การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ...

7
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา ศักยภาพของมนุษยเพื่อสงเสริมสมรรถนะผูสอนออนไลน ณรงค พันธุคง 1 ปณิตา วรรณพิรุณ 2 บทนํา ประเทศไทยไดประกาศใชนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศฉบับแรก (IT2000) และไดดําเนินการโดยมุงหวัง ใหเกิดการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจและสังคมแหงภูมิ ปญญาและการเรียนรู (Knowledge-based Economy/Society : KBE/KBS) และดวยองคประกอบทางสังคมและเศรษฐกิจทีเปลี่ยนแปลงไปจึงตองมีการกําหนดนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศ ที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงทั้งในและ ตางประเทศ จึงไดจัดทํากรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศในระยะที่สอง IT 2010 ซึ่งจะ ครอบคลุมเวลา 10 ป (พ.ศ.2544-2553) โดยใหความสําคัญ กับบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในฐานะเครื่องมือใน การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ทั้งดานเศรษฐกิจและ สังคม โดยเนนถึงการประยุกตใชในสาขาหลักที่เปน เปาหมายของการพัฒนาอยางสมดุลยระหวางภาคเศรษฐกิจ และภาคสังคม โดยเนนการพัฒนาดาน IT ใน 5 สาขา ไดแก 1) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ (e- Government) 2) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใน ภาคอุตสาหกรรม ( e-Industry) 3)การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศในภาคการพาณิชย (e-Commerce) 4)การพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศในภาคการศึกษา (e- Education) 5) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาค สังคม (e-Socitey) รวมไปถึงการเสริมสรางอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Industry) ใหมีขีดความสามารถ และความเขมแข็งมากขึ้น โดยมีความสอดคลองกับหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ใหประเทศไทยไดพึ่งตนเองดาน เทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อทดแทนการซื้อเทคโนโลยี โดยมี พื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาคนให มีคุณภาพเพียงพอในทุก ระดับการศึกษา มีการใชไอทีมาประยุกตใชกับงานดาน ตางๆ ของประเทศ เชน ดานเกษตรสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรม พลังงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การศึกษา การบริหารจัดการ การสนับสนุนคนพิการ ความมั่นคงของ ประเทศ เปาหมายใหแผนไอที 2010 เปนแผนที่เนนดาน เศรษฐกิจมากขึ้น ลดความยากจนของคนในประเทศโดยใช ไอทีเขาชวย เปนการพัฒนาระหวาง เศรษฐกิจเกาและ เศรษฐกิจใหมเขาดวยกัน ซึ่งเพิ่มเติมจากแผนไอที 2000 ซึ่ง เปนแผนที่เนนความสําคัญดาน โครงสรางพื้นฐาน บุคลากร และการปกครองที่ดี ซึ่งถือไดวาประสบความสําเร็จ จาก เอกสาร สรุปผลการประเมินแผนแมบท ICT ฉบับที1 ทีปรากฏใน(ราง) วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร ของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับ ที2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 พบวา ดัชนีชี้วัดประเทศ ไทยอยูในในดานการแขงขันอยูอันดับที33 จาก 55ประเทศ ทั่วโลก ดานความพรอมอยูอันดับที47 จาก 70 ประเทศทั่ว โลกแตมีแนวโนมลดลง ปจจัยที่ทําใหการพัฒนา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศลดลงไทยคือความ พรอมดานโครงสรางพื้นฐานที่ไมพอเพียง จากการ วิเคราะห SWOT มีขอสรุปวาในแผน ICT ฉบับที2 ควร มุงเนนการแกไขจุดออน 2 ประการคือ คน และการบริหาร จัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยกําหนด วิสัยทัศนวา เปนสังคมอุดมปญญา ( Smart Thailand) มีการ ใชเทคโนโลยีอยางชาญฉลาดภายใตเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความรอบรู สามารถเขาถึงและใช สารสนเทศไดอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และ รูเทาทัน (Smart people: Information literate) มีการบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีธรรมาภิ บาล และ ( Smart Governance) เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมอยางยั่งยืน

description

ณรงค์ พันธุ์คง และปณิตา วรรณพิรุณ. (๒๕๕๕). การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะผู้สอนออนไลน์.

Transcript of การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ...

Page 1: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษยเพื่อสงเสริมสมรรถนะผูสอนออนไลน

ณรงค พันธุคง1 ปณิตา วรรณพิรุณ2

บทนํา

ประเทศไทยไดประกาศใชนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรก (IT2000) และไดดําเนินการโดยมุงหวังใหเกิดการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจและสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู(Knowledge-based Economy/Society : KBE/KBS) และดวยองคประกอบทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปจึงตองมีการกําหนดนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงทั้งในและต างประเทศ จึ งไดจั ดทํ ากรอบนโยบายเทคโนโล ยีสารสนเทศของประเทศในระยะที่สอง IT 2010 ซึ่งจะครอบคลุมเวลา 10 ป (พ.ศ.2544-2553) โดยใหความสําคัญกับบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในฐานะเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม โดยเนนถึงการประยุกตใชในสาขาหลักที่ เปนเปาหมายของการพัฒนาอยางสมดุลยระหวางภาคเศรษฐกิจและภาคสังคม โดยเนนการพัฒนาดาน IT ใน 5 สาขา ไดแก 1) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ (e-Government) 2) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาคอุตสาหกรรม (e-Industry) 3)การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาคการพาณิชย (e-Commerce) 4)การพัฒนาเ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ภ า ค ก า ร ศึ ก ษ า (e-Education) 5) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในภาคสังคม (e-Socitey) รวมไปถึงการเสริมสรางอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Industry) ใหมีขีดความสามารถและความเขมแข็งมากขึ้น โดยมีความสอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ใหประเทศไทยไดพึ่ งตนเองด านเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อทดแทนการซื้อเทคโนโลยี โดยมีพื้นฐานที่สําคัญในการพัฒนาคนให มีคุณภาพเพียงพอในทุกระดับการศึกษา มีการใชไอทีมาประยุกตใชกับงานดาน

ต า ง ๆ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ช น ด า น เ ก ษ ต ร สิ่ ง แ ว ด ล อ ม อุตสาหกรรม พลังงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การศึกษา การบริหารจัดการ การสนับสนุนคนพิการ ความมั่นคงของประเทศ เปาหมายใหแผนไอที 2010 เปนแผนที่เนนดานเศรษฐกิจมากขึ้น ลดความยากจนของคนในประเทศโดยใชไอทีเขาชวย เปนการพัฒนาระหวาง เศรษฐกิจเกาและเศรษฐกิจใหมเขาดวยกัน ซึ่งเพิ่มเติมจากแผนไอที 2000 ซึ่งเปนแผนที่เนนความสําคัญดาน โครงสรางพื้นฐาน บุคลากรและการปกครองที่ดี ซึ่งถือไดวาประสบความสําเร็จ จากเอกสาร สรุปผลการประเมินแผนแมบท ICT ฉบับที่ 1 ที่ปรากฏใน(ราง) วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 พบวา ดัชนีชี้วัดประเทศไทยอยูในในดานการแขงขันอยูอันดับที่ 33 จาก 55ประเทศทั่วโลก ดานความพรอมอยูอันดับที่ 47 จาก 70 ประเทศทั่วโลกแตมีแนวโนมลดลง ปจจัยที่ทําใหการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศลดลงไทยคือความพรอมด านโครงสรางพื้นฐานที่ ไมพอเพียง จากการวิเคราะห SWOT มีขอสรุปวาในแผน ICT ฉบับที่ 2 ควรมุงเนนการแกไขจุดออน 2 ประการคือ คน และการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยกําหนดวิสัยทัศนวา เปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) มีการใชเทคโนโลยีอยางชาญฉลาดภายใตเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความรอบรู สามารถเขาถึงและใชสารสนเทศไดอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน (Smart people: Information literate) มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล และ (Smart Governance) เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางยั่งยืน

Page 2: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology)หรือ ICT เปนสิ่งที่เขามามีบทบาทสําคัญในชีวิตของมนุษยในยุคนี้เปนอยางมากและนับวันจะยิ่งเขามามีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบัน ICT ไดกลายเปนสิ่งที่พบเห็นไดทั่วไปทั้งในสังคม ชุมชน ครอบครัว รวมไปถึงสถานศึกษา ไมวาจะเปนการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ การทําธุรกรรมการเงินผานระบบอัตโนมัติ การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต การดูโทรทัศนผานดาวเทียม การเรียนการสอนผานวิดีโอ ฯลฯ กิจกรรมเหลานี้ลวนเกิดขึ้นจากการนําเอา ICT มาใชทั้งสิ้น ดังนั้น การรูไอซีที (ICT Literacy) จึงเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งในยุคปจจุบันไมนอยไปกวาการรูหนังสือ การรูคอมพิวเตอร การรูทางทัศนะ ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องจากการรูไอซีทีจะทําใหบุคคลสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อผลในทางปฏิบัติในสังคมแหงความรู เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพในการดํารงชีวิตไดอยางที่ควรจะเปน ดวยเหตุดังกลาวจึงมีความจําเปนที่ตองใหความรูความเขาใจแกบุคคลทั่วไปในเรื่องของทักษะและความสามารถในดานนี้ เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดในโลกยุคปจจุบันที่เต็มไปดวยเทคโนโลยี

“การรูไอซีท”ี เปนคําที่มาจากภาษาอังกฤษวา “ICT literacy” หมายถึง การที่บุคคลมีความรูและทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรูไอซีทีจึงเขามามีบทบาทสําคัญมากขึ้นในวงการทางการศึกษา นอกเหนือจากการรูคอมพิวเตอร (Computer literacy) และการรูสารสนเทศ (Information literacy)ความสามารถพื้นฐานของการรูไอซีทีความสามารถพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จําเปนสําหรับการศึกษา การเรียนรู การทํางานและการดํารงชีวิต ในยุคแหงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสังคมแหงความรู มีดังนี้

การรูไอซีทีความเชี่ยวชาญดานไอซีที

การเขาถึง

การจัดการ

การบูรณาการ

การประเมิน

การสรางสรรค

ความเชี่ยวชาญดานความรูความเขาใจ

ความเชี่ยวชาญดานเทคนิค

แผนภาพที่ 1 แสดงพื้นฐานของทักษะและความรูที่เปนฐานหนุนการรูไอซีที

1. ความเชี่ยวชาญดานความรูความเขาใจ (Cognitive Proficiency) เปนทักษะพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การอานการเขียน การคิดวิเคราะห การแกปญหา และการคํานวณ

2 .ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ด า น เ ท ค นิ ค (Technical Proficiency) ห ม า ย ถึ ง อ ง ค ป ร ะ ก อ บ พื้ น ฐ า น แ ล ะองคประกอบตางๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงความรูพื้ น ฐ า น ท า ง ด า น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ต า ง ๆ ร ะ บ บฮารดแวร ซอฟตแวร และระบบเครือขาย

3.ความเชี่ยวชาญดานไอซีที (ICT Proficiency) เปนทั ก ษ ะ ที่ บู ร ณ า ก า ร ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ด า น ก า ร รู คิ ด ใ นชีวิตประจําวันกับทักษะทางดานเทคนิค และสามารถนํามาปร ะ ยุกต ใ ชกับ ง าน ต างๆ ไ ดอ ย า ง เ ห ม าะ สม แ ล ะ มีประสิทธิภาพ ทั้งกับงานที่งายไปจนถึงงานที่มีความซับซอน ไดอยางมีประสบการณ กลาวคือความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนความชํานาญในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อ

3.1 การเขาถึงขอมูล เปนความชํานาญในการเขาถึงขอมูล รูวาจะเก็บและสืบคนขอมูลไดอยางไร

3.2 การจัดการกระทํากับขอมูล เปนความชํานาญในการจัดการ จําแนก และจัดกลุมขอมูล

3.3 การวิเคราะหและแสดงผลขอมูล เปนความชํานาญในการแปลความหมายขอมูล เปรียบเทียบ วิเคราะห หาความสัมพันธของขอมูล สรุปและแสดงผลขอมูลได

Page 3: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

3.4 การประเมินผลขอมูล เปนความชํานาญในการประเมินคุณภาพ ประโยชนใชสอย หรือประสิทธิภาพของขอมูล

3.5 การสรางขอมูลขึ้นมาใหม เปนความชํานาญในการสรางขอมูลขึ้นใหมโดยอาศัยการดัดแปลง การประยุกตใช การออกแบบใหม การประดิษฐคิดคนหรือการสรางขอมูลขึ้นมาใหม

ICT มีบทบาทตอกระบวนการเรียนรู เนื่องจาก ICT เปนเทคโนโลยีที่มีเครื่องมือเพื่อการเรียนรูที่หลากหลาย ทั้งการติดตอสื่อสาร การสืบคนขอมูล การเข าถึงแหลงสารสนเทศ และการสรางชิ้นงาน ทําใหเกิดการบูรณาการการเรียนรูที่เชื่อมโยงระหวางสาระวิชา พัฒนาทักษะการทํางานกลุม ทักษะการคิดขั้นสูง และการคิดสรางสรรคดวยวิธีการที่หลากหลาย

การเปลี่ยนแปลงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครั้งนี้สงผลใหประเทศตางๆ ทั่วโลก ตองตื่นตัวและไดทุมเททรัพยากรเพื่อการบริหารกิจการบานเมืองและสั ง ค ม ข อ ง ต น ใ ห ทั น โ ล ก ทั น ส มั ย ส อ ด ค ล อ ง กั บสภาพแวดลอมและกติกาใหมของสังคม ทั้งนี้ในสวนภาคราชการตองปรับตัวใหทันและรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา การบริหารทรัพยากรบุคคลในภาครัฐจึงมีสิ่งทาทายที่ตองเผชิญคือ ทําอยางไรจึงจะทําใหขาราชการสามารถเพิ่มคุณคาในการทํางานเพื่อใหองคกรสามารถเผชิญกับสภาวะแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และทําให ข าร าชการ มี ความ สุข ใน การ ทํ าง าน ( สํ านั กง านคณะกรรมการขาราชการพลเรือน.2547 ก) ดังนั้นบุคลากรจึงถือเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดความสําเร็จและความมีประสิทธิภาพขององคกรในยุคปจจุบัน สงผลใหบุคลากรตองมีศักยภาพและสมรรถนะในการทํางานสูงและมีความตื่นตัวตอการปรับสภาพการทํางานใหกาวหนาตามเทคนิคและการบริหารสมัยใหม ซึ่งองคกรสมัยใหมในสังคมเศรษฐกิจที่เนนองคความรู (Knowledge Economy) ถือวาทรัพยากรบุคคลอันเปนทรัพยสิน (Asset) ขององคกรนั้น มีความเปน “ทุน” (Human Capital) ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการบริหารและการสรางคุณคา (Value Creation) ใหกับองคกร (สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2547 ข)

การกําหนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรในภาครัฐ รัฐบาลไดเห็นความสําคัญโดยกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน มีเปาประสงคหลักใหขาราชการมีสมรรถนะและความมุงมั่นในการปฏิบัติราชการ ยึดหลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมและการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี นักบริหารทุกระดับมีศักยภาพในการเปนผูนําการบริหารราชการยุคใหม เพื่อใหภาคราชการมีขีดความสามารถและมาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล โดยมียุทธศาสตรการเสริมสรางสมรรถนะและทักษะใหแกทรัพยากรบุคคลภาครัฐ รวมทั้งการสรางสภาพแวดลอมและพัฒนาการเรียนรูของบุคคลดวยวิธีการที่หลากหลาย ที่ เอื้อตอการสรางกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหมในการปฏิบัติงาน เชน การฝกอบรมทางไกล การฝกอบรมโดยผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-learning) การเรียนรูดวยตนเองตลอดเวลา เปนตน (สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. 2547 ค) ซึ่งการดําเนินงานตามแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐดังกลาว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดเขามามีบทบาทในการพัฒนาและบริหารกําลังคนภาครัฐ เพื่อที่จะทําใหองคกรสามารถตอบสนองตอปรากฏการณของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา พรอมทั้งเตรียมอุปกรณและเครื่องอํานวยความสะดวกในการเรียนรูและสรางบรรยากาศแหงการเรียนรูใหแกบุคลากรทุกคนในองคกร

การเรียนการสอนผานระบบอิเล็กทรอนิกส หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวา อีเลิรนนิง นั้นมีความแตกตางกับการเรียนการสอนในชั้นเรียนแบบเผชิญหนา เชนสภาพแวดลอมการเรียนการสอน การสื่อสารและปฏิสัมพันธ ซึ่งทําใหสมรรถนะผูสอนออนไลนมีความแตกตางกันทั้งความรูความสามารถ บทบาทและหนาที่ จากผลการศึกษาวิจัยของMcVay (2002) พบวาผูสอนมีทัศนคติทั้งทางบวก และทางลบตอบทบาทผูสอนออนไลน ไดแก ดานการใชเทคโนโลยีดานตารางการทํางานที่ไมเปนปกติ และดานบทบาทของผูสอนที่เปลี่ยนเปนผูชวยเหลือและสนับสนุน นอกจากนี้จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยคัดสรร พบวามีนักการศึกษาและหนวยงานตางๆ ใหความสําคัญตอการพัฒนาสมรรถนะผูสอนออนไลนซึ่งแสดงใหเห็นวาการทําหนาที่ผูสอนออนไลนจําเปนตองมีความรู ความสามารถทักษะและ

Page 4: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

คุณลักษณะของผูสอนที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน เชนสมรรถนะดานศาสตรการสอน ดานการจัดการหองเรียนออนไลน ดานเทคนิค ดานการประเมิน(Berge, 2001; IBSTPI, 2003; Smith, 2005; NACOL, 2006) (ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ,2011)

เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย (Human Performance Technology: HPT) เปนนวัตกรรมที่กําลังไดรับการกลาวถึงในการพัฒนาขาราชการใหมีความสามารถและประสิทธิภาพ ทั้งนี้ HPT เริ่มตนจาก โทมัส กิลเบิรท (Thomas F. Gilbert) ที่ไดรับการยกยองวาเปนบิดาของเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย(HPT) และเปนลูกศิษยของสกินเนอร (Skinner) ศาสตราจารยผูมีชื่อเสียงโดงดังทางจิตวิทยากลุมทฤษฏีพฤติกรรมนิยม โดยในชวงป ค.ศ.1961-1962 กิลเบิรท ไดตีพิมพวารสารซึ่งนําไปสูการวางรากฐานและทําใหเกิดการขยายตัวอยางกวางขวางของเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย ชื่อ ความสามารถมนุษย (Human Competence) ที่อธิบายถึงการพัฒนาความสามารถที่จะตองมาจากการวิเคราะหความสามารถ การวิเคราะหสาเหตุ ซึ่งนําไปสูการพัฒนาแบบจําลองเทคโนโลยีสมรรถนะมนุษย โดยเนนเ ฉ พ า ะ ไ ป ที่ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า เ พื่ อ เ พิ่ มความสามารถในการทํางานหรือจะเรียกวา วิธีการระบบเพื่อการฝกอบรมการทํางาน โดยเนนไปที่ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มความสามารถใหกับบุคลากรที่ทํางานอยู ดังนั้น HPT จึงเนนไปที่รูปแบบการจัดกระบวนการที่เนนการพัฒนาบุคลากรในองคกร (ปรัชญนันท นิลสุข. 2549)

เทคโนโลยี เพื่ อพัฒนาความสามารถของมนุษย หมายถึง กระบวนการออกแบบระบบเพื่อพัฒนาและเพิ่มความสามารถของบุคลากร โดยการวิเคราะหชองวางหรือความแตกตางของความสามารถที่หนวยงานตองการกับสภาพที่แทจริงทั้งขององคกรและบุคลากร ซึ่งจะนําไปสูการวิเคราะหสาเหตุและการออกแบบการผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการประเมินผลที่เหมาะสมกับหนวยงาน เพื่อใหบรรลุตามวิสัยทัศนและวัตถุประสงคของหนวยงานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ทั้งนี้ รูปแบบ (Model) เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย (Human Performance Technology: HPT) ที่ไดรับการยอมรับในขณะนี้คือ รูปแบบของ แวนเธียม มอสเซเรย และเดสซินเจอร (Van Tiem, Moseley and Dessinger. 2001) โดยมีรูปแบบดังนี้

Human Performance Technology Model

(Van Tiem, Moseley and Dessinger. 2001)

แบบจําลองเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษยประกอบดวย

1. การวิเคราะหความสามารถดวยวิธีการสํารวจ(Surveys Research) โดยการวิเคราะหสภาพปจจุบัน (Actual Performance State: APS) และวิเคราะหความตองการ(Desired Performance State: DPS) ของบุคลากรและองคกรไดแก การวิเคราะหปจจัยภายในบุคคล (Individual Factor) และวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุนในองคการ (Organization Factor)โดยใชแบบสอบถามการวิเคราะหความสามารถของบุคลากรในองคกร เชนการวิ เคราะหสมรรถภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การวิ เคราะหสมรรถนะผูสอนออนไลนขององคกรจากนั้นวิเคราะหชองวาง (Performance Gap Analysis) และจัดลําดับการพัฒนา (Classify Performance)

2. การวิเคราะหสาเหตุเปนขั้นตอนการนําผลที่ไดจากขั้นวิเคราะหความสามารถของบุคลากรในองคกร มาวิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดชองวางนั้น

Page 5: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

ไดแก การสนับสนุนที่เกี่ยวของกับบุคคล (Individual Support) และการสนับสนุนที่ เกี่ ยวของกับองคกร(Organization Support)

3. เปนการนําผลที่ไดจากขั้นการวิเคราะหสาเหตุมาออกแบบดําเนินการพัฒนาความสามารถของบุคลากร ในองคกรโดยวิธีการฝกอบรมปฏิบัติการ (Training on Performance) ประกอบดวยขั้นตอน ไดแก กําหนดวัตถุประสงค (Purpose) กําหนดเนื้อหา (Content) คัดเลือก(Recruitment) ใหรางวัลสินน้ําใจ (Incentive) ดําเนินการฝกอบรม (Training) และประเมินความรูและทักษะ(Knowledge and Skill Assessment) โดยใชแบบประเมินความรู (Knowledge) แบบประเมินทักษะ (Skill) และแบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม

4. การดําเนินการและผลักดันการเปลี่ยนแปลงเปนขั้นตอนที่บุคลากรนําความรูหรือทักษะที่ไดจากขั้นพัฒนาความสามารถ มาดําเนินการเผยแพรความรูหรือทักษะที่ไดรับไปสูบุคลากรในองคกรของตน (Knowledge & Skill Diffusion) ประกอบดวยขั้นตอน ไดแก เตรียมการ(Preparation) เผยแพร (Diffusion) ประเมินคุณสมบัติ(Attribute Assessment) และยกยองชมเชย (Reward) โดยใชแบบประเมินคุณสมบัติ (Attribute) และแบบประเมินความพึงพอใจของกลุมบุคลากรในองคกรที่ไดรับการเผยแพรความรูหรือทักษะ

5. การประเมิน เปนขั้นตอนของการประเมิน คือประเมินกระบวนการปรับปรุง (Formative Evaluation) เปนการประเมินในทุกขั้นตอนเพื่อทําการแกไขปรับปรุง แบบจําลอง ซึ่งผลที่ไดจากแตละขั้นตอนจะนํามาเปนขอมูลในการดําเนินการของขั้นตอนตอ ๆ ไป และประเมินผลสัมฤทธิ ์(Summative Evaluation) เปนการประเมินความรูทักษะ คุณสมบัติ ความพึงพอใจของบุคลากรที่เขารับการฝกอบรม และความพึงพอใจของกลุมบุคลากรในองคกรที่ไดรับการเผยแพรความรูหรือทักษะ โดยใชแบบประเมินไดแก แบบประเมินความรู แบบประเมินทักษะ แบบประเมินคุณสมบัติ แบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม และแบบประเมินความพึงพอใจของกลุมบุคลากรในองคกรที่ไดรับการเผยแพรความรูหรือทักษะ

บทสรุป

การนําเอาสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษยไปใชเพื่อสงเสริมสมรรถนะผูสอนอิเลิรนนิงและชวยในการพัฒนาองคกร เพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขันที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วและคาดการณไดยากอยางปจจุบัน อยางไรก็ตาม การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษยไปใชในการพัฒนาองคกรใหสําเร็จก็ขึ้นอยูกับความพรอมของปจจัยภายในองคกรหลายดาน ไดแก ฮารดแวร ซอฟทแวร ขอมูลและสารสนเทศ ฐานขอมูล ระบบเครือขายการสื่อสาร ความซับซอนของกระบวนการทํางาน บุคลากรที่ทํางานเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และที่สํ า คั ญ คื อ กา ร นํ า เ อ ารู ป แ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ พั ฒ น าความสามารถมนุษย (Human Performance Technology: HPT) มาปรับประยุกตใชใหเหมาะสมกับหนวยงานภาครัฐจะชวยทําใหการพัฒนาบุคลากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยางเดนชัด สอดคลองกับแนวนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคนเปนฐานสําคัญและการพัฒนา และนําประเทศไปสูความกาวหนาและแขงขันไดในระดับสากล เพิ่มประสิทธิภาพใหคนเทากับเพิ่มทุนมนุษยใหกับหนวยงาน

1 ณรงค พันธุคง อาจารยประจํา สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

2 ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 6: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

บรรณานุกรม[1] “การพัฒนาศักยภาพกลุมคนทํางานที่บานดวยสื่อ ICT”.< http://www.mict.go.th/home/1656D2.html >

19-09-2551.[2] “แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2550-2554” , 2550.

[3] กระทรวงศึกษาธิการ (2550) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและมาตรฐานการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักปลัดกระทรวง. Online Available :http://www.moe.go.th/policy/policy_ICT.pdf

[4] กระทรวงศึกษาธิการ (2546) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2547 – 2549). กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคกรคาคุรุสภา

[5] คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2546) แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-พ.ศ.2550). กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ [6] ปรัชญนันท นิลสุข. (2549). เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มสมรรถภาพมนุษย Human Performance Technology. Online Available: http://gotoknow.org/blog/prachyanun/43048

[7] ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2554). สมรรถนะผูสอนออนไลนในการจัดการศึกษาทางไกลดวยอีเลิรนนิงOnline Instructor Competencies for e-Learning Settings in Distance Education. Online Available: http://www.niteschan.com/nec2011/1_speaker/6_Praweenya.pdf

[8] สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2549) การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี. Online Available: http://www.ocsc.go.th/)

[9] สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2547 ก) การพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากร บุคคลในราชการ

พลเรือน ประสบการณจากสวนราชการนํารอง. กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการขาราชการพลเรือน

[10] สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2547 ข) HR Scorecard การประเมินระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคล. กรุ ง เทพฯ : โรงพิมพสํ านักบริหารกลาง สํ านักงานคณะกรรมการ ขาราชการพลเรือน

[11] สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2547 ค) ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พั ฒ น า ข า ร า ช ก า ร พ ล เ รื อ น . Online Available: http://www.ocsc.go.th/สํานักงาน

[12] สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแหงชาติ. 2545. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส แอนด กราฟฟก

[13] McVay, L.M. (2002). The online educator: a guide tocreating the virtual classroom. London:Routledge.

[14] Budke, E.W and Sandra, K. (1988). Human Performance Technology. ERIC Digest No. 74. ERIC Clearinghouse on Adult Career and Vocational Education Columbus OH.

[15] International Society for Performance Improvement (2005). What is Human Performance Technology. OnlineAvailable : http://www.ispi.org/

[16] Instructional Technology Global Resource Network (1994). Performance Technology / Human Performance Technology. Online Available : http://www.ittheory.com/qual/prep1.htm

[17] Lowthert, H.W. (1996). Moving from Instructional Technology to Human Performance Technology in the Nuclear Power Industry. AIP Associates (Always Improving Performance) Online Available : http://www.alwaysimproving.com/

Page 7: การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพ

[18] Nickols, F. W. (1977). “Concerning Performance and Performance Standards: An Opinion.” NSPI Journal 16 :1 , pp. 14-17

[19] Stolovitch, H.D. and Keeps, E.J. (1992). Handbook of human performance technology. San Francisco: Jossey-Bass.

[20] Van Tiem, M.D.,Moseley, L.J., and Dessinger, C.J. (2001). Fundamental of Performance Technology : Guide to Improving People, Process, and Performance. Performance Improvement. March 2001: 60-64.

[21] Dupâquier, J. 2001. Malthus, Thomas Robert (1766–1834). International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences, 9151–9156. Abstract.