Participatory Methods

Post on 26-Jan-2017

455 views 2 download

Transcript of Participatory Methods

Participatory Methodsin Urban Design & Planning

16.0

9.20

07

การมีสวนรวมในการตัดสินใจ

การรวมตัวของชุมชน (community building) เปนการพัฒนาที่คิดถึง

องครวม (holistic) โดยมุงเนนความรวมมือและความพยายามของ

คนในชุมชน

ใหประชาชนเปนกลไกหลักในการสรางเปาหมายการพัฒนาของ

ชุมชนเอง

ทฤษฎีประชาธิปไตยเปนแนวคิดที่เนนการมีสวนรวมในการตัดสินใจ

ในเร่ืองของสวนรวม

ประชาธิปไตยทฤษฎีประชาธิปไตยมีประวัติในการสนับสนุน “การรวมมือของประชาชนโดย

ปลุกระดมใหมีสวนรวมเพียงแคการไปหยอนบัตรลงคะแนนเสียงเลือกต้ังซึ่ง

เปนการมีสวนรวมที่ไมมีคุณภาพ” (Pranger 1968, p. 30)

แมจะตอกย้ำวาประชาชนเปนผูมีเสียงสูงสุด ปรากฎวาในความเปนจริง

ประชาชนจำนวนมากในสังคมสมัยใหมไมมีอำนาจเพียงพอในการกำหนด

แนวทางทางการเมือง นโยบาย และการปกครองสังคมของตนเอง

แนวคิดในการใหประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจเร่ิมถูกร้ือฟนบนฐานของ

แนวความคิดแรกเร่ิมในต้ังแตชวงป 1960

การมีสวนรวมของประชาชนการมีสวนรวมในแนวทางประชาธิปไตย การตัดสินใจจะกระจายไป

สูหนวยยอยของสังคม (decentralized)

สมาชิกในสังคมตองเรียนรูการมีสวนรวมเพื่อรวมในการตัดสินใจ

การตัดสินใจโดยมีประชาชนมีสวนรวมจะทำใหมีโอกาสในความ

สำเร็จสูงขึ้น เพราะประชาชนรูและเขาใจปญหาของชุมชน และ

เขาใจวาอะไรทำไดหรือไมได มากกวาผูเช่ียวชาญจากภายนอก

การรวมตัวของชุมชนการรวมตัวของชุมชน (community building) เปนการสรางระบบให

เกิดแรงบันดาลใจแกสมาชิก ซึ่งชวยสรางเสริมความแข็งแกรงให

ชุมชน

สงเสริมการสรางทุนทางสังคม (building social capital) โดยใน

สมาชิกเขาใจวาการรวมตัดสินใจเปนกระบวนการของตัวเอง

การพัฒนาและจัดการของชุมชนจะทำไดดีเมื่อสมาชิกมีสวนรวม

มากกวาเมื่อสมาชิกถูกมองวาเปน Passive Consumers

เมื่อประชาชนมีสวนรวม

เกิดการเผยแพรความรู ความเขาใจ ซึ่งนำมาซึ่งวิธีการ

แกปญหาที่ดี เหมาะสมกับชุมชนน้ัน และเปนที่ยอมรับ

สรางความมั่นใจ (building trust) เมื่อมีความยุติธรรมใน

กระบวนการ

การตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น (make better

decisions)

การสรางความรวมมือคำถามเบ้ืองตนในแนวความคิดในการสรางความรวมมือ:

ใคร กลุมใด ตองใหความรวมมือ? ขึ้นกับปญหา เวลา และการเมือง

ตองจัดเตรียมการและทำอะไรบางในการสรางความรวมมือ?

มีเปาหมายอะไรจากความรวมมือ?

ประชาชนจะมีสวนรวมอยางไร?

ตองการความรวมมือตอนไหนในกระบวนการวางแผน?

เมื่อประชาชนมีสวนรวมการตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ลดปญหาเร่ืองการเงิน (cost) และเวลา (delays)

สรางการยอมรับรวมกัน

ทำใหการนำแผนไปปฏิบัติราบร่ืน

ลดการเผชิญหนาในทางลบ

สรางความถูกตอง (legitimacy)

เขาใจความตองการของสวนรวม และทัศนคติ (concerns and attitudes)

สรางความเช่ียวชาญและความสามารถในการตัดสินใจในชุมชนเอง

Methods in Participatory Planning

VISIONING

เปนกระบวนการวางแผนเพื่อใหเกิดแนวทางในการพัฒนาที่เปนรูป

ธรรม (living and useful guides for actions) เพื่อนำชุมชนไปสูจุด

หมายในอนาคต

เกิดขึ้นเมื่อชุมชนเห็นวาควรมีการพัฒนาไปในทิศทางใหม

ผูมีสวนรวมในการสรางวิสัยทรรศนมีสวนในการนำเสนอความคิดในขั้น

ตน กอนที่ผูเช่ียวชาญและผูบริหารเขามาชวยกล่ันกรองใหเกิดความ

ชัดเจน

STRATEGIC PLANING

เปนวางแผนเพื่อการจัดการ เพื่อเปนแนวทางในการ

พัฒนา

ช้ีวาตองทำอะไร และอยางไร

สรางเปาหมาย ช้ีปญหา ลำดับความสำคัญของปญหา

และสรางแนวรวม

FOCUS GROUP

เลือกผูเขารวมเฉพาะจากกลุมที่นักวางแผนตองการความคิดเห็น

เพื่อใหไดขอมูลในการตัดสินใจมากขึ้น

Moderator เปนผูสรางบรรยากาศใหเกิดการมีสวนรวม

Recorder จดบันทึกขอมูล ทุกความเห็นถูกตอง

ผูดำเนินการไมแสดงความเห็นตอขอคิดของผูเขารวม และไม

พยายามแกขอขัดแยง

SMALL GROUP TECHNIQUES

นอยกวา 20 คน โดยมี Facilitator และวัตถุประสงคชัดเจน

ชวยผูรวมกิจกรรมมีอิสระทางความคิด และมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น

WORKSHOPS

SEMINARS

COMMUNITY JURIES

ROUNDTABLES

STUDY CIRCLES

Participation Techniques

Awareness methodsเผยแพรขอมูล ขาวสาร

Indirect methodsเขาหาขอมูลในชุมชนดวยการ surveys and questionnaires

Group interaction methodsพบปะ ประชุม gaming, focus groups, charrette

Awareness

Surveys

Group Interaction

Group Interaction

Group Interaction

Group Interaction

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Gaming

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Charrette

Strengths and Weaknesses of Participatory Approaches

StrengthsEliciting people's own analysis-provides a deeper understanding of dimensions of issues

Understanding complexity and diversity

Highlighting areas for further detailed research

Adaptability and flexibility of methods provide potential for working in emergency situations

and politically difficult environmentsestablished.

Capacity building of local people (as well as external researchers)

Providing insights for policy and practical actions

'Scaling up' - Linking information from communities to broader policy dialogue with

stakeholders including, CBOs, NGOs, local and national government officers providers,

academics, trade unions, business and insurance institutions, international NGOs, donors,

UN agencies.

Weaknesses

Effective outcomes, preparation time, and follow up time is equal

if not greater than time spent on research activities in

communities.

Informal forms of participation cannot provide statistical data.

Information gathered and shared in different contexts may be hard

to synthesize for central planning.

Practicalities & Difficulties

Raising expectations

Skills and attitudes

No blueprint

Getting the right team

Staying in the community

Depth of information and spread of time and range of

communities