บันทึกโลกาภิวัฒน์...

28
àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 1 àÃÕ Â Â¹ÃÙŒâÅ¡ ¡ à¾×èÍà à Œ¨Ñ¡μ μ ÑÇàͧ áÅ ÅÐàμ μÃÕÂÁà ÃѺÇÔ ¡ ¡Ä Äμ 1 ขอเขียนเหลานี้เขียนในชวงป 2545 - 2546 อาจจะเกาไปนิด หนึ่ง แตก็ไดปรับแกเล็กนอยเพื่อนําเสนอประเด็นที่คิดวายังรวมสมัยกับ ขบวนการสหภาพแรงงาน และขบวนการตอสูเพื่อประชาธิปไตยใน บานเรา และเตือนความจําพวกเราวามันมีทางออกไปจากการเมืองทีหยุงเหยิง ดูไรทิศทาง และไรความหวัง ที่พวกเราและคนไทยกําลังติด อยูในวังวนอยูนี้ การนําพาประเทศไทย ใหหลุดพนไปจากวังวนนําเนา และความรุนแรงนี้ขึ้นอยูกับสติ การใชเหตุใชผล และการยึดมั่นใอุดมการณประชาธิปไตย และแนวทางสันติวิธี ของคนไทยทุกคน บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก เพื่อรู้จักตัวเอง และเตรียมรับวิกฤติ ฉบับปรับปรุงแกไข 30 ธันวาคม 2553 จรรยา ยิ้มประเสริฐ 5

description

 

Transcript of บันทึกโลกาภิวัฒน์...

Page 1: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡µÑÇàͧ áÅÐàµÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄµÔ 1àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡¡ à¾×èÍÃÃÙÙŒŒ¨Ñ¡µµÑÑÇàͧ áÅÅÐ൵ÃÕÂÁÃÃѺÇÔ¡¡ÄÄµÔ 1

ขอเขียนเหลานี้เขียนในชวงป 2545 - 2546 อาจจะเกาไปนิดหนึ่ง แตก็ไดปรับแกเล็กนอยเพื่อนําเสนอประเด็นที่คิดวายังรวมสมัยกับขบวนการสหภาพแรงงาน และขบวนการตอสูเพื่อประชาธิปไตยในบานเรา และเตือนความจําพวกเราวามันมีทางออกไปจากการเมืองท่ีหยุงเหยิง ดูไรทิศทาง และไรความหวัง ท่ีพวกเราและคนไทยกําลังติดอยูในวงัวนอยูนี ้การนาํพาประเทศไทย ใหหลุดพนไปจากวังวนนาํเนาและความรุนแรงนี้ขึ้นอยูกับสติ การใชเหตุใชผล และการยึดมั่นในอุดมการณประชาธิปไตย และแนวทางสันติวิธี ของคนไทยทุกคน

บันทึกโลกาภิวัฒน์เรียนรู้โลก เพ่ือรู้จักตัวเอง

และเตรียมรับวิกฤติ ฉบับปรับปรุงแกไข 30 ธันวาคม 2553

จรรยา ย้ิมประเสริฐ

5

Page 2: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

2 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 3

คํานํา ในยุคโลกาภิวัตนไรพรมแดน แมวาพรมแดนแหงการคา การเงิน และ

การลงทุน จะถูกทลายลงเกือบทั้งสิ้นแลวก็ตาม ไมเวนแมคายสังคมนิยมหรือคาย

คอมมิวนิสต แตพรมแดนแหงเสรีภาพ อิสระภาพ และการเมือง ยังปดกั้นคนสวน

ใหญไมใหไดมีโอกาสรูจักโลกทั้งใบที่ตัวเองอยูดวย ท้ังเง่ือนไขทางการเมือง การ

เงิน ภาษา และวีซา แมแตพลเมืองของประเทศม่ังคั่งเชนสหรัฐฯ เองก็ตาม มีประ

ชาชนเพียง 20% เทานั้นที่มีพาสปอรต(ไมนับรวมคนตางชาติในสหรัฐฯ หลายสิบ

ลานคน)

ดังนั้นในทุกโอกาสท่ีไดมีโอกาสไดเห็นโลกใบนี้บาง ขาพเจาจึงไดเก็บรวบ

รวมประสบการณ และขอสังเกตตางๆ ท่ีไดรับจากการเดินทางมาขีดเขียนเพื่อ

บอกเลาใหกัับเพื่อนๆ และพี่นองแรงงานไดรวมรับรูประสบการณนั้นๆ ดวย

โดยหวังวามันอาจจะชวยเปนกระจกใบหนึ่งที่สองสะทอนใหทุกคนไดเห็นโลกาภิ

วัตน ในบริบทที่กวางกวาที่สื่อกระแสหลักนําเสนอในอีกมุมมองหนึ่งที่ไมไดเสนอ

ในหนังฮอลีวูดส CNN, BBC, หรือ Times หรือที่รัฐบาลของทุกประเทศไมไดบอก

กับประชาชนของตัวเอง

จดหมายจากฮารวาย จากสหรัฐฯ และบันทึกจากยุโรป ถึงแมจะเขียนขึ้น

มาในรูปแบบที่แตกตางสไตลกันก็ตาม แตทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ดวยความตั้งใจท่ีจะนํา

เสนอมุมมองและความคิดที่เกิดข้ึนในชวงเวลาท่ีอยูในตางแดน ซึ่งมีทั้งความรูสึก

แปลกแยก ขัดแยง และคับแคน เมื่อเห็นความอยุติธรรมบนการกระจายความ

มั่งคั่งที่ไมเทาเทียม กระน้ันก็ตาม นําใจและมิตรภาพของประชาชนในท่ีตางๆ ที่

ไดรับทําใหเราไมสามารถจะลุกขึ้นมามีความรูสึกเกลียดชังหรืออคติกับคนในประ

เทศนั้นๆ เพราะวาความตางแหงเชื้อชาติ ศาสนา เพศหรือสีผิวเชนกัน

ขาพเจามีความภูมิใจเปนอยางย่ิงที่ไดมีโอกาสรวบรวมบันทึกเหลานี้ และ

เผยแพรใหพี่ๆ นองๆ และเพ่ือนๆ ในขบวนการแรงงานไทย และผูที่ตอสูเพื่อ

ความเปนธรรมในสังคมไทย ไดรวมแบงปนความรูสึกเหลานี้ดวย

จรรยา ย้ิมประเสริฐ

=> บันทึกจากฮาวาย

เราจะอยูอยางไรในยุคทุนนิยมครอบโลก มกราคม 2545

=> จดหมายจากอเมริกา

6 – 25 กรกฎาคม 2546

=> บันทึกจากยุโรป

ตอนที่ 1

สหภาพยุโรป บรัสเซลล เบลเยี่ยม

17-18 พฤศจิกายน 2546

ตอนท่ี 2

แตร เด เฟมส เยอรมัน

19-30 พฤศจิกายน 2546

Page 3: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

4 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 5

บันทึกจากฮาวายเราจะอยูอยางไรในยุคทุนนิยมครอบโลก

ขอเขียนชุดนี้ที่เขียนเมื่อครั้งที่ขาพเจาไดรับโอกาสไปน่ังเขียนหนังสือที่สถาบันอีสเวสตเซนเตอร มหาวิทยาลัยฮาวาย

มกราคม 2545

ถึงพี่นองแรงงานที่รักทุกทาน

การที่ไดออกมาน่ังเขียนหนังสือที่มหาวิทยาลัยฮาวาย เปนเวลาหนึ่งเดือน ทําใหขาพเจาไดมีเวลาน่ังคิด วิเคราะห คนควาความรูใหมๆ เพื่อนํามาใชในการวิเคราะห และทําความเขาใจกับบริบทของโลก สังคม และแรงงานในยุคปจจุบัน

เวลาไมนอยหมดไปกับการคนควาขอมูลที่หองสมุดของมหาวิทยาลัยแหงนี้ แมวาไมสามารถคนหนังสือนับลานๆ เลมท่ีอยุในหองสมุดนี้ไดหมด แตก็ไดลองสํารวจหนังสือที่เกี่ยวกับแรงงานและประวัติศาสตรแรงงาน และหนังสอืเกี่ยวกับการบริหารจัดการหวงโซการผลิต การบริหารจัดการดานแรงงาน และแรงงานสัมพันธ ที่เปนมุมมองทางดานธุรกิจเปนสวนใหญ และก็ตระหนกเปนอยางมากวา เมื่อมองในสัดสวนแลวหนังสือที่เก่ียวกับการบริหารจัดการธุรกิจ และหนังสือประเภทจะบริหารหรือสรางความสําเร็จในธุรกิจไดอยางไรนั้น มีมากมายมหาศาล ในทางกลับกันหนังสือที่เก่ียวกับดานแรงงานท้ังในดานประวัติศาสตร ยุทธศาสตร การเมืองที่เก่ียวกับแรงงานน้ันมีนอยกวาหลายสิบเทา และสวนใหญเปนหนังสือเกามีอายุกวา 20-50 ปมาแลว

หนาวสั่นไปพรอมกับความใจหายและหวาดวิตกวาขบวนการแรงงานไมสามารถปรับยุทธศาสตรไดเทาทันทุนไดเลย เม่ือพวกเราไมสามารถนําเสนอประเด็นสูสาธารณชน สูกลุมคนรุนใหม นักแรงงานรุนใหม แลวเราจะสรางความเขาในในเร่ืองสิทธิแรงงานกับสังคม คนรุนใหม และนักสหภาพแรงงานรุนใหมๆ ไดอยางไร?

เร่ิมเขาใจวาปญหาเร่ืองของการลดลงของจํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานท่ัวโลกน้ัน หนึ่งในปจจัยเปนปญหาท่ีเกิดจากขบวนการแรงงานดวยเชนกัน ไมใชปญหาท่ีทุนสามารถลมสหภาพแรงงาน ตอตาน หรือปองกันไมใหคนเปนสมาชิกสหภาพแรงงานไดเพียงฝายเดียวเทานั้น แตเพราะไมมีการใหกระบวนการศึกษาเร่ืองสิทธิแรงงาน สหภาพแรงงานกับคนรุนใหม เรื่อสหภาพแรงงานจึงกลายเปนประเด็นเฉพาะของคนงานในอุตสาหกรรมการผลิตเทานั้น แตไมสามารถสรางอํานาจตอรองเพ่ือความเปนธรรมของคนท้ังสังคมไปดวย

ไมมีการถายทอดเร่ืองราวระหวางกัน นักสหภาพแรงงานแมแตในปจจุบันยังมีความคิดวาการนําเสนอยุทธศาสตรการจัดตั้ง และยุทธศาสตรการตอสูของคนงานตอสาธารณชนน้ันจะเปนการเปดขอมูลใหนายจาง มองวาเทคนิคการจัดตั้งสหภาพควรจะจํากัดอยูเฉพาะตัว และทํางานจัดตั้งในลักษณะใตดินมาโดยตลอด

เห็นหนังสือมากมายท่ีแนะนํากลยุทธใหนายจางเก่ียวกับมาตรการจัดการดานแรงงาน การสรางผลผลิต ผลกําไร และการเสริมสรางศักยภาพทางธุรกิจ ซึ่งรวมไปถึงการจะทําอยางไรใหคนงานทํางานอยางยอมจํานนกับกระบวนการจางงานภายใตวาทกรรมสวยหรูวา “การสรางแรงงานสัมพันธ” จริงๆ แลวก็คือทําใหคนงานทํางานอยางทาส ไมตอรอง แมวาจะมีชีวิตอความเปนอยูที่แรนแคน ขัดสน หนังสือเหลานี้มีนับแสนนับลานเลม และเปนคูมือท่ีใชศึกษาอยางแพรหลายในหมูนายจาง โดยท่ีคนงานเองก็ไม

Page 4: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

6 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 7

ไดศึกษาหรือรับรูเกี่ยวกับเร่ืองเหลานี้คนงานตกอยูภายใตมายาภาพแหงอิทธิพลของวาทกรรมการใช

ภาษาท่ีที่ทําใหพวกเขาเช่ือวา “เพราะการศึกษาตํา เพราะความจน และเพราะมาจากประเทศยากจน เขาจึงตองทํางานในสหภาพท่ีถูกเอารัดเอาเปรียบ และไดรับคาจางขั้นตํา ที่ไมพอยังชีพ” หรือเชื่อวาเพราะ “เปนกรรมเกา เขาจึงตองเกิดมาใชกรรม” ซึ่งเหลานี้เปนการลางสมองของชนช้ันนายทุน ท่ีมีตอคนงานมาหลายยุคสมัย และก็สําเร็จเสียดวย เพราะคนงานสวนใหญเชื่อเชนนั้น

อกีหนึง่มายาภาพทีท่าํใหคนงาน รัฐบาลของประเทศยากจนทัง้หลายเชื่อก็คือ “การที่เรามีแรงงานจํานวนมากจึงไมมีอํานาจตอรองกับนักลงทุน จึงตองแขงขันกับเพื่อนบานดวยการกดคาแรงงานลง เพราะมิฉะนั้นจะทําใหเสียอํานาจการแขงขัน” ซึ่งตรงนี้ตองมาดูกันวารัฐบาลของแตละประเทศคือใคร และใครไดประโยชนจากนโยบายการกดคาแรงเพ่ือดึงดูดการลงทุนกันแน

จริงๆ แลวคนงานอยูดีกินดีขึ้นจากการจางแรงงานราคาถูกจริงหรือไม?

เรื่องเหลานี้วิ่งวนอยูในความคิด และการพยายามหาคําตอบวาเราสมควรจะรณรงคเพื่อใหคนงานต่ืนตัวเร่ืองสิทธิและตอสูเพื่อความเปนอยูที่ดีขึ้นไดอยางไร? ทามกลางแนวคิดกระแสหลักเรื่องทุน ที่มองเรื่องคาจางเปนตัวแปรของการลงทุน และขณะเดียวกัน จะทํางานการรณรงคใหคนงานไทยเขาใจเรื่องนี้ไดอยางไรในเม่ือคนงานไทยกวา 97% ยังไมไดเปนสมาชิกของสหภาพแรงงาน จึงไมรูจักการสรางอํานาจตอรองรวม

ทั้งๆ ที่รูดีวาคาจางไมพอ แตก็ไมกลารวมตัวตอรอง เพื่อใหไดคาจาง และสวัสดิการที่ยุติธรรม และสามารถดํารงชีวิตไดดีขึ้น

เราจะทําอยางไร? เม่ือกระแสสังคมตางก็มองการรวมตัวของคนงาน การประทวง และการสไตรคเปนการบ่ันทอนขวัญและ

กําลังใจของนักลงทุน?

ที่เลวรายยิ่งกวา ผูนําแรงงานจํานวนไมใชนอยก็มีความเช่ือเชนนั้น!

พวกเรามีหวังแคไหนกับการตอสูเพื่อสิทธิ ทามกลางบรรยากาศท่ีไมเอื้ออํานวยเหลานี้ ตรงนี้เปนคําถามถึงพวกเราทุกคนที่ตอสูเพื่อสิทธิ และดํารงสภาพความเปนอยู สวัสดิการ กฎหมายแรงงานเอาไวไดตอไป

เราไมมีการบันทึกประวัติศาสตรการตอสูเอาไวเทาที่ควรจะทํา เพ่ือเปนแหลงศึกษาเก่ียวกับประวัติศาสตรแรงงานใหกับคนรุนหลัง ซึ่งก็เปนนิมิตรหมายท่ีดีที่พิพิธภัณฑไทยไดลุกขึ้นมาเรียบเรียง บันทึก คนควา และเผยแพรประวัติศาสตรแรงงานไทยข้ึนมา

กวาจะไดมาซ่ึงคําวา “สหภาพแรงงาน” คนงานท่ัวโลกสูญเสียทั้งเลือดเนื้อ และนําตาไปมิใชนอย!

หนังสือประวัตศาสตรการตอสูของคนงานเฟอร และเคร่ืองหนังขององอเมริกา (ค.ศ. 1920 – 1950) ท่ีคนเจอท่ีหองสมุดของมหาวิทยาลัยฮาวาย บอกเลาเรื่องราวการตอสูของคนงานท่ีอเมริกาไวอยางนาชื่มชม การตอสูที่เต็มไปดวยพลัง และความสามัคคีของคนงาน พรอมกับผูนําที่เขมแข็ง อันนํามาซึ่งชัยชนะของพวกเขา การไดอานหนังสือเร่ืองนี้ชวยปลุกความหวัง และเพ่ิงพละกําลังท่ีเริ่มเหนื่อยลาของขาพเจาใหทํางานตอไป และก็หวังวาสักวันหนึ่งจะลุกขึ้นมาแปลหนังสือเลมนี้ใหพี่นองแรงงานไทยไดอาน

Page 5: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

8 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 9

หนังสือเลมนี้ทําใหเห็นความรวมสมัยของการตอสูของคนงานในยุคทศวรรษ 1923 (พ.ศ. 2466 - รัชการที่ 6) กับปจจุบันหลายอยาง โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับกระบวนการทําลายสหภาพแรงงาน ซ่ึงเปนวิธีการท่ียังใชกันอยูในปจจุบัน ซึ่งพอสรุปวิธีการลมสหภาพจากหนังสือไวไดดังนี้คือ

1. ไลออก 2. ขึ้นบัญชีดํา3. ใชนักเลงควบคุม 4. ซื้อตัวผูนํา (โดยใหขอเสนอท่ีดีกวาแลกกับการถอนตัว

ออกจากการเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน 5. ในระหวางสไตรคก็จางนักเลงมาทํารายและกอกวน แต

คนท่ีถูกจับไมใชคนกอกวนแตเปนคนงานท่ีประทวง 6. ใชเจาหนาที่รัฐ ตํารวจ ทหาร ศาล โดยการจัดตัวแกน

นําไปข้ึนศาล ถูกสวมกุญแจมือ ถูกทุบตีทําราย และก็ถูกสั่งปรับเปนเงินจํานวนมาก

7. ใชสื่อเปนพวก 8. ปลุกปนกลุมศาสนาใหตอตาน เพราะพวกสไตรคจะ

เปนพวกยิวเปนสวนใหญ ก็จะใหกลุมศาสนาคาทอลิกลุกขึ้นมาตอตานยิว

9. ยายงาน 10. ตั้งสหภาพบริษัทขึ้นมาแทน 11. จางมาเฟยทํารายผูนําและเก็บคาคุมครอง

หนังสือเลมนี้ไดเขียนลักษณะผูนําสหภาพที่คอรับชั่นดวยวามีพฤติกรรมดังนี้

1. ยักยายถายเททรัพยสินของสหภาพเปนของตัวเอง 2. อยูสะดวกสบายในบานหลังใหญใชชีวิตเขาสมาคมกับ

คนรวย และดูถูกคนงาน 3. ทําธุรกิจในประเภทเดียวกัน 4. ใชภาษาการเมืองท่ีดูสวยหรู แตไมปฏิบัติจริงจัง 5. ทําขอตกลงกับนายจาง ใหความรวมมือในการแจงนาย

จางวาใครคือผูนําคนงาน คือพวกหัวแข็ง 6. เจรจานอกรอบกับนายจางแลวบีบใหคนงานทําตามขอ

ตกลงกับนายจาง 7. ใชขบวนการนักเลงทํารายคนงานท่ีหัวแข็ง และเขาควบ

คุมสมาชิกสหภาพ8. พูดจาเปนนกสองหัว 9. กลาวหาผูนําที่จริงจังวาเปนคอมมิวนิสต 10. มีสายลับไวคอยสอดแนมสหภาพ 11. ใชรูปแบบสหภาพมาเฟย ถาใครไมเห็นดวยก็ใชวิธีการ

ขู และถึงขั้นทํารายรางกาย

Page 6: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

10 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 11

แนนอนเราอยูในยุคทุนนิยม แตเปนทุนนิยมที่ไรจริยธรรม และโหด

ราย ตราบใดท่ีปลอยใหคนมีศักยภาพในการพ่ึงพิงตัวเอง ทุนก็จะไมมีอํานาจในการครอบครองไดเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ดังนั้นการเคล่ือนไหวของทุนในปจจุบันนั้นจึงเปนการเคลื่อนไหวเพื่อทําลายศักยภาพในการพึงพึงตัวเองของประชาชน และรัฐบาลของประเทศตางๆ โดยใช

โครงสรางของขอตกลงการคาเสรีที่ทํากันทั้งในรูปแบบพหุภาคี และทวิภาคี

ภายใตคําขวัญอันสวยหรูวา “ความรวมมือทางเศรษฐกิจ” ทั้ง APEC

ASEM ASEAN โดยมี WTO เปนหวัเรือใหญ นอกจากน้ีประเทศมหาอํานาจ

ยังไดใชโครงสรางของสถาบันเงินทุน อาทิ ธนาคารโลก (World Bank), ไอ

เอม เอฟ (IMF) ธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) เปนแรงชวยบีบใหประเทศ

ตางๆ ปฏิบัติตามเง่ือนไขทาสเหลานี้ อันมุงแตจะนําพาประเทศไปสูหายนะ

มากย่ิงขึ้น

การรุกคืบของกลุมสถาบันเหลานี้คือการพยายามทําลายฐานของ

การพึ่งตนเองของประเทศตางๆ ลง เพราะตราบใดท่ีคนหรือประเทศใดก็ตาม

ยงัมีศกัยภาพในการพึง่ตนเอง ทุนก็ไมสามารถตอรองไดอยางเขมแขง็ และไม

สามารถสรางตลาดการคาเสรีได ดังนั้นเราจะเห็นวาโครงสรางทุนนิยมไดเขา

ไปทําลายฐานของการพึงตนเองของประเทศท่ีอยูใกลทุนเหลานี้ไดเปนจํา

นวนมากแลว โดยเริ่มจากประเทศเล็กๆ ท่ีไรอํานาจตอรองท้ังทางการเมือง

การเงิน ทางประชากร อาทิ หมูเกาะแคริเบี้ยน อเมริกากลาง และอเมริกาใต

เปนตน ตรงนี้ดูไดจากตัวอยางของการกระทําของไอเอมเอฟ กับประเทศจา

ไมกา เปนตัวอยางที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่ง

ภาพที่ฉายในหนังสารคดี Life and Debt เก่ียวกับผลกระทบของไอ

เอม เอฟ ตอประเทศจาไมกา มีหลายภาพในสารคดีชุดนี้เรียกนําตาของผูชม

ความโหดรายของทุน และการกระทําของมหาอํานาจตอประเทศ

เล็กๆ ท่ีไรทางตอสู ภาพที่เกษตรกรโคนมจาไมกาตองเทนมทิ้ง เปนภาพ

แหงความเจ็บปวดอยางที่สุด โรงนมที่วางเปลา เพราะไมสามารถแขงขันใน

กระบวนการคาเสรีที่นมผงนําเขาราคาถูกกวานมสดในประเทศ และทําให

กิจการนมสดในประเทศตองปดตัวลง หรือแมแตไก เนื้อ มันฝรั่ง แครอท กระ

หลําปลี ซึ่งเปนผลิตภัณฑทางการเกษตรท่ีปลูกไดดีในประเทศ ก็ไมสามารถ

ทัดทานกระแสการดัมภตลาดจากอเมริกา หรือแคนาดาได เกษตรกรตอง

อพยพเขาเมืองไปเปนแรงงานหรือมนุษยรายวันเพื่อหาเงินมาปอนทุนอีกที

หนึ่ง

นี่หรือคือการคาเสรี ที่มนุษยทุกคนตองแลกเปล่ียนสินคา พึ่งพิงตลาดตลอดเวลาเพ่ือใหทุนเดินอยูได โดยอยูบนพื้นฐานของการตอรองท่ีไมเทาเทียมกัน? การรุกคืบของกลุมสถาบันเหลานี้คือการพยายามทําลายฐานของการพึงตนเองของประเทศตางๆ ลง เพราะตราบใดท่ีคนหรือประเทศใดๆ ยังมีศักยภาพในการพ่ึงตนเอง ทุนก็ไมสามารถตอรองไดอยางเขมแข็ง และไมสามารถสรางตลาดการคาได

นี่จึงเปนประเด็นที่สําคัญของการตอสูเพื่ออิสระภาพ และความเทาเทียม

เรามีทุนชาวไทยท่ีพยายามนําเสนอเรื่องการลงทุนท่ีคํานึงถึงส่ิง

แวดลอมและสังคม แตในขณะเดียวกันก็เขาไปจับมือกับรัฐบาลทหารพมา

จับมือทางการคากับรัฐบาลจีน เพื่อการลงทุน

ประเด็นหน่ึงท่ีมีสงผลตอการทะลักของการลงทุนเขาจีนก็คือ

นักลงทุนชาวจีนโพนทะเลท่ีอพยพจากจีนไปสรางความม่ังค่ังและขยาย

อาณาจักรท่ัวทุกพื้นที่ในโลกเม่ือกวา 50 ปที่ผานมา มีความรูสึกความเปน

Page 7: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

12 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 13

ชาติขึ้นมา ก็เลยเขาไปลงทุนในเมืองจีนจนทําใหในขณะน้ี ทําใหจีนเพียงประเทศเดียว ดึงดูดทุนจากตางชาติถึงหนึ่งในสี่ของโลก การอาง “ความเปนชนเชื้อชาติจีน” ของนายทุน คงไมใชกระม๊ัง แตมันคงไดผนวกรวมเอาประเด็นเร่ืองท่ีจีนยังใชระบบการควบคุมของรัฐอยู ไมยอมรับระบบการรวมตัวและตอรองตามระบบประชาธิปไตย เพ่ือสรางความม่ันใจใหกับนักลงทุนวาคนงานจะไมประทวง และตราบใดที่นักลงทุนตางชาติจับมือกับรัฐบาลจีนไดอยางราบร่ืนกระบวนการกดข่ีขูดรีดแรงงานอยางเปนระบบก็ดํารงอยูไดตอไป ในขณะเดียวกันก็จะสงผลใหกระบวนการเรียกรองสิทธิของประเทศอ่ืนๆ ทําไดอยางยากลําบากข้ึน เพราะจะถูกนําไปเปรียบเทียบกับสถานการณในประเทศจีน นําไปสูการสรางความยืดหยุนดานคาจาง สวัสดิการ และมาตรการคุมครองแรงงานในทุกๆ ดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นที่ถือเปนหัวใจของคนงาน คือ “สิทธิเสรีภาพในการเจรจาตอรอง โดยไดรับความคุมครอง ภายใตกติกาสหภาพแรงงาน”

หนังสือเรื่อง Empire ของสองนักเขียนอิตาลี และอเมริกัน Antonio Negri และ Michael Handt ไดบรรยายไดชัดเจนที่สุดถึงนิยามของสังคมปจจุบันที่หลายคนพยายามจัดคายวาเปนยุคจักรวรรดิอเมริกัน แตเขาบอกวาที่มีการนําเสนอวาศตวรรษท่ี 19 เปนจัรกรวรรดิอังกฤษ และศตวรรษที่ 20 เปนจักรวรรดิอเมริกานั้นก็ไมใชแลว เพราะอเมริกาไมไดครอบครองไดเหมือนกับที่อังกฤษครอบครองในชวงที่ผานมา อเมริกาเปนไดเพียงมหาอํานาจท่ีสุดเทานั้น แตไมสามารถครอบครองท้ังโลกไดอยางในอดีต

สถานการณแรงงานของบานเราจึงอยูในสภาวะท่ีนาเปนหวงเปนอยางยิ่ง พวกเราจะตองรูเทาทันสถานการณโลก เราจะตองสรางทางเลือกเพ่ือการดํารงชีพใหอยูไดในสถานการณที่ยากลําบากเชนปจจุบันนี้ คงไมมีใคร ไมวาทุนหรือกรรมกรจะสามารถ Win – Win (ชนะ) ไดทั้งหมด แตเราจะตองอยูรอดไดอยางไร เพื่อตั้งหลักท่ีจะตอสูไดอยางเขมแข็งตอไป เพราะสงครามระหวางนายทุนกับชนช้ันกรรมชีพ เปนเหมือนทางคูขนานท่ีไมมีทางยุติได ตราบเทาที่เรายังมีลมหายใจ และตราบใดท่ีมนุษยยังอยูในความโลภ หลง มัวเมาในกิเลศ ตัญหา เชนในปจจุบัน เราก็ยังจะตองสูกันตอไป

ชัยชนะจะเปนของชนชั้นกรรมาชีพในที่สุด

Page 8: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

14 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 15

จดหมายจากอเมริกา

Those machines had kept going as long as we could remember, when we fi nally pulled the switch and there was some quiet,

I fi nally remember something that I was a human being, that I could stop those machines,

that I was better than those machine anytime.

Sit-down striker (1936) Image of labor.

เครื่องจักรเหลานั้นไดเดินเคร่ืองมานานเทานานตราบท่ีพวกเราจําได แตเมื่อเราปดเครื่องและมีความเงียบบาง ผมก็เพ่ิงนึกถึงสิ่งหนึ่งขึ้นมาไดวาผมเปนมนุษย และผมสามารถปดเครื่องจักรเหลานั้นได และผม

เกงกวาเครื่องจักรเหลานั้น

คําคมจากคนงานท่ีสไตรค (ป 2479) นํามาจากโปสเตอร Image of labor

6 – 25 กรกฎาคม 2546

ทีมงานโครงการรณรงคเพื่อแรงงานไทยและเพื่อนๆ ที่รัก

เสนหคงจะไดเรียนรูหลายอยางจากการไปดูงานดานแรงงานท่ี

เกาหลีใต และคงมีหลายเร่ืองท่ีอยากจะแชรกับพวกเรา เชนเดียวกันการเดิน

ทางมาประชุมที่ยุโรปและอเมริการวมสามอาทิตยของพี่คร้ังนี้ก็มีเรื่องเลาอีก

เชนเคย [กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเย่ียม อัมเตอรดัม ประเทศเนเธอแลนด และ

ขามมหาสมุทรแอตแลนติก มาดูงานของสหภาพแรงงานในสหรัฐอเมริกา

และเขารวมประชุมใหญสหภาพแรงงาน(ส่ิงทอ) UNITE ท่ีลาสเวกัส] พี่ก็ได

เก็บเก่ียวเรื่องราวหลากหลายท่ีอยากจะเลาใหเสนห นอง ยง ปก พ่ีสุนทร ติ่ง

พี่ประพาส เดนนิส และเพ่ือนผูใชแรงงานทุกคนเชนกัน ซึ่งคิดวาคงจะมีประ

โยชนที่จะทําใหพวกเราเห็นความเปนไปของขบวนการแรงงานโลก

กอนอื่นเลยตองขอบอกวาเหนื่อยสุดๆ เชนกันกับสามอาทิตยนี้ ไมใช

เหน่ือยเพียงดานรางกายเทานั้นที่ตองปรับตัวกับเวลาท่ีแตกตางจากบาน

เรา 5 ชั่วโมงท่ียุโรป 12 ช่ัวโมงท่ีนิวยอรค และ 15 ชั่วโมง ท่ีลาสเวกัส แต

เปนการหนักใจยิ่งวาจะทําใหอยางไรใหทุกคน และคนงานไทยทุกคน ไดเห็น

ไดสัมผัสเชนเดียวกัน และจะทําอยางไรที่จะนําบทเรียนที่ไดเห็น ไดเรียนรูที่นี่

ไปถายทอด และสามารถเปนบทเรียนแหงการนําไปใชเพื่อการตอสู และสราง

ความเขมแข็งของขบวนการแรงงานไทย

ขณะเดียวกันก็ตองบอกวาไมงายเลยท่ีจะทําความเขาใจกับคนยุโรป

และอเมริกา ถึงสถานการณความจริงของผลกระทบจากกระแสการคาเสรีที่

มีตอคนงานในบานเรา และเขาใจจริงๆ วาสําหรับชนชั้นกรรมาชีพนั้น ไมวา

จะเปนคนจากประเทศรํารวย หรือจากประเทศยากจน เราตางก็ไดรับผลกระ

ทบกันถวนหนา ไมวาจะเปนคนงานยุโรป คนงานสหรัฐอเมริกา คนงานแม็ก

ซิโก หรือคนงานไทย และทําไมจึงจําเปนอยางยิ่งอยางที่ไมเคยเปนมากอนที่

จะตองมีการสมานฉันทขามประเทศมากเทากับในตอนน้ี ท่ีสําคัญที่สุดคือทํา

Page 9: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

16 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 17

ใหคนที่นี่มองเห็นความเปนจริงวา เราตองปรับเปล่ียนวิธีคิดในเร่ือง การสมานฉันท การมีสวนรวม และประชาธิปไตยจากรากหญาเสียใหม ทุกคนจําเปนจะตองตอสูรวมกัน เคียงบาเคียงไหลกันไมวาจะเปนคนงานจากประเทศรํารวยหรือประเทศยากจน ซ่ึงจะทําอยางนี้ไดจริงก็ตองอยูบนพื้นฐานของหลักการการมีสวนรวม การเคารพซ่ึงกันและกัน ความเปนเอกภาพ ประชาธิปไตย และเทาเทียมระหวางกัน ซึ่งตอนน้ีในเชิงหลักการทุกคนดูเหมือนวาพูดภาษาเดียวกัน แตในทางปฏิบัตินั้นยังมีความไมเปนประชาธิปไตย และไมเทาเทียมกันในหลายเร่ือง ซึ่งทุกกลุมจะตองตระหนักถึงจุดออนขอนี้และหาทางแกไขรวมกัน

สหรัฐอเมริกา

คดิวาพวกเราทุกคนคงใจหายเม่ือรูวาคนสหรฐัฯ ทีพ่ีคุ่ยดวยสวนใหญไมรูจักวาประเทศไทยอยูที่จุดไหนของโลก และไมแนใจวาไทย หรือกรุงเทพฯเปนชื่อประเทศกันแน คนขับแท็กซี่ถามพี่วา “ประเทศไทยเปนอาณานิคมของประเทศจีนหรือ?” พวกเราคงโกรธถาไดยินคําถามอยางนั้น แตพี่กลับอนาถใจวา ในความเปนจริง คนสหรัฐฯ ไมรูจักโลกภายนอก [กะลาครอบ] สหรัฐฯ ไดมากถึงขนาดน้ัน แตในทางกลับกัน คงไมมีใครในเมืองไทยไมรูจักสหรัฐอเมริกา และมิหนําซํา มีเด็กไทยมากมายรูจักชื่อมลรัฐของสหรัฐอเมริกาทกุมลรัฐท่ีเดียว

แตเมื่ออยูในนิวยอรค และลาส เวกัส รวมสองสัปดาห พี่ก็เริ่มเขาใจและก็เห็นใจคนสหรัฐฯ วาพวกเขาถูกปดหูปดตาจากโลกภายนอกมากจริงๆ(รวมสองอาทิตยที่อยูที่นี่ขาวใหญที่สุดในทีวีเกือบทุกชอง คือขาวการทําอนาจารเด็ก ไมมีขาวเกี่ยวกับประเทศไทยแมแตขาวเดียว) ดวยการท่ีหนวยของ

การบริโภคที่สหรัฐฯ นั้นใหญมาก ใหญขนาดท่ีบริษัทเสื้อผาอยางไนกี้ มีเงินมากเทากับกลุมซีพี ซึ่งเราคิดวารวยมหาศาลมากท่ีสุดในประเทศไทยแลว

เราพูดถึงประเทศท่ีมีพลเมืองกวา 280 ลานคน มากกวาไทย 4-5 เทา เฉพาะท่ีนวิยอรค ศูนยกลางทางเศรษฐกิจการเงินโลก มีประชากร 14 ลานคน ที่มีเพียง 40% เทานั้นที่เปนคนสหรัฐฯ สวนกวา 60% เปนคนที่เขาอพยพเขามาท้ังถูกกฎหมายและผิดกฎหมายมาเพ่ือแสวงหาชีวิตท่ีเขาคิดวาจะดีกวาท่ีนี่ แตก็หาไดดีไปทุกคนไม เพราะผานไป 20 ป หลายคนยังตองหาเชากินคํากับการขับรถแท็กซี่ ขายของหาบเรบนทองถนน ไมแตกตางจากคนไทยท่ีหล่ังไหลเขามากรุงเทพ เพราะคิดวากรุงเทพฯ เปนเมืองสวรรคเมื่อ 20 หรือ 30 ท่ีผานมา แตก็ยังไมสามารถหลุดจากปลักแหงความยากจนได และยังคงทํางานหาเชากินคําไปวนัๆ ที่ขางถนนตางๆ ในกรุงเทพฯ ท้ังขายพวงมาลัย ลูกอม ผาเช็ดรถ โดยที่ไมมีเวลานึกยอนถึงความฝนเม่ือกอนเดินทางเขากรุงเทพ ชางไมตางจากคนขับรถแท็กซี่ชาวอินเดีย ปากีสถาน อิยิปต โดมินิกัน ริพับบริค หรือซาอุดิอาระเบีย ที่นิวยอรค และอีกหลากหลายเช้ือชาติ ที่อพยพเขามาสหรัฐฯ ดวยความฝนอันบรรเจิด แตก็ไมสามารถทําตามความฝนได

ยุคเสื่อผืนหมอนใบมันไดหมดไปแลว โอกาสท่ีจะคอยๆ เก็บเล็กผสมนอยแลวคอยๆ สรางตัวไปเรื่อยๆ พอไดโอกาสหรือมีเสนสายทางการเมืองก็จะม่ังค่ังไดเหมือนยุคเจาสัวท้ังหลายในประเทศไทยหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง คงไมสามารถเกิดขึ้นไดในยุคปจจุบันที่ทุกคนถูกบีบใหอยูในวัฎจักรแหงวงเวียนหนีสิน หรือเงินกู และคาจางขั้นตําสุดขีด

Page 10: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

18 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 19

ลาสเวกัส

ทามกลางบรรยากาศรอนผาวกวา 40 องศา แหงทะเลทรายลาสเวกัส แตคนที่นี่หาไดทุกขทรมานตอความรอนไม เพราะตางก็อยูแตในหองประชุมเย็นฉําดวยแอร ที่หนาวจนทุกคนตองใสเสื้อกันหนาว หรืออยูตามแหลงคาสิโนที่กระจายอยูทุกมุมเมือง

ลาสเวกัส แหลงคาสิโนที่ใหญที่สุดในโลก และมีเงินหมุนเวียนมากที่สุดในโลกในแตละวัน มากกวานิวยอรค ศูนยกลางแหงการเงินของโลก โรงแรมขนาดใหญที่มีหองพักมากกวา 1,000 - 6,000 หอง มีอยูเต็มไปหมด ที่พรอมรองรับนักทองเที่ยววันละ 100,000 คน ปละ 37 ลานคน ซึ่งมากกวานักทองเที่ยวที่มาเมืองไทยถึง 4 เทาตวั แตโรงแรมเกือบทั้งหมด มีสหภาพแรงงาน

ทําใหหวนนึกถึงสิ่งท่ีประธานหอการคาภูเก็ตเขียนในบทความโจมตีวาสหภาพแรงงานจะเปนตัวอุปสรรคตอการทองเท่ียว พ่ีก็คิดวา เฮ! มาดูลาสเวกัสกอนวาสหภาพแรงงานเปนอุปสรรคตอการทองเที่ยวจริงหรือ ในเมื่อลาสเวกัส มีนักทองเที่ยวมากกวาไทยถึง 4 เทา ในขณะท่ีเกือบทุกโรงแรมมีสหภาพแรงงาน และกวา 80% ของโรงแรมในนิวยอรค ตั้งแตระดับดาวตํา จนหาดาว ตางก็มีสหภาพแรงงาน และก็สามารถใชวิธีการสไตรคตอรองกับนายจางได และสามารถหยุดแขกไมใหพักในโรงแรมของตัวเองในชวงการสไตรคไดดวย ฝากสหพันธแรงงานการโรงแรมและบริการภูเก็ต บอกประธานหอการคาภูเก็ตดวยนะคะวาคิดผิดคิดใหมไดนะ แลวก็หยุดโจมตีสหภาพแรงงาน และยุติการทําลายสหภาพแรงงานไดมอนด คริฟ เสียที เพราะเราไมยอมใหคุณทําอยางนั้น

บริโภคนิยม

พอเห็นการบริโภคทรัพยากรอยางไมบันยะบันยัง กินครึ่ง ท้ิงครึ่งของคนท่ีนิวยอรค และท่ีลาสเวกัส ท่ีบรรจุในภาชนะพลาสติกสวยงามท่ีใชเพียงครั้งเดียวก็เททิ้งถังขยะแลวก็นาใจหาย แตในขณะเดียวกันก็เขาใจเพิ่มขึ้นบางวา ทําไมอเมริกาประเทศเดียวจึงเปนประเทศท่ีบริโภคทรัยากรมากกวาประเทศอ่ืนๆ เฉล่ียแลวหลายเทาตัว ซ่ึงไมใชเฉพาะเปนความตองการของคนอเมริกาทั้งหมดหรอก แตเปนกระแสการผลักดันใหเกิดการบริโภคเกินขอบเขตของบรรษัทขามชาติตางๆ ท่ีตองการขายสินคาใหมากที่สุดเทาที่จะมากได เพื่อจํานวนตัวเลขรายไดที่งอกงามมากข้ึนในบัญชีและทําใหบริษัทตัวเองข้ึนชื่อบริษัทที่มั่งคั่งท่ีสุดในโลก โดยไมไดคํานึงถึงความเสียหายทางทรัพยกรธรรมชาติ หรือการคิดวาจะใชทรัยากรธรรมชาติอยางคุมคามากท่ีสุดไดอยางไร พวกเขาทํายังกับวาทรัพยากรในโลกน้ีไมมีวันหมดสิ้นอยางไรอยางนั้น เห็นแลวก็รูสึกหดหูใจ

การจัดตั้งสหภาพในนิวยอรค

สหภาพแรงงานการโรงแรม New York Hotel and Motel Trades Council

หลายคนคงยังจํามีเรียมไดดี เพราะมีเรียมมาเปนอาสาสมัครใหโครงการรณรงคเพ่ือแรงงานไทยรวมป พี่พักกับมีเรียมในชวงท่ีอยูที่นิวยอรค และไดไปดูการทํางานของมีเรียมซ่ึงเปนเจาหนาที่จัดตั้งสหภาพแรงงานใหกับสหภาพแรงงานการโรงแรมในเขตนิวยอรค (เปนสมาชิกไอ ยู เอฟ) ไดมีโอกาสไปรวมสังเกตการณการจัดการประชุมเพื่อลงมติสไตรคของคนงาน

Page 11: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

20 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 21

จากโรงแรมขนาดเล็ก 4 แหงที่มีเจาของคนเดียวกัน มีคนงานรวมกันไมถึง

50 คน ซึ่งทุกคนเปนคนงานท่ีอพยพมาจากประเทศในอเมริกากลาง หมู

เกาะแคริบเบียน และอเมริกาใต หรือที่เรามักรวมเรียกวาลาตินอเมริกา หลัง

การประชุมคนงานทุกคนตัดสินใจลงคะแนนเสียงเปนเอกฉันทวาจะสไตรค

มีเรียมบอกวาสหภาพการโรงแรม เขตนิวยอรค จะมีมาตรฐานกลางท่ี

นายจางในทุกโรงแรมสมาชิก จะตองปฏิบัติตาม และคาแรงรายช่ัวโมงของ

มาตรฐานกลางน้ันสูงกวาคาแรงข้ันตําถึง 3 เทา (ขั้นตําคือ 6.5 เหรียญ

สรอ.ตอชั่วโมง หรือ 260 บาทตอชั่วโมง แตของโรงแรมคาแรงข้ันตําคือ 18

เหรียญ สรอ. ตอชั่วโมง หรือ 720 บาทตอชั่วโมง)

ยิ่งไดเห็นการทํางานจัดตั้งแบบมีการวางแผน และมียุทธศาสตร และ

เห็นความแตกตางของสภาพการจาง คาจาง และสวัสดิการของคนงานท่ีมี

สหภาพแรงงานแลว ยิ่งทําใหมั่นใจ พรอมกับเห็นวาสหภาพแรงงานคือ

สิ่งจําเปนสําหรับความอยูดีกินดีของคนงาน และก็ยิ่งเขาใจวาทําไม

นายจางถึงยอมจายที่ปรึกษาราคาแพง(ลิบลิ่ว) เพื่อใหลมสหภาพแรง

งาน เพราะจายที่ปรึกษาคนเดียวดีกวาจายคนงานท้ังโรงแรม หรือทั้ง

โรงงาน

ในบัตรสมาชิกสหภาพการโรงแรม ขางหลังบัตรจะเขียนไววา

1111111111....1.11 Educate yourself about the union22222222222222... Attend union meeting33333333333333... Let everyone know you support the

union44444444444444... Help organize other workers to supporrrrrtrttttttt

union55555555555555... Support any other union actions.66666666666666... Stand together with us.

IIIIffffffffffff yyyou have any question call the union OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOrrrOOOOOOOOO ganizing Department at ……………….

111111111111111111..... ทททททททททํํํํํํํํํํํําาาาาคคคคควววววาาาาามมมมมเเเเขขขขขาาาาาใใใใใใใใใใใใใใใใจจจจจวววววาาาาา “““““สสสสสสหหหหหภภภภภาาาาาพพพพพคคคคคืืืืืืืืืืออออออออออะะะะไไไไไไไไไไไไไไไรรรรร???????”””””2222222222222222... เขารวมประชุมสหภาพ333333333333333... ใหทุกคนรูวาคุณสนับสนุนสหภาพ444444444444444... ชวยใหการศึกษาใหคนงานอื่นๆ รูจักสหภาพ555555555555555... ใหการสนับสนุนกิจกรรมสหภาพอ่ืนๆ 666666666666666... ยืนเคียงบาเคียงไหลรวมกันกับทุกคนถถถถถถถถถถถถถถถาาาาาามีคําถามสามารถโทรศัพทมาที่สํานักงานไดท่ี ……………………………………………………………………………..………………..

สหภาพสิ่งทอ ยูไนท (UNITE)

ที่นิวยอรค สหภาพคนงานส่ิงทอ UNITE ไดจัดกิจกรรมใหพี่ไดพบ

และพูดคุยกับคนงานในสํานักงานจัดสงสินคาของเส้ือผายี่หอ H&M

UNITE เปนสหภาพหน่ึงท่ีถึงแมจะเปนสหภาพท่ีเล็กที่สุด ในกลุม

สหภาพใหญของสหรัฐฯ (มีสมาชิก 270,000 คน) แตถึงจะเล็ก แตก็มี

จํานวนสมาชิกเทากับจํานวนสมาชิกสหภาพแรงงานเอกชนของทั้งประเทศ

ไทยทีเดียว

แมจะเล็กในเชิงปริมาณ แตสหภาพ UNITE มีบทบาททางดาน

แรงงานและการเมืองสูงมากท่ีสุดสหภาพหน่ึงในสหรัฐฯ

กระบวนการจัดตั้งสหภาพของ UNITE นาสนใจมาก จะมีการทํางาน

เปนทีม ประมาณ 3-4 คน ทําหนาที่วิจัยขอมูลทั้งของนายจางและลูกจาง คน

ทํางานจัดต้ังใชทุกรูปแบบรวมท้ังไปเคาะประตูบานคุยกับคนงานถึงท่ีพัก

สวนเจาหนาฝายการศึกษา ก็ใชระบบการวิเคราะหขอมูล มีการแบงกลุมคน

งานออกเปน –แนใจ ไมแนใจ และไมสนใจ – โดย UNITE จะใหการศึกษา

เนนหนักกับกลุมที่ไมสนใจเพ่ือใหมีความเขาใจมากข้ึน เพื่อจัดตั้งใหเขารวม

เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน

UNITE เปนแบบอยางสหภาพในประเทศรํารวยท่ีตองปรับตัวเพราะ

การสูญเสียสมาชิกมากเน่ืองจากการยายฐานการผลิต ทั้งนี้อุตสาหกรรมส่ิง

ทอ และเคร่ืองนุงหมไดยายทุนออกจากสหรัฐฯ ในชวงตนป 2510 เปนตน

มา ดังนั้นเมื่อสูญเสียสมาชิกมาก UNITE ก็ปรับตัวจัดตั้งคนงานกลุมอื่นๆ

มากข้ึน และขยายขอบเขตสหภาพท่ีครอบคลุมคนงานท่ีอยูในสาขาท่ีเกี่ยว

ของทั้งคนงานบริการดานสุขภาพ คนงานซักรีด(ทําใหตองจับมือทํางานรวม

กับสหภาพการโรงแรมดวย) หรือคนงานศูนยจัดสงสินคาหรอในรานขายสิน

คาเสื้อผายี่หอตางๆ ซ่ึงมีเยอะมากเชนกัน

Page 12: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

22 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 23

เอาแครานวอลมารทท่ีเปนบรรษัทขามชาติที่ไดรับการจัดอันดับวา

รํารวยท่ีสุดในโลกน้ี คนงานประจํารานวอลมารททั่วประเทศก็ลานสี่แสนคน

แลว แตวอลมารทก็ไดชื่อวาตอตานสหภาพแรงงานสูงมากท่ีสุดเชนกัน ดวย

กําลังเงินมหาศาล วอลมารทสามารถเปด ปด รานหนีสหภาพแรงงานไปได

เรื่อยๆ เชนกัน

Jobs with Justice (JWJ)ศูนยประสานงานกรรมกร (ฉบับสหรัฐฯ)

พวกเรารูจักศูนยประสานงานกรรมกร ในสหรัฐฯ ก็มีองคกรท่ีมี

ลักษณะการทํางานและบทบาทคลายกับศูนยประสานงานกรรมกร เรียกวา

องคกร Jobs with Justice หรือถาแปลตรงตัวก็วา การจางงานตองยุติธรรม

ซึ่งทั้งสหภาพโรงแรม UNITE และสหภาพการบริการ SEIU ท่ีถือวาเปน

สหภาพท่ีใหญที่สุดในนิวยอรค มีสมาชิก 1.2 ลานคน ก็เปนสมาชิก JWJ พ่ี

ไดรับเชิญเขารวมประชุมการประชุมประจําเดือนของ JWJ ดวยเชนกัน และ

ไดรับฟงรายงานของแตละสหภาพเก่ียวกับงานท่ีไดรับมอบหมาย และการ

ชวยเหลือเพ่ือนสมาชิกระหวางกัน การวางแผนรณรงคหนุนชวยคนงานท่ีมี

ปญหา ซึ่งไมใชเฉพาะสหภาพแรงงานเทานั้นท่ีเปนสมาชิก JWJ แตตัวแทน

พรรคการเมืองกาวหนา กลุมนักศึกษา ก็เปนสมาชิกและรวมประชุมดวย

หลักการพ้ืนฐานของสหภาพคือ รวมกันเราอยู แตกแยกเราตาย (Unity and Collective Bargaining Power)

พวกเราควรพึงระลึกไวเสมอวา เราจะตองมองสถานการณตางๆ

อยางเปนองครวม --ทุกคน -- ไมใชเปนเร่ืองของคนงานใดคนงานหน่ึงหรือ

เฉพาะรายบุคคลเทานั้น เพราะนายจางพยายามจะบริหารงานรายบุคคล

และแบงแยกคนงานออกจากกัน ดวยวิธีการตางๆนานา เพราะนายจางรูวา

งายกวาจะตอรองกับคนงานคนเดียว ไมใชตอรองกับคนงานท้ังหมด

ยุทธศาสตรของนายจางคือ

• ทําอยางไรใหลูกจางรูสึกไรซึ่งอํานาจใหมากท่ีสุด โดดเด่ียว

มากท่ีสุด หรืออยูภายใตความโครงสรางอํานาจการควบคุม

ของฝายบริหารมากท่ีสุด

• ดังนั้นนายจางจึงบริหารงานโดยวิธีการแบงแยกคนงาน

ออกจากกันใหได รวมท้ังใชกลยุทธิการบริหาร เงิน กฎ

ระเบียบ หรือกฎหมาย เปนเคร่ืองมือจัดการกับคนงานและ

สหภาพแรงงาน

จากการศึกษาของสถาบันการศึกษาแรงงานท่ีสหรัฐฯ ช้ีใหเห็นวา

คนงานที่อยูในระบบสหภาพแรงงานมีคาแรงสูงกวาคนงานที่ไมอยูในระบบ

สหภาพแรงงานเฉล่ียถึง 28% แนนอนวาไมมีนายจางคนไหนท่ีตองการจาย

28% เพิ่มใหคนงาน แมแตคาจางขั้นตํา เอาเขาจริงๆ แลวเขาก็ไมอยาก

จาย เพราะจายคนงานเพ่ิมหมายความวากําไรลดลง หมายความวาการจะ

เอาเงินไปสรางความม่ังคั่งอยางรวดเร็วจะทําไมได แตตองจายเพราะกลไก

การตอรองสภาพการจางงานตางหากที่บีบและกดดันใหนายจางตองจาย

ดังนั้นหนาที่ของสหภาพแรงงานและสมาชิกคือการสรางอํานาจตอรองรวม

และกดดันใหนายจางปฏิบัติตามขอเรียกรองของสหภาพ ไดยินมาวา จนท.

แรงงาน จังหวัดภูเก็ตบอกกับสมาชิกสหภาพวา สหภาพแรงงานท่ีดีที่ยอมรับ

Page 13: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

24 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 25

ไดนั้น คือสหภาพแรงงานท่ีไมตอรองกับนายจาง ถาสหภาพแรงงานไมตอรองกับนายจางมันจะเรียกสหภาพแรงงานไหม ถามจริงๆ?

เครื่องมือของสหภาพคือการตอรองรวม การสรางอํานาจกดดันรวมทั้งจากสมาชิกสหภาพ และพันธมิตรในท่ีตางๆ และอาวุธสําคัญของสหภาพคือการ “สไตรค” ซึ่งกฎหมายก็ใหสิทธิคุมครองตรงน้ี เชนเดียวกับสิทธิการปดงานของนายจาง

ที่สําคัญยิ่งพวกเราตองตระหนักใหดีวา ความเขมแข็งของสหภาพไมใชเกิดจากความเขมแข็งของคนใดคนหน่ึง แตตองเกิดจากความเขมแข็งของทุกคน -- ประธาน กรรมการ อนุกรรมการ และท่ีสําคัญ สมาชิกสหภาพ-- ถาสมาชิกไมแข็งก็ทําใหกลไกทุกอยางไมเขมแข็ง ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองจัดการศึกษาใหทุกระดับของสหภาพแรงงานมีความเขมแข็งและเขาใจอยางแทจริงวา “สหภาพแรงงานคืออะไร?” และ “มีประโยชนตอคนงานอยางไรบาง?”

สหภาพไมมีเงิน และไมสามารถใชกฎหมายไดอยางมีประสิทธิภาพเนื่องดวยเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ เวลา และความรูความเขาใจ คนงานจึงตองใชพลังตอรองและกดดันรวมกันในนามสหภาพ น่ันหมายความวายิ่งมีคนงานในสถานประกอบการเปนสมาชิกสหภาพมากเทาใด และเข็มแขงเทาใด ก็ยากขึ้นที่นายจางจะแบงแยก หรือทําลายสหภาพน้ันๆ ไดงายเทานั้น ดังนั้นคําขวัญของสหภาพแรงงานท่ัวโลก หลายคําขวัญจึงมีความหมายลึกซึ้งยิ่งเพื่อใหคนงานตระหนักถึงพลังของการรวมตัวเปนหน่ึงเดียวกันของทุกคน อาทิ

“One injury is injury for all -- คนหน่ึงเจ็บ ก็เทากับทุกคนเจ็บดวย” “ถาปลอยใหทุนทํารายคนงานคนหนึ่งได ก็เทากับวาทํารายทุกคนไดเชนกัน”

“ Injustice everywhere is a threat to justice everywhere ความอยุติธรรมในทุกท่ี เปนภัยคุกคามตอความยุติธรรมในทุกแหง”

มาติน ลูเธอร คิง

คําขวัญของการตอสูของคนงาโรงแรมฟอนเทียรที่ลาสเวกัส จนเปนคําขวัญที่แพรหลายไปท่ัวโลกคือ “One day longer = เราตองสูไดนานกวานายจาง 1 วัน” มีที่มาจากการท่ีคนงานรวม 500 คน ของโรงแรมฟอนเทียรสูกับนายจางเปนเวลานาน จนไดรับชัยชนะและคนงานท่ียังคงสูอยูจนวาระสุดทาย 350 คน ไดรับคาชดเชยและคาจางยอนหลังท้ังหมดและไดรับกลับเขาทํางานหลังจากตอสูมาราทอนกวา 6 ป 4 เดือน กับ 21 วัน (21 กันยายน 1991 ถึง 31 มกราคม 1998)

นักจัดตั้งสหภาพแรงงานบานเราควรจะตองศึกษารูปแบบการจัดตั้งจากท่ีตางๆ มากข้ึน ถาคิดแตเพียงวาการวางยุทธศาสตรการจัดตั้งท่ีมีการทําการศึกษาวิจัย การประเมิน และกระบวนการใหการศึกษาคนงาน และการวางเปาหมาย และเง่ือนไขระยะเวลา เปนรูปแบบท่ีไมเปนธรรมชาตินั้นพวกเราตองคิดใหมเชนกัน เพราะในประเทศท่ีมีคนงานท่ีจัดตั้งเพียงไมเกิน 2% เชนประเทศไทย โดยท่ีกลไกรัฐไมสนับสนุน ตลอดจนนายจางก็มีมาตรการตางๆ ทุกทิศทางในการกีดกัน และทําลายสหภาพ เราจําเปนจะตองใหการศึกษาคนงานเร่ืองสหภาพแรงงานอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน เร็วขึ้นเปนขบวนการ และมีการทํางานเปนทีมมากข้ึน เพราะนายจางและฝายบริหารไดวางยุทธศาสตรการทําลายและปองกันการจัดตั้งสหภาพแรงงานอยางเขมแข็ง

Page 14: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

26 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 27

หวังวาการแลกเปล่ียนบทเรียนจากการไปดูงานจากสหรัฐฯ อาจจะ

ชวยใหพวกเราเห็นโฉมหนาของการตอสูของคนงานในอีกซีกโลกหนึ่งของ

โลกไดบาง และเห็นคนสหรัฐฯ ท่ีไมใชเฉพาะประธานาธิบดีจอรจ บุช เทานั้น

แตคนสหรับฯ ที่เปนคนจน คนงาน คนท่ีตอสู คนที่โดนกระทําแบบเดียวกับ

ที่คนงานไทยเผชิญอยูทุกวัน คนงานอเมริกาก็สูอยางจริงจังมากข้ึน เราจะ

เห็นวาเปนครั้งแรกในรอบหลายสิบปที่ผูนําแรงงานคนสําคัญถึง 4 คนใน

สหรัฐฯ ไดแกประธานสภาแรงงานแหงชาติอเมริกัน (AFL-CIO) ประธาน

สหภาพการบริการ SEIU ประธานสหภาพแรงงาน UNITE และประธาน

สหภาพแรงงานโรงแรม ถูกจับกุมพรอมดวยแกนนําอีกกวา 200 คน ในวัน

ที่ 13 กนัยายน 2546 เพราะรวมกันประทวงชวยการตอสูของคนงานมหา

วิทยาลัยเยลล

สําหรับคนงานในยุคการคาเสรีแหงทุนนิยม หรือเรียกวา “ยุคเสรี

นิยมใหม” เราไมสามารถชนะเลยถาทําตามกติกาที่นายจางขีดเสนใหเราเดิน

อํานาจเดียวที่เรามีคือจํานวน(คน) บวกกับความกลาหาญ เสียสละ และ

อดทน ท่ีพวกเรามีมากกวา และเงินซื้อไมไดหมด

เอกภาพ อิสระภาพ สมานฉันท

ประชาธิปไตย

เพ่ิมเติม เนื่องจากในชวงนี้เปนชวงที่โครงการรณรงคเพื่อแรงงานไทยรวมกับ

ACILS AMRC และสหภาพจีนาสัมพันธ รวมกันรณรงคใหบริษัทจีนา ฟอรม บราร

รับสมาชิกและกรรมการสหภาพรวม 38 คน กลับเขาทํางาน พรอมทั้งถอนคดีทั้ง

หลายใหหมด ขาพเจากับมีเรียม จึงใชโอกาสที่อยูนิวยอรค เขาไปที่รานวิกตอเรีย

ซิเคร็ท (Victoria Secret) ซึ่งเปนรานขายชุดช้ันในยี่หอนี้ที่ดังมากที่สหรัฐฯ (มี

บัตรสมาชิกใหกับลูกคาดวย) และเดินดูสินคาตางๆ ที่ขาย

เม่ือผลิกปายราคาและดูประเทศผูผลิต ก็เห็นวา แหม! ผลิตในหลาย

ประเทศมาก ท้ังฟลิปปนส ศรีลังกา บังคลาเทศ จีน แม็กซิโก ฯลฯ บางชุดนี่

ยกทรงผลิตในประเทศหน่ึง และกางเกงในผลิตจากประเทศหน่ึง เอาเขาไปซิ!

สําหรับสินคาท่ีผลิตในประเทศไทยที่ขายในรานในชวงนั้นมีไมมาก

คิดวาในชวงนั้นเปนชวงที่สินคาจากเมืองไทยไมมากเพราะการตอสูเพื่อสิทธิ

แรงงานของสหภาพ แตก็หาเจอจนได จึงไดซื้อชุดช้ันในที่ติดฉลากวา “Made in

Thailand” มามอบเปนที่ระลึกใหกับสหภาพจีนาสัมพันธ เพราะจากการทํางาน

รวมๆ กับพี่ๆ นองๆ จีนาสัมพันธนั้น ก็ทราบวาคนงานเกือบทุกคนที่ทํางาน

มากวา 10 ป ไมเคยมีชุดช้ันในที่ตัวเองผลิต เพราะราคามันแพงมากตัวละหลาย

รอยบาท จนถึงหลายพันบาท

ในการพูดคุยกับคนงานที่สหรัฐฯ เม่ือถามวา ”ใครมีชุดช้ันในวิกตอเรีย ซิ

เคร็ทบาง?” ก็มีการยกมือกันเยอะไปหมดเลย แมแตคนงานในสหรัฐฯ ก็ซื้อชุดช้ัน

ในราคาแพงแบบน้ีมาใสได แตคนงานที่ผลิตในประเทศตางๆ ทั่วโลกไมสามารถ

ซื้อสินคาที่ตัวเองผลิตมาใสได (ชุดๆ นี้เปนชุดในราคาปานกลางท่ีขายในราน

ราคาก็ยังตกอยูที่ประมาณ 32 เหรียญฯ หรอื 1,200 บาท)

ในโครงสรางการผลิตเพื่อปอนตลาดสงออกเสื้อผานั้น ไมวาจะเปนชุดช้ัน

ใน หรือเสื้อยี่หอดังตางๆ เม่ือไปขายในตลาดในยุโรปหรืออเมริกา ราคาจะแพง

มาก บางตัวราคาแพงเทากับคาจางข้ันตําครึ่งเดือนถึงหนึ่งเดือน แลวคนงานที่

ผลิตจะมีปญหาไปซื้อมาใสไดหรือ? มันจึงอยูในประเภทผูทําไมไดใช ผูใชไมมีจิตสํานึก คนรํารวยจึงเปนเจาของแบรนดเทานั้น วางั้นเถอะ!

Page 15: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

28 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 29

บันทึกจากยุโรป

ตอนท่ี 1

บรัสเซลล เบลเย่ียม17-18 พฤศจิกายน 2546

การปรึกษาหารือรวมของภาคประชาสังคมเอเชีย-ยุโรป หองประชุมของคณะทํางานสหภาพยุโรป

ตอนท่ี 2

เยอรมัน19-30 พฤศจิกายน 2546

รณรงคยุติความรุนแรงตอสตรี

Page 16: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

30 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 3130 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹�

จรรยา ย้ิมประเสริฐ, โครงการรณรงคเพื่อแรงงานไทย, ช้ีใหเห็นวาการผลิตตนทุนตําในประเทศไทยและในประเทศตางๆ ในเอเชียนั้นไดนําไปสูการทํางานในสภาพท่ีเลวราย เธอไดใหตัวอยางของคนงานท่ีถูกปรับเกือบเทาคาแรงหนึ่งเดือนเพราะกินมะนาวในท่ีทํางาน (ท่ีจริงเราบอกวาครึ่งเดือน, เล็ก) คนงานหญิงจะถูกเลิกจางเพราะทอง ฯลฯ โดยทั่วไปแลวการดําเนินการตรวจสอบมาตรฐานแรงงานของบรรษัทขามชาติไมประสบผลสําเร็จ คนงานมักจะถูกลอใจใหตองรวมมือในกระบวนตรวจสอบ และในขณะเดียวกันลูกคาของบรรษัทขามชาติไดหลีกเล่ียงการปฏิบัติตามดวยการซอนปญหามากมายไวเบื้องหลังโซการผลิตที่ซับซอน แมวาจะมีการออกใบรับรองมาตรฐานทางสังคม แตไมมีการบังคับใชอยางแทจริง ผูพูดไดเรียกรองใหมีการใหสรางจิตสํานึกและการรณรงคมากขึ้นในกระบวนการ ASEM เพ่ือปรับปรุงมาตรฐานแรงงาน ใหคนงานมีสวนรวมในกระบวนการตรวจสอบ และเปดพื้นที่ทางการเมืองใหคนงาน โดยเฉพาะแรงงานหญิงไดมีสวนรวม”

และไดนําขอเสนอของขาพเจาข้ึนมาเปนหนึ่งในขอเสนอ ดังนี้

Proposal 4: จรรยา เล็ก ยิ้มประเสริฐ ช้ีใหเห็นในส่ิงที่เธอเรียกวา “อํานาจที่ไมเทาเทียม” ของสหภาพแรงงานในยุโรปและเอเชีย เธอชี้วา มากวา 95% ของคนงานเอเชียยังไมไดเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน ซ่ึงทําใหสหภาพมีบทบาทนอยมากในการผลักดันผูมีหนาที่กําหนดนโยบายตางๆ การใหการสนับสนุนองคกรแรงงานในเอเชีย, เธอช้ีวา, เปนประเด็นที่จําเปนที่ตองถูกบรรจุอยูในวาระของ ASEM และคนงานท่ีทําอยูนอกระบบตางๆ นั้น ไมควรจะถูกมองวาเปนเหยื่อ เพราะพวกเขาตองการพื้นที่ทางการเมืองเพ่ือสรางทางเลือกของตัวเอง”

สหภาพยุโรป (European Union)การปรึกษาหารือรวมของภาคประชาสังคมเอเชีย-ยุโรป หองประชุมของคณะทํางานสหภาพยุโรป

สหภาพยุโรปเร่ิมดวยการรวมตัวของประเทศในยุโรป 15 ประเทศ บนความพยายามท่ีจะสรางความเขมแข็งรวมกันทางเศรษฐกิจในนามภูมิภาค ประกอบไปดวยประเทศ อังกฤษ ฝร่ังเศส เยอรมัน เบลเย่ียม อิตาลี สเปน โปรตุเกส ออสเตรีย เดนมารก สวีเดน เนเธอแลนด ฟนแลนด ลักเซมเบอรก ไอรแลนด และกรีซ1

เนื่องดวยมีการประชุม “เอเชีย-ยุโรป การปรึกษาหารือระหวางกลุมประชาสังคม” ท่ีจัดโดยสหภาพยุโรป (European Commissioner) ซ่ึงเล็กไดรับเชิญใหเขาไปนําเสนอปญหาในท่ีประชุมครั้งนี้ โดยมีผูเขารวมจากท้ังเจาหนาท่ีอียู ตัวแทนรัฐบาลตางๆ ท้ังในเอเชียและยุโรป 45 คน ตัวแทนบริษัทตางๆ และองคกรภาคประชาชน รวมท้ังหมดกวา 80 คน เวลาเราพูดถึงการประชุมเอเชีย-ยุโรปน้ันตองยอนไปที่เวทีการประชุม ASEM ซึ่งประเทศไทยเปนประเทศแรกท่ีเปนเจาภาพจัดการประชุมสุดยอดผูนําเอเชีย(อาเซียน + จีน ญี่ปุน และเกาหลีใต) กับ15 ประเทศในอียูเมื่อป 2539 ซึ่งคาดการณวาสาเหตุหนึ่งของการเจรจาการคาเอเชีย-ยุโรปในนาม ASEM น้ันเกิดขึ้นมาเพราะตองการทานอํานาจสหรัฐฯ ที่มีบทบาท

1 แดน กาลิน, ผูอํานวยการ สถาบันแรงงานโลก ไดชวยใหขอมูลเพิ่มเติมวา “ผมจะไมเรียกสหภาพยุโรปวา “สหภาพ” (เพราะอาจจะทําใหคนเขาใจผิดวาเปนสหภาพแรงงาน) แตจะเรียกวา “ชุมชน” หรือ “สมาคม” และมีประเทศเขารวมเพิ่มเปน 25 ประเทศ (10 ประเทศเพิ่งเขามาเปนสมาชิกปนี้ 2004, ไดแก เอสโทเนีย, ลัทเวีย, ลิธัวเนีย, โปแลนด ฮังการี สหพันธรัฐเช็ก, สโลวาเกีย สโลเวเนีย, มัลธา ไซปรัส) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://europa.eu.int”

Page 17: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

32 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 33

ในการประชุมสุดยอดผูนําทางความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟกหรือเอเปค (APEC) ซ่ึงอียูไมไดอยูดวย อียูไมอยากตกขอบจากการรวมแบงปนเคกการคา และผูนําเอเชียเอง ที่อยากจะมีสวนรวมเจรจาการคากับอียู จึงไดตกลงจัดประชุมภาคเอเชีย-ยุโรปข้ึนมาบาง ASEM พยายามสรางความแตกตางจากเอเปคดวยการบอกวา ASEM ไมไดเจรจาทางดานเศรษฐกิจเพียงอยางเดียวเหมือนเชนเอเปค แตมีการเจรจาสามเสา คือเสาทางการเมือง (Politic Pillar) เสาทางเศรษฐกิจ (Economic Pillar) และเสาทางสังคม (Social Pillar) โดยรัฐบาลในยุโรปและเอเชียจะผลัดกันเปนเจาภาพทุก 2 ป ไทยเปนเจาภาพในการจัดการประชุมครั้งแรกเม่ือเดอืนกุมภาพันธ 2539 คร้ังที่สองที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเม่ือปลายป 2541 คร้ังที่สามที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต ปลายเดือนตุลาคม 2543 คร้ังที่สี่ที่โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก เม่ือเดือนกันยายน 2545 และคร้ังที่หาจะจัดขึ้นที่กรุงฮานอย ประเทศเวียตนาม ในป 2547

ในทุกการประชุมของผูนําจะมีการประชุมภาคประชาชนคูขนานมาโดยตลอด ทัง้น้ีรัฐบาลในยโุรปมีทาทีทีเ่ปนมิตรกวารัฐบาลในเอเชยีตอองคกรภาคประชาชน จึงสนับสนุนงบประมาณในการจัดเวทีภาคประชาชนท้ังในอังกฤษ และในโคเปนเฮเกน (แตงบสวนใหญเปนงบที่สนับสนนุโดยองคกร และสภาแรงงาน) แตรัฐบาลเอเชียไมสนับสนุนงบประมาณ และมีมาตรการตางๆ มากมายท่ีจะทําใหเวทีภาคประชาชนอยูหางจากเวทีภาครัฐใหมากที่สุดท้ังเรื่องสถานท่ี ระยะเวลา และความกดดัน

อาเซมคร้ังที่ 5 ฮานอย2

แมวาจะมีความพยายามขององคกรในยุโรปที่เคยเปนเจาภาพจัดเวทีประชาชนเอเชีย-ยุโรป ที่จะติดตอรัฐบาลเวียตนามขอเขาไปจัดเวทีประชาชนคูขนานไปกับเวทีเจรจาของสุดยอดผูนํา แตปจจุบันยังไมเปนที่ตกลงเลยวาจะสามารถจัดเวทีภาคประชาชนในเวียตนามไดหรือไม สภาแรงงานแหงชาติเวียดนามบอกวารัฐบาลขอรองใหภาคประชาชนจัดกอนการประชุมภาครัฐ 3 เดือน “จัดกอนสามเดือน มันจะเรียกวาเวทีคูขนานไหมน่ี?” คงตองรอดูกันตอไป

เสียงคนงานกับเสียงทุนที่ประชุม EU, เบลเยี่ยม

ตัวแทนท้ังของอียู นักธุรกิจ สหภาพแรงงานและองคกรเอกชนไดมีสวนนําเสนอในเวทีนี้ดวย ที่นี่ขาพเจาไดนําเสนอภาพวงจรปศาจแหงทุนนิยม ที่หลายคนคงรูจักดี ซึ่งคิดวาเปนการนําเสนอท่ีแรงมาก และขัดแยงสุดโตงกับการนําเสนอของประธานบริษัทซัมซุงแหงยุโรป ที่นําเสนอวาบริษัทไดดําเนินกิจกรรมมากมายเพื่อแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและผูรวมงานท้ังสรางศูนยเลี้ยงเด็ก สงเสริมกิจกรรมพนักงาน และท่ีสําคัญไดมีกิจกรรมซ้ือลกูหมาแจก เพื่อเปนสัตวเลี้ยงใหกับคนพวกเขาดวย2 ASEM ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่ฮานอย ระหวางวันที่ 6-10 กันยายน 2547 จากการเขารวมงานครั้งนี้ ขอวิจารณที่ขาพเจามีตออาเซมคือ “ภาคประชาสังคมอาเซมเร่ิมดวย “ธงแดง” ของชาวสมัชชาคนจนที่มาประทวงผูนําอาเซมในการจัดประชุมครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ในป 2539 ไดกลายเปนการเดินบน “พรมแดง” ท่ีเวียตนาม เพราะรัฐบาลเวียดนามคุมเขมทุกดาน ท้ังมีการระบุวา “หามมีปายประทวง หามคนที่ไมไดมาจากประเทศท่ีเขารวมประชุมเขา และหามเดินขบวน” กิจกรรมสวนใหญจึงจัดในหองประชุมโรงแรม งรองนายกรัฐมนตรีเปนผูกลาวเปดงานเลี้ยงตอนรับผูเขารวมประชุม

Page 18: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

34 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 35

คนงานท่ีไดชื่อวาเปนแมและพอในเมืองไทย ซ่ึงแนนอนวาตองมีคนงานบางคนท่ีผลิตสินคาใหซัมซุงในเมืองไทยดวยเชนกัน ที่ไมมีโอกาสแมแตจะไดอยูเลี้ยงลูกของตัวเอง ตองสงไปใหแม ปา นา อา หรือพี่นองเลี้ยงยังตางจังหวัดที่หางไกล และมีโอกาสกลับไปเย่ียมลูกไดเพียงปละไมกี่วัน จะเล้ียงลูกหมาเหรอ? ลูกตัวเองไมไดเล้ียง เล้ียงลูกหมาแทนก็แลวกันนะ!

ตรงนี้มันจึงสะทอนความแตกตางชัดเจนทางวิธีคิดของผูบริหารกับความตองการของคนงาน และกลุมผูบริโภคในยุโรป เพราะผูบริหารตองการเพียงอยางเดียวในสภาพการแขงขันทางการคาที่รุนแรง คือการสรางภาพลักษณ ถึงแมวาจะไมสอดคลองกับความจริงก็ตาม ใคร(ลูกคา)ที่ไหนจะไปสนใจจริงๆ ละจริงไหม? เพราะถาคิดถึงยุโรป คนท่ีนี่เขาเล้ียงลูกเอง ไมมีใครสงลูกไปใหพอแมที่ตางจังหวัดเลี้ยง ถึงสงไปก็ไมมีพอแมที่ไหนมีเวลาเลี้ยงใหเพราะท่ีนี่สวนใหญเปนครอบครัวเดี่ยว ไมใชครอบครัวขยายอยางสังคมเอเชีย ขณะเดียวกันระบบประกันสังคมของหลายประเทศก็ไดใหสิทธิลาเลี้ยงดูบุตรผลัดกันไดคนละปทั้งสามี-ภรรยา โดยมีเงินเดือนและเงินประกันการวางงาน เพราะฉะน้ันการไดรับแจกลูกหมาจึงเปนเรื่องนายินดีจริงไหมคะ อุมลูกจูงหมาเดินสวนสาธารณะ โกไมหยอกจริงไหม

เฮอ! ขาพเจาคิดเพี้ยนนอกกรอบอยูคนเดียว หรือวาสังคมมันเพี้ยนมากขึ้นเรื่อยๆ ก็ไมรูซิเนี่ย!!!

เยอรมัน รณรงคยุติความรุนแรงตอสตรี

หลังจากจบการประชุมเอเชียยุโรป ขาพเจานั่งรถไฟออกจากกรุงบรัสเซล เมืองหลวงของเบลเย่ียม เพ่ือเดินทางมายังเมืองโคโลญจ เมืองนําหอม ของเยอรมันนี ใชเวลาบนรถไฟประมาณ 2 ช่ัวโมง เพราะโคโลญจอยูไมไกลจากเบลเย่ียมเทาไร

การไปเยอรมันครั้งนี้ตามคําเชิญขององคกรแตรเดเฟมส (Tarre Des Femmes) ซ่ึงเปนองคกรผูหญิงในเยอรมัน ที่มีเครือขายทั่วประเทศ เพื่อเขารวมกิจกรรมเทศกาลรณรงคสัปดาหของการยุติความรุนแรงตอผูหญิง

หลายคนคงทราบดีวาวันที่ 25 พฤศจิกายน ของทุกป ถือเปนวันยุติความรุนแรงตอผูหญิง องคกรแตร แด เฟมส มีคําขวัญของชวงสัปดาหรณรงคครั้งนี้วา “ fashion, power, women’s rights” แปลวา “แฟชั่น อํานาจ สิทธิสตรี” ซึ่งสมาชิกของแตร เด แฟม ตามเมืองตางๆ จะยกธง “วันยุติความรุนแรงตอเด็กและสตรี 25 พฤศจิกายน” ขึ้นสูยอดเสานับตั้งแตวันที่ 22 พฤศจิกายน เปนตนไปเปนเวลาหน่ึงสัปดาห

ซาบรินาตัวแทนแตรเดเฟมส ในเมือง Sprochovel บอกวามีธง 2,300 ผืนที่จะถูกชักขึ้นเสาในชวงสัปดาหรณรงคครั้งนี้

สมาชิกในเมืองตางๆ ท่ีมีความพรอมสามารถจัดกิจกรรมเพ่ือนําเสนอภาพปญหาที่คนงานหญิงในอุตสาหกรรมเคร่ืองนุงหมท่ัวโลกเผชิญอยู และไดเชิญคณุอานิฟา ทนายความหญิงจากประเทศเมซาโดเนีย (ประเทศเกิดใหมที่แยกออกมาจากประเทศยูโกสลาเวีย มีประชากรเพียง 2 ลานคน) และขาพเจาไปรวมพูดคุยถึงสภาพปญหาของแรงงานหญิงในอุตสาหกรรมเครื่องนุงหม โดยทั้งนี้องคกรไดทําใบประชาสัมพันธเกี่ยวกับขาพเจาและโครงการรณรงคเพื่อแรงงานไทย และพูดถึงการรณรงคที่ผานมาของโครง

Page 19: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

36 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 37

การฯ โดยเฉพาะกรณีของคนงานเบดแอนดบาธ เพราะเปนกรณีรณรงคลาสุดของโครงการฯ

เรากลับไปอยูในยุคอาณานิคมใหมจริงๆ

การมาเดินสาย[ไมใชรองเพลงนะ] แตเปนการเดินสายพูดคุยกับสมาชิกขององคกรแตรเดเฟมส ในคร้ังน้ีใน 8 เมืองทั่วประเทศเยอรมันระหวางวันที่ 19-30 พฤศจิกายน 2546 ทําใหไดเห็นภาพของวิถีชีวิตของชาวเยอรมันซึ่งอาจจะพูดคราวๆ วาเปนภาพวิถีชีวิตของกลุมคนที่เราเรียกวา “ประเทศรํารวย” ไดชัดเจนย่ิงขึ้น การพูดคุยกับเพื่อนท่ีเยอรมันหลายคน โดยเฉพาะกับ ดร. เบธินา ที่รูจักกันมานาน เธอบอกวาขณะนี้รัฐบาลเยอรมันกําลังประชาสัมพันธใหประชาชนยอมรับวามันมีความจําเปนที่หุนสวนในบรรษัทตางๆ เรียกรองใหมีการลดการจางพนักงานของบริษัทลง และใชกระบวนการสงชวงตอการผลิต (Outsourcing) ซ่ึงรัฐบาลประชาสัมพันธวาเปนความสําเร็จทางการคา เพราะผูถือหุนก็จะไดเงินปนผลมากข้ึน เพราะลดคาใชจายเร่ืองการจางงานและสวัสดิการลง เบธินาพูดเยยหยันวา “มันขัดกับเมื่ออดีตนะ ที่บริษัทประชาสัมพันธวาการจางงานมากๆ ถือเปนความม่ังคั่งของบริษัท แตตอนน้ีรัฐบาลบอกวาการจางงานนอยคือความม่ังคั่งของประเทศ”

ขาพเจาตอบไปวา “ใช มันตลกรายส้ินดนีะเธอ” พรอมบอกวาบอกกับเบธินาวา “มันเหมือนกับการกลับไปสมัยอาณานิคมเลยนะ” ในสมัยอาณานิคม ประชาชนช้ันสูงในประเทศนักลาอาณานิคมทั้งหลาย เชน อังกฤษ ฝร่ังเศส เนเธอรแลนด แทบไมตองทํางาน เลนละคร แตงบทกวี เลนไปวันๆ เพราะท้ังประเทศหลอเลี้ยงและม่ังคั่งดวยทรัพยสินที่ถูกนํามาจากประเทศอาณานิคมจากท่ัวโลกจริงๆ

อังกฤษนั้นอยูไดเพราะอินเดีย ชาวอินเดียบอกวาตอนนั้นทรัพยากรจากอินเดียทั้งประเทศถูกนําไปเลี้ยงคนอังกฤษ 80% ขณะเดียวกันอินเดียกลับถูกหามผลิตเกลือ หามทอผาเอง เพราะเวลาเรืออังกฤษเดินทางกลับมาขนสินคาจากอินเดียไมควรจะกลับมาเรือเปลาจะตองขนอะไรมา ก็ขนเกลือ ขนผากลับมาบังคับขายใหชาวอินเดีย อยาลืมวาดินแดนส่ิงทอท่ียิ่งใหญๆ แรกๆ ของโลกในทางอุตสาหกรรมคือแมนเชสเตอรของอังกฤษ

คนไทยคงยากจะเขาใจความขมขื่นของการเปนอาณานิคมแตถาถามเพ่ือนเราชาวมาเลเซีย อินโดนีเซีย พมา หรืออินเดีย พวกเขาจะสามารถตอบไดชัดเจนย่ิง

ในยุคเสรีนิยมใหมทางการคาเชนปจจุบัน โครงสรางการดูแลที่รัฐในประเทศยุโรปหลายประเทศมีตอประชาชน ไมไดมาเฉยๆ แตไดมาดวยการตอสูมาหลายศตวรรษ ดวยการเสียเลือดเสียเนื้อของบรรพบุรุษนับหมื่นหรือนับลานคน แตเพียงศตวรรษเดียวที่เราปลดปลอยตัวเองออกจากอาณานิคมได เราก็ไดกลับเขาไปสูยุคอาณานิคมใหม แตไมใชการเขาไปครอบครองประเทศยากจนโดยรัฐอีกตอไป แตเปนการครอบครองของบรรษัทขามชาติ

โดยรัฐทําหนาที่ถากถางเสนทางไวให หรืออํานวยความสะดวกในรูปแบบการทําขอตกลงทางการคาที่จะเรียกวาพหุภาคีเชนองคการการคาโลก ขอตกลงระดับภูมิภาคเชน เอเปค(APEC) อาเซม (ASEM) หรือระดับทวิภาคี(คือการทําขอตกลงรายประเทศ ซ่ึงปจจุบันประเทศไทยทําขอตกลงประเภททวิภาคีกับหลายประเทศ (กวาสิบประเทศไปแลว) รวมท้ังอยูในระหวางการทําขอตกลงทวิภาคีกับสหรัฐฯ) เปนตน เพื่อเปนใบเบิกทางใหบรรษัทขามชาติของตัวเองเขามาเอาเปรียบประเทศยากจนตางๆ ท่ัวโลกอีกครั้งหนึ่ง โดยท่ียอมใหบรรษัทขามชาติยายฐานการผลิตจากยุโรปที่คาแรง

Page 20: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

38 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 39

สูงกวาไปยังเอเชีย อาฟริกา หรือลาตินอเมริกาที่คาแรงตํากวาหลายสิบเทา ทั้งน้ีรัฐยอมจายเงินประกันวางงานเล้ียงคนท่ีตกงานในประเทศตัวเอง ซ่ึงก็เพียงพอแคอยูไดเทานั้น

การขูดรีดจากประเทศท่ีมีกําลังอํานาจตอรองนอยกวาในทางเศรษฐกิจเชนที่เปนอยูนี้ มันก็ไมตางจากการเปนอาณานิคม แตตางกันวาอาณานิคมทางเศรษฐกิจไมตองใชอาวุธปน และใชความเหนือกวาทางเศรษฐกิจเปนอาวุธ –> มันงายกวา และดูชอบธรรมกวา พรอมทั้งไมตองลงแรงมากนัก และก็ไมทําใหคนในประเทศตางๆ รูสึกวาถูกปลน เพราะมันเปนกระบวนการท่ีมองไมเห็น (Invisible force)

แนนอนวารัฐในประเทศรํารวยไมสามารถจายคาชดเชยการวางงานไดตลอดไป จะเห็นไดวาเกือบทุกรัฐบาลในยุโรปเริ่มมีมาตรการมากมายท่ีจะยกเลิกกฎหมายคุมครองแรงงานหลายขอ โดยเฉพาะการเพ่ิมสิทธินายจางในการเลิกจางลูกจาง สิทธิที่รัฐจะทําอยางไรก็ไดกับกองทุนบําเหน็จบํานาญ(รัฐจะเอาเงินไปเลนหุน) และพยายามขอเลือนการเกษียรอายุออกไป (เปน 65 ถึง 69 ป) และลดการจายเงินประกันวางงาน กระนั้นก็ตามเงินประกันวางงานที่จายใหคนตกงานก็ไมมากพอเทากับเงินเดือน มันพอเพียงแคอยูไดแตไมไดอยูอยางสบาย ขบวนการประชาชนในยุโรปจึงเร่ิมประทวงมากข้ึน เร่ิมมีขบวนการคนวางงานลุกขึ้นมาเรียกรองสิทธิการทํางานในหลายประเทศ โดยเฉพาะในเยอรมัน กลุมคนวางงานมีความเขมแข็งและรวบตัวกันมากข้ึนเรื่อยๆ

“ไมใชคนที่เยอรมันทุกคนไดรับประโยชนจากการคา เรามีคนรวยเพียงกลุมนอยที่รวยมากข้ึนเร่ือยๆ ขณะเดียวกันคนจนก็เพิ่มจํานวนมากข้ึนเรื่อยๆ ในเยอรมัน” ซาบรินาบอกกับพวกเราในระหวางท่ีเราเดินเพื่อรําลึกวันยุติความรุนแรงตอสตรีและเด็ก

ทายที่สุด รัฐก็ไมไดตองการเล้ียงประชาชนคนจน แตหลอเล้ียงเพียงชนช้ันนําเทานั้นเอง ซึ่งในปจจุบันชนช้ันนําที่มีอํานาจคือพวกเลนหุน หรือมีหุนในบริษัทตางๆ หรือที่เราเรียกวา แชรโฮลเดอร (Shareholders) ซ่ึงกลายเปนกลุมอิทธิพลใหมที่มีบทบาทสําคัญยิ่งในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศจริงๆ ของทุกประเทศในโลก เบธินาบอกวางานที่เธอทําในปจจุบันถือเปนคร้ังแรกในชีวิตท่ีเธอไดงานทําเปนจริงเปนจัง และมีสัญญาการทํางานนานถึง 6 ป

เพ่ือนที่เปนลามที่อยูกับเราตลอดเวลา ช่ือเรจินา เธอเปนคนเบอรลินไดรับการศึกษาจากมอสโคว และใชชีวิตอยูในบัลแกเรียถึง 22 ป และเพิ่งกลับมาอยูในเบอรลินเมื่อสองปที่ผานมา เธอบอกวา “ฉันหางานท่ีตองการทํามาสองปแลวยังไมไดเลย ปจจุบันจึงตองทํางานอาสาสมัคร . . งานที่เยอรมันนั้นหายากมาก”

อออานิิิิิิิิฟฟฟฟฟฟฟฟฟา - เมสสสสาโโโโโโโโโโโดเนีีีีีีีียขอแนะนําประเทศเมสสาโดเนียหนอยนะคะ เพราะอีกหนึ่งของผูได

รับเชิญใหรวมในการพูดครั้งน้ีคือคุณอนิฟา ทนายความผูหญิงท่ีทํางานชวยเหลือคนงานหญิงในเมสสาโดเนีย

มีโครงการของธนาคารโลกที่เขาไปชวยใหทุนในการตั้งโรงงานและจางงาน 500 คน แตก็มีปญหา เพราะเปนคนงานที่ไดรับคาแรงตํา และถูกละเมิดสิทธิตางๆ มากมายใน Macedonia ประเทศท่ีเกิดใหมจากยูโกสลาเวีย (แยกเปน 6 ประเทศ) มีคนวางงาน 35% โรงงานสวนใหญจางงานประมาณ 100-300 คน 80% เปนแรงงานหญิง ทํางานวันละ 12-15 ชั่วโมง หลังจาก 8 ชั่วโมง จะไดกลับไปบาน 2-3 ชั่วโมงเพ่ือทํางานบานแลวกลับมาทํางานใหม ทั้งประเทศมีประชากรเพียง 2 ลานคน

Page 21: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

40 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 41

โคโลญจ 20 พฤศจิกายน

สาขาของแตรเดเฟมสในโคโลญจ ไดตั้งโตะในยานการคาท่ีพลุกพลานกลางเมืองโคโลญจเขตยาน Neumarkl ตอนบายสามโมง มีกลุมนักศึกษาประมาณ 20 คนเขารวมกิจกรรม และแสดงละครสะทอนปญหาแรงงานในโรงงานตัดเย็บเสื้อผา นักศึกษาจะยายการแสดงไปจุดตางๆ ท่ีมีคน รวมทั้งที่หนาราน Gap และ H&M และท่ีหนาราน Gap น้ี หลังจากแสดงจบแลว นักศึกษาอีกกลุมหนึ่งไดจะกระจายตัวกันเขาไปในราน เพื่อติดแผนพับ และเขาไปถือปายประทวง และก็ถูกฝายบริหารมาไลก็ออกมา ที่ราน H&M นั้นตกอกตกใจเกินไปหนอยถึงกับโทรเรียกตํารวจมา มากันถึง 4 คันรถ และไดนําตัวนักศึกษาสองคนไปสอบสวน แตนักศกึษายืนยันวาพวกเขาทํากันเอง ไมเกี่ยวกับองคกร จึงไดรับการปลอยตัวโดยไมมีการลงบันทึกประจําวัน การที่นักศึกษาถูกจับคร้ังนี้ สรางความต่ืนเตนพอสมควรใหกับผูจัดและนักศึกษา ทุกคนคิดวาบริษัททําเกินกวาเหตุ “เราทําอยางนี้ทุกป เมื่อสิบปที่แลวก็ทํา แตก็ไมเคยถึงขั้นกับตองเรียกตํารวจ” หนึ่งในสมาชิกกลาว ที่โคโลญจ นักศึกษาทําเส้ือยืดท่ีเขียนขอความวา “Made in Hell” แปลวา “ทําในนรก” โดยจะมีสัญลกัษณของเสื้อผาตางๆ แตเขียนดวยขอความท่ีตางจากท่ีบริษัทผลิตเสื้อผาเขียนไว

โตะกลมโคโลญจ

ในชวงเย็นเล็กและอนิฟาจากเมธาโดเนียไดรวมแลกเปล่ียนกับนักศึกษา และผูหญิงจากองคกรแตรเดเฟมส ขาพเจาถามผูเขารวมเสวนาท่ีเมืองโคโลญจวา

“ถาไมมีงานทําพวกคุณจะอดตายไหม? “ไมอดตายหรอก” หลายคนตอบพรอมกัน “ทําไมละ” ขาพเจาถาม“ก็รัฐบาลเล้ียง เรามีเงินวางงาน” หลายคนตอบ

ขาพเจาไดเลาใหผูเขารวมประชุมฟงวา คนงานในประเทศไทยจะลําบากมากเม่ือตกงาน เพราะเรายังไมมีประกันการวางงานท่ีจะทําใหทุกคนสามารถอยูไดโดยไมมีงานทํา และคนงานไทยอยูในวัฎจักรแหงหนี้สิน “วันที่เงินเดือนออก คนงานหลายคนจะมีเจาหนี้มายืนคอยท่ีประตูโรงงาน และก็ใชเงินในวันนั้นหมดไปกับคาใชจายของวีคหรือเดือนท่ีผานมา” จริงหรือไม?

“นื่คือหนึ่งในสาเหตุที่นํามาสูความผิดพลาดของการตรวจสอบจรรยาบรรณแรงงานของบรรษัทขามชาติ เพราะคนงานอยูในความกลัวทั้งกลัวฝายบริหารวา กลัวโดนไลออก ถาบอกความจริงกับลูกคา ขาพเจายําในที่ประชุมวันนั้นวา ถาจะชวยคนงานในประเทศยากจนจริงๆ พวกเขายังจะตองทํางานรณรงคกับบรรษัทขามชาติที่จริงจังมากกวานี้มากนัก!

Page 22: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

42 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 43

Hilden and Sprockhovel ไวนอุนๆ น่ีอรอยดีนะ!

ถาจะเลาแตปญหาอยางเดียวทุกคนก็อาจจะไดภาพที่บิดเบ้ียวไดเชนกัน ดังนั้นในชวงกิจกรรมท่ีจัดขึ้นท่ีเมือง Sprockhovel ซ่ึงเปนชุมชนทางทิศตะวันตกของประเทศและถือวาเปนเมืองขนาดเล็กมีประชากรประมาณ 20,000 คน เปนเมืองที่มีฐานะดี งานเร่ิมดวยการเชิญทานนายกเทศมนตรีของเมืองมารวมชักธง “วันยุติความรุนแรงตอสตรีและเด็ก 25 พฤศจิกายน” ขึ้นสูเสา หลังจากนั้นพวกเราก็เดินตามทางเดินเพื่อจะขามไปอีกหมูเมืองหนึ่ง ทางเดินนี้เปนทางเดินประวัติศาสตรเพราะเปนทางเดินที่คนงานเหมืองถานหิน (ซ่ึงปจจุบันหมดไปแลว) และชาวเมืองใชเปนชองทางเดินไปทํางาน และเดินไปมาระหวางสองเมืองเล็กๆ นี้ เราเห็นรองรอยของการตัดชองหินที่ตะไครขึ้นเขียวคร้ึม เจาภาพบอกวา ประชากรทั้งสองเมืองนี้ไมถูกกันเทาไหร

พวกเราไดพักด่ืมไวนตมเองของเกษตรกรที่เมือง (เสียดาย! จําชื่อเมืองไมได พยายามหาโบรชัวรที่นํากลับมาดวย แตเอกสารเยอะมากเลย จึงหามันไมเจอ) ครอบครัวนี้ทําฟารมของตัวเองเปนฟารมเปดรับนักทองเท่ียวดวย วันนั้นมีเด็กและผูปกครองมาสัมผัสชีวิตในฟารมในชวงวันหยุดเยอะทีเดียว เด็กๆ พากันใหอาหารวัว ปนตนไม ในระหวางท่ีผูปกครองก็จะนั่งรอดวยการคุยและด่ืมเครื่องดื่มรอนๆ ซึ่งขายโดยภรรยาเจาของฟารม มีทั้งโกโกรอนๆ สําหรับเด็กๆ กาแฟสําหรับผูใหญ และที่สําคัญจุดขายคือไวนตม

อุนๆ แสนอรอย ดีกรีไมแรงนัก ที่เจาของบานทําเอง ดื่มแลวชื่นใจเหลือหลาย และรูสึกสดชื่นพรอมกับรางกายท่ีอุนคลายหนาวข้ึนมาไดบาง ด่ืมแลวคิดถึงเพ่ือนๆ นักดื่มทั้งหลายในเมืองไทยจริงๆ

ฮัมบรูกซ323 พฤศจิกายนเพ่ิงรูวามีวันรําลึกถึงความตาย( Day of the dead) ท่ีเยอรมัน4

ในวันอาทิตยที่ 23 พฤศจิกายน พวกเราตองออกเดินทางเพ่ือไปไปพูดท่ีเมืองฮัมบรูกซ ซึ่งอยูทางตอนเหนือของเยอรมัน เราอยูในชวงเวลาเรงรีบอีกแลว จริงๆ ทริปนี้ เปนทริปที่ทรหดมาก และทุกคนไมคอยมีเวลาแมแตจะทานอาหารเปนเรื่องเปนราว

อีกเชนเคย พวกเราไปถึงฮัมบรูกซ กอนกําหนดการประชุมเพียงแค 2 ชั่วโมง และมีเวลาเพียงหนึ่งชั่วโมงในการทานอาหารคําท่ีบาน ดร.กิซารา เจาภาพจัดกิจกรรมท่ีฮมบรูกซ และพวกเราจะพักที่บานเธอคืนนี้

บานอาจารยกิซารานี่ เปนบานของนักวิชาการจริงๆ เกือบทุกพื้นที่เต็มไปดวยหนังสือ งานศิลปะ และรูปภาพมากมาย

สามีของ ดร. กิซารา เปนศาสตราจารยดานภาษาศาสตรที่เกษียร3 คุณแดน ใหขอมูลเพิ่มเติมวา ฮัมเบริ์ก เปนเมืองที่ใหญอันดับสองในเยอรมัน เบอรลิน(เมืองหลวง) เปนเมืองที่ใหญที่สุดมีประชากร 3,275,000 คน ฮัมเบิรกยังเปนทาเทียบเรือที่ใหญที่สุด มีประชากรมากเปนอันดับสอง 1,686,100 คน เมืองที่ใหญอันดับสามคือมูนิกซ ท่ีมีประชากรกวาลานคน โคโลจนอันดับส่ีมีประชากรลานคน และไลซิกซอยูอันดับ 14 ประชากร 486,100 คน4 ดร. กิเซลา ไดชวยใหขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับวัน “รําลึกความตาย” ท่ีเยอรมันวา เปนวันที่คน(สวนใหญเปนคนแกและคนเครงศาสนา) จะไปท่ีสุสานและวางดอกไมบนหลุมศพเพื่อรําลึกถึงผูเสียชีวิต พอ แม พี่ นอง สามี หรือบุคคลในครอบครัว แตไมมีใครเชื่อวาวิญญาณจะกลับมาเยี่ยมในเวลาคําคืน

Page 23: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

44 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 45

อายุ ไดทําอาหารอินเดีย และหุงขาวเตรียมตอนรับพวกเราดวย สําหรับคนอดโซเชนขาพเจา มันเปนอาหารม้ือที่สุดแสนจะอรอย ทุกคนตาโตเม่ือเห็นขาพเจาหยอดซอสพริกของเม็กซิโกที่มีเกือบคร่ึงโดยไมบันยะบันยัง และก็ทานขาวเกือบครึ่งโถคนเดียว - โดยไมเกรงใจเจาภาพ!

หลายคนท่ีไมเคยอดขาวหลายวันคงไมรูสึกถึงความรูสึกวา สวรรคมีจริงเวลาไดทานขาวเหยาะซอสพริกกับผักสดแนๆ เชียว ขาพเจายํากับนองๆ คนงานเสมอเวลาไปประชุมตางประเทศวา “เอานําพริกปลายางกับบะหมี่สําเร็จรูปติดตัวไปหนอยก็ดีเนอ!”

ดร. กิซาราบอกวาดวยวันนี้เปนวันรําลึกถึงบรรพบุรุษ ทําใหมีคนเขารวมประชุมนอยกวาที่คิด ขาพเจาฟงมา (แบบกระทอนกระแทน) เพราะคนมีความเช่ือวาวันนี้ วิญญาณบรรพบุรุษจะกลับมาเย่ียมบาน คนสวนใหญจึงไมออกจากบานยามคําคืน จึงทําใหผูเขารวมงานนอยกวาท่ีประมาณการมากนัก แตบรรยากาศการพูดคุยในโบสถ และผูเขารวมสวนใหญที่นี่ เปนชาวคริสตสูงวัยที่จูงมือกันมาทั้งสามีภรรยา ก็ทําใหบรรยากาศการพูดคุยมีมนตขลังทีเดียว

สําหรับคนท่ีกลัวผีอยางหนกั คงนอนที่หองใตดินของบานนี้ลําบากแนนอน และโดยเฉพาะในวันคืนถิ่นของวิญญาณบรรพบุรุษดวยแลว บรือส!ทั้งนี้เพราะหองใตดินท่ีขาพเจาพักนี้เรียกวาเปนหองเก็บของเกาก็วาไดคะ เต็มไปดวยหนังสือเกาๆ มากมาย มีรูปปนตั้งกองหลายรูป ที่นากลัวสุดคือเปนหองเก็บหนากากมากมายจากหลายประเทศ และภาพเขียนเกาๆ หลายภาพ พรอมกับกลิ่นอับๆ ของหองที่ไมคอยโดนแดดสอง ก็ดูวังเวงแลวหละคะ แตคิดวาขาพเจาคงเหน่ือยๆ สุดๆ จึงหลับเปนตายโดยไมมีใครมาสะกิดยามคําคืน รอดตัวไปคะ….บรือส! (พออาจารยกิซารา อานถึงตรงน้ีที่ก็คิดวาเปนจริงเปนจังวาสงขาพเจาไปนอนหองใตดิน จริงๆ ขาพเจากลับชอบมากที่ไดนอนหองที่มีบรรยากาศขลังๆ แบบน้ี . . ตื่นเตนดี!)

เบอรลิน24 พฤศจิกายน

กวาสัปดาหของการเรรอนเดินทางเกือบทุกวัน และมีเวลานอนหลับเพียงวันละไมกี่ชั่วโมง ก็ตองต่ืนอาบนํา จัดกระเปา ทานอาหารเชาอยางเรงรีบ และว่ิงขึ้นรถไฟ บางวันกวาจะพูดจบก็กวา 4 ทุม 5 ทุม ก็เลยเวลาอาหารเย็นแลว พวกเราก็เลยไมไดทานอาหารเย็นกัน เปนอยางนี้เกือบตลอดเวลาของการเดินสายท่ีเยอรมัน ทําใหรางกายขาพเจาซึ่งเปนคนไมคอยแข็งแรงเปนทุนเดิมอยูแลว ออนลาพอสมควร ถึงแมวากําลังใจ และจิตวิญญาณของจะยังแข็งแกรงอยูก็ตามที ดังนั้นพอขึ้นรถไฟจากฮัมบรูกซจะไปเบอรลิน เมืองหลวงของเยอรมัน ขาพเจารูสึกหนามืดเปนลม และอาเจียน บนรถไฟ หญิงวัยกลางคนท่ีนั่งตรงขามผูมีนําใจ ไดยื่นทิชชูสงมาให [ซึ่งก็เก็บทิชชูซองนี้มาใชอยูจนถึงปจจุบัน]

นําใจเล็กๆ นอยๆ เชนนี้ ขาพเจาไดรับเสมอในการเดินทางไปประเทศตางๆ ไมวาประเทศยากจนติดอันดับโลก หรือวาหนึ่งในประเทศรํารวยท่ีสุดในโลกเชนเยอรมัน ตรงน้ีก็ทําใหมีกําลังใจเสมอ และความรักในมนุษยในฐานะท่ีเปนปจเจกชนก็พอกพูนขึ้นเรื่อยๆ ขาพเจาเชื่อวาปญหาท้ังหลายในสังคมไมไดอยูที่วามนุษยนั้นเลวราย แตหนึ่งในปญหามันเกิดจากแนวคิดทุนนิยมที่อยูบนฐานการแขงขันเสรีหรือประเภท “มือใครยาวสาวไดสาวเอา”

ลืมบอกไปวา ขาพเจาเดินทางไปเบอรลินคนเดียว เพราะอีกทีมแยกไปยังอีกเมืองหน่ึง

พอถึงเบอรลินตอนบายโมง ก็มองหาสาวผมแดงตามท่ีผูจัดบอกมา (ซึ่งขาพเจาคิดวาเปนเด็กนักศึกษาอาสาสมัครที่ตัวแทนขององคกรที่เบอรลินสงมารับ) เห็นเด็กสาวผมแดงหลายคนผานไป แตก็ไมเห็นมีทีทาวา

Page 24: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

46 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 47

จะเดินตรงมาทักขาพเจาเลย รําๆ วาจะเดินไปทักเด็กสาวคนหน่ึง ก็มีหญิงวัยกลางคนผมแดงมาสะกิด “คุณคือเล็กใชไหมจะ?”

สุดประหลาดใจเพราะผูมารับก็คือหญิงวัยกลางคนผมแดง ทราบช่ือที่หลังวาปาอิงกริดส คุยกันไปคุยกันมาก็ทราบวาคุณปาท่ีขาพเจาประมาณการณวาอายุคงไมเกิน 50 ป เอาเขาจริงๆ คือครูเกษียร อายุ 67 ป

แตคุณปาของเราสุดทันสมัยคะ และแข็งแรงกวาขาพเจาในเวลาน้ันเยอะเชียว ปาอิงกฤดสวางแผนวาจะพาขาพเจาตระเวนดูเมืองเบอรลินกอนกําหนดเวลาพูดคือ 1 ทุม

ถึงแมวาเบอรลินจะเปนเมืองในฝนท่ีอยากจะเท่ียวดูก็ตามที แตดวยความเหน่ือยลาจากการเดินทาง และเม่ือนึกถึงหนาท่ีที่ตองทําในตอนเย็นแลวก็คิดวาถาตระเวณดูเมือง คงจะตองลมพับแนนอนในตอนเย็น ก็เลยตัดใจ บอกคุณปาอิงกริดส วา ”ขอนอนพักผอนกอนดีกวาคะ” ซึ่งทําใหคุณปาใจแปวไปพอสมควรเพราะต้ังใจดูแลแขกเต็มที่ ระหวางเดินไปตอรถไฟเพื่อไปพักผอนที่บานปาอิงกริดส ตาก็สอดสายไปเห็นรานผลไม ไมรีรอร่ีเขาไปซื้อผลไม ไดองุนมาคร่ึงกิโล (อยาถามราคานะคะ เพราะเราอยูในอัตราแลกเปล่ียนยูโร และคาครองชีพของเยอรมัน) -- อาจเพราะนิสัยคนไทยนะ เวลาเหน่ือยหรือไมสบายก็อยากจะทานแตของรสเปร้ียว -- เดินไปไดอีกหนอยก็เห็นรานขายอาหารจีนริมถนน ก็รีบรี่เขาไปส่ังขาวราดผัดผัก พรอมใสพริกจนคนขายตาโต วันนั้นทั้งวันก็อยูไดดวยองุนและขาวท่ีมากจนแบงทานไดถึงสองม้ือ อาการเวียนหัวจึงดีขึ้น และสามารถรวมกิจกรรมกับกลุมผูหญิงเบอรลินไดในตอนเย็น นอกเรื่องนิดหนึ่งนะ ท่ีเยอรมันนั้นคนขายอาหารเอเชียสวนใหญเปนคนเวียตนาม โดยเฉพาะท่ีเยอรมันตะวันออก เพราะคนเวียตนามเขามาในเยอรมันตะวันออกสมัยเปนคายคอมมิวนิสตดวยกันและอยูกันมาจนถึงปจจุบันและกลายเปนคนเยอรมันไปแลว

ปาอิงกริดส “ฉันจะบอกคนไทยเก่ียวกับคุณดวยนะ” ขาพเจาบอกกับคุณปาอิงกริดส หลังจากท่ีรูจักกันมากข้ึน และไดรับรูเรื่องราวของคุณปา ปาอิงกริดสพักอยูตามลําพังคนเดียว ในอพารตเมนที่เชาโดยเงินบํานาญ อยูไดอยางสบายๆ อพารตเมนตปาอิงกริดสสวยมาก ประดับตกแตงดวยเคร่ืองประดับที่นํามาจากหลายประเทศท้ังในอาฟริกา (ซ่ึงคุณปาไปทํางานอาสาสมัครสอนหนังสืออยูหลายป) และอเมริกาใต อาชีพหลักของปาอิงกริดสกอนเกษียรคือครูสอนภาษาอังกฤษ ปาเปนคนเบอรลิน แตทุกคนในครอบครัวเสียชีวติเพราะสงคราม คุณปาและเพ่ือนตัดสินใจหนีขามไปเบอรลินตะวันตกเม่ืออายุ 18 และก็เรียนหนังสือที่นั่น พบรักที่นั่น กําเนิดลูกสาวคนเดียวที่เยอรมันตะวันตกเชนกัน จนเม่ือการแตงงานผานไป 5 ปก็ถึงเวลาแหงการยุติ คุณปาหอบลูกสาวตัวนอยไปสอนหนังสืออยูที่สเปนหลายป และเม่ือกลับมายังเยอรมันอีกครั้งหนึ่งก็ทํางานสอนหนังสือเชนเดิม และก็ใชชีวิตโสดมาจนบัดนี้คะ “ฉันมีคนรักหลายคนนะ” “แตฉันไมชอบใชชีวิตอยูกับใคร ชอบอยูคนเดียว มันสบายกวากัน” คุณปาสดุซาสรีบบอกกลัวจะตกเทรน ปจจุบันนี้คุณปาติดตอกับเพื่อนๆ และลูกสาวดวยการใชอีเมล (ทันสมัยเสียไมมีละคะ) และทํางานอาสาสมัครใหกับหลายองคกร โอ เค เรารูจักชีวิตคุณปาอิงกริดสแลว นาสนใจใชไหมคะ?

นักศึกษาประทวงไมเรียนหนังสือ 3 วัน

ในระหวางการอยูบนรถไฟเพื่อไปยังสถานที่ประชุม เราจะเห็นเด็กหนุมสาวคอนขางเยอะ คุณปาอิงกริดสเลาวา “นักศึกษาในมหาวิทยาลัย

Page 25: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

48 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 49

ทั่วเบอรลินอยูในระหวางการหยุดเรียนประทวง 3 วัน เพื่อไมใหรัฐตัดงบการศึกษา โดยรัฐอางวาไมมีงบประมาณ ซ่ึงนักศึกษาก็ประทวงกันหนัก มีการเดินขบวนไมเห็นดวยกระจายท่ัวไป และก็หยุดเรียนประทวง”

สําหรับพวกเราคงเขาใจปรากฎการณนี้ดี เพราะอาจารยและนักศึกษาในประเทศไทยก็เริ่มประทวงไมใหรัฐแปรรูปการศึกษาเชนกัน

ทั้งนี้ในมุมมองทางเศรษฐกิจเสรีนิยมใหมนั้น นักเศรษฐศาตรตางก็แนะนําใหรัฐแกปญหาการเงินดวยการลดคาใชจายดานสวัสดิการสังคม เพิ่มภาษี ผลักภาระใหผูบริโภค โดยใหกลไกตลาดเปนตัวควบคุมทิศทางเศรษฐกิจของประเทศ ไมใชรัฐอีกตอไป ซึ่งทุนบอกวาการที่จะทําอยางนี้ได รัฐตองแกปญหาหน้ีสินที่ มีมากมายกอน ดวยการลดคาใชจายในเร่ืองคาจาง สวัสดิการของขาราชการทั้งหลาย รัฐตองแปรรูปกิจการท่ีไมเกิดผลกําไรที่ตองใชเงินอุดหนุนจํานวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาและการรักษาพยาบาล พรอมทั้งรีบชําระหน้ีสินทั้งหลายดวยการระดมเงินกอนใหญผานทางการขายทรัพยสินท่ีมีมากที่สุดในประเทศ น่ันก็คือทรัพยสินของรัฐวิสาหกิจกวา 60 แหงที่รัฐมี - นี่คือวิธีคิดกระแสหลักของนักเศรษฐศาสตร ท่ีมองเงินเปนที่ตั้ง ไมใชมนุษยเปนที่ตั้ง ประชาชน นักวิชาการฝายกาวหนาท้ังหลายจึงเกิดปญหาของการตองหามาตรวัดตัวใหมที่สามารถทัดทานวิธีคิดแบบทุนสุดโตงท่ีนักเศรษฐศาสตรกระแสหลักเหลานี้แนะนาํ ที่อยูบนฐานของมนุษยมากกวาฐานของหุนและเงิน และน่ันจึงเปนสาเหตุที่คนงาน และประชาชนในหลายประเทศทั่วโลกถึงไดตอตานการขายรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะท่ีเก่ียวกับการดํารงชีวิต

ประปา นํา ไฟ รถไฟ โทรศัพท ขนสง เปนตน

กลุมผูหญิงที่เบอรลิน การพูดคุยกับนักกิจกรรม นักศึกษา ผูหญิงลวนรวม 20 คนท่ีเบอรลิน เปนการพูดคุยที่ประทับใจที่สุด ทีหลังจึงมาทราบวาเบอรลินเปนเมืองท่ีคนตื่นตัวเรื่องการเมืองมากท่ีสุดในเยอรมัน สวนมากเปนนักกิจกรรมหญิงวัยสาวที่มีความมุงมั่นและกระตือรือรนที่จะรับทราบปญหา และหลายคนยังเปนนักกิจกรรมอยูเลย มีนักศึกษาคนหน่ึงท่ีสนใจซักถามมากท่ีสุด และเปนนักกิจกรรมดวย บอกวา “พรุงนี้ฉันกับเพื่อนๆ จะไปประทวงท่ีรานขายเส้ือผาที่กรุงเบอรลิน” นักศึกษาและนักกิจกรรมหลายคนมารวมตัวกันที่สํานักงานของตัวแทนแตรเดเฟมส ที่เบอรลิน โดยแตละคนจะนําอาหารท่ีทําเองบาง ซื้อมาบาง มาทานรวมกัน ตามสไตลขาวหมอแกงหมอ แตที่นี้จะเปนพวกคุกกี้ ขนมปง สลัด ของทอดตางๆ ซ่ึงจะทานรวมกันหลังจากการเสวนาจบแลว ผูจัดงานเขาใจผิด คิดวาเล็กเปนอดีตคนงานตัดเย็บเสื้อผา และขาพเจาก็คงจะภูมิใจมากเลยถาไดเติบโตมาจากการเปนคนงานตัดเย็บเสื้อผาจริงๆ เพราะคงจะสามารถพูดไดอยางเต็มความภาคภูมิถึงสภาพปญหาตางๆ ไดมากกวาการพูดในนามของอดีตนักกิจกรรมนักศึกษา และ NGO ซึ่งถูกทําใหมีภาพลักษณยําแยลงทุกทีในสายตาประชาชน เพราะไมเขาใจการทํางานของเรา ที่นี่เราโฟกัสการพูดคุยไปท่ีเรื่องราวสภาพปญหาที่คิดวาเปนปญหาที่คนในสังคมไทยและสังคมโลกยังไมคอยพูดถึง เพราะเปนปญหาที่ไมสามารถตีคาไดทางเศรษฐกิจ คือปญหาเร่ืองท่ีผูหญิงในปจจุบัน – ดวยภาระหนักท่ีตองสรางรายไดทางเศรษฐกิจในการดูแลพอแม พี่นอง (สวนมากผูชาย) และการไดเห็นปญหาความแตกแยกในครอบครัว และปญหาความ

Page 26: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

50 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 51

ไมรับผิดชอบครอบครัวของผูชายไทยจํานวนมาก ทําใหคนงานหญิงไมตองการมีครอบครัว (เสียงสะทอนนี้รับกองกันไปตั้งแตไทย เขมร และอินโดนีเซีย) เพราะไมสามารถแบกรับภาระบนบาเพ่ิมไดกวานี้อีกแลว และอีกปญหาคือการท่ีผูหญิงไมมีโอกาสเล้ียงดูลูกวัยเล็กๆ ต้ังแต 2-3 เดือนเปนตนไป ทําใหเกิดปญหาเร่ืองสุขภาพจิตสูงมากท้ังแมและลูก ซ่ึงตรงน้ีจะสงผลตอคุณภาพชีวิตของอนาคตของประเทศชาติ ที่ไมคอยมีใครพูดถึงเลย เพราะคุณคาเร่ืองเงิน และเศรษฐกิจ ไดถูกทําใหมันมากลบหรือแทนคาเรื่องความอบอุน ความรัก และการโอบกอด ไปแลว แมวาลึกๆ ในดวงใจของมนุษยทุกคนนั้นจะแสวงหาความม่ันคงทางจิตใจเทาเทียมกับความม่ันคงทางเศรษฐกิจ

หลายคนนิ่งอึ้งกับสิ่งที่ไดยิน และซักถามปญหากันยาวเหยียด ขาพเจาจบการพูดที่เบอรลินวา “การจะลุกขึ้นมาเปนผูหญิงที่ขบถ และทํางานไดอยางปจจุบันนั้น ตัวขาพเจาเองนั้นก็ไดผานความเจ็บปวดมามากมายเชนเดียวกับผูหญิงทั่วไป ตองตอสูกับแนวคิดเร่ืองหญิงชายในสังคมไทย ถูกทํารายในครอบครัวมายาวนานหลายป จนถึงขั้นจะลุกข้ึนมาใชมีดตัดสินความรุนแรง และในวินาทีแหงหัวเลี้ยวหัวตอนั้นก็ไดสติวา “ถาใชมีดก็คงตายหรือไมก็ติดคุก” และเลือกที่จะไมใชความรุนแรง แตหนีออกมาจากความรุนแรงเสียเอง ดังนั้นสิ่งที่เชื่อมาตลอดคือ ..

เราคือผูกําหนดชะตากรรมของตัวเอง ดวยการเลือกทางเลือกเดินที่สรางสรรค และไมใชเพื่อตัวเองเทานั้นแตเพื่อคนอ่ืน และสังคมดวย

และเม่ือคิดกลาทํา มันจะมีทางเลือกใหเราอยูเสมอ”

ไลซิกก (Leipzig)25 พฤศจิกายน ผูจัดบอกวา ไลซิกก เปนเมืองใหญอันดับสอง (ในซึกเยอรมันตะวันออกเดิม) รองจากเบอรลิน เปนเมืองของการตอสู จึงถูกเลือกใหเปนเมืองหลักในการจัดกิจกรรมวันที่ 25 พฤศจิกายน วันยุติความรุนแรงตอเด็กและสตรี ที่นี่พวกเราไดพบกับคณะกรรมการขององคกรแต เด แฟม และเจาหนาท่ีขององคกรหลายคน ท่ีเดินทางมาจากสํานักงานในเมืองทูบินกินส ซึ่งอยูทางตะวันตกเฉียงใตของเยอรมัน

“ตุม แต็ก ตุม ตะลุม ตุม แต็ก”

กลองและเคร่ืองตีหลากหลายช้ินจากนักดนตรีหญิงลวน 5 คน ที่ดังเราใจของผูหญิงชายกวา 100 คนท่ียืนครึ่งวงกลมหนาจวนผูวาแหงเมืองไลซิกก ไตถูกจุดสงตอกันไปเร่ือยๆ ทําใหบรรยากาศยามโพลเพลของเมืองหวานละมุนดวยแสงไต นายกเทศมนตรีของเมืองกลาวเปดงาน และไดกลาวถึงความสําคัญของการตระหนักถึงความยากลําบากท่ีผูหญิงตองเผชิญ และผลกระทบท่ีผูหญิงตองแบกรับอันเนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน โดยไดกลาวหวงใยเปนพิเศษตอปญหาความรุนแรงในครอบครัวที่มีเพิ่มมากข้ึน นานๆ ไดฟงนักการเมืองชายกลาวประเด็นเร่ืองปญหาผูหญิงไดอยางมีเหตุผลอยางนี้เสียทีก็ยิ่งรูสึกอยากเห็นนักการเมืองชายเมืองไทยสามารถมีความเขาใจปญหาผูหญิงไดอยางลึกซึ้งจริงๆ และเร่ืองปญหาผูหญิงในบานเราหลุดพนไปจากเร่ืองสิทธิทางนามสกุล หรือเรื่องสิทธิการมีภรรยาหลายคนของนักการเมือง หรือเรื่องเมียนอยนักการเมืองดังปูทางสูชื่อเสียงดวยการเขียนเรื่องความสัมพันธของตัวเอง

Page 27: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

52 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 53

มาสูประเด็นของการเขาใจถึงเร่ืองโอกาสของผูหญิงในการเขาถึงสิทธิตางๆ อยางเทาเทียมกับชาย ทั้งสิทธิทางกฎหมาย สิทธิทางเศรษฐกิจ และสิทธิทางสังคมและครอบครัว ตลอดจนการยุติการกดข่ีขูดรีดแรงงานหญิงเพราะความออนดอยกวาทางสรีระหรือเพศ เฮอ! เร่ืองนี้ยังเปนเร่ืองที่ตองสรางจิตสํานึกรวมทั้งหญิงและชายกันอีกหลายป เพราะผูหญิงจะสามารถมีความสุขไดจริงๆ น้ันตองไดรับการเขามารวมตอสู และแกไขปญหาของผูชายดวย ลําพังผูหญิงเพียงฝายเดียว โดยท่ีผูชายยังไมไดเปลี่ยนจิตสํานึกนั้นคงไมสามารถแกปญหาตางๆ ท่ีผูหญิงเผชิญอยูในขณะน้ีได

Chemnitz- เมืองคารล มารกเรายังอยูในเยอรมันตะวันออก

สําหรับคนที่เปนแฟนมารก คงชอบเมืองนี้เพราะเมืองนี้เปนเมืองที่ตั้งอนุสาวรียคารล มารก ขนาดใหญ และชื่อเมืองก็ไดเปลี่ยนเปนชื่อมารกเมื่อเยอรมันตะวันออกผนวกรวมกับคายคอมมิวนิสต แตตอมาเม่ือกําแพงเบอรลินถูกทลาย โลกคอมมิวนิสตสลาย ชาวเมืองนี้ก็ขอเปล่ียนชื่อเมืองกลับเปนชื่อเคมนิสซ ซ่ึงเปนชื่อเดิม แตก็ลงมติวาจะเก็บอนุสาวรียคารล มารกเอาไวตอไป แตไมแนเหมือนกันวาจะอยูไดนานแคไหนเพราะรัฐบาลเปนเสรีนิยมใหม และนําประเด็นทําลายรูปปนนี้มาพูดอยูเนื่องๆ เมืองนี้เคยเปนเมืองที่รุงเรืองดานอุตสาหกรรมหนัก มีประชากรกวา 250,000 คน แตปจจุบันอุตสาหกรรมไดหายไปแลว และก็กลายเปนเมืองที่ใหญเปนอันดับสี่ของเยอรมัน (ตะวันออก) ที่เคมนิสซนี้พวกเราไดรับการตอนรับอยางอบอุนจากสํานักงานสง

เสริมความเทาเทียมหญิงชาย ซ่ึงผูอํานวยการไดเตรียมชีสเค็กแสนอรอย ไวรอตอนรับพวกเรา (เคกสุดโปรดเลยละ) สิ่งที่เห็นในเยอรมันตะวันออกทุกเมืองท่ีเดินทางไปรวมกิจกรรม ไมวาจะเปนเบอรลิน ไลซิกก หรือเคมนิสซ คือ ความตื่นตัวของประชาชนในเรื่องสิทธิ และจิตวิญญาณในการตอสูนั้นคุกรุนกวาคนเยอรมันตะวันตก นอกจากคาครองชีพที่ถูกกวาเยอรมันตะวันตกแลว เราไดเห็นการพยายามฟนตัวของเมืองใหทัดเทียมกับเยอรมันตะวันตก แตขณะเดียวกันก็เห็นความเปรียบเทียบถึงความไมเทาเทียมกันระหวางสองฝงประเทศเยอรมัน การพูดคุยกับกลุมคนที่นี่จึงเปนครั้งแรกท่ีมีการนําเสนอปญหาของประชาชนท่ีเกิดจากองคการการคาโลก และการคาเสรี ไชโย! ท้ังนี้ไดมีตัวแทนของกลุมประชาชนท่ีเรียกวา ATTAC เคมนิซซ รวมพูดในเวทีเดียวกับขาพเจาดวย ก็เลยรวมกันยําใหญการคาเสรีและองคการการคาโลกกันเยอะทีเดียว!

* - * - * - * - * -

Page 28: บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ

54 ºÑ¹·Ö¡âÅ¡ÒÀÔÇѲ¹� àÃÕ¹ÃÙŒâÅ¡ à¾×èÍÃÙŒ¨Ñ¡μÑÇàͧ áÅÐàμÃÕÂÁÃѺÇÔ¡ÄμÔ 55544 ºÑ¹··ÖÖ¡¡âÅ¡ÒÒÀÀÔÔÇѲ¹¹��

จริงๆ แลวก็ยังมีอีกหลายเร่ืองที่อยากเลาใหฟง แตเพราะมีงานหลาย

อยางคั่งคางรอใหรีบไปซะสาง ก็คงตองจบบันทึกยุโรปแคนี้กอน แลว

จะหาโอกาสเขียนเลาเรื่องของประเทศอ่ืนใหฟงอีก

+ - + - + - + - + - + - + - +

บทเรียนจากสหรัฐฯ และยุโรป ทําใหตระหนักไดวามันมีเรื่องราวใหญ

รอบตัวใหเรียนรูไดทุกวัน จากการพูดคุยกับคนรอบขางทั้งในเมืองไทย

และตางประเทศท่ีมีภาษาและวัฒนธรรมแตกตางกับเรา และการได

เรียนรูสิ่งเหลานี้ ทําใหขาพเจาคอนขางมั่นใจวา “ถามนุษยทุกคน” บน

โลกนี้ไดมีโอกาสพบปะเพ่ือนมนุษยทั้งหลายในโลกน้ี “โลกก็อาจจะมีสันติภาพ” มากขึ้นก็เปนได มนุษยคงไมแบงแยก แยงชิง ทําราย เขน

ฆากัน เพราะความเปนชาติ ศาสนา สีผิม และวัฒนธรรมท่ีแตกตางกัน

อยางเชนที่เปนอยู

ขอจบบันทึกฉบับนี้วา “มนุษยทุกคนเทาเทียมกัน” “เหมือน” และ

“เทาเทียม” ในสิทธิแหงชีวิตและการใชชีวิตที่สมดุลและสอดคลองกับธรรมชาติและทรัพยากรท่ีธรรมชาติมอบให

โลกนี้มีไวเพื่อแบงปน ไมใชเพื่อใหใครไมกี่คนเอาไปขายเก็งกําไร ใน

ขณะท่ีประชากรอีกกวา 80% ตองอยูอยางอดยาก และถูกเอารัดเอาเปรียบ

มหาตมะ คานธีกลาว”There is enough in the world for

everybody’s need, but not enough for anybody’sgreed”, “โลกมีทรัยพากรพอเพียงสําหรับประชากรทุกคน แตไมพอสําหรับผูละโมภ แมเพียงคนเดียว”