บรรยายยานบินเบาะอากาศ

57
กองวิจัยและพัฒนา กรมพัฒนาก กองวิจัยและพัฒนา กรมพัฒนาก กรมอู่ทหารเรือ กรมอู่ทหารเรือ อู่ราชนาวีมหิดล อู่ราชนาวีมหิดล ( ( อรม อรม . . . บพิธ ทศเทพพิทักษ์ บพิธ ทศเทพพิทักษ์

Transcript of บรรยายยานบินเบาะอากาศ

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการชา่ง กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการชา่งกรมอ ูท่หารเร ือกรมอ ูท่หารเร ือ

อูร่าชนาว ีมห ิดล อูร่าชนาว ีมห ิดล ((อรมอรม .).)

นน ..ตต .. บพิธ ทศเทพพิท ักษ ์ บพิธ ทศเทพพิท ักษ ์

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ

ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ

หัวข ้อในการบรรยายหัวข ้อในการบรรยาย

• ความเปน็มาของโครงการ• ทำาความรู้จักยานบนิเบาะอากาศ• สังเกตการณ์การทดสอบยานบนิเบาะอากาศ

ณ อ่าวสตัหีบ• แผนการทดสอบ• ผลการทดสอบ

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ

ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ

ความเป ็นมาของโครงการความเป ็นมาของโครงการ

ภาควิชาวิศวกรรมการบนิ และอวกาศ ยาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์ ได้ร่วมกับ บริษัทWIGETWORKS PTE LIMITED ประเทศ

สงิคโปร์ ขออนุญาตใชพ้ื้นที่ของ ทร. ใน การบนิทดสอบยานบินเบาะอากาศ ณ บริเวณ

อ่าวสัตหีบหน้าท่า อรม.อร. ชว่งเวลาตั้งแต่พ.ค. ๔๙ – ก.พ.๕๐

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ

ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ

ความเป ็นมาของโครงการความเป ็นมาของโครงการ

โดยมีจุดประสงคท์ดสอบยานบนิเบาะ อากาศ เพื่อทดสอบสมรรถนะของยานบนิ

เบาะอากาศ ซึ่งเปน็ยานที่ภาควิชาวิศวกรรมการบนิและอวกาศยานของมหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์ ให้ความสนใจและกำาลังมี โครงการศึกษาและวิจัยการออกแบบ สร้าง

และทดสอบการใช้งาน

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ

ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ

ความเป ็นมาของโครงการความเป ็นมาของโครงการ

ทร. ก็ให้ความสนใจ และอนุญาตให้ ใช้พื้นที่บริเวณอ่าวสัตหีบ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้

ศึกษาเก่ียวกับขีดความสามารถและข้อจำากัด ของยานประเภทนี้ โดยให้ กร., อร. และ

สวพ.ทร. จัดกำาลังพลเข้าร่วมสงัเกตุการณ์ ระหว่างการทดสอบ ในการนี้ อร.ได้ตั้งคณะ

ทำางานศึกษารวบรวมข้อมูลฯ ขึ้นเพื่อที่จะติดตามและสังเกตการณ์การทดสอบดังกล่าวอย่างใกล้ชดิ

ทำาความรูจ้ักยานบินเบาะอากาศ

กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ กองว ิจ ัยและพัฒนา กรมพัฒนาการ

ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ ช่าง กรมอ ู่ทหารเร ือ

ทำาความร ู้จ ักยานบินเบาะอากาศทำาความร ู้จ ักยานบินเบาะอากาศ

• เปน็ยานที่บินเผนินำ้า คือสูงกว่าผวินำ้า ประมาณ 3 เมตร

• มีความเร็วมากกว่าเรือ แต่ชา้กว่าเครื่องบนิ• ใช้เครื่องยนต์รถยนต์ธรรมดา รอบสูง• ประหยัดเชือ้เพลิงมากกว่าเครื่องบิน และเรือ• มีความคล่องตัว กินนำ้าตื้น ไม่รบกวนแนวปะการัง

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

AF3 Wig Craft

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

จังหวะ Take Off

จังหวะ Landing

ข้อมูลยานเบาะอากาศอื่น ๆ จากอินเตอร์เน็ต

ข้อมูลยานเบาะอากาศอื่น ๆ จากอินเตอร์เน็ต

กรมพัฒนาการช่างกรมพัฒนาการช่างกรมอ ู่ทหารเร ือกรมอ ู่ทหารเร ือ

อูร่าชนาว ีมห ิดล อูร่าชนาว ีมห ิดล ((อรมอรม .).)

Flightship

ยานบินเบาะอากาศยานบินเบาะอากาศ มรีูปแบบการใช้งาน 2 แบบ

• แบบยานขนส่งเอกชน บรรทุก บรรทุกผู้โดยสารได้ 6 คน• แบบใช้ในภารกิจทหาร บรรทุก 2 คน นักบิน และนักบินผู้ช่วย สามารถติดอาวธุได้ แต่นำ้าหนักต้อง ไม่เกินนำ้าหนักบรรทุกรวม

กรมพัฒนาการช่าง กรมพัฒนาการช่างกรมอู่ทหารเร ือกรมอู่ทหารเร ือ

Technical Data

Dimensions..Wing Span Overall 15.6 mLength Overall 17.45 mHeight Overall 4.1 mCabin Height 1.5 mCabin Width 2.0 m

MassesEmpty Weight 3570 kgMax. Take Off Weight 4750 kg

Flightship FS8

กรมพัฒนาการช่าง กรมพัฒนาการช่างกรมอู่ทหารเร ือกรมอู่ทหารเร ือ

Technical DataOperating Limits

Max. Operating Loads 4G VerticalMax. Turn Rate 6 Deg/SecMax. Wave Height 4 mWater Drive Speed 11 km/hTake Off Landing Speed 55kts(100 km/h)Cruise Speed 86kts(160 km/h)Range fully loaded 2200 kmOperating Height 3.0 mWind Speed 25Kts(46km/h)

Flightship FS8

EngineGeneral Motors 6.5 litre V8 efi 450hp 337kW

Propellers4 Blade Fixed Pith 2.2 m dia

ConstructionStructure FRP Cored Epoxy Composite

กรมพัฒนาการช่าง กรมพัฒนาการช่างกรมอู่ทหารเร ือกรมอู่ทหารเร ือ

การประกอบตัวยานบนิเบาะอากาศ

ณ อรม.อร.

ยานเบาะอากาศ Flightship ร ุน่ FS8

ลักษณะทางกายภาพทั่ว ๆ ไป

ลกัษณะการวางเคร ื่องยนต์

ลักษณะใบพดัและการประกอบ

ลักษณะการเช ื่อมตอ่ป ีกเข ้าก ับต ัวเร ือน

Flightship FS8 เม ื่อประกอบสมบูรณแ์ลว้

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

ลักษณะการจอดเท ียบท่า ลักษณะการจอดเท ียบท่า สามารถจอดกลางทะเลได้ โดยมีกล่องพลาสติก

ลอยนำ้า ต่อกันเป็นแพคล้าย ๆ จ๊ิกซอ สามารถถอดประกอบและเคลื่อนย้ายได้

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จำากัด

แผนการทดสอบ ณ อ่าวสัตหีบ

พื้นที่ในการบินทดสอบ

การทดสอบยานบินเบาะอากาศ แบ่งพื้นที่การทดสอบออกเป็น 3 สว่น ดังนี้

• พื้นที่ A บริเวณหน้าท่า อรม.อร.• พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด• พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ

• พื้นที่ A (บริเวณหน้าท่า อรม.)– ขนาด 100 m X 100 m– Static Test ทดสอบระบบต่าง ๆ

ทดลองเดินเครื่อง

พืน้ที ่‘A’

• พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด– ขนาด2 Km X 0.25 Km– ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วตำ่า– วิ่งจากทิศใต้ไปตะวันตก

Direction of run

WW’s Support Boat

พื้นที่ ‘B’

WW’s Support Boat

Direction of run

พืน้ที่ ‘C’

• พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ– พืน้ที่ขนาด 3.5 Km X 0.5 Km– ทดสอบว่ิงด้วยความเรว็สูง และทดสอบบิน– ทศิทางการว่ิงจากทศิใต้ไปทางตะวันตก

ผลการทดสอบ• จากการทดสอบยานบินเบาะอากาศทีบ่ริเวณอ่าวสตัหบี

ในสภาพอากาศปกติ ได้ความเร็วในบริเวณผิวทะเล จังหวะ Take Off Landing Speed ความเร็ว

ประมาณ ๕๐ knot และความเร็วเหนือผิวทะเล(Cruise Speed) ทีป่ระมาณ ๘๐ knot สภาพ

เครื่องยนต์ปกติ สรุปได้ว่า ยานบินเบาะอากาศลำานี้สามารถทำาการทดสอบการบินเหนอืผิวนำ้าได้ผลเป็นอย่างดี

• ยานเบาะอากาศถูกออกแบบให้สามารถขับเคลื่อนและ ยกตัวยานเบาะอากาศ ด้วยเครื่องยนต์ General

Motors 6.5 liter V8 efi 450hp 337kW สามารถแล่นขณะลอยตัวอยูบ่นนำ้าได้เป็นอย่างดี ถงึ

แมว่้าในบางช่วงของการทดสอบ จะมอุีปสรรคอยูบ่้าง กบัสภาพอากาศทีแ่ปรปรวน แต่เมือ่ทดสอบทีส่ภาวะ

ปกติก็สามารถทำาการบินทดสอบได้ผลดี

ผลการทดสอบ

จ ังหวะเร ิ่มตน้

จ ังหวะเผนิ นำ้า

ภาพผลการทดสอบการบนิ บร ิเวณอา่วสตัห ีบ

ในช่วงจ ังหวะเร ิ่มต ้น คือจ ังหวะTake Off Landing Speed ซึ่งในจังหวะนี้จะใช้

ความเร ็วท ี่ ๕๐ kts หรือประมาณ ๑๐๐

km/h

ในช่วงจ ังหวะเผ ินนำ้า คือจ ังหวะที่ต ัวยานพ้น

ผิวน ำ้า จะม ี ความเร ็ว (Cruise

Speed) ที่ ๘๖ kts หรือ ๑๖๐ km/h

บทสร ุป• ความสามารถในการต้านทานแรงลม และคลื่นมี

อยู่น้อย จึงใช้ขนสง่ในทะเลสาบเป็นส่วนใหญ่ มีความรวดเร็วและคล่องตัวพอสมควร สามารถ

เข้าปฏิบตัิภารกิจได้หลากหลายในพื้นที่ที่เรือ ใหญ่ไม่สามารถเข้าถึง หรือเปน็พื้นที่อนรุักษ์

ทรัพยากรใต้ทะเลเนื่องจากท้องยานกินนำ้าตื้น มาก

บทสร ุปด้านความปลอดภัย• มีความปลอดภัยสงูเนื่องจากบนิตำ่าสูงจากผวิ

ทะเลเพียงแค่ ๓ เมตร สามารถที่จะข้ามสิ่ง กีดขวาง เชน่ เรือประมงได้ ถ้ามองเห็นในระยะ

ไกล ก็สามารถที่บนิสูงขึ้นได้ ตัวเรือผลิตจาก วัสดุผสม (Composite Material) ซึ่งมีความ แข็งแรง ทนแรงกระแทกและฉีกขาดได้สูง

บทสร ุปด้านเทคโนโลยี• เทคโนโลยีที่ใช้ในยานบนิเบาะอากาศ ก็เป็น

เทคโนโลยีปกติ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องต้นกำาลังขับก็ เปน็เครื่องยนต์รถยนต์ ตัวเรือก็เปน็วัสดุผสม

(Composite Material) ที่ประเทศไทยก็มี ความสามารถในการผลิตขึ้นใช้เองในประเทศ

นอกจากนัน้ยังมีความคงทนต่อนำ้าทะเล และที่ สำาคญัมีนำ้าหนกัเบาอีกด้วย ส่วนระบบนำาร่อง

เรดาร์ หรือโซนาร์ก็เปน็ระบบนำาร่องที่ใช้กันใน เรือโดยสาร และเครื่องบินที่ใชกั้นอยู่ทั่วไป

บทสร ุปด้านภารกจิทหาร• สำาหรับการนำามาใช้งานในภารกจิทางทหาร ยานบินเบาะอากาศประเภทนี้สามารถรอดพน้จากอันตรายจาก

ทุน่ระเบิดทีขึ่งอยูใ่ต้นำ้าเพราะลำาตัวเรือลอยจากผิวนำ้าและสามารถใช้ในการขนส่งกำาลังทหารและ

ยทุโธปกรณ์ไปยังพื้นที่เป้าหมาย เช่น เกาะในทะเล หรือพืน้ทีท่ีย่ากต่อการเข้าถึงของเรือรบขนาดใหญ่

กระทำาการได้อยา่งรวดเร็ว นอกจากนัน้ยงัสามารถที่จะติดอาวุธเพือ่เสริมเข้ียวเล็บได้อีกด้วย

ติดต่อขอข้อมูลเก่ียวกับยานบนิเบาะอากาศได้ที่..... กองวิจัยและพัฒนา กรมพัฒนาการชา่ง กรมอู่ทหารเรือ

โทร. 54042