บ้าน HOME · 2017-10-30 · บ้านเรือนไทยภาคกลาง...

Post on 25-Jun-2020

2 views 0 download

Transcript of บ้าน HOME · 2017-10-30 · บ้านเรือนไทยภาคกลาง...

บ้านบ้าน ที่อยู่ บริเวณที่ตั้งเรือนตั้งอยู่ ถิ่นฐานที่มีมนุษย์อยู ่หมู่บ้าน

บ้านนอก บ้านเปนนามธรรมตรงกับภาษาอังกฤษว่า HOME

บ้านเรือนในประเทศไทย ประกอบไปด้วย

เรือนไทยภาคกลาง

เรือนไทยภาคเหนือ

เรือนไทยภาคใต้

เรือนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

เรือนไทยภาคกลาง

เรือนไทยภาคกลาง เป็นเรือนไทย มี

ลักษณะเป็นเรือนหลังคาสูงมงุจาก

หรือกระเบื้อง ยกพื้น ใต้ถุนสูง สูง

จากพื้นดินเสมอศีรษะคนยืน รูปทรง

ล้มสอบ หลังคา ทรงสูงชายคายื่นยาว

เพื่อกันฝนสาด แดดส่อง นิยมวาง

เรือนไปตามสภาพแวดลอ้มทิศทางลม

ตามความเหมาะสม ในรูปแบบ

เรือนฝาปะกนถือเป็น เรือนไทยแท้

เรือนไทยฝาปะกน คือเรือนที่ฝาทํา

จากไม้สัก มีไม้ลกูตั้งและลูกนอน และ

มีแผ่นไมบ้างเข้าลิ้นประกบกัน

สนิท หน้าจั่วก็ทําด้วยวิธีเดียวกัน เรา

จะพบเห็นเรือนไทยภาคกลาง

รูปแบบต่าง ๆ อาทิ เรือนเดี่ยว เรือน

หมู่ เรือนหมู่คหบดี และ เรือนแพ

เรือนสมัยโบราณจะมีคมนาคมทางน้ํา ใช้แม่น้ําลําคลองเป็นหลัก ซึ่งบ้านเรือนก็จะ

มักอยู่ริมแม่น้ํา โดยมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยามาจน แต่เริ่มมาสมัยรัชกาลที่ 6 ลักษณะ

บ้านเรือนไทยภาคกลาง มักจะถูกเรียก เอวใหญ่ อกเล็ก

อิทธิพลทีเ่ปน็เหตขุองการเกิดบา้นทรงไทยภาคกลาง1. สนองประโยชน์ใช้สอย ความอยู่สบาย

2. ป้องกันความอบอา้ว

3. ป้องกันฝน

4. ป้องกันแดด

5. ป้องกันสัตว์ร้าย และน้ําท่วม

6. รับลมและระบายอากาศ

7. ได้รับความรื่นรมจากธรรมชาติ

8. ใช้วัสดุก่อสร้างหาได้ง่าย

9. วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่อนุรักษ์นิยม

พระตําหนกัทับขวัญเป็นเรอืนไม้กระดาน ฝาเรือนทําเป็นฝาปะกน กรอบลกูฟกั ฝีมือประณีต เชิงชายและไม้ค้ํายันสลักเสลาสวยงาม หลังคาแต่เดมิมงุดว้ยจาก หลบ

หลังคาด้วยกระเบื้องดนิเผา ตัวเรือนทุกหลงัรวมทั้งพืน้นอกชานทําดว้ยไม้สกัลว้น ใช้วิธีเข้าไม้

ตามแบบฉบับของชาวไทยโบราณ รอบๆบริเวณปลูกไมไ้ทยชนิดตา่งๆนบัเป็นเรอืนที่อยู่ในประเภทเรอืนคหบดแีละมีสว่นประกอบครบ

นายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการกอ่สรา้งคือ พระยาวิศุกรรมศิลป์ประสทิธิ์ (น้อย ศิลปี)

https://sites.google.com/site/sanamchandrapalace55/phra‐tahnak‐thab‐khway

พระตําหนกัทับขวัญ

เรือนเดี่ยว

ประกอบด้วย เรือนนอน 1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตัวเชื่อม

ระหว่างห้องนอนกับชาน

เรือนหมู่

เรือนหมู่ คือ เรือนหลายหลังซึ่งปลูกอยูใ่นที่เดียวกัน สมัยก่อนลูกชายแต่งงานส่วน

ใหญ่จะไปอยู่บ้านผู้หญิง ส่วนลูกผู้หญิงจะนําเขยเข้าบ้าน จะอยู่เรือนหลังย่อมกว่า

หลังเดิมเรียกว่า “หอกลาง” ส่วนเรือนนอกเรียกว่า “หอรี” เพราะปลูกไปตามยาว

ถา้มีเรือนปลูกอีกหลังหนึ่งเป็นด้านสกัดก็เรียกว่า “หอขวาง” อาจมี“หอนั่ง”ไว้

สําหรับนั่งเล่น บางแห่งมี“หอนก” ไว้สําหรับเลี้ยงนก

เรือนหมู่คหบดี

เรือนหมู่คหบดีโบราณ เป็นเรือนสําหรับผู้มีอนัจะกิน ลักษณะการจัดเรือนหมู่คหบดี

ของโบราณเป็นเรือนขนาดใหญ่มีเรือนคู่และเรือนหลังเล็กหลังน้อยรวมเข้าด้วยกัน

แต่ละหลังใช้ประโยชน์ต่างหน้าที่กันออกไป ประกอบด้วย เรือนนอน เรือนลูก เรือน

ขวาง เรือนครัว หอนก และชาน

เรือนแพ

การสร้างบ้านบริเวณชายฝั่งต้องยกพืน้ชัน้บนสงูมาก ไมส่ะดวกในหน้าแล้งทําให้

เกิดการสร้างเรือนในลกัษณะ " เรือนแพ " ที่สามารถปรับระดบัของตนเองขึน้ลงได้

ตามระดบันํา้ในแมน่ํา้ลาํคลอง

https://sites.google.com/site/baanruenthai4pak/reuxnthiy‐phakh‐kl

http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=travelaround&date=12‐03‐2008&group=13&gblog=2

เรือนแพเรียงรายอยู่

แน่นขนัดสองฝั่งคลอง

เมืองที่อยุธยา (ภาพถ่าย

เก่าสมัยรัชกาลที่ 6)

http://www.matichon.co.th/news/205555

กองเกวียนทางบกกับกองเรือ

ทางน้ํา ขนสินค้ากระจายสู่

ท้องถิ่นบ้านเมืองต่างๆ ยุคกรุง

ศรีอยุธยา (ภาพเก่า)

ตลาดน้ํายุคอยุธยามีลักษณะ

เดียวกับเรือนแพและตลาดแพ

ที่อยุธยา ยุครัตนโกสินทร์

(ภาพถ่ายเก่า สมัยรัชกาลที่ 5)

ลักษณะเฉพาะของบ้านเรือนไทย

หลักการต้องเป็นเรือนสําเร็จรูป สามารถสร้างเสร็จ

ในเวลาอันสั้น สร้างด้วยไม้สักล้วน เว้นเสาและรอด

ใช้ไม้เนื้อแข็ง แปลนพื้นเรือนรูปสี่เหลียมผืนผ้า

มักจะนิยมสร้าง 3 ห้อง ความสูงเรือนมักจะสูง

ประมาณ 2.5 เมตร แยกตัวเรือนครัวออกจากกัน

เป็นส่วนตัว เรือนไทย มักไม่สร้างห้องส้วม จะแยก

ออกไปต่างหาก

โครงสร้างและองค์ประกอบ

เรือนไทยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 ส่วน

1. เดี่ยวล่าง จากพื้นดินถึงหลังรอด บางทีเรียกเดี่ยวล่องถุน

2. เดียวบน จากหลังรอดถึงหลังขื่อ

3. เครื่องบน จากขื่อถึงหลังอกไก่

องค์ประกอบบ้านเรือนไทยภาคกลาง