การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม...

2
1 การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม จิตใจและอารมณ์ในผู ้ป่ วยสมองเสื่อม (Management of Behavioral and psychological symptoms of dementia (BPSD) ความผิดปกติทางพฤติกรรม จิตใจและอารมณ์ รวมทั ้งอาการทางจิตเป็นกลุ่มอาการทีพบร่วมในผู้ป่วยสมองเสื่อมชนิดต่างๆสูงถึง ร้อยละ 90 ปัญหาดังกล่าวนอกจากจะทาให้เกิดความ ยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลแล้ว ยังก่อให้เกิดความเครียดและเพิ่มความรู้สึกเป็นภาระในการดูแลแกญาติ และผู้ดูแล BPSD ส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลและมักเป็นสาเหตุสาคัญทา ให้ผู้ป่วยถูกนาเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล และสถานบาบัด รวมทั ้งเป็นอาการสาคัญ อันดับ ต้นๆที่ผู้ป ่ วยกลุ่มนี ้ถูกนามาเข ้ารับการรักษาที่หน่วยบริการด้านจิตเวช BPSD ประกอบไปด้วย อาการกลุ่มทางด้านพฤติกรรม เช่น ก้าวร้าว (physical aggression) กรีดร้อง( screaming) บ่นด่า (cursing) กระวนกระวาย (agitation) กระสับกระส่าย( restlessness) เดินไปมาอย่างไร้จุดหมาย การแสดงออกทางเพศที่ไม่เหมาะสม สะสมของ (hoarding) พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ส่วนกลุ่มอาการทางด้านจิตใจ เช่น วิตกกังวล (anxiety) ซึมเศร้า (depressive mood) ประสาทหลอน (hallucinations) หลงผิด (delusions) การประเมินกลุ่มอาการใน BPSD บางอาการต้องถามจากญาติ ผู้ดูแล รวมทั ้งสังเกต เพราะผู้ป่วยกลุ่มนี ้มีความบกพร่องของพุทธิปัญญา (cognition) และชาญปัญญา ยากที่ผู้ป ่ วยจะบอก เล่าได้ด้วยตัวเอง นอกจากนี ้อาการบางอย่าง ก็ยากแก่การประเมิน เช่น ซึมเศร้า ในบางรายอาจไม่ได้ แสดงการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ อาจเห็นเพียงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจาก ของเดิม ความอยากอาหารลดลง การเปลี่ยนแปลงของวงจรชีวภาพ (circadian rhythm) ดังนั ้น ผู้ดูแลรักษา รวมทั ้งญาติ ควรที่จะตระหนักถึง เพื่อนามาสู่การค้นหาสาเหตุ การวินิจฉัยที่ถูกต้อง เพื่อจะได้รับการรักษาที่เหมาะสมเพราะการักษากลุ ่มอาการ BPSD มักได้ผลดีกว่าการรักษาอาการ ผิดปกติทาง cognitive function การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม จิตใจและอารมณ์ในผู้ป่วยสมองเสื่อม ( BPSD) การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Nonpharmacological treatment) ควรใช้เป็นอันดับแรก มัก ได้ผลในกรณีที่อาการไม่รุนแรง หลักสาคัญคือ ค้นหาสาเหตุและตั ้งสมมติฐานของเหตุที่อยูเบื ้องหลังพฤติกรรมและแก ้ที่สาเหตุ BPSD สะท้อนถึงปฏิสัมพันธ์ของผู้ป่วย กับผู้ดูแลและ สิ่งแวดล้อม การปรับสิ่งแวดล้อมเอื ้อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัยและสงบ การสื่อสารทางกายและวาจา ด้วยท่าทีและแววตาที่เป็นมิตร การสัมผัสที่อ่อนโยน สื่อสารด้วยคาพูดที่เข้าใจง่ายและชัดเจน รับ ฟังและพยายามเข้าใจและรับรู้ความต้องการและอารมณ์ของผู้ป่วย ไม่ทะเลาะ หรือขัดแย้งกับผู้ป่วย การเบี่ยงเบน(distract)ความสนใจ เช่น ให้ทากิจกรรมที่ผู้ป ่ วยชอบ การดูแลด้านจิตใจ ให้กาลังใจ และให้ความรู้เรื่องโรคและทักษะการดูแลแก่ผู้ดูแล การปรับพฤติกรรมและฝึกทักษะทางสังคม

description

ผู้ป่วยสมองเสื่อม

Transcript of การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม...

Page 1: การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม จิตใจและอารมณ์ในผู้ป่วยสมองเสื่อม

1

การจดการกบปญหาพฤตกรรม จตใจและอารมณในผปวยสมองเสอม

(Management of Behavioral and psychological symptoms of dementia (BPSD) ความผดปกตทางพฤตกรรม จตใจและอารมณ รวมทงอาการทางจตเปนกลมอาการทพบรวมในผปวยสมองเสอมชนดตางๆสงถง รอยละ 90 ปญหาดงกลาวนอกจากจะท าใหเกดความยงยากซบซอนในการดแลแลว ยงกอใหเกดความเครยดและเพมความรสกเปนภาระในการดแลแกญาต และผดแล BPSD สงผลเสยตอคณภาพชวตแกผปวยและผดแลและมกเปนสาเหตส าคญท าใหผปวยถกน าเขาพกรกษาตวในโรงพยาบาล และสถานบ าบด รวมทงเปนอาการส าคญ อนดบตนๆทผปวยกลมนถกน ามาเขารบการรกษาทหนวยบรการดานจตเวช BPSD ประกอบไปดวย อาการกลมทางดานพฤตกรรม เชน กาวราว (physical aggression) กรดรอง( screaming) บนดา (cursing) กระวนกระวาย (agitation) กระสบกระสาย( restlessness) เดนไปมาอยางไรจดหมาย การแสดงออกทางเพศทไมเหมาะสม สะสมของ (hoarding) พฤตกรรมทไมเหมาะสม สวนกลมอาการทางดานจตใจ เชน วตกกงวล (anxiety) ซมเศรา (depressive mood) ประสาทหลอน (hallucinations) หลงผด (delusions) การประเมนกลมอาการใน BPSD บางอาการตองถามจากญาต ผดแล รวมทงสงเกต เพราะผปวยกลมนมความบกพรองของพทธปญญา (cognition) และชาญปญญา ยากทผปวยจะบอกเลาไดดวยตวเอง นอกจากนอาการบางอยาง กยากแกการประเมน เชน ซมเศรา ในบางรายอาจไมไดแสดงการเปลยนแปลงของอารมณ อาจเหนเพยงการเปลยนแปลงของพฤตกรรมทเปลยนไปจากของเดม ความอยากอาหารลดลง การเปลยนแปลงของวงจรชวภาพ (circadian rhythm) ดงนนผดแลรกษา รวมทงญาต ควรทจะตระหนกถง เพอน ามาสการคนหาสาเหต การวนจฉยทถกตอง เพอจะไดรบการรกษาทเหมาะสมเพราะการกษากลมอาการ BPSD มกไดผลดกวาการรกษาอาการผดปกตทาง cognitive function

การจดการกบปญหาพฤตกรรม จตใจและอารมณในผปวยสมองเสอม ( BPSD)

การรกษาโดยไมใชยา (Nonpharmacological treatment) ควรใชเปนอนดบแรก มกไดผลในกรณทอาการไมรนแรง หลกส าคญคอ คนหาสาเหตและตงสมมตฐานของเหตทอยเบองหลงพฤตกรรมและแกทสาเหต BPSD สะทอนถงปฏสมพนธของผปวย กบผดแลและสงแวดลอม การปรบสงแวดลอมเออใหผปวยรสกปลอดภยและสงบ การสอสารทางกายและวาจาดวยทาทและแววตาทเปนมตร การสมผสทออนโยน สอสารดวยค าพดทเขาใจงายและชดเจน รบฟงและพยายามเขาใจและรบรความตองการและอารมณของผปวย ไมทะเลาะ หรอขดแยงกบผปวย การเบยงเบน(distract)ความสนใจ เชน ใหท ากจกรรมทผปวยชอบ การดแลดานจตใจ ใหก าลงใจ และใหความรเรองโรคและทกษะการดแลแกผดแล การปรบพฤตกรรมและฝกทกษะทางสงคม

Page 2: การจัดการกับปัญหาพฤติกรรม จิตใจและอารมณ์ในผู้ป่วยสมองเสื่อม

2

รวมทงการใชการแพทยทางเลอก เชน การนวดดวยน ามน หอมระเหย ( aroma massage therapy) มหลกฐานทางวชาการวาไดผลด ผลดผลดไดวาผลดผลด การรกษาดวยยา (pharmacological treatment) จะท าเมอการรกษาโดยไมใชยาไมไดผล และอาการนนรนแรง เปนอยนาน กอใหเกดอนตรายแกผปวย และกอความเดอดรอนแกคนรอบขาง กลมยาจตเวชทถกน ามาใช ไดแก ยาคลายกงวล ยาตานเศรา ยาตานโรคจต ยากนชก กลมอาการ BPSD ทตอบสนองดตอยา ไดแก อาการวตกกงวล อารมณซมเศรา หลงผดและประสาทหลอน กาวราว พฤตกรรมทางเพศทไมเหมาะสม ปญหาการนอน กลมอาการ BPSD ทไมตอบสนองตอยา ไดแก เดนแบบไรจดหมาย (wandering) ปญหาการขบถาย พฤตกรรมทท าซ าๆ สงเสยงซ าๆ เกบสะสมของ ปญหาการกน

สรป BPSD เปนเรองทบคลากรดานจตเวชควรใหความส าคญและตระหนกถง

เพราะเปนอาการส าคญทผปวยถกน ามาพบแพทยในหนวยบรการจตเวช และเปนกลมอาการทพบรวมกบโรคสมองเสอมชนดตางๆสงถงรอยละ 90 การจดการอนดบแรกควรใชการรกษาโดยไมใชยากอน เมอไมไดผลหรออาการรนแรง ยาจตเวชหลายกลมถกน ามาใชเพอควบคมและลดอาการของ BPSD