ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate...

14
Original Article ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหัก แบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน สุรศักดิไชยสงค 1 , ธนนรรจ รัตนโชติพานิช 2 *, อรอนงค วลีขจรเลิศ 2 , บัญญัติ สิทธิธัญกิจ 3 บทคัดยอ ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมด ประจําเดือน สุรศักดิไชยสงค 1 , ธนนรรจ รัตนโชติพานิช 2 *, อรอนงค วลีขจรเลิศ 2 , บัญญัติ สิทธิธัญกิจ 3 . เภสัชศาสตรอีสาน 2556; 9(2) : 23-36 Received : 28 December 2011 Accepted : 21 February 2013 บทนํา: การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหตนทุน-ประสิทธิผลของการใชยา Alendronate ในราคาของยาชื่อ สามัญ และ Risedronate ในราคาของยาตนแบบ โดยเปรียบเทียบกับการรักษาตามมาตรฐานปกติเพื่อปองกันกระดูกหักแบบ ปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือนภายใตมุมมองของผูใหบริการสุขภาพ วิธีการศึกษา: ทําการประเมินตนทุนและประสิทธิผล ใน 8 กลุมอายุ (45, 50, 55, 60, 65, 70, 75 และ 80 ปขึ้นไป) โดยใชตัวแบบมารคอฟที่ประกอบดวย 9 สถานะสุขภาพ ในกรอบ ระยะเวลาวิเคราะห 10 ระยะเวลาการใหยา 5 ความรวมมือในการใชยารอยละ 50 และหลังจากหยุดยาแลวประสิทธิผล ของยาลดลงแบบเสนตรง โดยใชขอมูลทางระบาดวิทยา ประสิทธิผลทางคลินิก ตนทุน และอรรถประโยชนจากการทบทวน วรรณกรรม วิเคราะหความไวทั้งแบบทีละตัวแปรและแบบอาศัยความนาจะเปน ผลการศึกษา: อัตราสวนตนทุนประสิทธิผล สวนเพิ่ม (Incremental cost-effectiveness ratio, ICER) ของการใช Alendronate และ Risedronate มีคาสูงกวา 3 เทาของ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศตอหัว โดยอยูระหวาง 801,353 – 7,012,743 บาท/ปสุขภาวะ และ 1,727,023 – 13,967,461 บาท/ปสุขภาวะ ตามลําดับ หากลดราคา Alendronate ในราคายาชื่อสามัญลงรอยละ 60 และ Risedronate ในราคายาตนแบบ ลงรอยละ 80 จะทําใหเกิดความคุมคาในกลุมอายุ 75 ปขึ้นไป สรุปผล: การใชยา Alendronate และ Risedronate ในหญิงวัย หมดประจําเดือนทุกกลุมอายุไมมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิ ควรมีการศึกษาตนทุน- ประสิทธิผลของการใชยาดังกลาวเพื่อปองกันกระดูกหักแบบทุติยภูมิตอไป คําสําคัญ: ตนทุน-ประสิทธิผล, ยา Bisphosphonates, กระดูกพรุน, กระดูกหัก, หญิงวัยหมดประจําเดือน 1 ปร.. หนวยวิจัยเภสัชศาสตรสังคม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 ปร.. หนวยวิจัยเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3 ภบ. กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลขอนแกน * ติดตอผูนิพนธ : ผศ.ดร.ธนนนรรจ รัตนโชติพานิช, คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม 44150 โทร./แฟกซ: 043 754360 อีเมล: [email protected]

Transcript of ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate...

Page 1: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

Original Article

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหัก

แบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือนสุรศักดิ์ ไชยสงค1 , ธนนรรจ รัตนโชติพานิช2*, อรอนงค วลีขจรเลิศ2, บัญญัติ สิทธิธัญกิจ3

บทคัดยอ

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมด

ประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค1 , ธนนรรจ รัตนโชติพานิช2*, อรอนงค วลีขจรเลิศ2, บัญญัติ สิทธิธัญกิจ3

ว. เภสัชศาสตรอีสาน 2556; 9(2) : 23-36

Received : 28 December 2011 Accepted : 21 February 2013

บทนํา: การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหตนทุน-ประสิทธิผลของการใชยา Alendronate ในราคาของยาช่ือ

สามญั และ Risedronate ในราคาของยาตนแบบ โดยเปรยีบเทยีบกบัการรกัษาตามมาตรฐานปกตเิพือ่ปองกนักระดกูหกัแบบ

ปฐมภูมใินหญิงวยัหมดประจําเดือนภายใตมมุมองของผูใหบริการสุขภาพ วธิกีารศกึษา: ทาํการประเมินตนทุนและประสิทธผิล

ใน 8 กลุมอายุ (45, 50, 55, 60, 65, 70, 75 และ 80 ปขึน้ไป) โดยใชตวัแบบมารคอฟท่ีประกอบดวย 9 สถานะสุขภาพ ในกรอบ

ระยะเวลาวิเคราะห 10 ป ระยะเวลาการใหยา 5 ป ความรวมมือในการใชยารอยละ 50 และหลังจากหยุดยาแลวประสิทธิผล

ของยาลดลงแบบเสนตรง โดยใชขอมูลทางระบาดวิทยา ประสิทธิผลทางคลินิก ตนทุน และอรรถประโยชนจากการทบทวน

วรรณกรรม วเิคราะหความไวทัง้แบบทีละตวัแปรและแบบอาศัยความนาจะเปน ผลการศกึษา: อตัราสวนตนทุนประสทิธผิล

สวนเพ่ิม (Incremental cost-effectiveness ratio, ICER) ของการใช Alendronate และ Risedronate มีคาสูงกวา 3 เทาของ

ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศตอหัว โดยอยูระหวาง 801,353 – 7,012,743 บาท/ปสุขภาวะ และ 1,727,023 – 13,967,461

บาท/ปสขุภาวะ ตามลาํดับ หากลดราคา Alendronate ในราคายาชือ่สามญัลงรอยละ 60 และ Risedronate ในราคายาตนแบบ

ลงรอยละ 80 จะทําใหเกิดความคุมคาในกลุมอายุ 75 ปขึ้นไป สรุปผล: การใชยา Alendronate และ Risedronate ในหญิงวัย

หมดประจาํเดอืนทกุกลุมอายไุมมคีวามคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการปองกนักระดกูหกัแบบปฐมภมู ิควรมกีารศกึษาตนทุน-

ประสิทธิผลของการใชยาดังกลาวเพื่อปองกันกระดูกหักแบบทุติยภูมิตอไป

คําสําคัญ: ตนทุน-ประสิทธิผล, ยา Bisphosphonates, กระดูกพรุน, กระดูกหัก, หญิงวัยหมดประจําเดือน

1 ปร.ด. หนวยวิจัยเภสัชศาสตรสังคม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม2 ปร.ด. หนวยวิจัยเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม3 ภบ. กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลขอนแกน* ตดิตอผูนพินธ: ผศ.ดร.ธนนนรรจ รตันโชติพานชิ, คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลยัมหาสารคาม ตาํบลขามเรียง อาํเภอกนัทรวชิยั จงัหวดั

มหาสารคาม 44150 โทร./แฟกซ: 043 754360 อีเมล: [email protected]

Page 2: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

24

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

Abstract

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenSurasak Chaiyasong1, Thananan Rattanachotphanit 2*, On-anong Waleekhachonloet 2, Bunyat Sitthithanyakit 3

IJPS, 2013; 9(2) : 23-36

Introduction: This study determined the cost-effectiveness of generic-priced Alendronate and original-priced Risedronate for the primary prevention of fractures in postmenopausal women from the healthcare provider perspective. Epidemiological, clinical effi cacy, cost and utility data were obtained from literature review. Method: A Markov model with nine health states was applied to estimate total costs and effectiveness for eight

age-groups (45, 50, 55, 60, 65, 70, 75 and 80 years and above) using a 10-year time horizon, 5-year duration

of medication, 50% medication adherence and a linear reduction of residual effect of the medicines. One-way

and probabilistic sensitivity analyses were conducted. Results: Incremental cost-effectiveness ratios (ICER) of

Alendronate and Risedronate were higher than three times of Gross Domestic Product (GDP) per capita, ranging from

801,353 – 7,012,743 Baht/quality-adjusted life year (QALY) gained and 1,727,023 – 13,967,461 Baht/QALY gained

respectively. If the prices of generic Alendronate and original Risedronate decreased by 60% and 80% respectively,

these drugs would be cost-effective for those aged 75 years and older. In conclusion, the use of Alendronate and

Risedronate for the primary prevention of fractures is not cost-effective for all age-groups of postmenopausal women.

Cost-effectiveness analysis of these drugs for the secondary prevention should be further conducted.

Keywords: Cost-effectiveness, Bisphosphonates, Osteoporosis, Fractures, Postmenopausal women.

1 Ph.D., Social Pharmacy Research Unit, Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University 2 Ph.D., Clinical Pharmacy Research Unit, Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University 3 BSc.(Pharmacy), Department of Pharmacy, Khon Kaen Hospital* Corresponding author: Asst.Prof.Thananan Rattanachotphanit, Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University, Khamriang

Sub-district, Kantharawichai, Maha Sarakham 44150 Tel./Fax. 043 754360 Email: [email protected]

บทนํา โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) เปนภาวะท่ี

ความหนาแนนของมวลกระดูกตํ่ารวมกับการเส่ือมของโครงสราง’ระดับจุลภาคของกระดูก เปนผลใหกระดูกมี

ความเปราะบาง เสี่ยงตอการหักไดงายโดยเฉพาะตําแหนงของกระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกขอมือ

(Papaioannou et al., 2009; Ioannidis et al., 2009; Pongchaiyakul et al., 2008; Wiktorowicz et al., 2001) องคการอนามยัโลกและมลูนธิโิรคกระดกูพรนุแหงประเทศไทยในป 2553 ระบุการวินิจฉัยโรคกระดูกพรุนดวยเคร่ือง dual energy X-ray absorptiometry (axial DXA) วาหากคาเบีย่ง

เบนมาตรฐานของความหนาแนนมวลกระดกู (bone mineral

density -BMD T-score) ทีก่ระดูกสันหลัง หรอืกระดูกสะโพก นอยกวาหรือเทากับ -2.5 จัดวาเปนโรคกระดูกพรุน ในหญิงไทยอายุระหวาง 40-80 ป ซึง่เปนชวงเขาวยัหลังหมดประจํา

เดือน พบวารอยละ 19-21 เปนโรคกระดูกพรุนท่ีกระดูกสันหลังสวนเอว และรอยละ 11-13 เปนโรคกระดูกพรุนท่ีกระดูกคอสะโพก (Pongchaiyakul et al., 2008)

ภาวะกระดูกพรุนเปนสาเหตุของการสูญเสียท้ังตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผูปวย รวมทั้งคาใชจายใน

การรกัษาและการเขาพกัรกัษาตวัในโรงพยาบาล ในประเทศสวีเดนรายงานวา ตนทุนของการเกิดกระดูกหักจากภาวะ

Page 3: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

25

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

กระดูกพรุนสูงถึง 5,639 ลานเหรียญสวีเดนตอป คิดเปนรอยละ 3.2 ของคาใชจายดานสุขภาพของประเทศ และเมื่อรวมความสูญเสียปสุขภาวะแลว ความสูญเสียรวมทั้งหมดมีมูลคาสูงถึง 15 พันลานเหรียญสวีเดน (Borgström et al., 2007) ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบวา คาใชจายโดยรวมทั้งประเทศในการรักษาภาวะกระดูกหักเทากับ 17 พันลานเหรยีญสหรัฐตอป (Burge et al., 2007) สาํหรบัประเทศไทย มีรายงานคาใชจายในการรักษาพยาบาลผูที่มีภาวะกระดูกหกัสันหลังหัก กระดูกสะโพกหัก และกระดูกขอมอืหกั เทากบั 49,549 บาทตอรายตอป 67,892 บาทตอรายตอป และ

31,816 บาทตอรายตอป ตามลาํดบั (Werayingyong, 2006)

การปองกันและรกัษาทาํไดหลายวธิ ีเชน การปรบั-

เปล่ียนพฤติกรรม การลดปจจยัเส่ียง และการใชยา ซึง่หลาย

การศกึษารายงานวายากลุม Bisphosphanates มปีระสทิธผิล

ในการรักษาแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิเพื่อลดความเส่ียง

ตอการเกิดภาวะกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจําเดือน

(Stevenson et al., 2005) Alendronate และ Risedronate

เปนยาในกลุม Bisphosphanates ที่มีรายงานการศึกษาท่ี

สนับสนุนประสิทธิผลในปองกันกระดูกหักในหญิงวัยหมด

ประจําเดือนจํานวนมาก (Wells et al., 2010a; Wells et al.,

2010b) และในปจจบุนัแนวทางการใชยารักษากระดกูพรนุใน

หญงิวยัหมดประจําเดือนของประเทศตางๆ สวนใหญแนะนาํ

ยาท้ังสองรายการน้ีเปนลําดับแรก (National Osteoporosis

Foundation, 2010;Thai Osteoporosis Foundation, 2010)

ถึงแมจะมีรายงานการศึกษาความคุมคาทางเศรษฐศาสตร

ของยา Alendronate และ Risedronate อยูจํานวนมาก

(Börgström et al., 2006; Kanis et al., 2008; Stevenson et al., 2005; Ström et al., 2007; Tosteson et al., 2008a) แต

ในประเทศไทยยังมีขอมูลดานความคุมคาของยาทั้งสองอยู

อยางจํากัด การศึกษาของโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายดานสุขภาพ (Maleewong et al., 2007) ประเมินตนทุน-ประสทิธผิลของยาดงักลาวในหญงิวยัหลงัหมดประจาํ

เดือนโดยกําหนดใหมีการใชยาตลอดชีวิตเพื่อปองกันและรักษาภาวะกระดูกหักที่บริเวณกระดูกสันหลังและกระดูก

สะโพก ใชกรอบระยะเวลาการวิเคราะหไปจนสิ้นอายุขัยที่ 100 ป พบวาตนทุน-ประสิทธิผลของยา Alendronate และ Risedronate ในการปองกันแบบปฐมภูมิในกลุมอายุ 65 ป

ขึ้นไปในมุมมองของรัฐบาล มีคาอยูระหวาง 279,535 - 305,133 บาท และ 309,261 - 337,064 บาท ตอ 1 ป

สขุภาวะท่ีเพิม่ข้ึน ตามลาํดบั ในขณะท่ีตนทนุ-ประสิทธผิลในการปองกันแบบทุติยภูมิมีมูลคาสูงกวา 6 ลานบาท จึงสรุปวา Alendronate มคีวามคุมคาในการปองกนักระดกูหกัแบบปฐมภูมิในกลุมอายุ 65 ปขึ้นไป ปจจบุนั ประเทศไทยมียา Alendronate ขนาด 70 มิลลิกรัม ชนิดรับประทานสัปดาหละคร้ัง ในรูปแบบยาชื่อสามัญ (generic) ทําใหราคาถูกลง และ Risedronate ชนิดยาตนแบบ (original) ขนาด 35 มิลลิกรัม ชนิดรับประทานสัปดาหละคร้ัง ซึ่งสะดวกตอการบริหารและเพ่ิมความรวมมือในการใชยามากขึ้น และมีการศึกษาประสิทธิผลของยา

Alendronate และ Risedronate ในการปองกันกระดูกหัก

สําหรับหญิงวัยหมดประจําเดือนเพิ่มขึ้น (Wells et al.,

2010a; Wells et al., 2010b) หลายการศึกษากอนหนา

แนะนาํใหใชกรอบระยะเวลาการวเิคราะห 10 ป (Stevenson

et al., 2005; Delmas and Siris, 2008; Tosteson et al.,

2008a; Watts and Diab, 2010) โดยคํานึงถึงความรวมมือ

ของผูปวยในการใชยาและประสิทธิผลของยาภายหลังการ

หยุดใช (Cramer et al., 2007; Hiligsmann et al., 2010;

Kanis et al., 2011) การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อ

ประเมินความคุมคาทางเศรษฐศาสตรของยา Alendronate

ในราคายาชื่อสามัญ และ Risedronate ในราคายาตนแบบ

ในการปองกันภาวะกระดูกหักแบบปฐมภูมิในผูหญิงวัย

หลังหมดประจําเดือน โดยใชมุมมองของผูใหบริการสุขภาพ

(Healthcare provider perspective)

วิธีดําเนินการวิจัย ในการศึกษานี้ การปองกันภาวะกระดูกหักแบบ

ปฐมภูมิหมายถึง การใหยาในหญิงวัยหลังหมดประจําเดือนทุกราย เพื่อปองกันการเกิดกระดูกหักคร้ังแรกในผูที่ยังไม

เคยกระดูกหัก และหากเกิดกระดูกหักก็ใหยารักษาอาการ

ตอไป โดยการเปรียบเทียบตนทนุ-ประสิทธิผลของการใหยา Alendronate ขนาด 70 มิลลิกรมั รับประทานสัปดาหละครั้ง และ Risedronate ขนาด 35 มิลลิกรัม รับประทานสัปดาหละคร้ัง กับการรักษาตามมาตรฐานปกติดวยแคลเซียม

1.2 กรัม/วัน และวิตามินดี 400 หนวย/วัน ในประชากร 8 กลุม ไดแก กลุมอายุ 45, 50, 55, 60, 65, 70, 75 และ

80 ปขึ้นไป การประเมินตนทุนใชมุมมองของผูใหบริการสุขภาพ และเปนมูลคาในป 2554 โดยใชราคายาชื่อสามัญ

Page 4: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

26

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

สําหรับ Alendronate และราคายาตนแบบสําหรับ Rise-dronate สําหรับประสิทธิผลวัดเปนปสุขภาวะ (quality-adjusted life year, QALY) ทําการปรับลดคาของตนทุนและประสทิธผิลในอนาคตใหเปนคาปจจบุนัในอตัรารอยละ 3 คํานวณอัตราสวนตนทุนประสิทธิผลสวนเพิ่ม (incremental cost-effectiveness ratio, ICER) มีหนวยเปนบาทตอปสุขภาวะ ใชขอมูลทางระบาดวิทยา ประสิทธิผลทางคลินิก ตนทุน และคุณภาพชีวิตจากการทบทวนวรรณกรรม นํามาคาํนวณดวยตวัแบบคณิตศาสตรของการดําเนินภาวะกระดูกหักในหญิงวัยหลังหมดประจําเดือน

ตัวแบบจําลอง (Simulation Model)

การศึกษานี้ใชตัวแบบมารคอฟ (Markov model)

ซึ่งเหมาะสมกับการเปลี่ยนสถานะสุขภาพ (Health state)

ในโรคเรื้อรังที่มีความซับซอน โดยกําหนดรอบเวลา 1 ป

ตัวแบบประกอบดวย 4 สถานะสุขภาพหลัก ไดแก สถานะ

สุขภาพปกติ สถานะกระดูกหัก สถานะหลังกระดูกหัก และ

สถานะเสียชีวิต (Tosteson et al., 2001; Zethraeus et al.,

2007; Börgström and Kanis, 2008) โดยแบงยอยเปน

9 สถานะสุขภาพ ไดแก สุขภาพปกติ (Well) กระดูกขอมือ

หกั (Wrist fracture) กระดกูสนัหลังหกัครัง้แรก (1’ Vertebral

fracture) กระดูกสะโพกหักคร้ังแรก (1’ Hip fracture)

หลังกระดูกสันหลังหัก (Post vertebral fracture) หลัง

กระดูกสะโพกหัก (Post hip fracture) กระดูกสันหลังหักซ้ํา

(2’ Vertebral fracture) กระดูกสะโพกหักซํา้ (2’ Hip fracture)

และการเสยีชวีติ (Death) ทัง้นีไ้มไดกาํหนดสถานะหลงักระดกู

ขอมอืหัก เนือ่งจากเปนภาวะทีไ่มคอยรนุแรง จงึสามารถกลบัสูสถานะสุขภาพปกติได การเปล่ียนสถานะสุขภาพในแตละ

รอบเวลาแสดงไวดวยลูกศร เชน สุขภาพดีไปยังกระดูกขอ

มอืหัก กระดูกสันหลังหกัครัง้แรก กระดูกสะโพกหักคร้ังแรก

หรือการเสียชีวิต กรณีลูกศรสองทางหมายถึงมีการเปล่ียนไปกลับระหวางสองสถานะสุขภาพได เชน กระดูกขอมือหัก

สามารถกลบัไปสูสขุภาพปกตไิด ซึง่การเปลีย่นแปลงสถานะสุขภาพมีทั้งหมด 35 เสน รายละเอียดดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 ตัวแบบท่ีใชในการวิเคราะห

ความเสี่ยงตอกระดูกหัก (Fracture Risk)

ตัวแบบในการวิเคราะหประกอบดวยความเสี่ยง

ตอกระดูกหักคร้ังแรกท่ีขอมือ สันหลัง และสะโพก และ

กระดูกหักซํ้าท่ีสันหลังและสะโพก ที่จําแนกตามกลุมอายุ

เนื่องจากขอมูลความเสี่ยงตอกระดูกหักของหญิงไทยใน

แตละชวงอายยุงัไมสมบรูณ การศึกษาน้ีจงึอาศัยขอมูลความ

เสีย่งตอกระดกูหกัทีใ่ชในการศกึษาของ Tosteson และคณะ

(2008b) ซึ่งจากรายงานกอนนี้พบวาความเสี่ยงในการเกิด

กระดูกหักของคนเอเชียและคนไทยนอยกวาสหรัฐอเมริกา

ประมาณครึ่งหนึ่ง (Lau et al., 2001; Cummings and

Melton, 2002; Tosteson et al., 2008b) ดังนั้นการศึกษา

นี้จึงปรับลดคาความเสี่ยงนี้ลงรอยละ 50 และใชขอมูลความ

เสีย่งตอการหักซํา้จากรายงานท่ีผานมา (van Helden, 2006;

Delmas et al., 2003; Lindsay et al., 2001) (ตารางท่ี 1)

ความเสี่ยงตอการเสียชีวิต (Risk of Mortality) ขอมูลอัตราการเสียชีวิตของประชากรในแตละ

กลุมอายุไดมาจากรายงานสถิติสาธารณสุขประจําป พ.ศ. 2552 (Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public

Health, 2009) ซึ่งเปนขอมูลรายงานลาสุดในขณะนี้ สําหรับขอมูลการเสียชีวิตของผูที่มีภาวะกระดูกหักไดมาจาก

รายงานการทบทวนเอกสารงานวิจัย (Center et al., 1999) ท้ังนี้สําหรับอัตราการเกิดกระดูกหักและอัตราการเสียชีวิต ถูกแปลงเปนคาความเสี่ยงหรือความนาจะเปน ดวยสูตร

Page 5: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

27

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

tr P)1ln(

เมื่อ r คือ อัตราการเกิดเหตุการณในชวงเวลา t และ P คือ ความเสี่ยงหรือความนาจะเปนในการเกิดเหตุการณตลอดชวงเวลา (ตารางที่ 1)

ประสิทธิผลของยา (Effectiveness of Treatment) การใหยา Alendronate และ Risedronate มีเปาหมายเพื่อปองกันการเกิดกระดูกหักในผูที่ไมเคยกระดูกหักมากอน (primary prevention of fracture) และปองกันการเกิดกระดูกหักซ้ําในผูที่เคยกระดูกหักมาแลว (secondary prevention of fracture) สําหรับขอมูลประสิทธิผลของการ

ใหยาแบบ primary prevention ไดจากผลการวิเคราะห

อภมิาน (Meta-analysis) ในรายงานการทบทวนประสิทธิผล

ของยากลุม Bisphosphonates (Rattanachotphanit et al.,

2011) สวนขอมูลประสิทธิผลในการปองกันกระดูกหักซ้ํา

ไดจากรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบ

ของ Cochrane Library (Wells et al., 2010a; Wells et al.,

2010b) (ตารางท่ี 1)

กรอบระยะเวลาการวิเคราะห ระยะเวลาการใหยา

และความรวมมือในการใชยา (Time Horizon, Duration of

Medication and Medication Adherence)

ในชวงหลายปที่ผานมา มีการพัฒนาแนวคิด

สําหรับการประเมินตนทุน -ประสิทธิผลของยากลุม

Bisphosphonates โดยคํานึงถงึระยะเวลาในการใหยา ความ

รวมมือในการใชยาและประสิทธิผลของยาหลังการหยุดยา

(Watts and Diab, 2010; Edejer et al., 2003; Stevenson

et al., 2005; Tosteson et al., 2008a; Bock and Felsenberg,

2008; Börgström and Kanis, 2008; Bock and Felsenberg,

2008) การศึกษานี้ใชกรอบระยะเวลา (Time horizon) 10 ป (Edejer et al., 2003; Stevenson et al., 2005; Tosteson et al., 2008a) เพื่อใหสอดคลองกับระยะเวลาในการใหยา

ทางคลนิกิและชวงเวลาทีแ่นะนาํใหหยดุพกัการใชยา (Watts

and Diab, 2010) จากหลายการศึกษากอนหนาน้ีระบุวา หลังจากที่หยุดใชยาไปแลวในชวงระยะเวลา 5 ปตอมา ยา

มีประสิทธิผลคงคางอยู (residual effect) (Watts and Diab, 2010; Bock and Felsenberg, 2008; Börgström and Kanis, 2008) และผูปวยประมาณรอยละ 50 ไมมีความรวมมือใน

การใชยาอยางตอเนื่อง (Cramer et al., 2007; Watts and

Diab, 2010) ดังนั้นจึงกําหนดระยะเวลาการใหยา 5 ป และความรวมมือในการใชยารอยละ 50 และหลงัจากหยดุยาแลว ภายในระยะเวลา 5 ปตอมา ประสิทธิผลของยาลดลงแบบ

เสนตรง (linear reduction) (Stevenson et al., 2005; Börg-ström et al., 2010; Kanis et al., 2008; Tosteson et al., 2008a) โดยอีกรอยละ 50 รับยาเพียง 3 เดือนแรกโดยไมไดประสทิธิผลจากการใชยาเลย (Börgström and Kanis, 2008)

ตนทุน (Costs)

ตนทนุในการรักษากระดูกหกั ไดจากการศึกษาของ

Werayingyong (2006) ที่ศึกษาตนทุนในการรักษากระดูก

หักในผูปวยโรคกระดูกพรุนในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา

ป พ.ศ. 2546 โดยปรับเปนมูลคาปจจุบันของป พ.ศ.2554

ดวยดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index, CPI)

ระหวางป 2546 - เมษายน 2554 จากสํานักดัชนีเศรษฐกิจ

การคา กระทรวงพาณิชย (Bureau of Trade and Economic

Indices, Ministry of Commerce, 2011) สําหรับคายา ได

จากราคายาท่ีรายงานไวในศูนยขอมูลขาวสารดานยาและ

เวชภัณฑ กระทรวงสาธารณสุข (Drug Medical Supply

Information Center, 2011) และราคายาท่ีนําเสนอเขาโรง

พยาบาล โดยคายาแคลเซียมและวิตามินดี (แคลเซียม 1.2

กรัม/วัน และวิตามินดี 400 หนวย/วัน) เทากับ 2,920 บาท

ตอป คายา Risedronate ในราคาของยาตนแบบ เทากับ

17,526.60 บาทตอป และคายา Alendronate ในราคายาชื่อ

สามัญ เทากับ 8,467.16 บาทตอป (ตารางท่ี 1)

อรรถประโยชน (Utility) การศกึษานีป้ระเมินผลลพัธทางสุขภาพเปนหนวยปสุขภาวะ (QALY) โดยอาศัยคาอรรถประโยชน (utility) ที่ไดมาจากการประเมินคุณภาพชีวิตในผูปวยโรคกระดูกพรุน

ที่มีอาการกระดูกหักประเภทตางๆ มาปรับปชีพใหเปนป

ชพีทีม่คีณุภาพชีวติ ซึง่ไดขอมูลจากรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมกอนหนานี้ (Adachi et al., 2010; Hiligsmann et al., 2008) สําหรับ secondary vertebral fracture และ secondary hip fracture ไดมาจากการคาํนวณคาทีล่ดลงจาก

การหักครั้งแรก จากคา utility ที่ลดลง 0.09 และ 0.07 ตามลําดับ (ตารางท่ี 1)

Page 6: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

28

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

การวิเคราะหตนทนุ-ประสิทธผิล (Cost-Effectiveness Analysis)

คํานวณคา ICER จากสวนตางระหวางตนทุนในการรักษาดวยยา Bisphosphonates กับการรักษาตามปกติ และสวนตางระหวางประสิทธิผลของการรักษาดวยยา Bisphosphonates กับการรักษาตามปกติ (Usual care) มีหนวยเปนบาทตอ 1 ปสุขภาวะท่ีเพิ่มขึ้น (Baht/QALY gained) ดังสูตรดานลาง

UsualCarenatesBisphospho

UsualCarenatesBisphospho

TotalQALYTotalQALY

TotalCostTotalCostICER

การศึกษาน้ีพจิารณาความคุมคาทางเศรษฐศาสตรจากเกณฑทีแ่นะนาํโดยองคการอนามยัโลก ซึง่ระบวุายาหรอื

การรกัษาใดท่ีมคีา ICER นอยกวา 3 เทาของผลติภณัฑมวล

รวมในประเทศตอหัว (Gross Domestic Product (GDP)

per capita) ถือวามีความคุมคาในการลงทุน (World Health

Organization, 2011) โดยผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ

ตอหัวประชากรของประเทศไทยท่ีรายงานลาสุดเทากับ

160,556 บาทตอคน (Offi ce of the National Economic

and Social Development Board, 2011) ดังน้ันเกณฑใน

การพิจารณาความคุมคาอยูที่ 481,668 บาท

การวิเคราะหความไว (Sensitivity Analysis)

เน่ืองจากคา ICER ไดมาจากตัวแบบที่จําลอง

สถานการณจากหลายตวัแปร ดงันัน้จงึมกีารวเิคราะหความ

ไมแนนอนของขอมูลทั้งการวิเคราะหความไวแบบทางเดียว

หรือ ทีละตัวแปร (one-way sensitivity analysis) และแบบ

อาศัยความนาจะเปน (probabilistic sensitivity analysis) สําหรับการวิเคราะหความไวแบบทางเดียว นําเสนอดวย

Tornado diagram เพือ่แสดงถงึอทิธพิลของขอตกลงเบือ้งตนและตัวแปรในการวิเคราะหที่มีผลตอคา ICER โดยทําการ

เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1) กรอบระยะเวลาในการวิเคราะหตลอด

ชีพที่อายุขัย 100 ป; 2) อัตราการปรับลดท่ีรอยละ 0 และ 6; 3) ความนาจะเปนในการเกิดกระดูกหักเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา; 4) ความรวมมือในการใชยาที่รอยละ 100 และ 30; 5) ราคา

ยาปรับลดลงรอยละ 20, 40, 60 และ 80 ของราคาปจจุบัน; 6) ตนทุนในการรักษาภาวะกระดูกหักเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา; 7) ประสิทธิผลของยาเพิ่มขึ้น (ที่ lower limit) และลดลง

(ที่ upper limit); และ 8) อรรถประโยชนเพิ่มขึ้นและลดลง (ที่ upper และ lower limits)

สําหรับการวิเคราะหความไวแบบอาศัยความนาจะเปน กําหนดสมมติฐานการแจกแจงของขอมูล โดยตัวแปรประสิทธิผลและอรรถประโยชนมีการกระจายแบบ beta distribution และตัวแปรตนทุนการรักษาภาวะกระดูกหกัและตนทุนคายามกีารกระจายแบบ gamma distribution และทํา Monte Carlo simulation จาํนวน 1,000 คร้ัง นาํเสนอผลโอกาสท่ีจะมีความคุมคาและระดับความยินดทีีจ่ะจายดวย acceptability curve

ผลการศึกษาการวิเคราะหตนทุน-ประสิทธิผล ผลจากการประเมินตนทนและประสิทธิผลในกรอบระยะเวลา 10 ป พบวา ตนทุนเฉลีย่ในการปองกนัและรักษากระดูกหักในหญิงวัยหมดประจําเดือนแบบมาตรฐานปกติ เทากับ 25,783 บาทตอปในกลุมอายุ 45 ป (อยูในชวง 25,170 บาทตอป ในกลุมอายุ 80 ปขึน้ไป ถงึ 27,838 บาทตอป ในกลุมอายุ 75 ป) และมีจํานวนปชีพที่ปรับดวยคุณภาพชวีติเทากบั 8.386 QALYs ในกลุมอาย ุ45 ป ซึง่ลดลงตํา่สดุเปน 5.241 QALYs ในกลุมอายุ 80 ปขึ้นไป สําหรับการรกัษาแบบใหยา Alendronate และ Risedronate จะมตีนทนุเฉลี่ยในการรักษาที่กลุมอายุ 45 ป เทากับ 45,891 บาทตอป (อยูในชวง 39,542 บาทตอป ในกลุมอายุ 80 ปขึ้นไป ถึง 46,631 บาทตอป ในกลุมอายุ 65 ป) และ 67,524 บาทตอป (อยูในชวง 56,245 บาทตอป ในกลุมอายุ 80 ปขึ้นไป ถึง 67,632 บาทตอป ในกลุมอายุ 55 ป) ตามลําดบั และผลลัพธทางสุขภาพของการใหยา Alendronate ที่กลุมอายุ 45 ป เทากับ 8.389 QALYs และลดลงต่ําสุดที่ 5.259 QALYs ในกลุมอาย ุ80 ปขึน้ไป สวนผลลัพธของการใหยา Risedronate ที่อายุ 45 ป เทากับ 8.389 QALYs และลดลงตํ่าสุดเปน 5.259 QALYs ในกลุมอายุ 80 ปขึ้นไป (ตารางท่ี 2) เมือ่เปรยีบเทยีบกบัการรกัษาแบบมาตรฐานปกต ิพบวา การใหยา Alendronate และยา Risedronate ในกลุมอายุ 45 ป มีอัตราสวนตนทุนประสิทธิผลสวนเพิ่ม (ICER) เทากบั 6,951,018 และ 13,823,083 บาทตอ QALYs gained ตามลําดบั เมือ่พจิารณาตามกลุมอายพุบวา การใหยาในกลุมทีม่อีายุมากข้ึน ทาํใหคา ICER มแีนวโนมลดลง โดยต่ําท่ีสดุในกลุมอายุ 80 ปขึน้ไป เทากบั 801,353 บาท/QALY gained สาํหรบัยา Alendronate และ 1,727,023 บาท/QALY gained สําหรับ Risedronate นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบระหวางยาสองรายการน้ีแลว พบวา คา ICER ของยา Risedronate สูงกวายา Alendronate ในทุกกลุมอายุ (ตารางท่ี 2)

Page 7: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

29

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

ตารางท่ี 1 ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

Page 8: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

30

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

เมื่อพิจารณาความคุมคาทางเศรษฐศาสตรที่ 3

เทาของ GDP หรือไมเกิน 481,668 บาท พบวาการใหยา

Alendronate และ Risedronate เพือ่ปองกนัและรักษากระดูก

หักในหญิงวัยหมดประจําเดือนไมคุมคาในทุกกลุมอายุ

การวิเคราะหความไว

จากการวิเคราะหความไวแบบทางเดียว พบวา

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอคา ICER ของยา Alendronate และ

Risedronate มากที่สุดคือ กรอบระยะเวลาในการวิเคราะห

รองลงมาคือ ประสิทธิผลของยา และความเส่ียงตอการเกิด

กระดูกหัก สําหรับตัวแปรที่มีผลกับคา ICER นอย ไดแก

ตนทุนของการรักษาภาวะกระดูกหัก อรรถประโยชน ความ

รวมมือในการใชยา และอัตราในการปรับลดคา (รูปที่ 2 และ

3) ซึ่งกรณีที่ใชกรอบระยะเวลาเปนตลอดอายุขัยที่ 100 ป

พบวา คา ICER ของยา Alendronate และ Risedronate เทากับ 341,014 และ 755,352 บาทตอ 1 ปสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น ตามลําดับ

ตารางที่ 2 ตนทุนและประสิทธผิลของยา Alendronate ในราคายาช่ือสามัญ และ Risedronate ในราคายาตนแบบในปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือนท่ีกลุมอายุตาง ๆ

รูปที่ 2 Tornado diagram ของคา ICER สําหรับการใหยา

Alendronate ในราคายาชื่อสามัญ ในการปองกันกระดกูหักแบบปฐมภมูหิญงิวยัหมดประจาํเดอืนอาย ุ

65 ป

Page 9: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

31

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

นอกจากน้ีเมื่อทําการผันแปรราคายาท่ีลดลงจากรอยละ 20 - 80 ในแตละกลุมอายุ พบวา การใชยา Alen-dronate จะมีความคุมคาในกรณีปรับราคายาลดลงรอยละ 80 จากราคาปจจุบันและใชในกลุมอายุ 65 ปขึ้นไป แตหากปรบัลดราคาลงรอยละ 60 จากราคาปจจบุนั จะคุมคาเฉพาะในกลุมอายุ 75 ปขึ้นไป สําหรับยา Risedronate หากราคายาลดลงถึงรอยละ 80 จะคุมคาในกลุมอายุ 75 ปขึ้นไป(รูปท่ี 5 และ 6)

รูปที่ 5 คา ICER ของยา Alendronate ในราคายาช่ือสามัญ

กรณีที่ราคายามีการปรับลดลง

รูปที่ 6 คา ICER ของยา Risedronate ในราคายาตนแบบ กรณีที่ราคายามีการปรับลดลง

รูปที่ 3 Tornado diagram ของคา ICER สําหรับการให

ยา Risedronate ในราคายาตนแบบ ในการปองกัน

กระดกูหกัแบบปฐมภมูหิญงิวยัหมดประจาํเดอืนอาย ุ

65 ป

เม่ือทําการวิเคราะหความไวแบบอาศัยความนา

จะเปน พบวา การใหยา Alendronate จะมีโอกาสคุมคา

มากกวารอยละ 50 เมื่อมีความยินดีจายที่ 1.5 ลานบาทตอ

1 ปสุขภาวะท่ีเพิ่มขึ้น สวนยา Risedronate จะมีโอกาสคุม

คามากกวารอยละ 50 เมื่อมีความยินดีจายที่ 3.2 ลานบาท

(รูปท่ี 4)

รูปที่ 4 Acceptability curve ของยา Alendronate ในราคา

ยาชื่อสามัญ และ Risedronate ในราคายาตนแบบ ในการปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิหญิงวัยหมดประจําเดือนอายุ 65 ป

Page 10: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

32

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

อภิปรายผลและสรุปผล ผลการศึกษานี้แสดงใหเห็นวา การใชยา Alen-dronate ในราคายาชื่อสามัญ และ Risedronate ในราคายาตนแบบ เพือ่ปองกนัภาวะกระดูกหกัแบบปฐมภมูใินหญงิวยัหลังหมดประจําเดือนไมมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในทกุกลุมอายุ Alendronate มคีาอตัราสวนตนทนุประสทิธผิลสวนเพ่ิม (ICER) ตํา่กวา Risedronate และจะมีคาตํา่ลงมากเมือ่อายุเพิม่มากข้ึน เนือ่งจากมีความเส่ียงตอการเกิดกระดูกหักมากขึ้น การใชยา Bisphosphonates ทําใหประสิทธิผลซึง่วดัดวยปสขุภาวะทีเ่พิม่ขึน้เพยีงเล็กนอยเมือ่เปรียบเทยีบ

กบัการรกัษาปกต ิแตมตีนทนุเพิม่ขึน้มาก ทาํใหไมเกดิความ

คุมคาจากการใชยาดังกลาว ทั้งนี้อาจเนื่องจากความเสี่ยง

ตอการเกิดกระดูกหักที่คอนขางตํ่า แตเมื่อทําการเพิ่มความ

เสี่ยงตอการเกิดกระดูกหักเปนสองเทาพบวาคา ICER ใน

กลุมอายุ 65 ป ลดลงมากกวาคร่ึงหนึ่ง (เปน 774,695 บาท/

QALY gained) นอกจากน้ีหากมกีารปรับลดราคายาลง โดย

ยา Alendronate ที่ปรับลดราคาลงรอยละ 60 และยา Rise-

dronate ที่ปรับลดราคาลงถึงรอยละ 80 จากราคาปจจุบัน

จะมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรสําหรับการปองกันภาวะ

กระดูกหักในกลุมอายุ 75 ปขึ้นไป

ผลของการศึกษาน้ีแตกตางจากผลของการศึกษา

ในประเทศไทยกอนหนาที่ระบุวา การใหยา Alendronate

เพ่ือปองกันกระดูกหักชนิดปฐมภูมิมีความคุมคาสําหรับ

ประชากรไทยในกลุมอายุ 60 ปขึ้นไป (Maleewong et al.,

2007) อาจเนือ่งมาจากโครงสรางของตวัแบบ ขอมลูทีใ่ช และ

กรอบในการวิเคราะหที่แตกตางกัน ตัวแบบในการศึกษานี้

ไดรวมสถานะสุขภาพของกระดูกขอมือหักเขามาดวยดังที่แนะนําไวในการทบทวนวรรณกรรมและการวิจัยกอนหนา

(Zethraeus et al., 2007, Tosteson et al., 2001; Börg-

ström et al., 2007; Kanis et al., 2008; Tosteson et al., 2008b) ทาํใหตวัแบบในการศกึษานีม้คีวามครอบคลมุปญหากระดกูหักเพิม่มากขึน้ สาํหรบัขอมลูทีใ่ชในการวิเคราะหนัน้ เนือ่งจากขอจาํกดัดานขอมลูความเสีย่งตอการเกิดกระดูกหกัตามกลุมอายุในประเทศไทย การศึกษาน้ีจึงใชขอมูลความ

เส่ียงจากตางประเทศ โดยใชขอมลูจากประเทศสหรัฐอเมริกาเปนหลัก มีการศึกษากอนน้ีระบุวาความเสี่ยงของคนเอเชีย

และคนไทยจะตํ่ากวาของคนสหรัฐอเมริการอยละ 50 (Lau et al., 2001; Cummings and Melton, 2002; Tostesonet al., 2008b) จึงไดปรับลดคาความเสี่ยงลงรอยละ

50 แตการศึกษากอนนี้ใชขอมูลความเส่ียงจากประเทศสวเีดน ซึง่เปนประเทศท่ีมคีวามชกุของการเกิดกระดกูหักสูง (van Helden et al., 2006) โดยปรับลดคาความเส่ียงลงรอยละ 38 จึงอาจทําใหมีโอกาสเกิดกระดูกหักและมีความคุมคาในการใหยาไดมากกวาการศึกษาปจจุบัน แตอยางไรก็ตามหากเพิม่ความเส่ียงตอการเกดิกระดกูหักเปน 2 เทาแลว การศกึษานีย้งัไมพบวาการใหยามีความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในทุกกลุมอายุ นอกจากน้ีขอมูลดานประสิทธิผลของยาและคุณภาพชีวิตในการศึกษาปจจุบันมีคาแตกตางจากการศึกษากอนหนานี้ โดยคาความเสี่ยงสัมพัทธของการ

ใหยาและอรรถประโยชนของการเกิดกระดูกหักสูงกวาการ

ศึกษากอนหนานี้เล็กนอย แตอยางไรก็ตามขอมูลที่ใชใน

การวิเคราะหของการศึกษาปจจุบันไดรวบรวมจากการวิจัย

ทีร่ายงานเพ่ิมเตมิหลงัจากการศึกษากอนหนานี ้(Wells et al.,

2010a; Wells et al., 2010b; Rattanachotphanit et al.,

2011; Hiligsmann et al., 2008) ซึ่งมีความครอบคลุมและ

ทันสมัยมากข้ึน อีกทั้งเมื่อทําการวิเคราะหความไวในการ

ปรับเพิ่มลดคาประสิทธิผลของยาและคุณภาพชีวิตแลวการ

ใหยา Bisphosphonates ยังไมมีความคุมคาในทุกกลุมอายุ

สาํหรบักรอบในการวเิคราะห การศกึษานีว้เิคราะห

โดยใชกรอบระยะเวลา 10 ป แตกตางจากการศกึษากอนนีท้ี่

ใชกรอบระยะเวลาแบบตลอดอายุขยัที่ 100 ป (Maleewong

et al., 2007) จากผลการวิเคราะหความไวพบวา การใช

กรอบระยะเวลาแบบตลอดอายุขัยที่ 100 ป จะทําใหคา

ICER ลดลงประมาณรอยละ 80 ทําใหมีแนวโนมคุมคาได

งายขึ้น ดังท่ีมีระบุไวในการศึกษากอนน้ี (Tosteson et al.,

2008a) ถึงแมในปจจุบันยังมีไมมีขอแนะนําท่ีชัดเจนสําหรับ

กรอบระยะเวลาในการประเมนิตนทนุ-ประสทิธผิลของการใช

ยา Bisphosphonates เพื่อปองกันกระดูกหัก แตแนวทางในการประเมินเทคโนโลยีดานสุขภาพไดระบุไววาควรใช

กรอบระยะเวลาที่เหมาะสมกับลักษณะของโรคและการเกิดผลลัพธที่ตามมา (Chaikledkaew, 2009) ซึ่งตามแนวทาง

ขององคการอนามัยโลก (Edejer et al., 2003) รายงานการศึกษาเพื่อประเมินเทคโนโลยีดานสุขภาพ หรือ Health

Technology Assessment report (Stevenson et al., 2005) และหลายการวิจยักอนน้ีไดแนะนําใหใชกรอบระยะเวลาการวิเคราะหที่ 10 ป (Delmas and Siris, 2008; Stevenson

et al., 2005; Tosteson et al., 2008a; Watts and Diab, 2010) ทั้งนี้เปนกรอบระยะเวลาท่ีสอดคลองกับการไดรับยา

Page 11: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

33

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

ในการศึกษาทางคลินิค ที่มีการใหยา 5 ป และหลังจากหยุดยาแลวประสิทธิผลของยาคงเหลืออยู (Bock and Felsenberg, 2008; Börgström and Kanis, 2008; Stevenson et al., 2005) นอกจากนีก้ารศกึษาปจจบุนัยงัคาํนงึถงึความรวมมอืในการใชยารวมดวย จากรายงานท่ีระบุวาผูปวยที่ไดรับยา Bisphosphonates บางสวนไมใหความรวมมือในการใชยาและมีงานวิจัยที่แนะนําใหนําความรวมมือเขามารวมในการวิเคราะหตนทุน-ประสิทธิผลของการใชยากลุมน้ีรวมดวย (Cramer et al., 2007; Hiligsmann et al., 2010; Kanis et al., 2011; Börgström and Kanis, 2008) อยางไรก็ตาม

ถึงแมจะเพิ่มความรวมมือในการใชยาที่รอยละ 100 แลว

การใชยา Alendronate ในราคายาชือ่สามญั และ Risedronate

ในราคายาตนแบบ ยังไมมีความคุมคาในทุกกลุมอายุ

การศึกษาในคร้ังน้ีมีขอจํากัดบางประการไดแก

การไมไดประเมินถึงอาการไมพึงประสงคตอระบบทางเดิน

อาหารอันเน่ืองมาจากการใชยา แตอยางไรก็ตามคายารกัษา

อาการไมพึงประสงคดังกลาวเปนตนทุนเพียงสวนนอยเมื่อ

เปรียบเทียบกับตนทุนในการรักษากระดูกหัก จึงไมนาจะ

มีผลตอขอสรุปของการศึกษาน้ี นอกจากน้ีไดพิจารณาใน

เรื่องความรวมมือในการใชยา ซึ่งสัดสวนของผูที่ไมรวมมือ

ในการใชยาอาจเกีย่วเนือ่งจากการเกิดอาการไมพงึประสงค

ดังกลาวแลว สําหรับขอมูลที่ใชในการศึกษาน้ี ขอมูลความ

เสี่ยงในการเกิดกระดูกหักเปนขอมูลที่อางอิงมาจากการ

ศึกษาของตางประเทศ ซึ่งอาจจะไมสามารถสะทอนขอมูล

ของประชากรไทยไดอยางแทจริง แตอยางไรกต็ามมกีารปรบั

คาใหมีความใกลเคียงกับของคนไทยมากท่ีสุด (Lau et al.,

2001; Cummings and Melton, 2002; Tosteson et al.,

2008b) สําหรับการศึกษาในอนาคตที่มีขอมูลกระดูกหัก

ของคนไทย จะทําใหผลการศึกษาท่ีไดใกลเคียงความเปนจริงมากยิ่งขึ้น สวนขอมูลตนทุนที่ใช มีเฉพาะขอมูลตนทุน

ทางตรงทางการแพทยซึง่เปนมมุมองของผูใหบริการสุขภาพเทานัน้ และเปนขอมลูทีท่าํการศกึษาไวหลายปแลว (Weray-

ingyong, 2006) เทคโนโลยแีละตนทนุในการรกัษากระดกูหกัอาจมกีารเปลีย่นแปลงใหทนัสมยัและมตีนทนุสูงขึน้ อยางไรก็ตามเม่ือปรับเพ่ิมตนทุนในการรักษาเปนสองเทาแลวไม

ไดทําใหขอสรุปของการศึกษาเปล่ียนแปลงไป นอกจากน้ีการศึกษาน้ีไมไดประเมินตนทุน-ประสิทธิผลในการปองกันกระดูกหักในกลุมที่มีความเส่ียงตอการเกิดกระดูกหักสูง

เชน การใชยาสเตียรอยด ประวัติครอบครัวมีการกระดูกหัก

และเคยเกิดกระดูกหักมาแลว ซึ่งมีรายงานวาการใหยาเพื่อปองกันกระดูกหักในกลุมเสี่ยงเหลานี้มีความคุมคามากกวา (Stevenson et al., 2005; Tosteson et al., 2008a; Kanis et al., 2008; Börgström and Kanis, 2008) โดยสรุปยา Alendronate ในราคายาช่ือสามัญ และ Risedronate ในราคายาตนแบบ ไมมคีวามคุมคาในการปองกันกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจําเดือนแบบปฐมภูมิ

ในทุกกลุมอายุ ควรมีการศึกษาตนทุน-ประสิทธิผลของการปองกันกระดูกหักในกลุมท่ีมีความเส่ียงสูงและการปองกันแบบทุติยภูมิตอไป

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) ผูวิจัยขอขอบคุณสํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา

หลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) และสถาบันวิจัยระบบ

สาธารณสุข (สวรส.) ทีส่นบัสนุนทนุวจิยั ขอขอบคุณ รศ.ดร.

สพุล ลมิวฒันานนท รศ.ดร. จฬุาภรณ ลมิวฒันานนท ผศ.ดร.

อารวีรรณ เชีย่วชาญวฒันา และ ผศ.นพ.พสินธิ ์จงตระกลู ที่

กรุณาใหคาํแนะนําทางวิชาการในระหวางการศึกษา และขอ

ขอบคุณผูทรงคุณวุฒิที่ใหคําแนะนําเพ่ือการพัฒนาตัวแบบ

และรายงานผลการศึกษานี้

ReferencesAdachi JD, Adami S, Gehlbach S, et al. Impact of

prevalent fractures on quality of life: baseline

results from the Global Longitudinal Study

of Osteoporosis in Women. Mayo Clin Proc.

2010; 85(9): 806-813.

Bock O, Felsenberg D. Bisphosphonates in the man-agement of postmenopausal osteoporosis -

optimizing effi cacy in clinical practice. Clinical

Intervention in Aging 2008; 2: 279-297.Borgström F, Carlsson A, Sintonen H, et al. The cost-

effectiveness of risedronate in the treatment

of osteoporosis: an international perspective.

Osteoporos Int 2006; 17: 996–1007.Borgström F, Kanis JA. Health economics of osteoporosis.

Best Pract Res Clin Endocrinol Metab 2008;

22(5): 885-900.

Page 12: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

34

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

Borgström F, Sobocki P, Ström O, Jönsson B. The societal burden of osteoporosis in Sweden. Bone 2007; 40: 1602-1609.

Borgström F, Ström O, Coelho J, et al. The cost-effectiveness of risedronate in the UK for the management of osteoporosis using the FRAX®. Osteoporos Int 2010; 21: 495–505.

Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health. Public Health Statistics 2009 [Online]. 2010 [cited 2011 Mar 23]. Available from: http://

bps.ops.moph.go.th/ Healthinformation/index.

htm. [in Thai]

Bureau of Trade and Economic Indices, Ministry of

Commerce. Consumer price index [Online].

2011 [cited 2011 May 15]. Available from:

www.price.mmoc.go.th. [in Thai]

Burge R, Dawson-Hughes B, Solomon DH, Wong

JB, King A, Tosteson A. Incidence and economic

burden of osteoporosis-related fractures in

the United States, 2005-2025. J Bone Miner

Res. 2007 Mar;22(3):465-75.

Center JR, Nguyen TV, Schneider D, Sambrook PN,

Eisman Ja. Mortality after all major types

of osteoporotic fracture in men and women:

an observational study. Lancet 1999; 353:

878-882.

Chaikledkaew U, Teerawattananon Y, Kongwittayachai

S, Suksomboon N. Thai Health Technology

Assessment Guideline. Nonthaburi: The Graphico System. 2009. [in Thai]

Cramer JA, Gold DT, Silverman SL, Lewiecki EM. A

systematic review of persistence and compliance

with bisphosphonates for osteoporosis. Osteoporos Int 2007; 18: 1023-1031.

Cummings SR, Melton LJ III. Epidemiology and

outcomes of osteoporotic fractures. Lancet 2002; 359: 1761–1767.

Delmas PD, Genant HK, Crans GG, et al. Severity of prevalent vertebral fractures and the risk

of subsequent vertebral and nonvertebral fractures: results from the MORE trial. Bone 2003; 33: 522–532.

Delmas PD, Siris ES. NICE recommendations for the prevention of osteoporotic fractures in postmenopausal women. Bone 2008; 42: 16-18.

Drug Medical Supply Information Center. Reference price database [Online] 2011 [cited 2011 Mar 23]. Available from: http://dmsic.moph.go.th/

price.htm. [in Thai]

Edejer T, Baltussen R, Adam T, et al. (editors).

Making Choices in Health: WHO Guide to

Cost-effectiveness Analysis. p.93 2003.

[Online]. [cited 2011 Mar 23]. Available

from: http://www.who.int/choice/publications/

p_2003_generalised_cea.pdf

Hiligsmann M, Ethgen O, Richy F, Reginster JY. Utility

values associated with osteoporotic fracture:

a systematic review of the literature. Calcif

Tissue Int 2008; 82: 288–292.

Hilingsmann M, Gathon HJ, Bruyere O, et al. Cost-

effectiveness of osteoporosis screening

followed by treatment: the impact of medication

adherence. Value in Health 2010; 13(4):

394-401.

Hilingsmann M, Rabenda V, Gathon H-J, Ethgen O,

Reginster J-Y. Potential clinical and economic impact of nonadherence with osteoporosis

medications. Calcif Tissue Int 2010; 86:

202-210.Ioannidis G, Papaioannou A, Hopman WM et al. Relation

between fractures and mortality: results from

the Canadian Multicentre Osteoporosis Study.

CMAJ. 2009 Sep 1;181(5):265-71.Kanis JA, Adams J, Borgström F, et al. The cost-

effectiveness of alendronate in the management

of osteoporosis. Bone 2008; 42: 4–15.

Page 13: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

35

ตนทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate และ Risedronate สําหรับปองกันกระดูกหักแบบปฐมภูมิในหญิงวัยหมดประจําเดือน

สุรศักดิ์ ไชยสงค และคณะปที่ 9 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2556

ว. เภสัชศาสตรอีสาน

Kanis JA, Cooper C, Hilingsmann M, Rabenda V, Reginster J-Y, Rizzoli R. Patial adherence: a new perspective on health economic assessmentin osteoporosis. Osteoporos Int 2011; DOI 10.1007/s00198-011-1668-0.

Lau EMC, Lee JK, Suriwongpaisal P, et al. The incidence of hip fracture in four Asian countries: the Asian Osteoporosis Study (AOS). Osteoporos Int 2001; 12: 239-243.

Lindsay R, Silverman SL, Cooper C, et al. Risk of

new vertebral fracture in the year following a

fracture. JAMA. 2001; 285: 320-323.

Maleewong U, Kingkaew P, Ngarmukos C, Teerawat-

tananon Y. Cost-effectiveness and cost-utility

analysis of screening and treatment strategies

for postmenopausal osteoporosis. Nonthaburi:

Health Technology Assessment and Intervention

Program. 2007. [in Thai]

National Osteoporosis Foundation. Clinician’s guideline

to prevention and treatment of osteoporosis.

Washington, DC: National Osteoporosis

Foundation. 2010.

Offi ce of the National Economic and Social Development

Board. National Income of Thailand, Chain

Volume Measures: 1990-2010 Edition.

Bangkok: Offi ce of the National Economic and

Social Development Board. 2011. [in Thai]

Papaioannou A, Kennedy CC, Ioannidis G, et al. The

impact of incident fractures on health-related quality of life: 5 years of data from theCanadian Multicentre Osteoporosis Study.

Osteoporos Int 2009; 20: 703-14.

Pongchaiyakul C, Songpattanasilp T, Taechakraichana N. Burden of osteoporosis in Thailand. J Med Assoc Thai 2008; 91(2): 261-267.

Rattanachotphanit T, Waleekhachonloet O, Chaiyasong S, Sitthithanyakit B. Review on Effectiveness

and Treatment Guideline for Osteoporosis of Osteoporotic Medication. Nonthaburi: Health

Insurance System Research Offi ce. 2011. [in Thai]

Stevenson M, Jones ML, De Nigris E, et al. A systematic review and economic evaluation of alendronate,

etidronate, risedronate, raloxifene and teriparatide

for the prevention and treatment of postmenopausal osteoporosis. Health Technology Assessment 2005; 9 (22): 1-145.

Ström O, Borgström F, Sen S, et al. Cost-effectiveness of alendronate in the treatment of postmenopausal

women in 9 European countries -an economic

evaluation based on the fracture intervention

trial. Osteoporos Int 2007; 18: 1047–1061.

Thai Osteoporosis Foundation. Guideline in Management

of Osteoporosis. Bangkok: Thai Osteoporosis

Foundation. 2010. [in Thai]

Tosteson ANA, Burge RT, Marshall DA, Lindsay R.

Therapies for treatment of osteoporosis in US

women: cost-effectiveness and budget impact

considerations. Am J Manag Care. 2008a;

14(9): 605-615.

Tosteson ANA, Jönsson B, Grima DT, et al. Challenges

for model-based economic evaluations of

postmenopausal osteoporosis intervention.

Osteoporos Int 2001; 12: 849-857.

Tosteson ANA, Melton LJ, Dawson-Hughes B, et al.

Cost-effective osteoporosis treatment thresholds:

The United States Perspective from the

National Osteoporosis Foundation GuideCommittee. Osteoporos Int 2008b; 19(4): 437–447.

van Helden S, Cals J, Kessels F, Brink P, Dinant GJ,

Geusens P. Risk of new clinical fractures within 2 years following a fracture. Osteoporos Int 2006; 17: 348–354.

Watts NB, Diab DL. Long-term use of bisphosphonates in osteoporosis. J Clin Endrocrinol Metab

2010; 95(4): 1555-1565.

Page 14: ต้นทุน-ประสิทธิผล ของ Alendronate และ Risedronate สำหรับ ป้องกัน ...

36

Cost-Effectiveness of Alendronate and Risedronate for Primary Prevention of Fractures in Postmenopausal WomenChaiyasong S. et al.

Vol. 9 No. 2 May-August 2013

IJPS

Wells GA, Cranney A, Peterson J, et al. Alendronate for the primary and secondary prevention of osteoporotic fractures in postmenopausal women (Review). Cochrane Library 2010a.

Wells GA, Cranney A, Peterson J, et al. Risedronate for the primary and secondary prevention of osteoporotic fractures in postmenopausal women (Review). Cochrane Library 2010b.

Werayingyong P. Health Resource utilization of osteoporosis patients at Phramongkutklao

hospital. [MSc Thesis]. Bangkok: Mahidol

University; 2006. [in Thai]

Wiktorowicz ME, Goeree R, Papaioannou A, et al.

Economic implications of hip fracture: health

service use, institutional care and cost in

Canada. Osteoporos Int 2001; 12:271-8.

World Health Organization. CHOosing Interventions

that are Cost Effective (WHO-CHOICE):

Cost-effectiveness thresholds. [Online]. [cited

2011 Mar 23]. Available from: http://www.who.

int/choice/costs/CER_thresholds/en/index.html

Zethraeus N, Borgström F, Ström O, Kanis JA,

Jönsson B. Cost-effectiveness of the treat-

ment and prevention of osteoporosis –

a review of the literature and a reference model.

Osteoporos Int 2007; 18: 9-23.