การเตรียมดินส่งวิเคราะห์

2
ชื่อ - นามสกุล ................................................................................. ที่อยู - สถานที่ติดตอไดสะดวก ......................................................................................................... ......................................................................................................... โทร ................... แฟกซ ........................... สถานภาพ O เกษตรกร O อาจารย /นิสิตภาควิชา ............................................... O นักวิจัยโครงการ........................................................ O อื่นๆ ......................................................................... จํานวนตัวอยางทั้งหมด ................... ตัวอยาง เก็บที่ระดับความลึก ............................. ซม. เก็บมาจาก หมู ....... บาน ............................................................... ตําบล ..................... อําเภอ ......................... จังหวัด ........................ การใชที่ดินปจจุบัน O นาขาว O พืชไร O พืชสวน.................. O อื่นๆ .................. ผลผลิตในฤดูกาลที่ผานมา ........................................ กก./ไร การเจริญเติบโตของพืช O ปกติ O ผิดปกติ อาการ ................................... การใชที่ดินในชวง 3 O เหมือนปจจุบัน O เคยปลูก .............................................. *** หากตองการวิเคราะหตัวอยาง ปุย พืช น้ํา หรือรายการอื่นๆ สอบถามเพิ่มเติมไดทีภาควิชาปฐพีวิทยา โทร 0-3435-1893 แบบฟอรมการสงตัวอยางดิน ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน สภาพพื้นที่ทั่วไป O ที่ราบลุO เนินเขา O ที่สูงชัน O ลูกคลื่น O อื่น ๆ ....................... ลักษณะอื่นๆ O มีคราบเกลือขาวๆ O มีเศษหินหรือลูกรังปะปน O มีชั้นดาน O ดินแตกระแหงเมื่อแหง O อื่นๆ ............................. การใชปุยและวัตถุปรับปรุงดิน ชนิด/สูตรปุอัตรา (กก./ไร ) วิธีการใส ปุยเคมี ปุยเคมี ปูน วัตถุประสงคของการวิเคราะห ................................................................. อัตราการบริการวิเคราะหดิน รายการ ราคา/หนวย (บาท) O ความอุดมสมบูรณของดินพื้นฐาน pH, ECe, OM, Avial.P, Exch. K, Ca, Mg 450 O ความเปนกรด -ดางของดิน (pH 1:1) 40 O คาความเค็มของดิน (ECe) 100 O ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) 100 O ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) 400 O ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Avail.P) 200 O โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch.K) 120 Oแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Ca) 120 O แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Mg) 120 O ธาตุอาหารเสริม : Extr. Fe, Mg, Cu, Zn 500 O อื่นๆ ................................................... ลงชื่อ ................................................................................... ผูสงวิเคราะห วันที่สงวิเคราะห ......................................................................................... ติดตอสงตัวอยางดิน ปุย พืช น้ํา วิเคราะหไดทีภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จ. นครปฐม โทร/แฟกซ 0 –3435 –1893 รวม

description

การเก็บตัวอย่างดินสำหรับตรวจวิเคราะห์ในค่าย วิเคราะห์ดินเพื่อเจ้าฟ้า ปลูกป่าเพื่อพ่อหลวง โดย นิสิต มก.วิทยาเขตกำแพงแสน

Transcript of การเตรียมดินส่งวิเคราะห์

Page 1: การเตรียมดินส่งวิเคราะห์

ช่ือ - นามสกุล ................................................................................. ที่อยู -สถานที่ติดตอไดสะดวก .................................................................................................................................................................................................................. โทร ................... แฟกซ ........................... สถานภาพ O เกษตรกร O อาจารย/นิสิตภาควิชา ............................................... O นักวิจัยโครงการ........................................................ O อื่นๆ ......................................................................... จํานวนตัวอยางทั้งหมด ................... ตัวอยาง เก็บที่ระดับความลึก ............................. ซม. เก็บมาจาก หมู ....... บาน ............................................................... ตําบล ..................... อําเภอ ......................... จังหวัด ........................

การใชท่ีดินปจจุบัน O นาขาว O พืชไร O พืชสวน.................. O อื่นๆ .................. ผลผลิตในฤดูกาลที่ผานมา ........................................ กก./ไร การเจริญเติบโตของพืช O ปกติ O ผิดปกติ อาการ ................................... การใชที่ดินในชวง 3 ป O เหมือนปจจุบัน O เคยปลูก ..............................................

*** หากตองการวิเคราะหตัวอยาง ปุย พืช น้ํา หรือรายการอ่ืนๆ สอบถามเพิ่มเติมไดที่ ภาควิชาปฐพีวิทยา โทร 0-3435-1893

แ บบฟอรมการสงตัวอย างดิน ภ าควิชาปฐพีวิทย า มหาวิทย า ลัยเ กษตรศ าสตร กํ าแพ งแ สน

สภาพพื้นท่ีท่ัวไป O ที่ราบลุม O เนินเขา O ที่สูงชัน O ลูกคลื่น O อื่น ๆ .......................

ลักษณะอ่ืนๆ O มีคราบเกลือขาวๆ O มีเศษหินหรือลูกรังปะปน O มีช้ันดาน O ดินแตกระแหงเมื่อแหง O อื่นๆ .............................

การใชปุยและวัตถุปรับปรุงดิน ชนิด/สูตรปุย อัตรา (กก./ไร) วิธีการใส

ปุยเคมี

ปุยเคมี

ปูน

วัตถุประสงคของการวิเคราะห.................................................................

อัตราการบริการวิเคราะหดิน รายการ ราคา/หนวย (บาท) O ความอุดมสมบูรณของดินพ้ืนฐาน pH, ECe, OM, Avial.P, Exch. K, Ca, Mg 450 O ความเปนกรด -ดางของดิน (pH 1:1) 40 O คาความเค็มของดิน (ECe) 100 O ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) 100 O ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) 400 O ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Avail.P) 200 O โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch.K) 120 Oแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Ca) 120 O แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได (Exch. Mg) 120 O ธาตุอาหารเสริม : Extr. Fe, Mg, Cu, Zn 500 O อื่นๆ ...................................................

ลงชื่อ ...................................................................................ผูสงวิเคราะห

วันที่สงวิเคราะห .........................................................................................

ติดตอสงตัวอยางดิน ปุย พืช น้ํา วิเคราะหไดที่

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จ. นครปฐม

โทร/แฟกซ 0 –3435 –1893

รวม

Page 2: การเตรียมดินส่งวิเคราะห์

หมายถึง การตรวจสอบดินวามีความอุดมสมบูรณอยูใน ระดับตํ่า ปานกลาง หรือสูง เพื่อใชสําหรับปลูกพืชชนิดหนึ่ง โดยอาศัยหลักการประเมิน 3 วิธี คือ 1) การสังเกตอาการผิดปกติของพืช 2) การวิเคราะห

พืช และ 3) การวิเคราะหดิน

เพื่อประเ มินความอุดมสมบูรณของดินและเปนแนวทางการใช ปุ ย ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด หรือปรับปรุงดินเพื่อ เพิ่มผลผลิตของพืช ซึ่ งจะชวยลดตนทุนในการผลิต

ความสําคัญของการวิเคราะห

หลักการประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

การเก็บตัวอยางดินเพ่ือการวิเคราะหทางเคมี

วิธีการ 1) แบงพื้นท่ีออกเปนแปลงยอยตามความสมํ่าเสมอของแปลง ขนาดไมเกิน 25 ไร หรือ แบงตามความลาดเทของพื้นท่ี หรือ มีการจัดการดินท่ีแตกตางกัน เชน มีการใสปุย หรือปูน ไมเทากัน หรือมีการปลูกพืชตระกูลถั่ว เปนตน ใหหมายเลขแปลง และวาดแผนผังแปลงกํากับ

3) ทําความสะอาด หรือถางวัชพืชในบริเวณท่ีจะเก็บตัวอยาง พยายามหลีกเลี่ยงจุดท่ีดินมีสมบัติผิดปกติ เชน ใกลคอกสัตว กองปูน ปุย ทางเดิน ใตตนใมใหญ หรือรั้ว เปนตน 4) การเก็บดินแตละจุด ใชพลั่วหรือจอบขุดดิน เปนรูปตัววี ( V ) ลึกประมาณ 15 ซม. จากนั้นใชพลั่วแซะดินดานหนึ่งของหลุมท่ีขุดใหไดดินเปนแผนหนาประมาณ 2–3 ซม. ลึกประมาณ 15 ซม. (ระดับความลึกของรากพืช) แลวเก็บตัวอยางเฉพาะสวนกลางตามแนวด่ิง

5) ดินท่ีไดนี้เปนดิน 1 จุด ในจํานวน ประมาณ 15 จุด ท่ีเราจะตองเก็บท่ัวแปลง ใสรวมกันในกระปองพลาสติก

7) เม่ือตัวอยางดินผสมเขากันดีแลว ใหแบงกองดินออกเปน 4 สวน โดยขีดเปนรูปกากบาทบนกองดิน แลวเก็บตัวอยางดินมาเพียงสวนเดียว ใหไดตัวอยางดินประมาณ 0.5 ถึง 1 กิโลกรัม ใสลงในถุงพลาสติกท่ีเตรียมไว เพื่อสงมาวิเคราะห

8) เขียนรายละเอียดของตัวอยางดิน ไดแก หมายเลขแปลงยอย , ช่ือผูสงตัวอยาง และ วันท่ีเก็บตัวอยาง โดยผูกไวกับถุงใสตัวอยางดิน

การเก็บตัวอยางดินในสวนไมผลเพื่อการวิเคราะห การเก็บดินสําหรับสวนไมยืนตน หรือไมผลตางๆ ทําไดโดย แบงพื้นท่ี สวนออกเปนขอบเขตตามลักษณะพื้นท่ี จากนั้นทําแผนท่ีกําหนดจุดท่ีจะเก็บใหกระจายอยูในขอบเขตดังกลาว เลือกตน ท่ีมีการเจริญเติบโตใกลเคียงกัน และเปนตัวแทนท่ีดีของสวน จํานวน 15-20 ตน เก็บดินบริเวณขอบทรงพุม 2–4 จุดตอตน กวาดเศษพืช ปุย ปูน หรือใบไม ออกจากบริเวณท่ีจะเก็บ ระดับความลึกในการเก็บดิน 0-20 ซม. นําดินท่ีเก็บจากตนพืช 15 –20 ตน มารวมกันผึ่งลมใหแหง เพื่อสงวิเคราะหตอไป

บาน

1. ที่สูง สวนผลไม

2. แปลงนา

3. สวนผัก

การวิเคราะหดินทางเคมี ทําได 2 วิธี คือ วิธีวิเคราะหอยางละเอียด ตองทําในหองปฏิบัติการ ใชอุปกรณและเครื่องมือท่ีมีราคาแพง อีกวิธีหนึ่ง คือ การตรวจสอบแบบรวดเร็ว เกษตรกรสามารถทดสอบไดดวยตนเอง ผลท่ีวัดไดเปนคาโดยประมาณ แตมีความถูกตองเพียงพอ

2) เก็บตัวอยางดินโดยเดินแบบซิกแซกใหท่ัวแปลงในแต ละแปลงยอยควรเก็บใหกระจายประมาณ 10–15 จุดตอแปลง

การเก็บตัวอยางดิน ถือเปนหัวใจสําคัญของการวิเคราะห กลาวคือ ตัวอยางดินท่ีเก็บมานั้นตองเปนตัวแทนท่ีดีของดิน

ท้ังแปลง ดิน/พืช บริเวณท่ีปกติ ก็เก็บรวมกันได แตถาดิน/พืช แตกตางจากบริเวณอื่น ก็ควรแยกเก็บตางหาก

ÍÂ�Ò!! àÍÒ´Ô¹·ÕèÊ �§Ç Ôà¤ÃÒÐË�

仵ҡᴴ¹Ð¤ÃѺ!!!

? ? ? ? ?

? ? ? ? ?

? ? ? ? ?

6) คลุกเคลาตัวอยางดินในกระปองพลาสติก ใหเขากันแลวเทลงบนผา พลาสติก ผสมตัวอยางดินใหเขากันอีกครั้ง