การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน...

12
การดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก โรงเรียนขนาดมอญพิทยาคม ตําบลตาตุม อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร มาตรการ 1. การใหความรูดานการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกในโรงเรียน 2. การวางแผนการปรับปรุงสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ทั้งในหองเรียนและบริเวณโรงเรียน เพื่อควบคุมแหลง เพาะพันธุยุงลาย 3. การจัดกิจกรรมสนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในโรงเรียน 4. การเฝาระวังการเจ็บปวยของเด็กนักเรียน 5. การติดตามและประเมินผล วัตถุประสงค - เพื่อจัดการสภาพแวดลอมและแหลงเพาะพันธุยุงลายใน โรงเรียน - เพื่อเฝาระวังการเกิดโรคไขเลือดออกในโรงเรียน - เพื่อเตรียมความพรอมของทรัพยากรในการรองรับการระบาด การเฝาระวังโรค - เฝาระวังเด็กปวยในโรงเรียน โดยมอบหมายใหครูประจําชั้นและครูหองพยาบาลดูแล - เฝาระวังพาหะนําโรค โดยการสํารวจแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายทั้งในโรงเรียนและชุมชนใกลเคียง เพื่อ ประเมินความเสี่ยงตอการเกิดโรคในโรงเรียน การปองกันโรค - การดําเนินการดานจัดการสิ่งแวดลอมไมใหเปนแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายอยางตอเนื่อง ไดแก 1. ไมใหมีแหลงเพาะพันธุในหองเรียน เชน แจกัน กระถางตนไม ถังน้ําหรือภาชนะตองมีฝาปด 2. การจัดการสิ่งแวดลอมภายนอกหองเรียน เชน การปดภาชนะขังน้ําใชใหมิดชิด การใชทรายกําจัดลูกน้ํากับ ภาชนะที่ไมสามารถปดฝาได เชน ถังน้ําใชในหองน้ํา การปลอยปลาหางนกยูง การใชผาคลุมตาขายในภาชนะ ถังน้ําขนาดใหญ เปนตน

description

การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ในสถานศึกษามาตรการ1. การให้ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน2. การวางแผนการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ทั้งในห้องเรียนและบริเวณโรงเรียน เพื่อควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย3. การจัดกิจกรรมสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน4. การเฝ้าระวังการเจ็บป่วยของเด็กนักเรียน5. การติดตามและประเมินผลวัตถุประสงค์- เพื่อจัดการสภาพแวดล้อมและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใน โรงเรียน- เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน- เพื่อเตรียมความพร้อมของทรัพยากรในการรองรับการระบาดการเฝ้าระวังโรค- เฝ้าระวังเด็กป่วยในโรงเรียน โดยมอบหมายให้ครูประจำชั้นและครูห้องพยาบาลดูแล- เฝ้าระวังพาหะนำโรค โดยการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในโรงเรียนการป้องกันโรค- การดำเนินการด้านจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง ได้แก่1. ไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ในห้องเรียน เช่น แจกัน กระถางต้นไม้ ถังน้ำหรือภาชนะต้องมีฝาปิด2. การจัดการสิ่งแวดล้อมภายนอกห้องเรียน เช่น การปิดภาชนะขังน้ำใช้ให้มิดชิด การใช้ทรายกำจัดลูกน้ำกับภาชนะที่ไม่สามารถปิดฝาได้ เช่น ถังน้ำใช้ในห้องน้ำ การปล่อยปลาหางนกยูง การใช้ผ้าคลุ่มตาข่ายในภาชนะถังน้ำขนาดใหญ่ เป็นต้น** ในช่วงปิดเทอม ควรมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายและจัดการถ่ายน้ำจากภาชนะน้ำใช้ให้แห้งสนิท โดยเฉพาะน้ำใช้ในห้องน้ำ- จัดกิจกรรมเสริมให้นักเรียนดำเนินการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียนและที่บ้านการควบคุมโรค- มอบหมายครูประจำชั้นและครูห้องพยาบาลสังเกตอาการเด็กป่วยมีไข้สงสัยไข้เลือดออก โดยมีอาการอื่นร่วมดังต่อไปนี้1. ไข้สูงเกิน 38 C ประมาณ 2 วัน2. คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร3. หน้าแดง อาจพบจุดเลือดออกที่ผิวหนัง4. กดเจ็บชายโครงด้านขวา** ทั้งนี้ อาจพบมีน้ำมูกหรือไอร่วมด้วยก็ได้ให้พาเด็กหรือแจ้งผู้ปกครองให้เข้ารับบริการตรวจรักษาที่สถานบริการสาธารณสุข และแนะนำให้ทายากันยุง- ดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียงการสื่อสารความเสี่ยง- การให้ความรู้และประชาสัมพันธ์แก่นักเรียนและผู้ปกครอง เช่น จัดบอร์ด เสียงตามสาย ให้ความรู้หน้าเสาธง โดยเน้นเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการดูแลป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงลายกัด- การประเมินความรู้ ความเข้าใจ ของเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และครู เกี่ยวกับเรื่องโรคไข้เลือดออกการบริหารจัดการการเข้าร่วมเป็นคณะทำงานด้านการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ร่วมกับหน่วยท้องถิ่น หรือหน่วยงานสาธารณสุข

Transcript of การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน...

การดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออก

โรงเรียนขนาดมอญพิทยาคม ตําบลตาตุม อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร

มาตรการ

1. การใหความรูดานการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกในโรงเรียน

2. การวางแผนการปรับปรงุสิง่แวดลอมในโรงเรียน ทัง้ในหองเรียนและบรเิวณโรงเรียน เพือ่ควบคุมแหลง

เพาะพันธุยุงลาย

3. การจัดกจิกรรมสนับสนุนการปองกันและควบคุมโรคไขเลอืดออกในโรงเรียน

4. การเฝาระวังการเจ็บปวยของเด็กนักเรียน

5. การติดตามและประเมินผล

วัตถุประสงค

- เพื่อจัดการสภาพแวดลอมและแหลงเพาะพันธุยุงลายใน โรงเรยีน

- เพื่อเฝาระวังการเกิดโรคไขเลอืดออกในโรงเรยีน

- เพื่อเตรียมความพรอมของทรัพยากรในการรองรับการระบาด

การเฝาระวังโรค

- เฝาระวังเด็กปวยในโรงเรียน โดยมอบหมายใหครปูระจําช้ันและครหูองพยาบาลดูแล

- เฝาระวังพาหะนําโรค โดยการสํารวจแหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุงลายทัง้ในโรงเรียนและชุมชนใกลเคียง เพื่อ

ประเมินความเสี่ยงตอการเกิดโรคในโรงเรียน

การปองกันโรค

- การดําเนินการดานจัดการสิ่งแวดลอมไมใหเปนแหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุงลายอยางตอเน่ือง ไดแก

1. ไมใหมีแหลงเพาะพันธุในหองเรียน เชน แจกัน กระถางตนไม ถังนํ้าหรือภาชนะตองมฝีาปด

2. การจัดการสิง่แวดลอมภายนอกหองเรียน เชน การปดภาชนะขังนํ้าใชใหมิดชิด การใชทรายกําจัดลูกนํ้ากบั

ภาชนะที่ไมสามารถปดฝาได เชน ถังนํ้าใชในหองนํ้า การปลอยปลาหางนกยูง การใชผาคลุมตาขายในภาชนะ

ถังนํ้าขนาดใหญ เปนตน

** ในชวงปดเทอม ควรมีการสํารวจลูกนํ้ายุงลายและจัดการถายนํ้าจากภาชนะนํ้าใชใหแหงสนิท โดยเฉพาะนํ้า

ใชในหองนํ้า

- จัดกิจกรรมเสริมใหนักเรียนดําเนินการสํารวจและกําจัดแหลงเพาะพันธุลกูนํ้ายุงลายทั้งในโรงเรียนและทีบ่าน

การควบคุมโรค

- มอบหมายครปูระจําช้ันและครูหองพยาบาลสังเกตอาการเด็กปวยมีไขสงสัยไขเลอืดออก โดยมอีาการอื่นรวม

ดังตอไปน้ี

1. ไขสูงเกิน 38 C ประมาณ 2 วัน

2. คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร

3. หนาแดง อาจพบจุดเลือดออกทีผ่ิวหนัง

4. กดเจ็บชายโครงดานขวา

** ทั้งน้ี อาจพบมีนํ้ามูกหรือไอรวมดวยก็ไดใหพาเด็กหรือแจงผูปกครองใหเขารับบรกิารตรวจรกัษาที่สถาน

บริการสาธารณสุข และแนะนําใหทายากันยุง

- ดําเนินการกําจัดแหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุงลายทัง้ในโรงเรียนและชุมชนใกลเคียง

การสื่อสารความเสี่ยง

- การใหความรูและประชาสัมพันธแกนักเรียนและผูปกครอง เชน จัดบอรด เสียงตามสาย ใหความรูหนาเสาธง

โดยเนนเรื่องการจัดการสิ่งแวดลอมไมใหเปนแหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุงลาย และการดูแลปองกันตนเองไมใหถูก

ยุงลายกัด

- การประเมินความรู ความเขาใจ ของเด็กนักเรยีน ผูปกครอง และครู เกี่ยวกับเรื่องโรคไขเลือดออก

การบริหารจัดการ

การเขารวมเปนคณะทํางานดานการปองกันควบคุมโรคไขเลอืดออก รวมกบัหนวยทองถ่ิน หรอืหนวยงาน

สาธารณสุข

ภาพถายกิจกรรม