกหงุดหงิด ขุนใจ 0 1 2 3 4

ยากที่จะลืม

13. เมื่อถูกเพื่อน ๆ หรือใครกลาวชม ขาพเจารูสึกเขิน 0 1 2 3 4

ตะขิดตะขวงใจ

14. ลูกนองของขาพเจาหลายคนทํางานบกพรองและไม 0 1 2 3 4

รับผิดชอบจึงถูกขาพเจาตําหนิบอย ๆ

15. การพบปะสังสรรคกับบุคคลหมูมาก ทําใหขาพเจามี 0 1 2 3 4

ความสุข

16. แสดงการชื่นชมในความสําเร็จของลูกนอง แมเปน 0 1 2 3 4

เร่ือง เล็ก ๆ นอย ๆ ก็ตาม

17. ชอบถือคติวา “ชีวิตคือการตอสู และเราจะตองเปน 0 1 2 3 4

Page 6: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 198

ฝายรุกเสมอ”

18. ปญหาในหนวยงาน ตางก็รูเห็นกันอยู พูดไปก็เทานั้น 0 1 2 3 4

เงียบเฉยไวดีกวา

19. งานที่ตองรับผิดชอบบางคราวก็หนักเกินไป รับไมไหว 0 1 2 3 4

อยากจะหลบเล่ียง หลีกหนีไปเสียใหพน

20. ชีวิตการงานในปจจุบันนาเบ่ือหนาย และมองไมเห็น 0 1 2 3 4

จุดหมายปลายทาง

21. ชอบฟงความเห็นจากหลาย ๆ ทัศนะ โดยเฉพาะทัศนะ 0 1 2 3 4

ที่เขาไมเห็นดวยกับเรา บางคร้ังมีประโยชนมากที่เดียว

22. ไมพูดหรือกระทําส่ิงใดเปนการลวงเกินบุคคลอ่ืน 0 1 2 3 4

23. ลูกนองเอะอะโผงผางตอกันอยางไมเกรงใจขาพเจา 0 1 2 3 4

ทําใหขาพเจาหงุดหงิดเบ่ือหนาย

24. สุขภาพของขาพเจาขณะนี้ไมสูดีนัก มักเจ็บปวยบอย ๆ 0 1 2 3 4

25. เมื่อตองทํางานรวมกับคนที่ไมรูงาน จะรูสึกหงุดหงิด 0 1 2 3 4

รําคาญ

26. ขณะนี้มีปญหารุมลอมหลายดาน ทําใหตองคิดหนัก 0 1 2 3 4

และนอนไมหลับ

27. เหนื่อยหนายกับสภาพความเปนไปในชีวิตแตละวัน 0 1 2 3 4

แทบไมอยากตอสูด้ินรนมากไปกวานี้แลว

28. วาจะไมตําหนิลูกนองแลวก็อดไมได เพราะถาปลอย 0 1 2 3 4

ใหผานไป เด๋ียวก็ทําผิดอีกนั่นแหละ

Page 7: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 199

แบบกรอกคะแนน

ฉันเยี่ยมคุณเยี่ยม (I’m O.K., You’re O.K.)

1 7 10 15 16 21 22 รวม ลักษณะที ่ 1 3 4 3 4 2 3 3 22

ฉันเยี่ยมคุณแย (I’m O.K., You’re not O.K.)

2 3 6 14 17 25 28 รวม ลักษณะที ่ 2 0 2 1 1 2 1 0 7

ฉันแยคุณเยีย่ม (I’m not O.K., You’re O.K.)

4 8 12 13 19 23 24 รวม ลักษณะที ่ 3 1 4 1 2 0 0 0 8

ฉันแยคุณแย (I’m not O.K., You’re not O.K.)

5 9 11 18 20 26 27 รวม ลักษณะที ่ 4 1 2 1 1 1 1 0 7

ที่มา : ฉันทนชิ อัศวนนท. 2543 :48.

Page 8: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 200

จุดยืนแหงชวีิตตอความรูสึกโดยรวม

YOU ARE O.K.

25

20

15

10

5

3 1

25 20 15 10 5 4 2 5 10 15 20 25

5

10

15

20

25

I AM O.K. I AM NOT O.K.

YOU ARE NOT O.K.

ที่มา : ฉันทนิช อัศวนนท. 2543 :49.

Page 9: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 201

แบบทดสอบระดับความเครียด ในระยะเวลา 2 เดือนที่ผานมานี้ ทานมีอาการ พฤติกรรม หรือความรูสึกตอไปนี้มากนอย

เพียงใด โปรดขีดเคร่ืองหมาย / ลงในชองแสดงระดับอาการที่เกิดข้ึนกับตัวทานตามความเปนจริง

มากที่สุด

ระดับอาการ 0 1 2 3 อาการ พฤติกรรม

หรือ ความรูสึก

ไมเคยเลย

เปนครั้งคราว

เปนบอย

เปนประจํา

1. นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ

2. รูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ

3. ทําอะไรไมไดเลย เพราะประสาทตึงเครียด

4. มีความวุนวายใจ

5. ไมอยากพบปะผูคน

6. ปวดหัวขางเดียว หรือปวดบริเวณขมับทั้ง 2 ขาง

7. รูสึกไมมีความสุขและเศราหมอง

8. รูสึกหมดหวังในชีวิต

9. รูสึกวาชีวิตตนเองไมมีคุณคา

10. กระวนกระวายอยูตลอดเวลา

11. รูสึกวาตนเองไมมีสมาธิ

12. รูสึกเพลียไมมีแรงจะทําอะไร

13. รูสึกเหนื่อยไมอยากทําอะไร

14. มีอาการหัวใจเตนแรง

15. เสียงส่ัน ปากส่ัน หรือมือส่ัน เวลาไมพอใจ

16. รูสึกกลัวผิดพลาดในการทําส่ิงตาง ๆ

17. ปวด หรือเกร็งกลามเนื้อบริเวณทายทอย

หลังหรือไหล

18. ต่ืนเตนงายกับเหตุการณที่ไมคุนเคย

19. มึนงงหรือเวียนศีรษะ

20. ความสุขทางเพศลดลง

Page 10: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 202

หมายเหตุ : หากพบวาเกิดความเครียดบอย ๆ ควรตรวจสอบดวยแบบทดสอบนี้โดยตรวจวัด

คะแนนอาทิตยละคร้ัง เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลงระดับความเครียด

เกณฑการใหคะแนน รวมคะแนนไมเกิน 60 คะแนน โดยจํานวนคําถาม 20 ขอ ถาตอบวา

ไมเคยเลย 0 คะแนน

เปนคร้ังคราว 1 คะแนน

เปนบอย ๆ 2 คะแนน

เปนประจํา 3 คะแนน ระดับคะแนน 0 – 5 ทานมีความเครียดอยูในระดับตํ่ากวาเกณฑปกติอยางมาก ทฤษฎีถือวาความเปนไปได

เพียงเล็กนอยเทานั้นที่จะมีความเครียดในระดับตํ่ามากเชนนี้ ในกรณีของทานอาจมีความหมายวา

- ทานตอบคําถามไมตรงตามความเปนจริง หรือ

- ทานอาจจะเขาใจคําส่ังหรือคําถามคลาดเคล่ือนไป

- ทานอาจเปนคนที่ขาดแรงจูงใจในการดําเนินชีวิต มีความเฉ่ือยชา ชีวิตประจําวันซํ้าซาก

จําเจ นาเบ่ือ ปราศจากความต่ืนเตน ระดับคะแนน 6 – 17 (Normal Stress) ทานมีความเครียดอยูในเกณฑปกติ สามารถจัดการกับความเครียดที่ เกิดข้ึนใน

ชีวิตประจําวันและสามารถปรับตัวกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รูสึกพึงพอใจเกี่ยวกับ

ตนเองและส่ิงแวดลอมเปนอยางมาก รูสึกมีพลังมีชีวิตชีวา กระตือรือรน มองส่ิงเราหรือเหตุการณ

รอบตัววาเปนส่ิงทาทายความสามารถมีความสามารถในการจัดการกับส่ิงตาง ๆ ไดอยาง

เหมาะสม ผลผลิตของการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง ความเครียดในระดับนี้ถือวามีประโยชนในการ

ดําเนินชีวิตประจําวันเปนแรงจูงใจที่นําไปสูความสําเร็จในชีวิตได ระดับคะแนน 18 – 25 (Mild Stress) ทานมีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติเล็กนอย มีความไมสบายใจอันเกิดจากปญหา

ในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยที่ปญหาหรือขอขัดแยงของทานอาจจะยังไมไดรับการคลี่คลาย

หรือแกไข ซึ่งถือวาเปนความเครียดที่พบไดในชีวิตประจําวัน อาจไมรูตัววามีความเครียดหรืออาจ

รูสึกไดจากการเปลี่ยนแปลงของรางกาย อารมณ ความรูสึกและพฤติกรรมบางเล็กนอยแตไม

ชัดเจนและยังพอทนได แมวาทานจะมีความยุงยากในการจัดการกับปญหาอยูบาง และตองใช

เวลาในการปรับตัวมากข้ึนกวาเดิม ทานก็สามารถจัดการกับความเครียดได และไมเปนผลเสียตอ

การดําเนินชีวิต ในกรณีนี้ทานควรผอนคลายความเครียดดวยการหาความเพลิดเพลินใจ เชน การ

ออกกําลังกาย ดูหนัง ฟงเพลง สังสรรคกับเพื่อน ฯลฯ

Page 11: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 203

ระดับคะแนน 26 – 29 (Moderate Stress). ทานมีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติปานกลาง ขณะน้ีทานเร่ิมมีความตึงเครียดใน

ระดับคอนขางสูงและไดรับความเดือนรอนเปนอยางมากจากปญหาทางอารมณ ที่เกิดจากปญหา

ความขัดแยงและวิกฤตการณในชีวิต เปนสัญญาณเตือนข้ันตนวาทานกําลังเผชิญกับภาวะวิกฤต

และความขัดแยงซ่ึงทานจัดการแกไขดวยความยากลําบาก ลักษณะอาการดังกลาวจะเพิ่มความ

รุนแรง ซึ่งมีผลกระทบตอการทํางาน จําเปนตองหาวิธีแกไขขอขัดแยงตาง ๆ ใหลดนอยลงหรือหมด

ไปดวยวิธีการอยางใดอยางหนึ่ง และควรคลี่คลายความเครียด ดวยการพูดคุยปรึกษากับคนที่

ไววางใจ หรือปรึกษาทางโทรศัพท (Hotline) ระดับคะแนน 30 – 60 (Severs Stress) ทานมีความเครียดอยูในระดับสูงกวาปกติ กําลังตกในสภาวะตึงเครียดหรือกําลังเผชิญกับ

วิกฤตการณในชีวิตอยางรุนแรง เชนการเจ็บปวยที่รุนแรง เร้ือรัง ความพิการ การสูญเสีย ปญหา

ความรุนแรงในครอบครัว ปญหาเศรษฐกิจ ซึ่งสงผลตอสุขภาพและสุขภาพจิตอยางชัดเจน ทําให

ชีวิตไมมีความสุข ฟุงซาน ตัดสินใจผิดพลาด ขาดความยับยั้งชั่งใจ อาจเกิดอุบัติเหตุไดงาย

ความเครียดในระดับนี้ถือวามีความรุนแรงมาก หากปลอยไวโดยไมดําเนินการแกไขอยาง

เหมาะสมและถูกวิธีอาจนําไปสูความเจ็บปวยทางจิตที่รุนแรง ซึ่งสงผลเสียตอตนเองและบุคคล

ใกลชิดตอไปได ในระดับนี้ควรขอรับบริการ Hotline และคลินิกคลายเครียด ซึ่งมีอยูตามสถาน

บริการทั่วประเทศ (ฉันทนิช อัศวนนท. 2543 : 71-73)

แบบทดสอบวัดความเชื่อม่ันในตนเอง

คําชี้แจง 1. ใหทาํตามคําชีแ้จงอยางเครงครัด เพื่อที่จะไดรูจักตัวเองอยางแทจริง

2. ขอใหทานต้ังใจทําแบบทดสอบนี้ดวยความจริงใจ ตอบใหตรงตามความรูสึกนึกคิด

ของทานใหมากที่สุด อยาพยายามปดบังความรูสึกของทานเพราะจะไมมีใครรูถึงผลที่จะปรากฎ

ออกมาเมื่อทานทาํแบบทดสอบเสร็จเรียบรอยแลว ทั้งนี้เพราะทานตรวจแบบทดสอบเองดูผลการ

วิเคราะห และถาผลการทดสอบออกมาทางลบ ทานก็สามารถที่จะปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

ทายแบบทดสอบนี้ดวยตัวของทานเองทัง้ส้ิน

3. ขอใหทานเปดแบบทดสอบนีแ้ละคอย ๆ ทาํไปทีละหนา อยาทาํขามขอหรือเปดดู

เฉลยผลการวิเคราะห ตลอดจนคําแนะนาํในการปรับปรุงบุคลิกภาพกอนทาํแบบทดสอบนี้เสร็จ

เรียบรอยแลว

4. ขอใหทานไดใชวิจารณญาณของทานวิเคราะหตัวทานเองเมื่อทราบผลแลว และ

Page 12: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 204

พยายามเปดใจของทานใหกวาง พรอมกับยอมรับส่ิงที่แบบทดสอบบอกทานดวยใจเปนธรรม

5. แบบทดสอบนีเ้ปนเพยีงการคาดคะเน จากผลของการทาํแบบทดสอบของทาน ฉะนัน้

อาจจะมีขอบกพรอง หรือทาํนายไดไมชัดเจนนกั แตกพ็อจะเปนแนวทางใหทานไดพจิารณาตัวของ

ทานเองตอไป

คําชี้แจงในการทําแบบทดสอบ

ขอใหทานอานขอความทั้ง 32 ขอ ดวยความต้ังใจ และพิจารณาตัวทานเองวาทานมี

ความรูสึกหรือมีความคิดเหน็ตามขอความนั้น ๆ มากนอยเพียงใด แลวทาํเคร่ืองหมายลงในชองที่

ตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ตัวอยาง

1. คุณคิดวาคุณเปนคนไมคอยมีความสามารถมากนัก

ไมเคย นาน ๆ คร้ัง บางคร้ัง บอย ๆ เสมอ ๆ

2 1 0 4 3

การตอบชองหมายเลข 2 หมายความวา คุณคิดวาคุณเปนคนไมคอยมีความสามารถ

มากนักเปนบางคร้ัง แบบทดสอบฉบับนี้เปนแบบทดสอบวัดความเช่ือมั่นในตัวของคุณเอง คุณ

ลองตรวจนับคะแนนของคุณดู ตามวิธีตอไปนี้

การตรวจนับคะแนน ขอใหคุณรวมคะแนนท้ังหมด ที่คุณไดทําเคร่ืองหมายไวในแตละขอตาม

คะแนนที่ปรากฏ คือ ชอง 0 ได 0 คะแนน/ชอง 1 ได 1 คะแนน/ชอง 2

ได 2 คะแนน/ชอง 3 ได 3 คะแนน/และชอง 4 ได 4 คะแนน

การวิเคราะห ขอใหคุณนําคะแนนที่ไดรับไปดูในตารางตามชองอายุของคุณ และอาน

คําวิเคราะหดานลาง

Page 13: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 205

ไมเคย นาน ๆ ครั้ง

บาง ครั้ง

บอย ๆ เสมอ ๆ

1 คุณคิดและปรารถนาจะใหใครสักคนชวยทําใหคุณเปนคน 0 1 2 3 4

กลามากย่ิงขึ้น

2 คุณรูสึกวางานที่คุณทําอยูเปนงานสําคัญที่ใคร ๆ ก็ตองการ 0 1 2 3 4

เปนอยางย่ิง

3 คุณรูสึกวิตกกังวลกับตัวเองในเร่ืองของอนาคต 0 1 2 3 4

4 คุณคิดวาคนสวนใหญไมคอยชอบหนาคุณนัก 0 1 2 3 4

5 คุณคิดวาคุณมีความสามารถและความคิดสรางสรรคดอย 0 1 2 3 4

กวาคนอื่น ๆ

6 คุณคิดวาความคิดของคุณนั้นเปนเพียงเร่ืองธรรมดา ๆ 0 1 2 3 4

7 คุณกลัววาคุณจะทําอะไรเชย ๆ โง ๆ ออกไป 0 1 2 3 4

8 คุณคิดวาคนอื่น ๆ นั้นนาสนใจนามองมากกวาคุณเสียอีก 0 1 2 3 4

9 คุณกลัวตอการออกไปพูดตอหนาผูคนเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ 0 1 2 3 4

อยางย่ิงคนที่คุณไมรูจัก

10 คุณคิดวางานตาง ๆ มากมายท่ีคุณทําอยูมีโอกาสจะประสบความ 0 1 2 3 4

ลมเหลว

11 คุณคิดวาคุณตองการที่จะเรียนรูถึงวิธีการพูดคุยอยางสนุกสนาน 0 1 2 3 4

กับคนอื่น ๆ

12 คุณคิดวาคุณตองการจะมีความเช่ือม่ันในตัวเองสูงกวาที่คุณเปนอยู 0 1 2 3 4

13 คุณมักจะคิดถึงวิธีการที่จะทําใหคนอื่น ๆ ยอมรับความคิดเห็นของ 0 1 2 3 4

คุณมากกวาที่เปนอยู

14 คุณมักชอบถอมตัวเองอยางมาก 0 1 2 3 4

15 คุณคิดวาคุณเปนคนหย่ิงและถือตัวคนหนึ่ง 0 1 2 3 4

16 คุณคิดวาคนสวนใหญมองคุณและคิดถึงคุณไปในดานที่ตรงกันขาม 0 1 2 3 4

กับความเปนจริงที่คุณเปนอยู

Page 14: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 206

17 คุณคิดวาคุณขาดคนที่คุณไววางใจท่ีจะเลาเร่ืองสวนตัวใหฟงได 0 1 2 3 4

18 คุณคิดวาคนสวนมากคาดหวังในตัวคุณสูง 0 1 2 3 4

19 คุณคิดวาคนสวนมากไมคอยจะสนใจตอความสําเร็จของคุณ 0 1 2 3 4

20 คุณคิดวาคุณเปนคนขี้อาย กระดากและเขินงาย 0 1 2 3 4

21 คุณคิดวาคนสวนใหญมักไมคอยเขาใจอะไรในตัวคุณนัก 0 1 2 3 4

22 คุณรูสึกวารอบ ๆ ตัวคุณนั้นไมคอยจะปลอดภัยนัก 0 1 2 3 4

23 คุณมักจะวิตกกังวลในเร่ืองไรสาระอยูเปนประจํา 0 1 2 3 4

24 คุณมักจะรูสึกไมคอยสบายใจนักเม่ือคุณตองเดินเขาไปในหอง 0 1 2 3 4

ประชุมที่มีคนจํานวนมากนั่งอยูเรียบรอยแลว

25 คุณคิดวามีคนคอยนินทาหรือพูดคุยเก่ียวกับตัวคุณลับหลังคุณอยู 0 1 2 3 4

26 คุณรูสึกวาคุณไมสามารถจะทําตัวไดตามสบายตามใจคุณได 0 1 2 3 4

27 คุณเช่ือวาคนอื่นมีความสามารถที่จะคนควา คนหาส่ิงตาง ๆ ไดดี 0 1 2 3 4

กวาคุณ

28 คุณมักจะกลัววาจะเกิดเร่ืองไมดีไมงามกับคุณสักวันหนึ่ง 0 1 2 3 4

29 คุณมักจะคิดถึงกิริยาทาทางที่คนอื่น ๆ แสดงตอคุณ 0 1 2 3 4

30 คุณคิดอยากที่จะเปนคนที่สามารถทําตัวใหเขากับผูอื่นไดดี 0 1 2 3 4

31 คุณคิดวาคุณสามารถพูดไดอยางสงา ภาคภูมิในการอภิปราย และ 0 1 2 3 4

ม่ันใจวาคําพูดที่พูดไปนั้นถูกตอง

32 คุณมักจะคิดวาสังคมกําลังรอคอยอะไรบางอยางจากคุณ 0 1 2 3 4

Page 15: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 207

ตารางวิเคราะหความเชื่อมั่นในตนเองของคุณ อายุ 14-16 17-21 22-30 มากกวา 30 ระดับความเชื่อม่ันในตัวเอง

คะแนน 0-8 0-20 0-12 0-15 สูงมาก 9-17 21-36 13-25 16-29 สูง 18-33 37-44 26-40 30-46 คอนขางสูง 34-54 45-69 41-59 47-66 คอนขางตํ่า 55-128 70-128 60-128 67-128 ตํ่า

1. ผูมีความเชื่อม่ันในตนเองสูงมาก คุณไมประสบปญหาอะไรเลยเก่ียวกับเร่ืองความ

เช่ือมั่นในตนเอง คุณจะไมรูสึกวิตกกังวลอะไรเลยกับการกระทําของคุณตอผูอ่ืน คุณเปนคนที่ไม

รูสึกสงสัยวาตนเองเปนคนมีปมดอยเลย

2. ผูมีความเชื่อม่ันในตนเองสูง เม่ือเปรียบเทียบกับคนในวัยเดียวกับคุณแลวคุณเปน

คนที่มีความเชื่อมั่นในตนเองดีทีเดียว คุณจะไมวิตกกังวลใด ๆ กับการกระทําของคุณที่มีตอผูอ่ืน

คุณจะรูสึกสงสัยในตัวเองหรือคิดวาตนเองมีปมดอยนอยมาก หรือถามีก็จะเปนเพียงบางคร้ังบาง

คราว

3. ผูมีความเช่ือมั่นในตนเองคอนขางสูง ความเชื่อมั่นในตนเองของคุณอยูในระดับ

ปกติ และมีแนวโนมวาจะพัฒนาสูงข้ึนไปเร่ือย ๆ

4. ผูมีความเชื่อม่ันในตนเองคอนขางตํ่า ความเชื่อมั่นในตนเองของคุณอยูในระดับตํ่า

กวาปกติเล็กนอย มีแนวโนมคอนขางตํ่า คุณจะคอนขางลําบากใจและรูสึกสงสัยในตนเอง คุณจะ

วิตกกังวลกับการกระทําของคุณตอผูอ่ืน ซึ่งมีสวนทําใหคุณรูสึกวาคุณมีปมดอย ถาคุณตองการ

พัฒนาตัวคุณใหดีข้ึนกวาที่เปนอยู โปรดอานคําแนะนํา

5. ผูมีความเชื่อม่ันในตนเองตํ่า ความรูสึกเช่ือมั่นในตนเปนปญหาสําคัญของคุณที่

เดียว คุณจะกังวลใจอยูเสมอกับการกระทําของคุณตอผูอ่ืน คุณอยากที่จะแกไขปญหาตาง ๆ ของ

คุณดวยการมีความเชื่อมั่นในตนเองสูง ๆ ดวยทาทางปกติไมประหมา คุณมีทางที่จะสรางความ

เชื่อมั่นในตัวเองใหสูงข้ึนไดโดยไมยาก โปรดอานคําแนะนํา

Page 16: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 208

คําแนะนําสําหรับผูมีความเชื่อมั่นในตนเองตํ่า การที่บุคคลมีความรูสึกวาตนเองมีปมดอยมากหรือนอยนั้น อาจเกิดมาจากสาเหตุที่

แตกตางกัน สาเหตุหนึ่งก็คือ ความไรสมรรถภาพทางรางกาย เชน นักวิ่งชาวอเมริกันช่ือ วิลมา

รูดอลฟ ซึ่งเปนโรคโปลิโอมาต้ังแตเด็ก เธอพยายามทํางานที่ตองใชอวัยวะพิการของเธอจนทําให

อวัยวะที่พิการนั้นแข็งแรงข้ึน และในการแขงขันกีฬาโอลิมปคที่กรุงโรม ประเทศอิตาลีในป 1960

เธอก็สามารถควาชัยชนะได จากตัวอยางนี้ไมไดหมายความวาผูปวยเปนโรคโปลิโอนั้นจะสามารถ

เปนแชมปโอลิมปคไดทุกคน ทั้งนี้จะตองข้ึนอยูกับสภาพความพิการและความพยายาม ตลอดจน

ความพรอมในการฝกฝนอีกดวย

อัลเฟรด แอดเลอร นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง ไดอุทิศชีวิตของเขาในการคนควาเร่ือง

ความรูสึกเปนปมดอย และไดใหขอคิดวาความตองการที่สําคัญอยางยิ่งของมนุษย คือความ

ตองการที่จะมีความเชื่อมั่นในตนเองและมีความสามารถหรือมีปมเดน

ความรูสึกเชื่อมั่นในตนเองนั้นอาจจะเห็นจากการไดมีโอกาสติดตอสัมพันธกับผูอ่ืนอาจ

สังเกตไดจากการแสดงอาการเอียงอาย รูสึกอึดอัดไมสบายใจ รูสึกกระดากอายเมื่อคุยถึงความดี

ของตนเอง แสดงความสนใจตอใคร ๆ อยางมาก ยกยองสรรเสริญใครสักคนอยางมากและการ

แสดงความเห็นพองกับเร่ืองตาง ๆ ของคนทั่วไป

อันที่จริงแลวการสรางความเช่ือมั่นใหเกิดกับตนเองมากเกินไปนั้น ก็ไมใชวาจะเปนส่ิงที่ดี

เสมอไป อาจจะทําใหขาดความยั้งคิดในการกระทําอะไรลงไป สวนใหญแลวคนที่มีความเชื่อมั่นใน

ตนเองสูง มักจะกระทําอะไรอยางตรงไปตรงมาโดยไมระมัดระวัง ซึ่งอาจจะสรางความขัดแยงกับ

ผูอ่ืนไดในสังคม อาจกอใหเกิดความเขาใจผิด ๆ หรือมองไปในแงไมดีหรือทําใหเกิดศัตรูมากกวาเพื่อน

ตามความคิดเห็นของนักจิตวิทยาเช่ือวา หนทางท่ีสามารถแกไขความรูสึกเปนปมดอยนั้น

มีอยูดวยกัน 2 วิธี คือ การปลดปลอยความรูสึกเปนปมดอยออกไป หรือการใชส่ิงอ่ืนมาชดเชย

หรือทดแทนปมดอยของเรา สําหรับการปลดปลอยความรูสึกเปนปมดอยนั้นหมายถงึวาเราจะไมถอื

วาปมดอยที่เรามีอยูนั้นเปนอุปสรรค และเราสามารถเอาชนะมักไดโดยไมตองทําอะไรมากนัก

แอดเลอรเขาใจวา คนเราทุกคนจะชดเชยหรือทดแทนปมดอยของตนเองอยูเสมอ การ

ชดเชยนั้นสามารถกระทําไดหลายรูปแบบแตกตางกันออกไป วิธีหนึ่งก็คือ การชดเชยโดยตรงเชน

วิธีการของวิลมา รูดอลฟ ถาใครมีความรูสึกไมมั่นใจในตนเองก็อาจจะหาวิธีการที่จะเอาชนะปม

ดอยนั้นในสภาพที่ตนเองเปนอยู ตัวอยางอีกตัวอยางหนึ่งคือ ชาวกรีกผูหนึ่งช่ือดีมอส ธเนสเขาเปน

ผูที่พูดติดอางเหมือนเด็ก ๆ แตเขาก็ไดใชความพยายามฝกฝนอยางหนักจนกลายเปนนักพูด

ปาฐกถาที่ฉลาดยอดเยี่ยม

Page 17: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 209

วิธีที่สองก็คือการชดเชยหรือทดแทนในรูปตาง ๆ เราอาจจะสรางความสามารถดาน

อ่ืนข้ึนมาชดเชยปมดอยที่เรามีอยู เชน ถาเรามีสุขภาพไมแข็งแรงไมสามารถเลนกีฬาไดดี เราก็อาจ

หันไปเอาดีทางดานการเรียนหรือความสามารถดานอ่ืน คนบางคนที่ไมประสบผลสําเร็จในการ

ทํางาน เขาก็หันมาทํางานอดิเรกจนประสบผลสําเร็จ การชดเชยดวยวิธีการนี้ก็อาจจะสรางความ

เชื่อมั่นในตนเองไดอยางนาพึงพอใจทีเดียว

ถาวิธีการทั้งสองขางตนนั้นไมอาจสรางความเชื่อมั่นในตนเองได เราก็อาจใชวิธีการที่ 3

วิธีการนี้ก็คือใชวิธีการหลอกลอทั้งตนเองและผูอ่ืนดวยการทาทาย ต้ังกฎเกณฑและปฏิบัติ

ตามอยางเครงครัด พยายามบังคับตนเอง ด้ืนร้ันกับปมดอยของตนเองแลวแสดงออกในทางตรงกัน

ขาม พยายามไมยอมรับความเปนปมดอยของเราเสีย กีดกันมันไว แลวความเช่ือมั่นของเราก็จะ

เกิดข้ึนมา ถึงแมวามันอาจไมเปนความเช่ือมั่นที่แทจริงที่เกิดข้ึนในขณะนี้ หรืออาจจะทําใหเรา

ประหมาข้ึนมาบางก็ตาม

การสรางความเชื่อมั่นในตนเองนั้น จึงเปนส่ิงสําคัญที่ควรจะไดพัฒนาข้ึนมาจาก

บุคลิกภาพภายในของตัวเรา เราไมสามารถที่จะเสแสรงความเช่ือมั่นของเราได และยิ่งกวานั้นการ

สรางความเชื่อมั่น มิใชเพียงแตจะหาปมเดนมาชดเชยปมดอยเทานั้น แตเราจะตองยอมรับปมเดน

นั้นดวย ซึ่งจะกลายเปนรากฐานสําคัญสําหรับความเชื่อมั่นในตนเองในเร่ืองอ่ืน ๆ ที่จะเกิดข้ึนตอไป

คําแนะนํา 10 ประการ เพื่อสรางความเชื่อมั่นในตนเอง 1. เริ่มตนดวยการคนหาสาเหตุที่ทําใหเรารูสึกวามีปมดอย เมื่อเรารูวาอะไรเปน

สาเหตุแลว เราก็จะพยายามสรางเงื่อนไขข้ันแรกข้ึนมาดวยจุดประสงคที่จะแกไขความเช่ือมั่นในตัว

ของเราเอง

2. พยายามฝกฝนและลบลางความออนแอของเรา ส่ิงสําคัญสําหรับเราก็คือพยายาม

สํารวจความกลาใหเกิดข้ึน และถือวาความกลาที่เกิดข้ึนนี้เปนการแกไขข้ันที่สองท่ีใกลจะประสบ

ผลสําเร็จแลว

3. พยายามปรับปรุงแกไขความสามารถของเราตอไปเรื่อย ๆ ดวยวิธีการนี้จะชวย

สรางส่ิงชดเชยความเปนปมดอยของเรา และจะกลายเปนส่ิงสําคัญสําหรับเราในไมชา

4. จงพอใจและภาคภูมิใจอยางเชื่อมั่นกับผลสําเร็จ ที่เราไดรับในงานใดก็ตาม และ

ประเมินมันดวยตัวเราเอง ซึ่งจะมีสวนสําคัญอยางยิ่งที่จะทําใหเรามองเห็นคุณคาและความสําคัญ

ของตัวเรามากกวาที่จะไปฟงความคิดเห็นจากผูอ่ืน

5. พยายามทําใจใหเปนปกติ เม่ือไดรับฟงความคิดเห็นจากผูอ่ืน อยาหวั่นไหวหรือรูสึก

ตอตานกับความเชื่อมั่นในตนเอง ใหเรารูสึกวาภายในตัวเรานั้นมีความแนใจและมีอิสระเสรีภาพ

Page 18: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 210

6. ในกรณีที่เรารูสึกผิดหวังหรือไมพอใจกับงานที่เราทําอยู และมองไมเห็นทางที่จะ

แกไขตัวเราเองไดเลย เราก็ควรจะหันมาทํางานดานอ่ืน เชนงานอดิเรกดวยวิธีการนี้ เราก็จะ

สามารถชดเชยความผิดหวัง และจะชวยดึงเราออกมาจากความรูสึกไมเชื่อมั่นในตนเองไดดวย

7. ถาเราถูกขอรองใหทํางานยาก ๆ สักชิ้น เราจะตองพยายามมองงานนั้นในแงดี และ

ต้ังความหวังไวลวงหนากอน ถาเรากลัวหรือข้ีขลาดกับมัน ความเชื่อมั่นในความสามารถของเราก็

จะลดลงไปเร่ือย ๆ และจะจบลงดวยการประสบความลมเหลวแมกับงานที่ไมยากเย็นอะไรเลย

8. อยาทะเยอทะยานมากเกินไป ทั้งนี้เพราะการมักใหญใฝสูงเกินไปนั้นเปนอันตราย

อยางยิ่ง ยิ่งเรามีความทะเยอทะยานมากเทาไร มันก็ยิ่งสรางความลําบากแกเรามากข้ึนเทานั้น

9. อยาเอาตัวเราไปเปรียบเทียบกับผูอ่ืนมากนัก งานหลายประเภทคนอ่ืนเขาอาจทํา

ไดดีกวาเรา ถาเรายังคงเอาตัวเราไปเปรียบเทียบกับผูอ่ืนอยู เราเองนั่นแหละจะตองประสบความ

ผิดหวัง และจะมีผลที่ทําใหเรามองคุณคาในตัวเราเองลดลง

10. อยาไปยึดม่ันกับคติที่วา “เขาทําได เราตองทําได” ทั้งนี้เพราะไมมีมนุษยคนใด

หรอกที่จะสามารถทํางานทุกอยางไดดีเลิศหรือเกงไปเสียหมดทุกอยาง (สถิต วงศสวรรค. 2540 :

54-55)

ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย Thai Happiness Indicators (THI – 66) คําจํากัดความ ความสุขในท่ีนี้ คือสภาพชีวิตที่เปนสุขอันเปนผลจากการมีความสามารถในการจัดการ

ปญหาในการดําเนินชีวิต มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดี โดยครอบคลุมถึง

ความดีงามภายในจิตใจ ภายใตสังคมและส่ิงแวดลอมที่เปล่ียนไป ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทยฉบับสมบูรณ

คําชี้แจง กรุณากาเคร่ืองหมาย 4ลงในชองที่มีขอความตรงกับตัวทานมากที่สุด คําถาม

ตอไปนี้จะถามถึงประสบการณของทานในชวง 1 เดือนที่ผานมา ใหทานสํารวจ

ตัวเองและประเมินเหตุการณ อาการ ความคิดเห็นและความรูสึกของทานวาอยู

ในระดับใด แลวตอบลงในชองคําตอบที่เปนจริงกับตัวทานมากที่สุด โดยคําตอบ

จะมี 4 ตัวเลือกคือ

ไมเลย หมายถึง ไมเคยมีเหตุการณ อาการ ความรูสึก หรือไมเห็นดวยกับเร่ืองนั้น ๆ

เล็กนอย หมายถึง เคยมีเหตุการณ อาการ ความรูสึกในเร่ืองนั้น ๆ เพียงเล็กนอยหรือเห็น

ดวยกับเร่ืองนั้น ๆเพียงเล็กนอย

Page 19: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 211

มาก หมายถึง เคยมีเหตุการณ อาการ ความรูสึกในเร่ืองนั้น ๆ มาก หรือเห็นดวยกับ

เร่ืองนั้น ๆ มาก

มากท่ีสุด หมายถึง เคยมีเหตุการณ อาการ ความรูสึกในเร่ืองนั้น ๆ มากที่สุดหรือเห็นดวย

กับเร่ืองนั้น ๆ มากที่สุด

ขอ คําถาม ไมเลย เล็กนอย มาก มากที่สุด

1 ทานรูสึกพึงพอใจในชีวิต

2 ทานรูสึกวาชีวิตของทานมีความสุข

3 ถาใหเปรียบเทียบกับในอดีตทานรูสึกวาชีวิตในปจจุบัน

ของทานมีความสุข

4 ทานมีโรคประจําตัวที่ตองรักษาอยางตอเนื่อง

5 ทานตองไปรับการรักษาพยาบาลเสมอ ๆ เพื่อให

สามารถดําเนินชีวิตและทํางานได

6 ทานตองใชยา (กิน ฉีด พน ทา) อยูเสมอ จึงจะสามารถ

ทํางานได

7 ทานเปนโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ

อัมพาต ลมชัก ฯลฯ ในกรณถามีใหใสเล็กนอยหรือมาก

ตามอาการที่มี)

8 ทานรูสึกกังวลและทุกขทรมานใจเก่ียวกับการเจ็บปวย

ของทาน

9 ทานรูสึกวาชีวิตของทานไรคา ไมมีประโยชน

10 ทานรูสึกวาชีวิตของทานมีแตความทุกข

11 ทานยอมรับรูปรางหนาตาของตนเองได

12 ทานพึงพอใจในรูปรางหนาตาของทาน

13 ทานรูสึกพอใจที่สามารถทําอะไร ๆ ผานไปไดในแตละวัน

14 ทานสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจําวันตาง ๆ ดวยตัวทาน

เอง

15 ทานพอใจตอการผูกมิตรหรือเขากับบุคคลอื่น

16 ทานมีสัมพันธภาพท่ีดีกับเพื่อนบาน

17 ทานคิดวาทานมีความเปนอยูและฐานะทางสังคมตามที่

ทานไดคาดหวังไว

18 ทานรูสึกประสบความสําเร็จและความกาวหนาในชีวิต

19 ทานประสบความสําเร็จอยางที่ทานตองการเสมอ

Page 20: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 212

ขอ คําถาม ไมเลย เล็กนอย มาก มากที่สุด

20 ทานรูสึกพึงพอใจกับฐานะความเปนอยูของทาน

21 ทานมองปญหาทุกปญหาเปนส่ิงที่แกไขได

22 ทานสามารถควบคุมอารมณได เม่ือมีเหตุการณคับขัน

หรือรายแรงเกิดขึ้น

23 ทานม่ันใจท่ีจะเผชิญกับเหตุการณรายแรงที่เกิดขึ้นใน

ชีวิต

24 ทานพรอมที่จะเผชิญกับปญหาและไมกลัวปญหาท่ี

เกิดขึ้น

25 ทานแกปญหาที่ขัดแยงไดดีเสมอ

26 บางคร้ังทานรูสึกเศราโดยไมทราบสาเหตุ

27 ทานรูสึกขี้โมโห ฉุนเฉียวหรือหวั่นไหวงายอยางไมมี

เหตุผล

28 ทานหงุดหงิดโมโหงายถาทานถูกวิพากษวิจารณ

29 ทานรูสึกกังวลใจกับเรื่องทุกเร่ืองที่มากระทบตัวทาน

30 ถา ส่ิงตาง ๆ ไม เปนไปตามที่คาดหวังทานจะรู สึก

หงุดหงิด

31 ทานรูสึกหงุดหงิดกังวลใจกับเร่ืองเล็ก ๆ นอย ๆ ที่เกิดขึ้น

เสมอ

32 ทานใหความชวยเหลือแกผูอื่นตามโอกาสอันควร

33 ทานเสียสละแรงกายหรือทรัพยสินเพื่อประโยชนสวนรวม

34 หากมีสถานการณที่คับขันเส่ียงภัยทานพรอมจะใหความ

ชวยเหลือรวมกับผูอื่น

35 ทานตองการที่จะทําบางส่ิงที่แปลกใหมและแตกตางกวา

ที่เปนอยู

36 ทานมีความสุขกับการริเร่ิมงานใหม ๆ และมุงม่ันท่ีจะทําให

สําเร็จ

37 ทานรูสึกผิดหวังในตัวเอง

38 ทานรูสึกวาชีวิตของทานนาเบื่อ

39 ทานรูสึกเบื่อหนายทอแทกับการดําเนินชีวิตประจําวัน

40 ทานรูสึกคลายคนลมเหลวหรือประสบกับความผิดหวัง

41 เม่ือทานจะเริ่มทํางานท่ีมีความยุงยาก ทานจะขอใหส่ิง

ศักด์ิสิทธิ์ชวยอยูเสมอ

Page 21: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 213

ขอ คําถาม ไมเลย เล็กนอย มาก มากที่สุด

42 ความเช่ือหรือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ที่ทานยึดถือ ทําใหทานมีความ

เขมแข็งและสามารถเผชิญกับความยุงยากได

43 เม่ือทานพบกับความผิดหวังหรือทุกขใจ ทานจะขอใหส่ิง

ศักด์ิสิทธิ์ชวย

44 ทานพึงพอใจกับความสามารถของตนเอง

45 ทานรูสึกภูมิใจในตนเอง

46 ทานรูสึกยินดีกับความสําเร็จของคนอื่น

47 ทานรูสึกเห็นอกเห็นใจเมื่อผูอื่นมีทุกข

48 ทานรูสึกเปนสุขในการชวยเหลือผูอื่นที่มีปญหา

49 ทานมีความม่ันใจวาญาติหรือเพื่อนจะชวยเหลือทาน ถา

มีเหตุการณรายแรงหรือฉุกเฉินเกิดขึ้นกับทาน

50 ทานมีเพื่อนหรือญาติพี่นองคอยชวยเหลือทานในยามท่ี

ทานตองการ

51 ทานไดรับความชวยเหลือตามที่ทานตองการจากคนอื่น

52 ทานเห็นดวยวาครอบครัวของทานเปนแหลงท่ีจะชวย

หาทางออกใหกับปญหาสวนใหญที่ทานมี

53 ทานเห็นด วยว าสมา ชิกในครอบครั วส วนใหญ มี

ความรูสึกผูกพันอยางใกลชิด

54 ทานเห็นดวยวาครอบครัวของทานสามารถแกปญหาได

ทุกเร่ือง

55 ทานรูสึกม่ันคงปลอดภัยเม่ืออยูในครอบครัว

56 เม่ือทานปวยหนักทานเห็นดวยวาครอบครัว และญาติจะ

ดูแลทานเปนอยางดี

57 ทานปรึกษาหรือขอความชวยเหลือจากครอบครัวเสมอ

เม่ือทานมีปญหา

58 สมาชิกในครอบครัวมีความรักและผูกพันตอกัน

59 ทานม่ันใจวาชุมชนที่ทานอยูอาศัยมีความปลอดภัยตอ

ทาน

60 ทานรูสึกม่ันคงปลอดภัยในทรัพยสินเม่ืออาศัยอยูใน

ชุมชนน้ี

61 เ ม่ือทานเจ็บปวยทานไปใชบริการจากหนวยงาน

สาธารณสุขใกลบาน

Page 22: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 214

ขอ คําถาม ไมเลย เล็กนอย มาก มากที่สุด

62 เม่ือญาติของทานเจ็บปวยก็นําไปบริการจากบริการ

สาธารณสุขใกลบานเชนกัน

63 ทานมีโอกาสไดพักผอนคลายเครียด

64 ทานมีความสุขทุกคร้ังที่มีเวลาวางเพื่อผอนคลาย

65 ในชุมชนมีเสียงดังรบกวนการดําเนินชีวิตของทาน

66 ในชุมชนมีกล่ินเหม็นรบกวนการดําเนินชีวิตของทาน

การใหคะแนนและการแปลผลคาปกติของดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย (66 ขอ)

การใหคะแนน แบงออกเปน 2 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 ไดแกขอ 1 2 3 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 32 33 34 35 36 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64

แตละขอใหคะแนนดังตอไปนี้

ไมเลย = 0 คะแนน เล็กนอย = 1 คะแนน

มาก = 2 คะแนน มากที่สุด = 3 คะแนน กลุมที่ 2 ไดแกขอ

4 5 6 7 8 9 10 26 27 28 29 30 31 37 38 39 40 65 66

แตละขอใหคะแนนดังตอไปนี้

ไมเลย = 3 คะแนน เล็กนอย = 2 คะแนน

มาก = 1 คะแนน มากที่สุด = 0 คะแนน

การแปลผล เมื่อรวมคะแนนทุกขอแลวนํามาเปรียบเทียบกับเกณฑปกติที่กําหนดดังนี้

(คะแนนเต็ม 198 คะแนน)

143 – 198 คะแนน หมายถึง มีความสุขมากกวาคนทั่วไป (Good)

122 – 142 คะแนน หมายถึง มีความสุขเทากับคนทั่วไป (Fair)

121 คะแนนหรือนอยกวา หมายถึง มีความสุขนอยกวาคนทั่วไป (Poor)

(กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2544)

Page 23: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 215

8.4.2 วิธีการสังเกต (Observation) เปนการเฝาดูพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกที่เจาตัว

ไมทราบวามีใครคอยเฝาดู การสังเกตทําไดโดยไมยาก แตผูเฝาสังเกตตองต้ังใจจริง รวมทั้งมีการ

จดบันทึกพฤติกรรม ผูสังเกตจะตองไมมีอคติสวนตัวตอผูถูกสังเกต ควรใชผูสังเกตหลาย ๆ คน และ

หลาย ๆ คร้ัง การบันทึกตองใหตรงตามที่ไดเห็นหรือไดยิน ไมนําความรูสึกสวนตัวเขาไปเกี่ยวของ

การสังเกตถาจะใหไดผลดีตองใชระยะเวลานาน กระทําซ้ําหลาย ๆ คร้ัง จนเกิดความมั่นใจวาผล

จากการสังเกตนั้นเช่ือถือได

กรอนลันด (Gronlund) ไดแบงสิ่งที่ควรสังเกตไวเปนดานตาง ๆ ดังนี้ (สถิต วงศสวรรค :

2540 : 48)

1) ดานทักษะในการพูด การเขียน การฟง การอานออกเสียง ทกัษะดานการกฬีา ดนตรี

การวางรูป เปนตน

2)นิสัยการทํางาน ส่ิงทีเ่ราสังเกตไดแก ความพยายามในการทํางานใหสําเร็จลุลวง

ความสามารถในการวางแผนการทํางาน ความชาํนาญในการใชอุปกรณเคร่ืองใช ความมมุานะใน

การทาํงาน รวมถึงความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการทํางาน

3) เจตคติทางวิทยาศาสตร เปนผูที่คิดโดยใชเหตุผลตัดสินปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน เปนผู

ที่เสาะแสวงหาความรูเพิ่มเติม พรอมที่จะเรียนรูส่ิงใหม ๆ อยูเสมอ

4) เจตคติทางสังคม เปนการแสดงออกท่ีเกีย่วของกบัสวัสดิภาพของผูอ่ืน การรักษา

ระเบียบวนิัย กฎหมาย กฎเกณฑของสังคม การเคารพสิทธิมนุษยชน ทรัพยสินของผูอ่ืน ความเอา

ใจใสตอสังคม การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมที่เปนสาธารณะประโยชน

5) ความสนใจ ความสนใจพิเศษในดานตาง ๆ เชนความสนในกิจกรรมทางอาชีพ ความ

สนใจในดานเทคโนโลยี ทางดานวทิยาศาสตรทางดานนนัทนาการ เปนตน

6) ความซาบซ้ึง ไดแก ความยนิดี ความพอใจตอธรรมชาติ ความซาบซึง้ในศิลปะ

วรรณคดี ดนตรี

7)การปรับตัว จะสังเกตจากความมีมนุษยสัมพนัธ รวมทั้งสัมพนัธภาพที่มีตอบุคคลทั่วไป

ความมัน่คงทางอารมณ การควบคุมอารมณเมื่อถูกวพิากษวิจารณ ตําหน ิหรือชมเชย 8.4.3 วธิีการทดสอบ(Testing) ในทีน่ี้จะกลาวถึงแบบทดสอบโปรเจคทฟี(Projective Test) เปนแบบทดสอบที่ผู

ทดสอบจะไดแสดงความรูสึกนึกคิดออกมาทางออม เปนการดึงเอาจินตนาการ ความคิดความฝน

ของแตละบุคคล ซึ่งซอนอยูในจิตไรสํานกึของผูตอบ คําตอบที่ไดจะไมมีถูกหรือผิด แบบทดสอบ

โปรเจคทีฟที่นยิมกนัแพรหลายมีดังนี ้

Page 24: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 216

1) Rorschach Inkblot Test 2) Thematic Apperception Test ( T.A.T.) 3) Children Apperception Test (C.A.T.) 4) Sentence Completion Test 5) Draw – A – Person (D.A.P.) House – Tree – Person (H.T.P.) Play and Drama

1) แบบทดสอบรอยหยดหมึกของรอรสชาค (Rorschach Inkblot Test) เทคนิคการ

ฉายภาพออก (Projective Technique) ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ รอรสชาค อ้ิงคบลอทส

(Rorschach Inkblots) ซึ่งพัฒนาโดยเฮอรแมนน รอรสชาค (Hermann Rorschach) จิตแพทย

ชาวสวิส ไดมีการเร่ิมบรรยายถงึเทคนคินี้เมื่อป 1921 กอนหนานั้นไดมนีักจิตวิทยาไดใชอิง

คับลอทสชุดมาตรฐานมาแลว แตรอรสชาคเปนบุคคลแรกที่นาํเอารอยหยดหมึก Inkblots ไปใชใน

การศึกษาวิจัยบุคลิกภาพรวมทั้งหมด รอรสชาคไดทําการทําลองใชรอยหมึกเปนจาํนวนหลายภาพ

โดยใชกับคนไขจิตเวชกลุมตาง ๆ และผลจากการสังเกตทางดานคลีนิคนี้เอง ไดการตอบสนองที่

แตกตางกนัระหวางสาเหตุของโรคจิตประเภทตาง ๆ มีการรวบรวมเขาดวยกนัเปนระบบการให

คะแนน วธิีการใหคะแนนทําไดดีข้ึนดวยการทดสอบเพิ่มเติมในกลุมคนสมองพกิาร คนปกติ

ศิลปน นักวทิยาศาสตร นักวิชาการ และบุคคลอ่ืน ๆ ทีม่ีผูรูจักกันดี ระเบียบวธิีของรอรสชาคนั้นเปน

แบบแรกที่ไมเปนพิธกีารและใชเกณฑการไขคําตอบคอนขางอัตนัย

แบบทดสอบของ Rorschach เปนแบบทดสอบโดยใชหยดหมึกลงในบัตรขนาด 7” x 9.5”

มีภาพทั้งหมด 10 บัตร เปนหมึกสี 5 บัตร หมึกขาวดํา 5 บัตร ภาพทีป่รากฎเปนภาพที่กาํกวมไม

ชัดเจน โดยใชทฤษฎีที่วา ส่ิงที่เรามองและวิธีที่เรามองรอยหยดหมึกนัน้เปนเงื่อนงําทีจ่ะบอกใหเรารู

ถึงบุคลิกภาพของคนคนหนึง่ ที่เหน็หยดหมึกเดียวกนัเปนรูปภาพที่แตกตางกนัก็แสดงวาบุคคลทั้ง

สองมีบุคลิกภาพตางกนั

ขณะที่ผูรับการทดสอบภาพหยดหมึกทีละแผนนัน้ เขาจะไดรับคําส่ังใหบอกวาเขาเห็นภาพ

อะไรบาง ผูทําการทดสอบจะทาํการจดบันทกึเวลาที่ใชตอบสนองตําแหนงของภาพที่เขาจับมองดู

ขอคิดที่เขาพูดออกมาเอง อารมณที่แสดงออก และพฤติกรรมที่แสดงออก โดยบังเอิญอ่ืน ๆ ของ

ผูรับการทดสอบดูภาพทัง้ 10 ภาพแลว ผูทดสอบจะถามผูรับการทดสอบอยางเปนระบบระเบียบถึง

สวนตาง ๆ และความหมายของรอยหยดหมึกแตละภาพที่เกี่ยวกับจิตผูกพัน ในขณะที่ถามนี้ผูรับ

การทดสอบจะไดอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมใหละเอียดชัดเจน ถงึส่ิงที่ตอบสนองไปกอนแลวดวย

Page 25: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 217

แบบทดสอบรอยหยดหมึกของรอรสชาคนาํไปใชไดกับเด็กเล็กกอนวัยเรียนจนถึงผูใหญแต

สวนใหญจะไดมาจากกลุมผูใหญ

2) Thematic Apperception Test (T.A.T.) Henry A. Murray เปนผูสรางแบบทดสอบ

เกี่ยวกับการเลาเร่ืองราวตาง ๆ จากรูปภาพที่เห็นซึง่เปนภาพมีลักษณะคลุมเครือไมชัดเจน

แบบทดสอบ T.A.T. ประกอบดวยบัตรทีม่ีภาพ 19 แผน เปนภาพขาวดําและบัตรเปลาไมมีภาพ

อะไรอีกหนึง่แผน ผูถูกทดสอบจะตองเลาเร่ืองหรือผูกเร่ืองใหตรงกบัรูปภาพแตละแผน ใหเลาวา

อะไรทําใหเกิดเหตุการณที่แสดงในภาพ และบรรยายวากําลังเกิดอะไรข้ึนในขณะนั้น ตัวละครแต

ละตัวในภาพกําลังรูสึกและคิดอยางไรและใหบอกถงึผลของมันดวย สวนบัตรเปลาไมมีภาพอะไร

ในนัน้ ผูรับการทดสอบจะถูกส่ังใหใชจิตนาการนกึถึงภาพบางภาพในบัตรนั้นแลวบอกใหทราบ

และเลาเปนเร่ืองเกี่ยวกับภาพนัน้ วิธกีารด้ังเดิมที่เมอรเรยไดรางเอาไวในคูมือแบบสอบใชเวลา

ทดสอบคร้ังละ 1 ชั่วโมง รวม 2 คร้ัง แตละคร้ังใชบัตร 10 ฉบับ การทดสอบคร้ังหลังเลือกภาพที่

ดูคอนขางแปลกไปจากธรรมดาสามัญ เหมือนละครพรอมทั้งใหคําแนะนาํกระตุนใหผูรับการ

ทดสอบเลาเร่ืองไปตามจินตนาการของเขาอยางอิสระเสรี

การตีความหมายเร่ืองราวใน ที เอ ที (T.A.T) ผูทดสอบจะตรวจดูกอนวาใครเปน “ตัวเอก”

ของตัวละครชายหรือหญิง ซึ่งผูรับการทดสอบไดสมมติวาเขาเปนคนนัน้ เนื้อหาของเร่ืองจะถูก

วิเคราะหตามหลักของเมอรเรย (Murray) ที่มีรายการเก่ียวกับ “ความตองการ” (Needs) และ “แรง

กดดัน” (Press) รวมทั้งความตองการสัมฤทธ์ิผล ความตองการไมตรีสัมพันธและความตองการ

กาวราวหรือรุกรานผูอ่ืน เปนตน แรงกดดันหมายถงึแรงจากส่ิงแวดลอมรอบ ๆ ตัว ซึง่อาจเปนแรง

สงเสริมหรือขัดขวางส่ิงที่จะสนองความตองการ การถกูผูอ่ืนโจมตี หรือวิจารณ การไดรับความรัก

การมีความสุข และการเผชิญกับอันตรายตอรางกาย

3) Children Apperception Test (C.A.T.) แบบทดสอบ ซ ี เอ ท ี (C.A.T.) ไดสรางข้ึนมา

เปนพิเศษ เพือ่ใชกับเด็กอายุต้ังแต 3 – 10 ป บัตรภาพในแบบทดสอบ ซ ี เอ ท ี (C.A.T.) ใชภาพ

สัตวแทนภาพคนซ่ึงมีขอตกลงวาเด็ก ๆ มักพรอมทีจ่ะฉายความรูสึกนึกคิดออกมากับภาพสัตวได

มากกวาภาพคน สัตวตาง ๆ ที่แสดงในภาพอยูในสถานการณเหมือนอยางคนธรรมดาทั่วไปใน

ลักษณะแบบอยางมนษุยในนทิานสนุกเร่ืองยาวและหนงัการตูน รูปภาพเหลานั้นสรางข้ึนเพื่อ

กระตุนความเพอฝนที่เกีย่วกับปญหาการปอนและการกินอาหาร และกิจกรรมเกีย่วกับปาก การ

แขงดีระหวางพี่นอง ความสัมพันธระหวางบิดามารดากับบุตร ความกาวราว การฝกขับถายและ

ประสบการณอ่ืน ๆ ในวัยเด็ก มีการวิจัยอีกหลายช้ิน ซึ่งศึกษาจากเด็กช้ันประถมหนึง่ข้ึนไป คนพบ

ขอขัดแยงกับขอตกลงของผูสราง ซี เอ ท ี (C.A.T.) คือ พบวาไมมีขอแตกตางทางผลิตผลการ

Page 26: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 218

เพื่อโตตอบตอผลการวิจยัเหลานี้ ผูสราง ซี เอ ที ไดดัดแปลงสรางแบบทดสอบข้ึนใหมชุด

หนึง่ โดยใชรูปคนซ่ึงมวีา ซี เอ ท-ีเอช (C.A.T.-H) เพื่อใชกับเด็กทีม่อีายุมากกวา โดยเฉพาะอยาง

ยิ่งกับเด็กที่มีอายุจิตต้ังแต 10 ปข้ึนไป Bellak and Hurvich ผูสรางยืนยันวาไมวาแบบสอบชุด

ภาพคนหรือภาพสัตวตางกอ็าจมีประสิทธิภาพดีกวากนัได ทัง้นี้ข้ึนอยูกับระดับอายุและ

บุคลิกภาพของเด็ก

4) Sentence Completion Test (S.C.T.) การเติมประโยคใหสมบูรณ (Sentence

Completion) วิธีแตกตางจากประโยคที่ไมสมบูรณ (Incomplete Sentence) ซึ่งบางคร้ังใชประเมนิ

ความถนัดทางภาษาเขียน แตวิธีเติมประโยคใหสมบูรณที่ใชกันในแบบสอบการฉายออกนั้น

สามารถแปรเปล่ียนที่ใหสมบูรณไดอยางกวางขวาง โดยทั่ว ๆ ไปแลวจะกําหนดคําชนิดเปดหรือ

สวนสําคัญของประโยคไวใหเทานั้น แลวผูตอบจะตองเขียนตอบใหจบประโยคดังตัวอยางที่แสดง

ไวขางลางนี ้

ขาพเจารูสึก………………………………….

ส่ิงทีท่ําใหขาพเจาไมพอใจ………………………………..

ใจของขาพเจา……………………………….

ถาขาพเจามีทางที่จะทําตามวิธีของขาพเจา………………………….

สวนสําคัญของประโยคมักสรางข้ึนเพื่อกระตุนใหเกิดการตอบสนอง ทางดานที่เกี่ยวของ

กับบุคลิกภาพที่กําลังศึกษาสอบสวนอยู ความคลองตัวของเทคนิคการเติมประโยคใหสมบูรณนี้

เปนประโยชนในทางคลีนิคทางการวิจัย อยางไรก็ตาม มีฟอรมมาตรฐานบางฟอรมไดพิมพข้ึนเพื่อ

ใชในกรณีทัว่ไป

ตัวอยางแบบสอบถาม Rotter Incomplete Sentences Blank ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ

ของประโยคอยู 40 ขอ และมีคําส่ังดังนี ้ “จงทาํประโยคเหลานี้ใหสมบูรณเพื่อแสดงออกถึง

ความรูสึกที่แทจริงของทาน ขอใหพยายามทําทุกขอ และตองใหแนใจวาไดทาํใหเปนประโยคที่

สมบูรณ” ประโยคที่สมบูรณแตละประโยคจะไดรับคะแนนตามมาตรา 7 แตม (Seven-point

Scale) ตามดีกรีการปรับตัวดีหรือไมดีที่ไดแสดงไวตัวอยางประโยคทีส่มบูรณพรอมทั้งคะแนนที่ให

มีอยูในหนงัสือคูมือแบบสอบเนื่องจากมีตัวอยางการตอบสนองไวแลว ดังนั้นจึงสามารถใหคะแนน

อยางปรนัยได ผลรวมของคะแนนทั้งหมดเปนคะแนนทัง้หมดของการปรับตัว ซึ่งสามารถเอามาใช

Page 27: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 219

แบบทดสอบการเติมประโยคใหสมบูรณ ซึ่ง โรหด (Rohde. 1957) เปนผูพัฒนาข้ึนมีระบบ

การใหคะแนนเชิงปริมาณในเทอมของความตองการและแรงกดดัน (Need and Press) ของเมอร

เรย (Murray) ปรากฏวา การใหคะแนนแบบนี้กนิเวลามากเกินไป อยางไรกต็าม อาจใชการ

วิเคราะหเนื้อหาเชงิคุณภาพแทนได ขอมูลเกี่ยวกับปกติวิสัยไวรวบรวมมาจากนักเรียนช้ันมัธยมตน

และผูใหญกลุมปกติ และยังมีผลการเปรียบเทียบจากกลุมตัวอยางคนโรคประสาทและโรคจิตดวย

5) Draw-A-Person Test (D.A.P.) D.A.P. คือ เทคนิคการสืบสวนเพื่อหาแนวทางใน

การวนิิจฉัยโดยการวาดภาพ ผูรับการทดสอบจะไดรับแจกกระดาษและดินสอ และไดรับคําส่ังวา

ใหวาดภาพคนมาหน่ึงภาพ เมื่อวาดเสร็จแลวก็จะไดรับคําส่ังใหมใหวาดภาพคนอีกภาพหนึง่ ที่เปน

เพศตรงขามกบัภาพแรก ในขณะทีท่ําการวาดภาพอยูนั้นผูทดสอบกจ็ะจดบันทึกความเหน็ของเขา

เกี่ยวกับผูรับการทดสอบ ลําดับภาพที่เขาวาดสวนใดกอนหลังอยางไร และรายละเอียดอ่ืนเก่ียวกบั

การวาดภาพของเขาดวย การวาดภาพน้ีอาจจะติดตามดวยการซกัถามใหผูวาเลาเร่ืองที่เขาสมมติ

ข้ึนเกี่ยวกับคนท่ีเขาวาดแตละคน คลายกับวาตัวเขาเปนตัวละครตัวหนึ่งในบทละครหรือนวนิยาย

และใชคําถามชุดหนึง่ ในระหวางซกัถามเพื่อใหไดขอสนเทศเกี่ยวกบัอายุ การศึกษา อาชพี

ครอบครัวและขอเท็จจริงอ่ืน ๆ ที่สัมพันธกบัตัวละครที่วาดนั้น

5.1) House-Tree-Person (H.T.P.) แบบทดสอบการวาดภาพที่เราใหเกิดความสนใจกนั

มาก โดยที่มกีารพิมพเผยแพรผลงานการวิจัยมาก ไดแก เฮาส-ทรี-เพอรซัน โปรเจ็คตีพเทคนิค

(House-Tree-Person Projective Techique) ซึ่งใชอักษรยอวา H-T-P ซึ่งเจ.เอ็น.บัค (J.N.Buck)

เปนผูสรางข้ึน แบบทดสอบนี้ผูรับการทดสอบจะไดรับคําส่ังใหวาดภาพบานที่สวย ๆ มาหลังหนึ่ง

ตอไปก็ใหวาดภาพตนไมแลวก็ใหวาดรูปคน ในระหวางนั้นผูทดสอบก็จดบันทึกเกี่ยวกบัเวลาทีใ่ช

วาดลําดับสวนตาง ๆ ทีว่าดกอนหลัง ขอคิดเห็นและการแสดงออกทางอารมณ เมือ่เสร็จจากการ

วาดภาพแลว ก็จะมีการซักถามซ่ึงรวมถึงชดุคําถามที่เปนมาตรฐาน การวาดภาพจะถูกวิเคราะหทัง้

ดานปริมาณและคุณภาพ ซึง่สวนใหญจะเนนมุงที่ลักษณะรูปรางและแบบ

บัค (Buck) ใหเหตุผลเกี่ยวกับการเลือกใหวางวัตถุสามส่ิงนัน้เพราะ “บาน” จะเปนส่ิงเรา

ใหเกิดความสมัพันธเกีย่วกับบานที่บุคคลนัน้อยูอาศัย และบุคคลอ่ืน ๆ ที่อาศัยอยูรวมกับเขา “ตนไม”

จะชวยกระตุนใหเกิดความสัมพันธเกีย่วกบับทบาทชีวิตของเขา และความสามารถของเขาที่จะหา

ความพอใจจากส่ิงแวดลอมทั่วไป และ “คน” จะทาํใหเกิดความสัมพันธเกีย่วกับสัมพนัธภาพ

ระหวางบุคคลของเขา จิตแพทยบางคนอาจเห็นวาการวาดภาพเชนนีม้ี

Page 28: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 220

5.2) Play and Drama แบบทดสอบเคร่ืองเลน (Toy Tests) เคร่ืองเลนและวัตถุสําหรับ

เลนละคร เชน หุนกระบอก ตุกตาและรูปจําลอง ไดมีผูนํามาใชทดสอบการฉายออกอยาง

กวางขวาง เร่ิมตนที่เดียวก็ใชในการรักษาดวยการเลน (Play Therapy) และวัสดุเหลานี้ไดรับการ

ดัดแปลงนํามาทดสอบเพื่อการวนิิจฉัยทั้งผูใหญและเด็ก ตามปกติจะมีการเลือกวัตถุ เพื่อใหมี

คุณคาเหมาะกับความสัมพนัธที่คาดหวังไว ส่ิงของที่ใชบอยที่สุดก็คือ ตุกตา ที่แทนผูใหญและเด็ก

ทั้งเพศหญิงและเพศชาย เคร่ืองเฟอรนิเจอร หองน้าํ หองครัว และส่ิงของอ่ืน ๆ ที่ใชในบาน การเลน

กับส่ิงของตาง ๆ เหลานี้คาดกันวาจะชวยเปดเผยถึงทัศนคติของเด็กทีม่ีตอครอบครัวของเขา และ

รวมทัง้พีน่องของเขาความกลัว ความกาวราว ความขัดแยงและอ่ืน ๆ ผูทดสอบจะบันทกึเกี่ยวกบั

ส่ิงของทีเ่ด็กเลือกและการทีเ่ด็กทําอะไรกับส่ิงของนัน้ พรอมทัง้คําพดูที่เด็กพูดออกมา อารมณที่

แสดงออกและพฤติกรรมอ่ืนที่ปรากฏใหเด็กเห็นได

เมื่อใชเทคนิคเหลานี้ทดสอบเด็ก มกัจะเปนแบบใหเลนของเลนอยางอิสระเสรีเมื่อใช

ทดสอบผูใหญ วัตถุทีน่ํามาใชจะมีคําส่ังโดยทั่ว ๆ ไปใหทําอะไรบาง แตก็ไมไดเนนอยางชัดแจงนกั

อยางไรก็ตาม คําส่ังเหลานี้อาจใชกับเด็กไดเชนเดียวกัน มบีอยคร้ังงานที่กาํหนดใหทํามีลักษณะ

แบบเลนละคร เชน ตัดตัวละครตาง ๆ บนเวทีละคร มีนกัคนควาหลายคนไดใชเทคนคิการเลนนี้เพือ่

ศึกษาถึงความลําเอียงและทัศนคติระหวางกลุม

ผูที่คิดวิธกีาร Psychodrama คือ J.L.Moreno ซึ่งเปนจิตแพทย เขาเร่ิมงานทีก่รุงเวยีนนา

ในป 1920 หลังจากนั้นไดมาต้ังสํานักงานทีน่ิวยอรค ในสํานกังานมีทัง้โรงละครโรงพิมพ และ

โรงพยาบาล โดยจัดใหม ี Therapist เปนผูควบคุมดูแลการแสดงละคร เปนการแสดงอยางไมมี

พิธีรีตรองอะไร แตเปนไปตามความรูสึกนึกคิดของผูแสดง คนไขเปนตัวเอกของเร่ือง(Principal

Actor) Therapist จะเปนผูแนะวาจะแสดงเร่ืองอะไร โดยพิจารณาจากสถานการณที่คิดวาทําให

คนไขเกิดความคับของใจ เกดิความขัดแยงทางอารมณ

Psychodrama เปนสถานการณที่ใหการบําบัดในสถานการณที่คนไข ซึ่งแสดงบทบาทใน

ฉากตาง ๆ มโีอกาสแสดงความรูสึกของตนออกมาไดในทศันะใหม ๆ เกี่ยวกบัพฤติกรรมของตนซ่ึง

ทําใหเกิดความเขาใจตนเองดีข้ึน และคลายความรูสึกหวัน่ไหวตอเร่ืองที่สะเทือนใจและยังชวยให

ทราบเร่ืองราวบางอยางที่จะนํามาวิเคราะหปญหาดวย

แบบสํารวจบุคลิกภาพ (Personality Inventory) แบบสํารวจที่มีชือ่เสียงและนิยามใชกนั

คือ “MMPI” (The Minnesota Multiphasic Personality Inventory) แบบสํารวจนี้สรางเพือ่

ตรวจสอบลักษณะที่มกัจะพบในพวกที่มคีวามผิดปกติ ประกอบดวยคําถาม 550 ขอ ผูตอบจะตอง

ตอบวาจริง ไมจริงหรือตัดสินใจไมไดขอคําถามจะมีเนือ้หาตางกนัมาก ครอบคลุมดานสุขภาพ

อาการผิดปกติทางรางกายที่มีสาเหตุมาจากจิตใจ ความผิดปกติทางประสาทและความไมปกติทาง

Page 29: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 221

ตัวอยางขอคําถาม

- ฉันไมรูสึกเหนื่อยงาย

- คนสวนมากมักใชวธิีการที่ไมเหมาะเพือ่จะใหไดผลประโยชนหรือไดเปรียบมากกวาเสียเปรียบ

- ฉันกงัวลเกี่ยวกับเร่ืองเพศ

- เมื่อฉันรูสึกเบื่อ ฉันชอบทาํอะไรที่กอใหเกิดความต่ืนเตน

- ฉันเช่ือวามีคนประทษุรายฉัน

- ฉันไมชอบคนท่ีฉันรูจักสักคนเดียว

- ฉันรูสึกไมสบายมีอาการวงิเวียนและอาเจียน

- มีคนบอกฉันวาชอบละเมอและเดิน (สถิต วงศสวรรค. 25 : 25) 8.4.4 วิธีการวัดบุคลิกภาพโดยใชแบบสอบถาม (Questionaire) เปนวธิีการวัดโดยผูทําการวัดตองสรางแบบสอบถามที่ใหสัมพันธกับเร่ืองที่ตองการทราบ

อาจจะเปนคําถามที่กาํหนดคําตอบใหผูตอบเลือก เชน จริง ไมจริง ใช ไมใช การใชแบบสอบถามใน

การวัดบุคลิกภาพ ตองใชอยางระมัดระวัง ตองทําใหผูตอบมีความรูสึกในทางบวกกับแบบสอบถาม

ดังตัวอยางตอไปนี้

แบบวัดบุคลกิภาพเพื่อคนหาบุคลกิภาพทางอุปนิสัยของตนเอง

1. เพื่อน ๆ ลอคุณกันใหญเกี่ยวกับเหล็กดัดฟนอันใหมคุณ…

ก. ทําเปนไมสนใจแตพอกลับบานไปก็ปลอยโฮทันที ข. ทําเปนไมสนใจซะ ข้ีเกียจไปตอลอตอเถียง กับพวกปากหอยปากปู

ค. บอกพวกนั้นไปดวยความม่ันในวา “ฉันใสอีกหนอยฉันก็สวยยะ”

2. พี่สาวขอใหคุณชวยดูแลหลานใหหนอยเพราะเธอตองออกไปขางนอก แตคุณก็มีนัดจะไปปารต้ี

ที่บานเพื่อนเหมือนกันดังนั้นคุณจึง…..

ก. บอกพ่ีสาวของคุณใหลืมไปไดเลย เพราะคุณมีงานจะตองทําเหมือนกัน แลวก็เลิกทําตัว

เปนคนใจดี ไมชวยพี่สาวของคุณอีกเลย

ข. บอกเลิกนัดเพื่อน แลวทําตามที่พี่สาวของคุณขอ

ค. บอกพี่สาวคุณวา คราวนี้ไมวาง ไวชวยคราวหนาละกัน

Page 30: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 222

3. เพื่อนซี้ปลอยใหคุณยืนรอหนาหางสรรพสินคาคนเดียวนาน 2 ชั่วโมง โดยไมมีการติดตอมาคุณ….

ก. ยกโทษใหเขาหลังจากที่มาขอโทษขอโพยเสียยกใหญ ยังไง ๆ ก็เพื่อนซี้กันนี่นา

ข. ไมยอมรับโทรศัพท 3 อาทิตย งอนนะ ก็ไมมีใครเคยทําอยางนี้กับคุณเลยนี่

ค. เขาตองขอโทษเด๋ียวนี้ สวนเร่ืองจะยกโทษใหหรือไมนั้นเปนอีกเร่ืองหนึ่ง 4. อาจารยลงโทษคุณฐานคุยในช่ัวโมงเรียน (หรือโดนเจานายตําหนิวาคุยจนไมเปนอันทํางาน)

แตความจริงแลวคนที่คุยนะเพื่อนคุณตางหาก ดังนั้นคุณ….

ก. ยอมโดนลงโทษแทนเพื่อน ก็ยังดีกวาใหเพื่อนโดนทําเพื่อเพื่อนสักคร้ังจะเปนอะไรไป

ข. พูดกับเพื่อนของคุณตรง ๆ เลยวา คนที่นาจะโดนลงโทษนะคือเธอนะ ไมใชคุณ

ค. ทําเปนเลนละครน้ําเนา บอกวาคุณไมไดต้ังใจเลยคุณเปนคนถูกชวนใหคุยเสมอความจริง

ไมใชความผิดของคุณสักหนอยวาแลวก็บีบน้ําตาสุดฤทธ์ิ เรียกรองความสงสาร

5. คุณตอคิวยาวนานถึงคร่ึงชั่วโมง แตอยูดี ๆ ก็มีผูหญิงคนหนึ่งมาแซงหนาคุณเฉยเลยคุณ….

ก. พูดจาอยางมีมารยาทวา “ฉันมากอนนะคะ แลวแถวก็ตอจากฉันดวย !”

ข. รอไปอยางนั้นโดยไมพูดอะไร ค. กร๊ีด ดาฉอด ๆ ๆ โดยไมอายใครจะใหเขาถอยไปใหได วางั้นเถอะ

6. สุดหลอหวานใจขอคุณแตงงาน แตคุณยังไมพรอมคุณจึง….

ก. ทะเลาะกันยกใหญ ทําม๊ัย ทําไม ชางไมเขาใจคุณเอาซะเลย

ข. บอกดี ๆ วา เราทั้งคูยังไมพรอม พลางรายยาวเหตุผลตาง ๆ แถมทายดวยการหยอดคําหวาน

วา คุณยังรักเขาเหมือนเดิมไมเปล่ียนแปลง เขาจะไดเขาใจและไมรูสึกผิดหวังมากเกินไป

ค. ตอบโอ.เค.ไป ทั้งที่คุณก็รูอยูแกใจวาปญหาตาง ๆ มากมายจะเกิดข้ึน แตเพราะไมอยาก

ขัดใจเขานั่นแหละ

7. ลูกคาโทรศัพทมาเลื่อนนักคุณเปนคร้ังที่ 4 แลวในอาทิตยนี้ คุณ….

ก. พูดกันตรง ๆ เลยวา “ทําอยางนี้มันกระทบกับลูกคาคนอ่ืนเหมือนกันนะ ฉันไมไดมีเวลาให

คุณ คนเดียว”

ข. ไมพูดอะไร ไดแตเก็บความโกรธ (ปุด ๆ) นั้นไวขางใน

ค. ไปตามนัดนั่นแหละ อยางนอยเขาก็เปนลูกคาคนหนึ่งเชนกัน

8. คุณพอคุณแมไมยอมใหคุณนอนหลัง 4 ทุม ในวันหยุด ทั้งที่เพื่อน ๆ ของคุณเขานอนกัน ตี 1 ตี

2 กันทั้งนั้นแหละคุณ…

ก. ไมสนละ ก็คุณจะนอนดึกนี่ เร่ืองโดนดานี่คอยวากันทีหลัง

ข. นอนตรงเวลาโปะ 4 ทุมตรง

ค. บอกทานอยางมีเหตุผล เพราะวาคุณก็โตพอที่จะดูแลตัวเองไดแลวดวย

Page 31: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 223

9. คุณเพิ่มรูวาเพื่อนซี้คนหนึ่งที่คุณไวใจสุด ๆ เปนตนเพลิงในการเผา เอย..เปดโปงนินทาคุณ คุณ

จึง….

ก. ทําเปนไมรูไมชี้วาคุณรู ข. นินทาเธอใหเพื่อนคนอ่ืนฟงบาง อยางนี้ก็เจากันใชไหมเพื่อน

ค. พูดกันตรง ๆ ทานกลางหมูเพื่อน แฉความเลวของเธอวาโกหกทั้งเพเลย

10. พี่ชายตัวดีชอบเขาไปในหองคุณยืมอะไรตอมิอะไรไป แตกลับไมเคยคืนเลยคุณจึง….

ก. ไมพูดอะไรทั้งส้ิน แลวก็ไปเอาคืนมาเองทั้งหมดเลย

ข. บอกเขาวา “ถาอยากยืมก็กรุณาขอกอนแลวก็ชวยคืนดวย ไมงั้นก็ลืมไปไดเลย !!”

ค. ฟองพอกับแมจนเกิดเร่ืองทะเลาะวิวาทใหญในครอบครัว คะแนน

1. ก. 1 ข. 2 ค. 3 2. ก. 3 ข. 1 ค. 2 3. ก. 1 ข. 3 ค. 2 4. ก. 1 ข. 2 ค. 3 5. ก. 2 ข. 1 ค. 3 6. ก. 3 ข. 2 ค. 1 7. ก. 3 ข. 1 ค. 2 8. ก. 3 ข. 1 ค. 2 9. ก. 1 ข. 3 ค. 2 10. ก. 1 ข. 2 ค. 3

เฉลย คะแนนระหวาง 10 – 16 คะแนน เปนคนออนแอ ไมคอยสนใจหรือถาสนใจก็มักจะโดน

แกลงและโดนเอาเปรียบอยูเสมออาจเปนเพราะคุณรักษามารยาทและยอมคนอ่ืนมากเกินไป

หรือไมอยากมีเร่ืองกับใคร แตคุณมีสิทธิจะไดในส่ิงที่คุณสมควรจะได ตองเรียนรูวิธีการตอสู และ

พยายามแข็งขอ คนอ่ืนที่เห็นวาคุณออนแอ เขาก็จะแกลงและเอาเปรียบคุณนั่นแหละ

คะแนนระหวาง 17 – 23 คะแนน เปนคนไมเหยียบย่ําคนอ่ืน แตก็ไมใหคนอ่ืนเหยยีบย่าํ

เปนคุณคอนขางสมบูรณแบบ คืออยูระหวางกลางไมเอาเปรียบคนอ่ืนและไมใหคนอ่ืนเอาเปรียบ

จักยืนหยัดตอสูเพื่อตัวเอง เปนคนเขมแข็งโดยไมกระทบกระเทือนคนอ่ืน สามารถหาส่ิงที่คุณอยาก

ไดมาดวยความสุจริต โดยไมทําใหคนอ่ืนเดือดรอน

Page 32: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 224

คะแนนระหวาง 24 – 30 คะแนน เปนนักตอสู เปนคนคอนขางกระดางไปสักนิด

เขมแข็งและยืนหยัดดวยตัวเอง บางคร้ังเพื่อส่ิงที่คุณอยากไดก็มักจะทําเกินไปจนกระทบถึงคนอ่ืน

ไมเวนแมกระท่ังในครอบครัวเพื่อน ๆ คนไมรูจัก ไมแครคนอ่ืน มีความทะเยอทะยานและเอาแตใจ

ตัวเองสูง อยากไดอะไรเปนตองไดไมสนใจความรูสึกของคนอ่ืน คนรอบขางจะนับถือและศรัทธา

คุณมากกวานี้หากคุณไมเปนคนเจาอารมณจนเกินไป ลองออนโยนเสียหนอย พูดดี ๆ บาง คอย ๆ

พูด คอย ๆ จา ไมใชเอาแตตวาด หรือกระโชกโฮกฮาก ลองดู รับรองคุณจะพบแตความสมหวัง

(ฉันทนิช อัศวนนท. 2543 : 9-11)

แบบทดสอบความวิตก กลัว ประหมา

ตอบคําถาม 12 ขอนี้ดวยความจริงในวา ใชหรือไม กับตัวทานเอง ซึ่งผลการทดสอบดวย

ตัวเองนี้ อาจเปนแนวทางชวยใหตัวทานเองทราบวาความวิตก กลัวประหมาของทานอยูในระดับ

ปกติหรือไมอยางไร

1. ขาพเจามักรูสึกวิตกกงัวลเวลาใกลสอบไล หรือเวลาที่รูตัววาตองถกูสัมภาษณ กอน

เขาเรียนหรือกอนเขาทํางาน

2. ขาพเจารูสึกกลัว ขยะแขยงสัตวบางชนิด ทัง้ที่ทราบวามนัไมเปนอันตรายตอใคร เชน

พวกแมลงที่กําลังบินวอนอยู แมว หรือกระตาย เปนตน

3. บางคร้ัง ขาพเจาก็มีอาการกลัวประหมาข้ึนมาเองโดยไมทราบเหตุผลที่แนชัด

4. ถึงแมวาจะไดทําอะไรบางอยางเสร็จส้ินบรรลุผลแลว ขาพเจากย็ังชอบกังวลวาผลงานนัน้จะดี

พอหรือไม คนอ่ืนพงึพอใจดวยหรือไม ทํานองนี้เปนประจํา

5. ขาพเจารูสึกวิตกกงัวลเหมือนกัน ถาตองไปคิดถึงส่ิงที่อาจเกิดข้ึนไดในอนาคต เชน ความ

มั่นคงทางดานอาชีพ หรือปญหาดานเศรษฐกิจของครอบครัวที่มีแนวโนมจะตกอับถึงข้ันวิกฤติ

การณได

6. ขาพเจารูสึกตัวส่ัน ใจส่ัน ความคิดไมอยูกบัรองกับรอย และจะมีเหงื่อไหลตามตัวเมือ่ตองไปอยู

กับสถานทีห่รือสภาพการณบางอยาง เชน ในลิฟทอยูบนข้ันสูงสุดของบันไดต้ังอยูในหองเล็ก ๆ

อยูในอุโมงค หรืออยูตอหนาคนหลาย ๆ คน เปนตน

7. บางคร้ังขาพเจาก็รูสึกใจคอไมดี เมื่อขณะที่ทอดกายจะลงไปหลับนอนนั้น แลวเกดิความรูสึก

วาบหวิว เกิดความกลัวข้ึนมาทั้งที่ก็ไมไดคิดอะไร

Page 33: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 225

8. ขาพเจามักเกดิความรูสึกกงัวลวา วนัหนึง่คนอ่ืนอาจทราบวานิสัยที่แทจริง ของขาพเจาเปน

อยางไร หรือลวงรูวาขาพเจาชอบอะไรที่แทจริงอยูในใจ ซึ่งอาจทําใหเขาเหลานัน้หมดความ

เคารพนับถือขาพเจาอีกตอไป

9. ขาพเจามกัรูสึกกังวล เมือ่มีเร่ืองสําคัญเกิดข้ึนแลวตองใหขาพเจาเปนคนที่ตัดสินใจดวย

10. ขาพเจาจะรูสึกอึดอัด ไมสบายใจ เมือ่ตองไปยังสถานที่ที่ขาพเจาเคยไปในตอนเด็กซึ่งทําให

ขาพเจาตองหวนนึกถงึเหตุการณชีวิตที่ไมดีในตอนเด็ก เชน โรงเรียนเกา บานพกัที่เคยอยู หรือ

สถานที่ทีเ่คยประสบอุบัติเหตุหรือภัยอ่ืน ๆ

11. ขาพเจามกัรูสึกทรมานตามกลามเนื้อรางกายเวลาวิตกกังวลข้ึนมา เชน ปวดเมือ่ยคอ ปวด

ศรีษะ สมองต้ือ ปวดทอง เมื่อยขา เมือ่ยแขน ใจส่ัน ปวดเสียวบริเวณศรีษะหรือหนาอก

12. ขาพเจาเปนคนมมุานะ เอาจริงเอาจังรับผิดชอบสูงตอการงาน หรือการเรียนแตมักไมเคยรูสึก

สบายใจ หรือพอใจในผลงานทีท่ําได ซึ่งยิง่ทาํใหขาพเจาตองควบคุมทุกส่ิงทกุอยางมากข้ึน

นอกจากเพื่อใหไดผลงานที่ดีที่สุดแลว ยังเปนเพราะความรูสึกกลัววาอาจตองสูญเสียทุกอยาง

ที่เคยทํามาแลวอีกดวย

เฉลยแบบสอบถามความวิตก กลัว ประหมา คําตอบนั้น เฉลยได 2 แบบ แบบแรกเปนการรวมคะแนนทัง้หมด แลวตรวจบทเฉลยดูวา

คะแนนรวมเทาไร จัดอยูในความวิตก กลัว ประหมา อยางปกติ หรือผิดปกติระดับใด สวนแบบที่

สองละเอียดกวาเพราะวิเคราะหถึงสาเหตุของการเกิดอาการตามทีถ่ามในแตละขอ เมื่อทานได

ตอบแบบสอบถามดวยตนเองท้ัง 12 ขอเสร็จเรียบรอยแลว ขอใหใสคะแนน แลวรวมคะแนน

ทั้งหมดไวกอนที่จะอานบทเฉลยตอไป

การใหคะแนนนั้น ทาํได ดังนี ้

ถาตอบวา “ใช” ในขอ 1-5 และขอ 9 ใหแตละขอ 2 คะแนน

ถาตอบวา “ใช” ในขอ 6-8 ใหแตละขอ 3 คะแนน

ถาตอบวา “ใช” ในขอ 10-12 ใหแตละขอ 4 คะแนน

ขอใด ตอบวา “ไมใช” ไมตองใหคะแนน เสร็จแลวนาํคะแนนทัง้หมดมารวมกัน เปน

คะแนนรวม ไดเทาไรอานบทเฉลยตอไปนีว้าเปนอยางไร

คะแนนระหวาง 0 - 5 คะแนนลงมา คุณเปนคนมีสุขภาพจิตดีเพราะแทบไมคอยวิตก

กลัวประหมาตออะไร แตก็อาจประสบกบัปญหาดานการเรียนหรือการงานได เพราะคนที่ไมมีความ

วิตกกังวลนั้น มักเปนคนไมจริงจังอะไรตอชีวิต จึงอาจมีผลทาํใหไมคอยรับผิดชอบตอดานการเรียน

หรือดานการงาน ขาดความกระตือรือรนทีจ่ะริเร่ิมทําอะไรตาง ๆ ได

Page 34: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 226

คะแนนรวมท่ีอยูระหวาง 6-10 คะแนน คุณเปนคนที่จัดอยูในขายปกติ และมี

สุขภาพจิตดีคนหนึ่งในสังคม ดานการเรียนหรือการงานก็คงประสบความสําเร็จความกังวลระดับนี้

มักเปนตัวกระตุนใหเกิดแรงจูงใจที่อยากทาํอะไร ๆ ใหดีได

คะแนนรวมท่ีอยูระหวาง 11-21 คะแนน คุณอาจกําลังประสบปญหาดานใดดานหนึ่ง

ในการดําเนนิชีวิตประจําวัน จัดวาเปนคนมีปญหาทางสุขภาพจิต ความวิตก กลัวประหมา

ของทานมีมากกวาระดับทัว่ไป แตถาทานมีโอกาสไดเขาใจและฝกปฏิบัติตามวธิีการอยางถกู

หลักการและสอดคลองกับสาเหตุของปญหา ทานก็อาจชวยผอนคลายความทกุขทรมานตาง ๆ ใน

ใจทานใหลดนอยลง ในขณะเดียวกนั ประสิทธิภาพการเรียน การทํางาน และความสามารถ

ปรับตัวเขากับสังคมก็จะดีข้ึน

คะแนนรวมท่ีอยูระหวาง 22-23 คะแนน คุณถกูจัดอยูในขายของคนท่ีมีความวิตก

กังวลระดับสูง เปนคนมีปญหาสุขภาพจิต ไมมีความสุข ไมพอใจในชีวิตประจําวนัทีเ่ปนอยู ทางท่ี

ดีทานควรไปปรึกษากับจิตแพทยประจําครอบครัว หรือนักจิตบําบัดที่ทานเชื่อถือเปนการสวนตัวก็

จะเปนประโยชนตอตัวทานเอง ไมควรปลอยอาการใหเร้ือรังอยูตอไป อยางไรก็ตาม เทคนิค

บางอยางของการรักษาโรคประสาทดวยตัวเอง อาจชวยแกอาการบางอยางของทานใหดีข้ึนได

(วัลลพ ปยะมโนธรรม : 2528)

8.5 ความฉลาดทางอารมณ (Emotional Quotient or EQ.)

คําวา EQ มาจากภาษาอังกฤษวา Emotional Quotient ซึ่งหมายถึงความฉลาดทาง

อารมณ หมายถึง ความสามารถลักษณะหน่ึงของบุคคลที่จะตระหนกัถึงความรูสึก ความคิด และ

อารมณของตนเองและของผูอ่ืน สามารถควบคุมอารมณและแรงกระตุนภายใน ตลอดจน

สามารถรอคอยการตอบสนองความตองการของตนเองไดอยางเหมาะสมถูกกาลเทศะ สามารถ

ใหกําลังใจตนเองในการที่จะเผชิญกับอุปสรรคและขอขัดแยงตาง ๆ ไดอยางไมคับของใจ รูจัก

ขจัดความเครียด ที่จะขัดขวางความคิดริเร่ิมสรางสรรคอันมีคาของตนไดสามารถช้ีนําความคิดและ

การกระทําของตนในการทํางานรวมกบัผูอ่ืนทัง้ในฐานะผูนํา หรือฐานะผูตามไดอยางมีความสุข

จนประสบผลสําเร็จในการศึกษา ความสําเร็จในการประกอบกิจการงานตลอดจนประสบผลสําเร็จ

ในชีวิต 8.5.1 องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ (EQ)

นักจิตวทิยามีความคิดเหน็เกี่ยวกบัองคประกอบของ EQ ไดหลากหลายแตสมารถสรุปได

5 องคประกอบดังนี้ (ทศพร ประเสริฐสุข : 2542 )

Page 35: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 227

1) การตระหนักรูในตนเอง(Self- awareness) เปนความสามารถที่จะรับรูและเขาใจ

ความรูสึก ความคิดและอารมณของตนเองไดตามความเปนจริง สามารถประเมนิตนเองไดอยาง

ชัดเจนตรงไปตรงมา มีความเช่ือมั่น รูจักจุดเดนจุดดอยของตน เปนคนซ่ือตรง รักษาคําพูด มี

จรรยาบรรณ มีสติ เขาใจตน

2) การบริหารจัดการกับอารมณของตนเอง(Managing emotion) เปนความสามารถ

ที่จะจัดการกบัอารมณตางๆ ที่เกิดข้ึนไดอยางเหมาะสม ประกอบดวยความสามารถในการ

ควบคุมตนเอง เปนที่นาไววางใจได มคุีณธรรม มีความสามารถในการปรับตัว และมี

ความสามารถในการสรางแนวคิดใหมๆ ที่เปนประโยชนตอการดําเนนิชีวิต

3) การจูงใจตนเอง(Motivation oneself) เปนความสามารถที่จะจงูใจตนเองที่เรียกวา

แรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิ (achievement motive) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การมองโลกในแงดีสามารถนาํ

อารมณและความรูสึกของตนเองมาสรางพลังในการกระทําส่ิงตางๆ และเปนพลังในการให

กําลังใจตนเองในการคิดและกระทําอยางสรางสรรค

4) การรูจกัสังเกตความรูสึกของผูอ่ืน(Empathy) หมายถึง ความสามารถที่เขาใจ

ความรูสึกของผูอ่ืน มีความเหน็อกเหน็ใจผูอ่ืน รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา มีจิตใจใหบริการสามารถ

แสดงอารมณไดอยางเหมาะสม

5) การดําเนินการดานความสัมพันธกบัผูอ่ืน (Handling relationships) ซึ่งเปน

ทักษะทางสังคม เปนความสามารถที่จะรูเทากับอารมณของผูอ่ืน เปนทักษะทางสังคมที่จะมี

สัมพันธภาพทีดี่กับบุคคลอ่ืนอันจะสงผลใหเกดิความเปนผูนําความสามารถลักษณะนี้จะประกอบ

ไปดวย การสือ่สารที่ดี ความสามารถในการบริหารความขัดแยง 8.5.2 วัตถุประสงคของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ การพัฒนา EQ จะชวยใหบุคคลมีความเปนกลางทางอารมณ สามารถปรับตัวเขากับ

สภาวะแวดลอมทางสังคม มีบุคลิกภาพทีดี่ทั้งภายนอกและภายใน วัตถุประสงคของการพัฒนา

EQ ประกอบดวย

1) เพื่อใหเด็กและเยาวชน เปนผูมีบุคลิกภาพดีมวีฒุิภาวะทางอารมณเหมาะสมตามวยั

2) เพื่อใหเปนผูมองโลกในแงดี อันเปนพืน้ฐานของการพัฒนาความคิด ความรูสึกและ

ทัศนคติในการทํางานรวมกบัคนอ่ืน

3) เพื่อสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล การสื่อสาร เพื่อเปนทักษะทางสังคมทีสํ่าคัญ

ในการดํารงชีวิต

4) เพื่อตระหนักรูสกึตนเอง และควบคุมอารมณของตนเอง

5) เพื่อพัฒนาความซ่ือตรง ความซื่อสัตย ซึง่เปนคุณสมบัติที่สังคมตองการ

Page 36: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 228

6) เพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ ์7) เพื่อสามารถเขาใจรูเทากับอารมณความรูของคนอ่ืน เอาใจเขามาใสใจเรา

8) เพื่อพัฒนาจิตใจใฝบรกิาร (Service minded) ซึ่งเปนรากฐานในการสรางสันติ

สุขใหมวลมนษุยชาติ

9) เพื่อเพิ่มศกัยภาพ ในการบริหารความขัดแยง (Conflict management)

10) เพื่อเขาถึงความเปนมนุษย ผูมีสุนทรียภาพในการดํารงชีวิต 11) เพื่อเปนการพัฒนาคุณธรรม 8.5.3 แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ

แนวทางในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ (EQ) สามารถทําไดโดยวิธีการดังตอไปนี้

1) ชี้แนะในเด็กรูจักคุณคาของตนเอง ตามความเปนจริงอยางเขาใจมองตนเองในแงดี

ชื่นชมตนเอง รวมทัง้การฝกใหรูจักอารมณของตนเอง

2) รูจักแยกแยะอารมณของตนวาสิ่งไหนดีหรือไมดี โดยการฝกแสดงออกยาง

เหมาะสม ฝกการส่ือสารทีม่ปีระสิทธิภาพ

3) ปฏิบัติตามกฏระเบียบของสังคมดวยความเต็มใจ โดยเร่ิมจากบุคคลที่ใกลชิด คือ

พอแม ครูอาจารยกระทําเปนตัวอยางดี และมีการเสริมแรงเมื่อเด็กกระทําตามระเบียบ

4) ฝกควบคุมอารมณของตนเอง และแสดงออกไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ

5) ฝกการหยดุการแสดงอารมณที่ไมดี ความสามารถในการไตรตรองกอนการแสดง

ออก และอดทนรอคอยที่จะแสดงพฤติกรรมได

6) เรียนรูอารมณของบุคคลอ่ืน เห็นอกเหน็ใจผูอ่ืน (Empathy) หรือรูจักใจเขาใจเรา

7) ฝกการสรางมนุษยสัมพันธตอบุคคลที่อยูรอบขาง โดยการแสดงความเอ้ืออาทรตอ

บุคคลอ่ืน เหน็คุณคาของตนเองและผูอ่ืน แสดงความช่ืนชมบุคคลอ่ืนในโอกาสที่เหมาะสม

8.5.4 แบบทดสอบประเมินความฉลาดทางอารมณ สําหรับผูใหญ (อายุ 18 – 60 ป)

ความฉลาดทางอารมณ คือ ความสามารถทางอารมณในการดําเนินชีวิตอยาง

สรางสรรคและมีความสุข การรูจักความฉลาดทางอารมณของตนเอง เพื่อการพัฒนาและการใช

ศักยภาพตนเองในการดําเนินชีวิตครอบครัว การทํางานและการอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข

และประสบความสําเร็จ

กรมสุขภาพจิตไดตระหนักถึงความสําคัญของความฉลาดทางอารมณ จึงไดสรางแบบ

ประเมินสําหรับประชาชนเพื่อใชประเมินตนเอง คําแนะนํา

Page 37: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 229

แบบประเมินนี้เปนประโยคที่มีขอความเกี่ยวของกับอารมณและความรูสึกที่แสดงออกใน

ลักษณะตาง ๆ แมวาบางประโยคอาจไมตรงกับที่เปนอยูก็ตาม ขอใหทานเลือกคําตอบที่ตรงกับ

ทานมากที่สุด ไมมีคําตอบที่ถูกหรือผิด ดีหรือไมดี

โปรดตอบตามความเปนจริงและตอบทุกขอ เพื่อทานจะไดรูจักตนเองและวางแผนพัฒนา

ตนตอไปมีคําตอบ 4 คําตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมจริง จริงบางคร้ัง คอนขางจริง

จริงมาก โปรดใสเคร่ืองหมาย 4 ในชองที่ทานคิดวาตรงกับทานมากที่สุด

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ สําหรบัผูใหญ (อายุ 18–60 ป)

ไมจริง

จริงบางครั้ง

คอนขางจริง

จรงิมาก

คะแนน

1 เวลาโกรธหรือไมสบาย ฉันรับรูวาเกิดอะไรขึ้นกับฉัน 2 ฉันบอกไมไดวาอะไรทําใหฉันรูสึกโกรธ 3 เม่ือถูกขัดใจฉันรูสึกหงุดหงิดจนควบคุมอารมณไมได 4 ฉันสามารถคอยเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่พอใจ 5 ฉันมักมีปฏิกิริยาโตตอบรุนแรงตอปญหาเพียงเล็กนอย 6 เม่ือถูกบังคับใหทําในส่ิงที่ไมชอบ ฉันจะอธิบายเหตุผลจน

ผูอื่นยอมรับได

รวม 7 ฉันสังเกตได เม่ือคนใกลชิดมีอารมณเปล่ียนแปลง 8 ฉันไมสนใจกับความทุกขของผูอื่นที่ฉันไมรูจัก 9 ฉันไมยอมรับในส่ิงที่ผูอื่นทําตางจากที่ฉันคิด

10 ฉันยอมรับไดวาผูอื่นก็อาจมีเหตุผลที่จะไมพอใจการ

กระทําของฉัน

11 ฉันรูสึกวาผูอื่นชอบเรียกรองความสนใจมากเกินไป 12 แมจะมีภาวะที่ตองทําฉันก็ยินดีรับฟงความทุกขของผูอื่นที่

ตองการความชวยหลือ

รวม

ไม จริง คอนขา จรงิ คะแนน

Page 38: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 230

13 เปนเร่ืองธรรมดาท่ีจะเอาเปรียบผูอื่นเม่ือมีโอกาส 14 ฉันเห็นคุณคาในน้ําใจที่ผูอื่นมีตอฉัน 15 เม่ือทําผิด ฉันสามารถกลาวคํา “ขอโทษ” ผูอื่นได 16 ฉันยอมรับขอผิดพลาดของผูอื่นไดยาก 17 ถึงแมจะตองเสียประโยชนสวนตัวไปบาง ฉันก็ยินดีจะทํา

เพื่อสวนรวม

18 ฉันรูสึกลําบากใจในการทําส่ิงใดส่ิงหนึ่งเพื่อผูอื่น รวม

19 ฉันไมรูวาฉันเกงเร่ืองอะไร 20 แมจะเปนงานยาก ฉันก็ม่ันใจวาสามารถทําได 21 เม่ือทําส่ิงใดไมสําเร็จ ฉันรูสึกหมดกําลังใจ 22 ฉั น รู สึ ก มี คุณค า เ ม่ื อ ไ ด ทํ า ส่ิ ง ต า ง ๆ อ ย า ง เ ต็ ม

ความสามารถ

23 เม่ือตองเผชิญกับอุปสรรคและความผิดหวัง ฉันก็จะไม

ยอมแพ

24 เม่ือเร่ิมทําส่ิงหนึ่งส่ิงใด ฉันมักทําตอไปไมสําเร็จ รวม

25 ฉันพยายามหาสาเหตุที่แทจริงของปญหาโดยไมคิดเอาเอง

ตามใจชอบ

26 บอยคร้ังที่ฉันไมรูวาอะไรทําใหฉันไมมีความสุข 27 ฉันรูสึกวาการตัดสินใจแกปญหาเปนเร่ืองยากสําหรับฉัน 28 เม่ือตองทําอะไรหลายอยางพรอมกัน ฉันตัดสินใจไดวาจะ

ทําอะไรกอนหลัง

29 ฉันลําบากใจเม่ือตองอยูกับคนแปลกหนาหรือคนที่ไม

คุนเคย

30 ฉันทนไมไดเม่ือตองอยูในสังคมที่มีกฎระเบียบขัดกับความ

เคยชินของฉัน

รวม

Page 39: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 231

ไมจริง

จริงบางครั้ง

คอนขางจริง

จรงิมาก

คะแนน

31 ฉันทําความรูจักผูอื่นไดงาย

32 ฉันมีเพื่อนหลายคนที่คบกันมานาน

33 ฉันไมกลาบอกความตองการของฉันใหผูอื่นรู

34 ฉันทําในส่ิงที่ตองการโดยไมทําใหผูอื่นเดือดรอน

35 เปนการยากสําหรับฉันที่จะโตแยงผูอื่นแมจะมีเหตุผล

เพียงพอ

36 เม่ือไมเห็นดวยกับผูอื่นฉันสามารถอธิบายเหตุผลท่ีเขายอมรับ

ได

รวม

37 ฉันรูสึกดอยกวาผูอื่น

38 ฉันทําหนาที่ไดดี ไมวาจะอยูในบทบาทใด

39 ฉันสามารถทํางานท่ีไดรับหมายไดดีที่สุด

40 ฉันไมม่ันใจในการทํางานที่ยากลําบาก

รวม

41 แมสถานการณจะเลวราย ฉันก็มีความหวังวาจะดีขึ้น

42 ทุกปญหามักจะมีทางออกเสมอ

43 เม่ือมีเร่ืองท่ีทําใหเครียด ฉันมักปรับเปล่ียนใหเปนเร่ือง

ผอนคลายหรือสนุกสนานได

44 ฉันสนุกสนานทุกคร้ังกับกิจกรรมในวันสุดสัปดาหและ

วันหยุดพักผอน

45 ฉันรูสึกไมพอใจที่ผูอื่นไดรับส่ิงดี ๆ มากกวาฉัน

46 ฉันพอใจกับส่ิงที่ฉันเปนอยู

รวม

47 ฉันไมรูวาจะหาอะไรทํา เม่ือรูสึกเบื่อหนาย

48 เม่ือวางเวนจากภาระหนาที่ ฉันจะทําในส่ิงที่ฉันชอบเสมอ

49 เม่ือรูสึกไมสบายใจ ฉันมีวิธีผอนคลายอารมณได

50 ฉันสามารถผอนคลายตนเองได แมจะเหน็ดเหน่ือยจาก

ภาระหนาที่

51 ฉันไมสามารถทําใจใหเปนสุขไดจนกวาจะไดทุกส่ิงท่ีตองการ

52 ฉันมักทุกขรอนกับเร่ืองเล็ก ๆ นอย ๆ ที่เกิดขึ้นเสมอ

รวม

Page 40: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 232

การใหคะแนน แบงเปน 2 กลุม ในการใหคะแนนดังตอไปนี้

กลุมที่ 1 ไดแกขอ 1 4 6 7 10 12 14 15 17 20 22 23 25 28 31 32 34 36 38 39 41 42 43 44 46 48 49 50

แตละขอใหคะแนนดังตอไปนี้

ตอบไมจริง ให 1 คะแนน

ตอบจริงบางครั้ง ให 2 คะแนน

ตอบคอนขางจริง ให 3 คะแนน

ตอบจริงมาก ให 4 คะแนน กลุมที่ 2 ไดแกขอ

2 3 5 8 9 11 13 16 18 19 21 24 26 27 29 30 33 35 37 40 45 47 51 52

แตละขอใหคะแนนดังตอไปนี้

ตอบไมจริง ให 4 คะแนน

ตอบจริงบางครั้ง ให 3 คะแนน

ตอบคอนขางจริง ให 2 คะแนน

ตอบจริงมาก ให 1 คะแนน การรวมคะแนน

ดานดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง

รูจักเห็นใจผูอ่ืนและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม

ดานเกง หมายถึง ความสามารถในการรูจักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก

ปญหาและแสดงออกไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดี

กับผูอ่ืน

ดานสุข หมายถึง ความสามารถในการดําเนินชีวิตอยางเปนสุข

Page 41: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 233

ดาน ดานยอย การรวมคะแนน ผลรวมของคะแนน

1.1 ควบคุมตนเอง รวมขอ 1 ถึงขอ 6

1.2 เห็นใจผูอ่ืน รวมขอ 7 ถึงขอ 12

ดี

1.3 รับผิดชอบ รวมขอ 13 ถึงขอ 18

2.1 มีแรงจูงใจ รวมขอ 19 ถึงขอ 24

2.2 ตัดสินและแกปญหา รวมขอ 25 ถึงขอ 30

เกง

2.3 สัมพันธภาพ รวมขอ 31 ถึงขอ 36

3.1 ภูมิใจตนเอง รวมขอ 37 ถึงขอ 40

3.2 พอใจชีวิต รวมขอ 41 ถึงขอ 46

สุข

3.3 สุขสงบทางใจ รวมขอ 47 ถึงขอ 52

หลังจากรวมคะแนนแตละดานเสร็จแลว นําคะแนนท่ีไดไปทําเคร่ืองหมาย 7ลงใน

ของกราฟความฉลาดทางอารมณแลวพิจารณาดูวามีคะแนนใดที่สูงหรือตํ่ากวาชวงคะแนนปกติ

นําคะแนนรวมแตละดานท่ีไดมากากบาท ลงในตรงกลางชองกราฟและพิจารณาดูวาคะแนนที่ไดอยูในระหวาง/ สูง / ตํ่า

กวาชวงคะแนนปกติหรือไม

กราฟความฉลาดทางอารมณ (อายุ 18-25)

คะแนน

ชวง เฉลี่ยแต

คะแนน ละดาน

ปกติ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ยอย

1.1 ควบคุมตนเอง 14-18 15.5

1.2 เห็นใจผูอื่น 15-21 18.1

1.3 รับผิดชอบ 17-23 19.6

2.1 มีแรงจูงใจ 15-21 18

2.2 ตัดสินใจและแกปญหา 14-20 16.8

2.3 สัมพันธภาพ 15-21 17.5

3.1 ภูมิใจตนเอง 9-13 11.4

3.2 พอใจชีวิต 16-22 19

3.3 สขุสงบทางใจ 15-21 18.1

Page 42: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 234

8.5.5 เทคนิคการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในการทํางาน

ผูที่สามารถพฒันาความฉลาดทางอารมณไดดี ยอมสามารถดําเนนิชีวิตอยางมีความสุข

เทคนิควธิีที่จะพัฒนา มีดังนี ้

1) รูทัน ฝกเทาทนัอารมณตนเอง บอกตนเองไดวาขณะนี้กําลังรูสึกอยางไรและรูไดถึง

ความเปล่ียนแปลงทางอารมณที่เกิดข้ึน ซื่อสัตยตอความรูสึกของตนเอง ยอมรับขอบกพรองของ

ตนเองได แมเมื่อผูอ่ืนพูดถงึ ก็สามารถเปดใจรับมาพิจารณา เพื่อที่จะหาโอกาสปรับปรุงหรือใชเปน

เตือนในที่จะระมัดระวังการแสดงอารมณมากข้ึน

2) รับผิดชอบ เมื่อเกิดความหงุดหงิดไมพอใจ ทอแทใหฝกคิดอยูเสมอวาอารมณที่ข้ึน

เปนส่ิงที่เราสรางข้ึนเองจากกระตุนปจจัยภายนอก เพราะฉะน้ันจึงควรรับผิดชอบตออารมณที่

เกิดข้ึนและควรหัดแยกแยะวเิคราะหสถานการณดวยเหตุผล ไมคิดเอาเองดวยอคติหรือ

ประสบการณเดิม ๆ ทีม่ีอยู เพราะอาจทาํใหการตีความในปจจุบนัผิดพลาดได

3) จัดการได อารมณไมดีที่เกิดข้ึนสามารถคล่ีคลายสลายหมดไป ดวยการรูเทาทันและ

หาวิธีการหาทีเ่หมาะสม เชน ไมจอมจมอยูกับอารมณนั้นพยายามเบ่ียงเบนความสนใจ โดยการ

กราฟความฉลาดทางอารมณ (อายุ 26-60)

คะแนน

ชวง เฉล่ียแต

คะแนน ละดาน

ปกติ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ยอย

1.1 ควบคุมตนเอง 14-18 15.6

1.2 เห็นใจผูอื่น 15-21 18.5

1.3 รับผิดชอบ 17-23 20.3

2.1 มีแรงจูงใจ 16-22 18.8

2.2 ตัดสินใจและแกปญหา 15-21 18.1

2.3 สัมพันธภาพ 15-21 17.8

3.1 ภูมิใจตนเอง 10-14 12.1

3.2 พอใจชีวิต 16-22 19.4

3.3 สุขสงบทางใจ 16-22 19.2

Page 43: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 235

4) ใชใหเปนประโยชน ฝกใชอารมณสงเสริมความคิด ใหอารมณชวยปรับแตงและปรุง

ความคิดใหเปนในทางทีม่ีประโยชน ฝกคิดในดานบวกเมือ่เผชิญกับเหตุการณในทีท่าํงาน

5) เติมใจใหตนเอง โดยการหัดมองโลกในแงมมุที่สวยงามร่ืนรมย มองหาขอดีในงานที่

ทาํ ชืน่ชมดานดีของเพื่อนรวมงาน เพื่อลดอคติและความเครงเครียดในจิตใจ ทําใหทาํงานรวมกนั

อยางมีความสุขมากข้ึน

6) ฝกสมาธ ิ ดวยการกาํหนดรูวากําลังทาํอะไรอยูรูวาปจจุบนักาํลังสุขหรือทกุขอยางไร

อาจเปนสมาชิกอยางงาย ๆ ที่กําหนดจิตใจไวที่ลดหายใจเขาออก การทําสมาธิจะชวยใหจิตใจสงบ

และมีกําลังในการพิจารณาสิ่งตาง ๆ ไดดีข้ึน

7) ต้ังใจใหชดัเจน โปรแกรมจิตใจตนเองดวยการกาํหนดวาตอไปนี ้ จะพยายามควบคุม

อารมณใหได และเปาหมายในชีวิตหรือการทํางานใหชัดเจน

8) เชื่อมั่นในตนเอง จากงานวิจยัหลายช้ินแสดงใหเหน็อยางชัดเจนวา คนทีม่ีความ

เชื่อมั่นในตนเองจะมีความสําเร็จในการทาํงานและการเรียน มากกวาคนอ่ืนที่ไมเชื่อม่ันใน

ความสามารถของคนเอง

9) กลาลองเพื่อรู การกลาที่จะลองทําในส่ิงที่ยากมากกวาในระดับที่คิดวานาจะทําไดจะ

ชวยเพิ่มความมั่นใจใหตนเอง และเปนโอกาสสําคัญทีจ่ะไดเรียนรูอะไรใหม ๆ เพื่อนาํไปสูการ

พัฒนาความสามารถใหมากยิ่ง ๆ ข้ึนไป

Page 44: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 236

สรุป

การวัดบุคลิกภาพชวยใหผูวดัไดทราบบุคลิกภาพที่แทจริงของตนเอง เพื่อนําไปใช

ประโยชนในการเลือกสาขาวิชาที่เรียน ชวยใหนักจิตวทิยาไดชวยเหลือผูที่มีสภาวะความตึงเครียด

ไดเกิดความรูสึกผอนคลาย รวมทัง้ยงัชวยใหเขาใจผูอ่ืน

วิธีการวัดบุคลิกภาพที่นยิมใชในปจจุบนัมหีลายวิธ ีซึง่แตละวิธีมีความแตกตางกนั แบบวัด

บุคลิกภาพที่กลาวในบทนี้ไดแก วิธีการวัดแบบประมาณคา ประกอบดวย การวัดความม่ันใจใน

ตนเอง แบบวิเคราะหความตึงเครียด เปนตน วิธกีารสังเกตเปนวิธกีารเฝาสังเกตพฤติกรรมซ่ึง

อาจจะใชเวลานาน และตองอาศัยผูสังเกตหลาย ๆ คน จึงจะสามารถแปลผลไดใกลเคียงกับความ

เปนจริงมากทีสุ่ด การวัดบุคลิกภาพโดยวิธีการทดสอบจําเปนตองใชเคร่ืองมือทีห่ลากหลายจาก

นักจิตวทิยาผูมีความเชี่ยวชาญหลาย ๆ ดาน เชน แบบทดสอบของ Rorschach Inkblot Test

เปนตน

วิธีการตาง ๆ ที่ใชในการวัดบุคลิกภาพจะชวยใหตนเอง นกัจิตวิทยา ผูทีท่ําหนาที่ให

คําปรึกษา ไดทราบขอเท็จจริงและนําไปใชในชีวิตประจาํวนัไดอยางมปีระสิทธิภาพมากที่สุด

Page 45: การประเมินบุคลิกภาพ

พัฒนาบุคลิกภาพ 237

แบบฝกหัด

1. การวัดบุคลิกภาพมีประโยชนตอตัวนักศึกษาและบุคคลทั่วไปอยางไร

2. ใหนักศึกษาอธิบายวิธีการวัดบุคลิกภาพที่นักศึกษาสนใจมาสัก 2 ประเภท

3. วิธีการเสริมสรางความมั่นใจในตนเอง มีอยางไร ใหอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบใหเห็น

ชัดเจน

เอกสารอางอิง

ฉันทนิช อัศวนนท. การพฒันาบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2543.

ประชุมสุข อาชวอํารุง และคณะ. การตรวจสอบเชิงจติวิทยา. กรุงเทพฯ : สํานกัพิมพไทย

พัฒนาพานิช . 2519.

สถิต วงศสวรรค. การพัฒนาบุคลกิภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพมิพอักษรวิทยา, 2540.

อัจฉรา สุขารมณ. การวัดบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร, 2542.

ดัชนีวัดความสุขคนไทย. กรุงเทพฯ : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

2544.

วารสารพฤติกรรมศาสตร. ปที่ 5 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2542. กรุงเทพ :

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,

2542.