บทที่ 6 ...

19
บบบบบ บบบบบ 6 6 บบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบ คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคค บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบ บบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ

description

บทที่ 6 บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม. ความหมายของการลงบัญชีและการบันทึกกิจการฟาร์ม - PowerPoint PPT Presentation

Transcript of บทที่ 6 ...

Page 1: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

บทที่ บทที่ 6 6 บญัชฟีารม์และการบนัทึกบญัชฟีารม์และการบนัทึกกิจการฟารม์กิจการฟารม์• ความหมายของการลงบญัชแีละการบนัทึกกิจการฟารม์• เป็นการรวบรวมขอ้มูลและขา่วสารความรูท่ี้เก่ียวขอ้งกับ

กิจการต่างๆของหน่วยธุรกิจฟารม์โดยการจดบนัทึกขอ้มูลและขา่วสารความรูด้ังกล่าวใหอ้ยูใ่นรูปแบบทางบญัชแีละบนัทึกต่างๆท่ีมรีะบบแบบแผนเพื่อความสะดวกและง่ายต่อความเขา้ใจและสามารถนำามาใชป้ระโยชน์ในการวเิคราะห์และวนิิจฉัยสถานภาพด้านการเงิน การคลัง ตลอดจนวดัผลสำาเรจ็นการทำาธุรกิจฟารม์ เพื่อทราบถึงจุดอ่อนและปัญหาท่ีมอียูข่องธุรกิจฟารม์ อันจะมสีว่นชว่ยประกอบการตัดสนิใจเพื่อแก้ปัญหาของธุรกิจฟารม์และชว่ยปรบัปรุงการดำาเนินธุรกิจฟารม์ใหไ้ด้ผลดี รวมทัง้ใชเ้ป็นรากฐานในการวางแผนฟารม์ล่วงหน้า

Page 2: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ความสำาคัญของบญัชฟีารม์และบนัทึกต่างๆ• 1) ชว่ยในการประเมนิและวเิคราะหส์ถานภาพด้าน

การเงินและการคลัง• 2) ชว่ยในการประเมนิและคิดผลทางเศรษฐกิจของ

ธุรกิจฟารม์• 3) ชว่ยในการควบคมุและดำาเนินธุรกิจฟารม์หรอื

งานประจำาของฟารม์ใหเ้ป็นไปอยา่งราบรื่น รวดเรว็ และได้ผลดี

• 4) ชว่ยประกอบการตัดสนิใจในการปรบัปรุงและเปล่ียนแปลงธุรกิจฟารม์ ตลอดจนการวางแผนงบประมาณฟารม์ล่วงหน้า

Page 3: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ชนิดของบญัชฟีารม์และบนัทึก• 1) บญัชแีสดงทรพัยส์นิและหนี้สนิของธุรกิจฟารม์ Net Worth

Statement• 2) บญัชแีสดงรายได้และรายจา่ยของธุรกิจฟารม์ Income

Statement• 3) บญัชแีสดงการหมุนเวยีนเงินสดของฟารม์ Cash Flow

Statement• 4) บนัทึกอ่ืนๆท่ีเก่ียวกับธุรกิจฟารม์

Page 4: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

บญัชแีสดงทรพัยส์นิและหนี้สนิของบญัชแีสดงทรพัยส์นิและหนี้สนิของธุรกิจฟารม์ธุรกิจฟารม์

• เป็นบญัชแีสดงและสรุปมูลค่าของทรพัยส์นิ (Assets) หนี้สนิ (Liability) และมูลค่าของทรพัยส์นิสทุธท่ีิเป็นเจา้ของฟารม์ (Net Worth or Operator Capital) ณ เวลาใดเวลาหนึ่งท่ีทำาการสำารวจและวเิคราะห ์

• ชีใ้หเ้หน็ถึงฐานะและความมัน่คงทางด้านทรพัยส์นิของฟารม์ในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง มปีระโยชน์ต่อเกษตรกรเจา้ของฟารม์ในการไปติดต่อขอกู้ยมืเงินจากสถาบนัการเงิน

• ประกอบด้วย 3 สว่นท่ีสำาคัญคือ 1) ประเภทและมูลค่าของทรพัยส์นิฟารม์ (Assets) 2) ประเภทและจำานวนหนี้สนิของฟารม์ (Liability) และ 3) มูลค่าของทรพัยส์นิสทุธท่ีิเป็นเจา้ของฟารม์ (Net Worth)

Page 5: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ประเภทของทรพัยส์นิ• แบง่ตามลักษณะของสภาพคล่องตัว (Liquidation) • 1) ทรพัยส์นิทนุหมุนเวยีน (Current Asset) หมายถึง

ทรพัยส์นิประเภทท่ีสามารถเปล่ียนมาเป็นเงินสด (โดยการขายหรอืแลกเปล่ียน ) ได้ง่ายและรวดเรว็ มสีภาพคล่องตัวสงู เชน่ พชืผลท่ีผลิตคงเหลือ ปศุสตัวท่ี์เล้ียงไวเ้พื่อจำาหน่าย ปัจจยัการผลิตคงเหลือ ปัจจยัการผลิตท่ีตกลงซื้อล่วงหน้า เงินสดในมอืท่ีถืออยู ่บญัชเีงินฝากในธนาคาร บญัชลีกูหน้ี ฯลฯ

• 2) ทรพัยส์นิดำาเนินการ (Intermediate Asset) หมายถึงทรพัยส์นิประเภทท่ีมคีวามคล่องปานกลาง และมกัเป็นทรพัยส์นิท่ีใชแ้ละใหบ้รกิารต่างๆในกระบวนการผลิต หรอืใชป้ระกอบในกระบวนการผลิตของฟารม์ เชน่ พอ่พนัธุ ์แมพ่นัธุส์ตัว ์เครื่องจกัรเครื่องมอืต่างๆ เชน่ รถไถนาเดินตาม เครื่องสบูนำ้า เครื่องพน่ยา ฯลฯ การตีมูลค่าของทรพัยส์นิประเภทน้ีต้องใช้มูลค่าของทรพัยส์นิท่ีหกัค่าเสื่อม (Depreciation) แล้ว

Page 6: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• 3) ทรพัยส์นิถาวร (Long-term Asset) หมายถึงทรพัยส์นิประเภทท่ีมสีภาพคล่องค่อนขา้งตำ่า การซื้อขายแลกเปล่ียนต้องใช้เวลานาน มกัเป็นทรพัยส์นิประเภทถาวร หรอือสงัหารมิทรพัย์ต่างๆ เชน่ ที่ดิน ยุง้ฉาง โรงเรอืน บา้น ต้นไมย้นืต้น ฯลฯ การซื้อหรอืขายทรพัยส์นิประเภทนี้จะสง่ผลกระทบต่อฐานะด้านการเงิน การคลังของฟารม์มาก เพราะต้องใชเ้งินจำานวนมากในการซื้อขาย

• ประเภทของหนี้สนิ หน้ีสนิท่ีจะจดบนัทึกในบญัชฟีารม์นัน้เป็นหนี้สนิที่เกิดจากการกู้ยมืเงินของหน่วยธุรกิจฟารม์มาเพื่อใชซ้ื้อทรพัยส์นิประเภทต่างๆ แบง่ตามระยะเวลากำาหนดในการชำาระคืนได้ 3 ประเภทคือ

• 1) หน้ีสนิระยะสัน้ (Current Liability) เป็นหน้ีสนิท่ีเกิดจากการกู้ยมืเงินมาเพื่อใชซ้ื้อทรพัยส์นิหมุนเวยีนของธุรกิจฟารม์ และยงัคงค้างชำาระอยู ่ต้องชดใชค้ืนภายในกำาหนดไมเ่กิน 1 ปีนับจากวนัท่ีกู้ยมืมา

Page 7: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• 2) หน้ีสนิระยะปานกลาง (Intermediate Liability) เป็นหน้ีสนิท่ีเกิดจากการกู้ยมืเงินมาเพื่อใชซ้ื้อทรพัยส์นิประกอบการ เชน่ กู้มาซื้อรถไถนาเดินตาม เครื่องสบูนำ้า ฯลฯ และยงัคงค้างชำาระอยู ่และมกีำาหนดต้องใชคื้นตัง้แต่ 2 ปีขึ้นไปแต่ไมเ่กิน 5 ปี

• 3) หน้ีสนิระยะยาว (Long-term Liability) เป็นหน้ีสนิของหน่วยธุรกิจฟารม์ท่ีเกิดจากการกู้ยมืเงินมาเพื่อใชซ้ื้อหรอืลงทนุในทรพัยส์นิถาวร เชน่ กู้เงินมาสรา้งโรงเรอืน ซื้อท่ีดิน ฯลฯ และมกีำาหนดเวลาท่ีต้องใชคื้นตัง้แต่ 5 ปีขึ้นไป

Page 8: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

ทรพัยส์นิ (Assets)มูลค่า (บาท) 

หน้ีสนิ (Liabilities)

มูลค่า (บาท)

  

ทรพัยส์นิหมุนเวยีน 62,64

0 หน้ีสนิระยะสัน้32,2

35 เงินสดและบญัชฝีาก

ธนาคาร20,46

5 หน้ีธนาคาร

พาณิชย์22,23

5

พชืผลคงเหลือ42,17

5 หน้ีญาติ10,00

0

ทรพัยส์นิประกอบการ24,95

0หน้ีสนิระยะปาน

กลาง10,0

00

พอ่พนัธุ ์แมพ่นัธุ์ 4,950 หน้ีธนาคาร

พาณิชย์ 8,000

เครื่องจกัรเครื่องมอื20,00

0 หน้ีสหกรณ์ 2,000

ทรพัยส์นิถาวร126,3

61 หน้ีสนิระยะยาว61,2

50

ท่ีดินและบา้น120,0

00 กู้ธนาคารเพื่อซื้อ

ท่ีดิน61,25

0 โรงเรอืน 6,361    รวมมูลค่าทรพัยส์นิ

ท้ังหมด213,9

51รวมมูลค่าหน้ีสนิ

ท้ังหมด103,485

    Net Worth110,466

Page 9: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

วธิกีารคิดค่าเสื่อมของทรพัยส์นิวธิกีารคิดค่าเสื่อมของทรพัยส์นิ• การจดบนัทึกมูลค่าของทรพัยส์นิจะต้องตีมูลค่าของทรพัยส์นิ

ณ วนัท่ีทำาการสำารวจ มทีรพัยส์นิบางประเภทมอีายุการใชง้านได้นานหลายปี (Durable goods) มูลค่าของทรพัยส์นิจะเปล่ียนแปลงไปตามสภาพ เน่ืองจากเกิดการสกึหรอจากการใช้งาน และความล้าสมยัของทรพัยส์นินัน้ ทำาใหมู้ลค่าของทรพัยส์นิประเภทน้ีลดค่าลง มูลค่าท่ีลดลงน้ีเรยีกวา่ ค่าเสื่อม (Depreciation) ของทรพัยส์นิทนุ

• ในการคิดค่าเสื่อมของทรพัยส์นิ จะต้องทราบ• 1) ราคาท่ีซื้อมา• 2) มูลค่าซาก (Salvage Value)• 3) มูลค่าของทรพัยส์นิทนุท่ียงัเหลืออยู ่(Residual

Value)

Page 10: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ในทางบญัชมีวีธิคิีดค่าเสื่อมได้ 3 วธิคืีอ• 1) คิดค่าเสื่อมแบบเสน้ตรง (Straight line method)• 2) คิดค่าเสื่อมแบบลดลง (Declining balance method)• 3) คิดค่าเสื่อมแบบ Sum of the years digits method

• คิดค่าเสื่อมแบบเสน้ตรง (Straight line method)• DSL = (C –S)/N• DSL = ค่าเสื่อมของทรพัยส์นิทนุต่อปีท่ีคิดแบบเสน้ตรง• C = ราคาของทรพัยส์นิท่ีซื้อมา (Acquisition value)• S = มูลค่าซากของทรพัยส์นิ• N = จำานวนปีของทรพัยส์นิทนุท่ีคาดวา่จะใชป้ระโยชน์ได้

Page 11: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ฟารม์รกัเกษตรซื้อรถไถนาเดินตามมาในราคา 25,000 บาท คาดวา่จะใชง้านได้นาน 5 ปี หลังจากหมดสภาพแล้ว สามารถขายเป็นเศษเหล็กได้ในราคา 2,500 บาท

• DSL = (25,000 – 2,500)/5 = 4,500 บาท

• คิดค่าเสื่อมแบบลดลง (Declining balance method)• DDB = (C –A) * R• DDB = ค่าเสื่อมของทรพัยส์นิทนุต่อปีท่ีคิดแบบลดลง• C = ราคาของทรพัยส์นิท่ีซื้อมา • A = ค่าสกึหรอสะสม (Accumulated depreciation)• R = อัตราค่าเสื่อมเป็น % ซึ่งปกติจะคิดเป็นสองเท่าของการ

คิดค่าเสื่อม แบบเสน้ตรง

Page 12: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ฟารม์รกัเกษตรซื้อรถไถนาเดินตามมาในราคา 25,000 บาท คาดวา่จะใชง้านได้นาน 5 ปี หลังจากหมดสภาพแล้ว สามารถขายเป็นเศษเหล็กได้ในราคา 2,500 บาท (R = 40% ซึ่งเป็นสองเท่าของวธิคิีดแบบเสน้ตรง)

• DDB ปีท่ีหนึ่ง = (25,000 – 0)* .4 = 10,000 บาท• DDB ปีท่ีสอง = (25,000 – 10,000) * .4 = 6,000 บาท• DDB ปีท่ีสาม = (25,000 – 16,000) * .4 = 3,600 บาท• DDB ปีท่ีสี ่ = (25,000 – 19,600) * .4 = 2,160 บาท• DDB ปีท่ีหา้ = (25,000 – 21,760 – 2,500) = 740 บาท

Page 13: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• คิดค่าเสื่อมแบบ Sum of the years digits method• DSD = (C –S) * N/SD• DSD = ค่าเสื่อมของทรพัยส์นิทนุต่อปีท่ีคิดแบบ Sum of the

years digits method

• N = จำานวนปีของทรพัยส์นิท่ีคาดวา่จะใชป้ระโยชน์ในธุรกิจฟารม์ได้

• SD = จำานวนปีทัง้หมดของอายุการใชง้านของทรพัยส์นิรวมกัน• SD = 1+2+3+4+5 = 15• DSD ปีท่ีหนึ่ง = (25,000 – 2,500) * 5/15 = 7,500 บาท• DSD ปีท่ีสอง = (25,000 – 2,500) * 4/15 = 6,000 บาท • DSD ปีท่ีสาม = (25,000 – 2,500) * 5/15 = 4,500 บาท• DSD ปีท่ีสี ่ = (25,000 – 2,500) * 2/15 = 3,000 บาท

Page 14: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• DSD ปีท่ีหา้ = (25,000 – 2,500) * 1/15 = 1,500 บาท

ปี Straight LineDeclining

BalanceSum of the years digits

 

ค่าเสื่อม

มูลค่าคงเหลือ

ค่าเสื่อม

มูลค่าคงเหลือ

ค่าเสื่อม

มูลค่าคงเหลือ

14,50

0 20,50010,0

00 15,0007,50

0 17,500

24,50

0 16,0006,00

0 9,0006,00

0 11,500

34,50

0 11,5003,60

0 5,4004,50

0 7,000

44,50

0 7,0002,16

0 3,2403,00

0 4,000

54,50

0 2,500 740 2,5001,50

0 2,500

รวม22,5

00  22,5

00  22,5

00  

Page 15: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

มูลค่าที่เหลืออยูข่องทรพัยส์นิ

จำานวนปีท่ีคาดวา่จะใชไ้ด้

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

ราคาท่ีซื้อมา

Salvage value

Straight line

Declining balance

Sum of the years digits

Page 16: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

ขัน้ตอนการจดบนัทึกบญัชแีสดงขัน้ตอนการจดบนัทึกบญัชแีสดงทรพัยส์นิและหน้ีสนิทรพัยส์นิและหน้ีสนิ• 1) สำารวจและตรวจสอบจำานวนทรพัยส์นิและหน้ีสนิทัง้หมด

ของฟารม์ท่ีมอียู ่ณ วนัท่ีทำาการสำารวจ• 2) คำานวณหามูลค่าของทรพัยส์นิและหนี้สนิแต่ละชนิดท่ีมอียู ่• 2.1) ทรพัยส์นิหมุนเวยีนใชร้าคาตลาดหรอืราคาซื้อมา• 2.2) ทรพยัส์นิประกอบการใชร้าคาซื้อ - ค่าเสื่อมสะสม• 2.3) มูลค่าท่ีดินอาจจะใชส้ตูร V = R/r• V = มูลค่าปัจจุบนัของท่ีดิน• R = ผลตอบแทนสทุธเิฉล่ียต่อปีท่ีคาดวา่จะได้รบัจากท่ีดินนัน้• r = อัตราผลตอบแทนของเงินทนุท่ีเจา้ของฟารม์ควรจะได้

รบั

Page 17: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

• ฟารม์รกัเกษตรมท่ีีดินอยู ่20 ไร ่ใชป้ลกูพชืและเล้ียงสตัว ์คิดคำานวณแล้วจะได้รบัรายได้สทุธทัิง้หมดปีละ 800,000 บาทต่อปี อัตราผลตอบแทนเงินทนุท่ีฟารม์น้ีจะได้รบัเท่ากับ 10% ต่อปี

• V = 800,000/.1 = 8,000,000 บาทต่อ 20 ไร่• หรอื = 8,000,000/20 = 400,000 บาทต่อไร่• 3) แบง่ประเภทของทรพัยส์นิและหน้ีสนิของธุรกิจ

ฟารม์ออกเป็นหมวดหมูต่ามชนิดของมนั• 4) คำานวณหามูลค่าของทนุสทุธท่ีิเป็นของเจา้ของ

ฟารม์

Page 18: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

รายละเอียดของฟารม์ดินดำานำ้าชุม่ ณ วนัท่ี 31 ธนัวาคม 2547 มรีายการต่าง ๆ ดังนี้รายการ จำานวนเงิน

(บาท) หนี้ธนาคารกรุงเทพ ระยะเวลาใชคื้น 8

ปี400,000

พอ่พนัธุ์ แมพ่นัธุส์กุร 36,000เงินสด 12,450บญัชฝีากธนาคาร 21,200พชืผลคงเหลือในยุง้ฉาง 16,000

บา้นพรอ้มโรงเรอืนเล้ียงสกุร มูลค่า800,000 บาท ใชง้านมาแล้ว 8 ปี

คาดวา่จะใชไ้ด้อีก 7 ปี คิดค่าเสื่อมแบบ เสน้ตรง มูลค่าซาก 350,000 บาท

Page 19: บทที่  6  บัญชีฟาร์มและการบันทึกกิจการฟาร์ม

รายการ จำานวนเงิน(บาท)

หนี้ญาติ ใชคื้น 6 เดือน 10,000 หนี้สหกรณ์ใชคื้น3 ปี 140,000

ท่ีดิน 30 ไร่ มูลค่าไรล่ะ 30,000 บาท สกุรคงเหลือในฟารม์ มมูีลค่า 32,000

อุปกรณ์การเกษตร มูลค่า 80,000 บาท ใชง้านมาแล้ว 2 ปี คาดวา่จะใชไ้ด้

อีก 3 ปี คิดค่าเสื่อมแบบเสน้ตรง มูลค่า ซาก 6,000 บาท