(WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน...

140
オヲ。エオチヲク・ー、。キェチーヲrnェ・ューチヲコーnオ・ーキチーヲrチネ :%, ェキオテヲュヲoオツィウ オヲホオオヲウー、。キェチーヲr ョィエュシヲヲキョオヲサヲキエキ ュオオェキオチテティ・クュオヲュチォサヲキ 、ョオェキ・オィエ・サヲキエキ・r オュオェュサ。ヲヲキオ チクフ・ェャrュサェヲヲr ェキ・オキ。rクハチ}ュnェョケノーオヲォケャオオ、ョィエュシヲ ヲサォオュヲrーサュオョヲヲ、、ョオエキ ュオオェキオチテティ・クー、。キェチーヲr 」オェキオー、。キェチーヲrォケャオ エキェキ・オィエ・ ュオエチテティ・ク。ヲウー、チィoオ。ヲウヲチョコー eオヲォケャオ ,6%1 ィキュキキヘーュオエチテティ・ク。ヲウー、チィoオ。ヲウヲチョコー

Transcript of (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน...

Page 1: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ (WBI) วิชาโครงสรางและ การทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธรุกิจบัณฑิต 

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธรุกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

นางสาวสุพรรณิกา  เตี๋ยวงษสุวรรณ 

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต 

สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร  ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 

ปการศึกษา 2549 ISBN 974-19-0823-7 

ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื

Page 2: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ชื่อ  :  นางสาวสุพรรณิกา  เตี๋ยวงษสุวรรณ ชื่อวิทยานิพนธ  :  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ 

(WBI) วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธรุกิจบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธรุกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบณัฑติย 

สาขาวิชา  :  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ  :  ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศุภรชัชัย  วรรตัน :  อาจารยกฤช  สินธนะกุล 

ปการศึกษา  :  2549 

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพ 

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบ คอมพิวเตอร (Web-Based  Instruction  for  Computer  System  Organization)  หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิตย สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย และเพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนกับหลังเรียนดวยบทเรียน WBI วิชา โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรที่สรางขึ้น กลุมตัวอยางที่นํามาศึกษาในครั้งนี้ ได จากนักศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย โดยการสุมแบบเจาะจง จํานวน 30 คน 

ผลการวิจัยปรากฏวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตนี้มี ประสิทธิภาพ 90.83/87.08 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวคือ 85/85 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ดวยบทเรียน WBI วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร สูงกวากอนเรียน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต สวนมากพบวานักศึกษาชอบเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนเพราะเห็นเปนความแปลกใหม ไมรูสึกเบื่อหนาย ตองการใหมีการเรียนการสอนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหมีความเขาใจเนื้อหาในบทเรียนไดดีขึ้น ตองการให นักศึกษาผูอ่ืนไดมีโอกาสเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตใน วิชานี้และวิชาอ่ืน ๆ อีกตอไป 

(วิทยานิพนธมีจํานวนหนาทัง้สิ้น138 หนา) 

คําสําคัญ  :  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็,โครงสรางและการทํางาน ระบบคอมพิวเตอร 

_________________________________________________อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

Page 3: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ข 

Name  :  Miss. Suphannika Tearwonsuwan Thesis Title  :  A Development of Web Based Instruction for Computer 

System Organization Bachelor of Business Administration of Dhurakij Pundit University 

Major Field  :  Computer Technology King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok 

Thesis Advisors  :  Assistant Professor Dr. Suparatchai  Vorarat :  Mr. Krich Sintanakul 

Academic Year  :  2006 

Abstract This research was an experimental research. The aims of this research was to develop Web-Based  Instruction  on  Computer  System  Organization  Bachelor  Of  Business Administration  of Dhurakij  Pundit  University,  and  to  find  the  effectiveness  after  using Web-Based Instruction on Computer System Organization Curriculum. The contents of this  (WBI)  Web  Based  Instruction  for  Computer  System  Organization  Curriculum  of Dhurakij  Pundit  University.  The  sample  size  using  simple  random  sampling  was  30 students who studies in Business Information Technology of Dhurakij Pundit University. 

The results of this study were illustrated.  Firstly, the efficiently of the Web-Based Instruction on Computer System Organization was 90.83/87.08 that was higher than the criterion  level  85/85   at  in  the hypothesis Secondly,  the effectiveness of student after using  the WBI  for Computer System Organization was significantly higher  than before using  the  WBI  for  Computer  System  Organization  at  .05  level.  Finely,  the  students’ opinion about Web Based Instruction (WBI) indicate that most of them like WBI because it  is  interesting  and  not  boring.    Also,  they  understood  lesson  better  and  want  to continue study using WBI again in this course and others. 

(Total 138 pages) 

Keywords  :  Web-Based Instruction, Computer System Organization 

_________________________________________________________________Advisor

Page 4: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

กิตติกรรมประกาศ 

วิทยานิพนธนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี  ดวยความชวยเหลือและความกรุณาอยางดีย่ิง ของ ผูชวยศาสตราจารย  ดร. ศุภรัชชัย  วรรัตน ผูอํานวยการสาขาการจัดการทางวิศวกรรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ประธานกรรมการที่ปรึกษา รวมทั้งอาจารยกฤช  สินธนะกุล รองคณบดีคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ทีป่รกึษา วิทยานิพนธ ที่ไดใหคําแนะนํา เสนอแนะขอคิดเห็นตางๆ อีกทั้งยังสละเวลาในการตรวจสอบ เครื่องมือวิจัยมาโดยตลอด ตลอดจนการตรวจสอบขอบกพรองตาง ๆ ผูวิจัยจึงใครขอกราบ ขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ 

ขอกราบขอบพระคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ที่ไดใหความอนุเคราะหในดานหัวขอ และกลุมตัวอยางของงานวิจัยฉบับนี้ ตลอดจนดานเงินทุนการศึกษา 

ขอกราบขอบพระคุณ  ผูชวยศาสตรจารย ดร.ประจวบ  วานิชชัชวาล อาจารยวิญู นิรนาทล้ําพงษ  และอาจารยธีรศักด์ิ  สุริยาประสิทธิ์  ที่กรุณารับเปน ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ที่ ใหความกรุณาวิเคราะหเนื้อหา และประเมินคุณภาพสื่อ อีกทั้งจัดเตรียมนักศึกษาในการเขา ทดลองเรียนในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารยสมคิด แซหลี อาจารยจิรพันธุ ศรีสมพันธุ และนาย ธีรยุทธ   นนทะสร  ผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคซึ่งไดตรวจประเมินคุณภาพสื่อ และคําแนะนําที่เปน ประโยชนตอการวิจัยทําใหเกิดงานวิจัยนี้ และสําเร็จลุลวงไดอยางดี รวมถึงนักศึกษากลุมทดลอง ที่ใหความรวมมือ และตั้งใจในการเรียนเปนอยางดี และเพื่อน ๆ นักศึกษาปริญญาโท สาขา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และนอง ๆ ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ที่มีสวนชวย ใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค 

ขอขอบคุณ  เจาหนาที่ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา  คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ที่คอยใหความสะดวกในการติดตอ ประสานงาน ทั้งในดานการเรียน และ เกี่ยวกับงานวิทยานิพนธ ครั้งนี้ ดวยความเปนกันเองย่ิง 

ทายนี้ผูวิจัยใครขอกราบขอบคุณพระคุณของบิดา มารดา รวมทั้งผูใกลชิดทุกทานที่คอย ใหกําลังใจมาโดยตลอด 

สุพรรณิกา  เตี๋ยวงษสุวรรณ

Page 5: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

สารบัญ หนา 

บทคัดยอภาษาไทย  ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ  ค กิตติกรรมประกาศ  ง สารบัญตาราง  ซ สารบัญภาพ  ฌ บทที่ 1  บทนํา  1 

1.1  ความเปนมาและความสําคัญของปญหา  1 1.2  วัตถุประสงคของการวิจัย  3 1.3  สมมตุิฐานของการวิจัย  4 1.4  ขอบเขตของการวิจัย  4 1.5  คําจํากัดความที่ใช  6 1.6  ประโยชนของงานวิจัย  6 

บทที่ 2  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ  9 2.1  หลักสตูรวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  9 2.2  อินเตอรเนต็เพื่อการศึกษา  10 2.3  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ต  19 2.4  การออกแบบและสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนอินเตอรเนต็  26 2.5  กระบวนการสรางแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  32 2.6  การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนอินเตอรเน็ต  37 2.7  งานวิจัยที่เกี่ยวของ  39 

บทที่ 3  วิธีดําเนินการวิจัย  43 3.1  การศึกษาขอมูล  43 3.2  การกําหนดประชากรและคัดเลือกกลุมตัวอยาง  45 3.3  กําหนดแบบแผนการทดลอง  45 3.4  การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล  56 3.5  การวิเคราะหขอมูลและสถติิทีใ่ชในการวิจัย  57

Page 6: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ข 

สารบัญ (ตอ) หนา 

บทที่ 4  ผลของการวิจัย  63 4.1  ผลการพัฒนาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  63 4.2  ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  64 4.3  ผลจากการหาผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนักศึกษา  65 4.4  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนักศึกษาจากลุมตัวอยาง 

ตามสมมุตฐิานขอที่ 2  65 4.5  การออกแบบบทเรียน WBI วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  67 

บทที่ 5  สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ  73 5.1  สรุปผลการวิจัย  73 5.2  อภิปรายผลการวิจัย  74 5.3  ขอเสนอแนะ  76 

บรรณานุกรม  77 ภาคผนวก ก  81 

รายนามผูเชี่ยวชาญประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  83 คําสั่งแตงตั้งผูเชี่ยวชาญในการประเมินบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  84 

ภาคผนวก ข  91 หลักสตูรการศึกษา วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  93 แผนผงัความเชื่อมโยงหัวขอยอย วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  94 แผนผงัความเชื่อมโยง (Network Diagram) วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  95 การกําหนดวัตถุประสงคเชงิพฤติกรรม  99

Page 7: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ค 

สารบัญ (ตอ) หนา 

ภาคผนวก ค  111 ภาคผนวก ง  119 

การออกแบบหนาจอ (Template) และบทดําเนินเรื่อง (Story Board)  120 ตัวอยางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  129 

ประวัติผูวิจัย  138

Page 8: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ง 

สารบัญตาราง ตารางที่  หนา 

1-1  ผลการเรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรของนักศึกษา ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปการศึกษา 2546  3 

4-1  แสดงผลการประเมินคุณภาพของบทเรียน WBI โดยผูเชี่ยวชาญ  65 4-2  การหาประสิทธิภาพของบทเรียน  65 4-3  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนกับหลังเรียน  66 ข-1  คาวิเคราะหคาอํานาจจําแนก และคาความยากงาย ของแบบทดสอบ  103 ข-2  การวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ  109 ค-1  คาคะแนนการประเมนิความคิดเห็นสําหรับนักศึกษา  113 ค-2  คาคะแนนการประเมนิคุณภาพ สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา  114 ค-3  แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค  115 ค-4  ตารางแสดงคาคะแนนความคิดเห็นของนักศึกษาเกีย่วกับบทเรียนคอมพิวเตอร 

ชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 117

Page 9: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

จ 

สารบัญภาพ ภาพที่  หนา 

2-1  สวนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต  20 2-2  แสดงสถาปตยกรรมของระบบ  21 2-3  ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  27 2-4  สวนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  32 2-5  กระบวนการสรางขอสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  36 2-6  คาของ T1 และ T2 ตามแบบแผนการทดลองเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  39 3-1  การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอร 

ชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 47 3-2  Title กอนเขาสูบทเรียน  49 3-3  สวนของการปอนชื่อ และรหัสผานเพื่อเขาสูระบบ  49 3-4  สวนของการสมัครเปนสมาชิกกอนเขาระบบ  50 3-5  สวนของการแสดงวัตถุประสงค  50 3-6  สวนของการแสดงตําแหนงลําดับโครงสรางบทเรียน  51 3-7  สวนของการแสดงตําแหนงของหนวยการเรียน  51 3-8  สวนของการแสดงขอมูลคําชี้แจงและเงื่อนไขของบทเรียน  52 3-9  สวนของหนาเนื้อหาของบทเรียน  52 3-10  สวนของการแสดงความกาวหนาผลการเรียน  53 3-11 ขั้นตอนการดําเนินการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

บนเครือขายอินเตอรเนต็  55 3-12  ขั้นตอนในการประเมนิผลสัมฤทธิ์ของการใชบทเรียนคอมพิวเตอร 

ชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็  56 4-1  ขั้นตอนการนําเสนอบทเรียน  64 4-2  กราฟรูประฆงัควํ่า แสดงโคงพาลาโบลา  66 4-3  สวนสมัครเขาสูบทเรียน  67 4-4  หนาจอแสดงTitleนําเขาสูบทเรียน  67 4-5  วัตถุประสงค  68 4-6  หัวขอสวนเนื้อหาบทเรียน  68 4-7  เนื้อหาบทเรียนอธิบายถึงโครงสรางการทํางานของคอมพิวเตอร  69 4-8  เนื้อหาบทเรียนอธิบายถึงการเคลื่อนยายขอมูล  69 4-9  หนาที่การทํางานหนวยความจําในเครื่องคอมพิวเตอร  70

Page 10: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ฉ 

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่  หนา 

4-10  หนาที่การทํางานหนวยประมวลผลกลาง  70 4-11  แบบทดสอบ  71 4-12  ความกาวหนาของการเรียนรูของผูเรียน  71 ง-1  หนาจอแสดงTitleนําเขาสูบทเรียน  129 ง-2  หนาจอลงทะเบียนกอนเขาสูบทเรียน  129 ง-3  หนาจอนักศึกษากรอกขอมูลสวนตัวเพื่อเปนสมาชิกเพื่อเรียนดวยบทเรียน (WBI)130 ง-4  หนาจอแสดงโครงสรางของบทเรียน  130 ง-5  หนาจอแสดงวัตถุประสงคการเรียน  131 ง-6  หนาจอแสดงเอกสารประกอบการสอน  131 ง-7  หนาจอแสดงเมนูอาจารยผูสอน  132 ง-8  หนาจอแสดงเมนูกระดานขาว  132 ง-9  หนาจอแสดงเมนูแนะนําวิธีการใช  133 ง-10  หนาจอแสดงเมนูรายละเอียดการทํางานของผูสอน  133 ง-11  หนาจอแสดงหัวขอการเพิ่มขอมูลเนื้อหา  134 ง-12  หนาจอแสดงผลความกาวหนาของการเรียน  134 ง-13  หนาจอแสดงสถติผิลการเรียน  135 ง-14  หนาจอแสดงผลบทเรียน  135 ง-15  หนาจอแสดงหัวขอเนื้อหาบทเรียน  136 ง-16  หนาจอแสดงเนื้อหาบทเรียน  136 ง-17  หนาจอแสดงเนื้อหาบทเรียน  137 ง-18  หนาจอแสดงผลการทําแบบทดสอบ  137

Page 11: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บทท่ี 1 บทนํา 

1.1  ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication 

Technology:  ICT) ไดกลายเปนเครื่องมือสําคัญในการจัดการเรียนการศึกษาสําหรับนักเรียน เพื่อมุงเนนให ผูเรียนเปนหลักในการเรียนรู จากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่มุงเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ทําใหการเรียนการสอนในปจจุบันไดมุงเนนที่ตัวผูเรียนเพิ่มขึ้น กวาในอดีตรูปแบบการเรียนที่เห็นถึงความสําคัญและความแตกตางของผูเรียนจึงไดรับการ สนับสนุนและสงเสริมมากข้ึน ความมุงหวังเพื่อใหผูเรียนแตละคนไดเรียนรูและพัฒนาสูงสุดตาม ศักยภาพแหงตนเองโดยที่มีอาจารยผูสอนคอยใหคําแนะนํา 

สถาบันการศึกษาตาง ๆ หันมาสนใจในการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการ ใหบริการนักเรียนนักศึกษาของตนเอง  โดยการแขงขันกันอยางมากในการหาตลาดนักศึกษา การพัฒนาระบบการสอนบนอินเตอร เน็ตเปนวิธีหนึ่งที่สถาบันการศึกษาสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพการใหบริการในดานการสอนของตนได การพัฒนาการเรียนอิเล็กทรอนิกส และยัง เปนระบบที่เอื้อตอผูสอนในการทราบถึงพัฒนาการทางการเรียนของผูเรียน เนื่องจากระบบการ บริหารจัดการเรียนการสอนสามารถรายงานใหผูสอนไดทราบถึงพฤติกรรม การเรียน และการมี สวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของผูเรียน  ตลอดจน สามารถรองรับการนําเสนอผลงานของผูเรียน ผานชองทางการเรียนอิเล็กทรอนิกสได ดังหมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 

มาตราที่ 63  วา “รัฐตองจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอ่ืนที่จําเปนตอ การสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอ่ืน เพื่อใช ประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทํานุบํารุง ศาสนา ศิลปะและวัฒนะธรรมตามความจําเปน” 

มาตรา 64  วา “รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอ่ืน วัสดุอุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอ่ืนโดยเรงรัด พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม” 

การใชเทคโนโลยีการสื่อสารผานทางระบบ Internet  ในขณะนี้มีบทบาทมากขึ้นสําหรับ การจัดการศึกษา ในลักษณะการเรียนการสอนผานเว็บ (WBI: Web Based Instruction) ซึ่งเปน

Page 12: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

โปรแกรมไฮเปอรมีเดียที่ชวยในการสอน โดยใชประโยชนจากคุณลักษณะทรัพยากรของ อินเตอรเน็ต มาสรางใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย โดยสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรู ในทุกทาง (Khan, 1997) ซึ่งเปนการสนับสนุนเนื้อหาวิชาในความรูแบบของมัลติมีเดียที่จัดทํา บนอินเตอรเน็ต โดยในการจัดการเรียนการสอนตองมีการวางแผนและดําเนินการอยางเปน ขั้นตอนเปนระยะเพื่อสงผลตอประสิทธิภาพการเรียนการสอน ผูเรียนสามารถปฏิสัมพันธกับ ผูสอนผานทาง E-mail ,Web board  (Internet Relay Chat: IRC) ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรู ไดทุกที่  ทุกเวลา (Driscoll, 1999) การนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาผสมผสานกับเทคโนโลยี อินเตอรเน็ต ที่มีความสามารถนําเสนอขอมูลระบบ World Wide Web และการใชเพื่อการจัดการ สอนผานเว็บ (Web-Bases  Instruction  :  WBI)  หรือ E-learning  จากแนวโนมหลักสูตรใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2545 พบวา เทคโนโลยีทางการศึกษาเขามามีบทบาทมากขึ้น โดยที่การ เรียนการสอนจะไมจํากัดอยูเฉพาะในหองเรียนเทานั้น และจากการปรับเปลี่ยนกระบวนยุทธใน การจัดระบบการศึกษาใหรองรับแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกในการจัดการศึกษา โดยยึดหลักสําคัญ 4 ประการไดแก ความเสมอ ภาคและกระจายโอกาสทางการศึกษา  (Equity)  ความเปนเลิศและคุณภาพทางวิชาการ (Excellence)  ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)  และความเปนสากล (Internationalization) โดยมุงเนนภารกิจหลัก ๆ ที่กอใหเกิดความรูใหม ๆ โดยพึ่งพาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการ สื่อสาร และเทคโนโลยีแขนงตาง ๆ เทคโนโลยีที่นําสมัยดานตางๆ เชน เทคโนโลยีดาน คอมพิวเตอร เทคโนโลยีการสื่อสาร และเทคโนโลยีดานการจัดการ จะถูกนํามาประยุกตใชใน การจัดการศึกษามากข้ึน โดยผสมผสานกันอยางกลมกลืน การเรียนการสอนในสถานการศึกษา และการฝกอบรมในสถานประกอบการ จะมีการพัฒนาไปตามกระแสแหงความเปลี่ยนแปลงตาม แนวคิด ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีจะมีปจจัยหลักในการนําเสนอ องคความรูโดยมีการคิดคน พัฒนาและสรางสรรคสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตางๆ เพื่อ เอ้ืออํานวยประโยชนใหเกิดการเรียนรู สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media) เขามามีบทบาทสําคัญตอการศึกษามากข้ึน (มนตชัย, 2545:2) เพื่อเปนแรง เสริมความสนใจทางดานการเรียนของผูเรียน 

จากที่กลาว  วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  เปนวิชาหลักวิชาหนึ่งของ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธรุกิจ  ของมหาวิทยาลัยธุรกจิบัณฑิตย  ซึง่ผูเรียนจะตองเรียนวิชานี้ เพื่อใหทราบถึงโครงสราง  และการทํางานระบบคอมพิวเตอรและจากการสอบถามอาจารยผูสอน วิชานี้  พบวาวิชาดังกลาวเปนวิชาที่มีเนื้อหาวิชาที่มากและยากในการเขาใจทั้งหมดสําหรับใน เวลาที่จํากัดในชั้นเรียนเทานั้น  ประกอบกับนักศึกษาตางมีความรูดานพื้นฐานทีต่างกัน  ดังนั้น จึงเปนเหตุทําใหนักศึกษาเรียนและรับรูในเวลาที่เทากันไดยาก จึงเปนเหตุใหเบื่อหนายในเวลาที่

Page 13: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

เรียนจึงสงผลใหผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนักศึกษาที่เรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบ คอมพิวเตอร โดยเฉลี่ยอยูในเกณฑทีต่่ําดังแสดงในตารางที่ 1 - 1 

ตารางที่ 1-1  ผลการเรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ของนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกจิ  ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปการศึกษา 2546 

ชวงคะแนน จากนักศึกษา 357 คน ของ 

ภาคเรียนที่ 1/2546 

จากนักศึกษา  359 คน ของ 

ภาคเรียนที่ 2/2546 

86 – 100  24 คน  7 คน 

75 – 85  31 คน  32 คน 

68 – 74  36 คน  33 คน 

60 – 67  81 คน  57 คน 

54 – 59  56 คน  76 คน 

48 – 53  40 คน  60 คน 

40 - 47  34 คน  62 คน 

จากขอมูลผลการเรียนของนักศึกษาขางตนที่มีคะแนนอยูในเกณฑเฉลี่ยที่ต่ําลง ผูวิจยัจงึมี ความสนใจที่จะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาใหดีขึ้น โดยการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) วิชาโครงสรางและการทํางานระบบ คอมพิวเตอร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยธุรกิจบณัฑติย ซึ่งระบบอินเตอรเน็ตจะเปนสื่อกลางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ที่เปน องคประกอบสําคัญอยางหนึ่งที่จะสงผลใหการเรียนรูสําเร็จตามวัตถุประสงคโดยใชสื่อการเรียน การสอนเปนตัวกลางที่มีบทบาทสําคัญ ในการถายทอดองคความรูจากผูสอนไปยังผูเรียนได (มนตชัย, 2545) 

1.2  วัตถุประสงคของการวิจัย 1.2.1  เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย 

อินเตอรเน็ต  (WBI)  วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศธุรกิจ ระดับปริญญาตรี

Page 14: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

1.2.2  เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนวิชาโครงสรางและการทํางาน ระบบคอมพิวเตอร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) 

1.2.3  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต 

1.3  สมมุติฐานของการวิจัย 1.3.1  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตที่พัฒนามีประสิทธิภาพ 

เทากับหรือมากกวา 85/85 1.3.2  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา หลังจากที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร 

ชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตแลวสูงขึ้นเมื่อเทียบกับกอนการเรียน  อยางมีนัยทางสถิติ สําคัญที่ ระดับ .05 

1.3.3  ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตอยูในระดับด ี

1.4  ขอบเขตของการวิจัย 1.4.1  ประชากรและกลุมตัวอยาง 

1.4.1.1  ประชากร  คือ  นักศึกษาระดับปริญญาตรี  สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ธุรกิจ ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบ คอมพิวเตอร 

1.4.1.2  กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้  ไดทําการเลือกแบบเจาะจง จากนักศึกษาระดับปริญญาตรี  สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ภาคเรียนที่  1 / 2549  ที่ลงทะเบียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรกลุม 01 จํานวน  30 คน 

1.4.2  โครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชา โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวยสวนตางๆ ดังตอไปนี้ 

1.4.2.1  สวนสมัครเรียนและจัดการนักศึกษา 1.4.2.1.1  การลงทะเบียน (Register) 1.4.2.1.2  การเขาสูระบบ (Login / Logout) 1.4.2.1.3  การรักษาความปลอดภัย (Password) 1.4.2.1.4  การสอบถามขอมูลสวนตัว (Check Profile)

Page 15: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

1.4.2.2  สวนของบทเรียน (Information) 1.4.2.2.1  สวนของบทนํา  (Introduction) 1.4.2.2.2  วัตถุประสงค  (Objection) 1.4.2.2.3  แบบทดสอบกอนเรียน  (Pretest) 1.4.2.2.4  เนื้อหาของบทเรียน  (Content) 1.4.2.2.5  แบบทดสอบทายบทเรียน  (Posttest) 1.4.2.2.6  การเฉลย  (Answer) 1.4.2.2.7  การประเมินผล  (Evaluation) 1.4.2.2.8  การปรับปรุงขอมูลของนักศึกษา  (Update Profile) 

1.4.2.3  สวนของการสนับสนุนบทเรียน 1.4.2.3.1  คําตอบ  (FAQ’s) 1.4.2.3.2  จดหมายอิเล็กทรอนิกส  (E-mail) 1.4.2.3.3  การดาวนโหลดเอกสาร  (Download) 1.4.2.3.4  หองสนทนา  (Chat room) 1.4.2.3.5  กระดานถามตอบ  (Webboard) 1.4.2.3.6  สมุดเย่ียม  (Guestbook) 1.4.2.3.7  การอัพโหลดขอมูล  (Upload) 1.4.2.3.8  เอฟทีพ ี (FTP) 1.4.2.3.9  ขาวประกาศ  (News) 

1.4.2.4  สวนของอาจารย (Instructor) 1.4.2.4.1  ตรวจสอบขอมูลนักศึกษา  (Check Audiences Profile) 1.4.2.4.2  หองสนทนา  (Chat room) 

1.4.2.5  สวนของผูดูแลระบบ (Administrator) 1.4.2.5.1  การทําสําเนาฐานขอมูล 1.4.2.5.2  การอัพโหลดไฟล 

1.4.3  ระยะเวลาในการทดลองบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย โดยกําหนดวันทดลองทุกวันพุธ และวันศุกรโดย ใชเวลาวันละ 3 ชั่วโมง ระหวางวันที่ 2 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม 2549

Page 16: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

1.5  คําจํากัดความที่ใช 1.5.1  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต  หมายถึง บทเรียน 

คอมพิวเตอรชวยสอน ที่ใชแสดงผลผานเว็บบราวเซอร (Web  Browser)  ผานทางระบบ อินเตอรเน็ต สําหรับการใชในเรียนการสอนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 

1.5.2  การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  หมายถึง การสราง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต แลวนําไปหาประสิทธิภาพของบทเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา 

1.5.3  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  หมายถึง ความรูของผูเรียนที่แสดงออกในรูปของคะแนน หรือระดับความสามารถในการทําแบบทดสอบ หรือแบบฝกหัดไดถูกตอง หลังจากที่ศึกษา เนื้อหาในบทเรียนแลว (มนตชัย, 2545:332) 

1.5.4  เกณฑ 85/85  หมายถึง เกณฑที่ใชในการหาประสิทธิภาพของบทเรียนบน เครือขายอินเตอรเน็ต 

85 ตัวแรก  หมายถึง คาคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนน เต็มที่ทําแบบทดสอบแตละบทเรียนไดถูกตอง 

85 ตัวหลัง  หมายถึง คาคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนน เต็มที่ทําแบบทดสอบรวมไดถูกตอง 

1.5.5  แบบทดสอบหลังเรียน  หมายถึง  แบบทดสอบทายบทเรียนแตละบทเรียน เปน เครื่องมือที่ใชประเมินผลนักศึกษาหลังจากเรียนจบแตละบทเรียนแลว โดยแบบทดสอบนี้เปน ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

1.5.6  แบบทดสอบรวม  หมายถึง  เปนเครื่องมือที่ใชประเมินผลนักศึกษาหลังเรียน เนื้อหาของบทเรียนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ทั้งหมดแลว โดยแบบทดสอบนี้เปนขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก 

1.6  ประโยชนของงานวิจัย 1.6.1  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต  วิชาโครงสรางและการ 

ทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย สามารถนําไปใชเปนสื่อที่ตอบสนองการเรียนการสอนตามความ แตกตางระหวางบุคคลดานความรูพื้นฐานที่แตกตางกันได 

1.6.2  บทเรียน WBI  ชวยลดปญหาเรื่องเวลาเรียนที่จํากัดของนักศึกษา และ  ทําให นักศึกษามีความสนุกในการเรียนที่สามารถติดตอซักถามระหวางเรียนไดทั้งอาจารยและเพือ่รวม เรียนโดยใชบทเรียนเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media)

Page 17: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

1.6.3  เปนแนวทางในการสราง และพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตในวิชาอ่ืน ๆ อีกตอไป 

1.6.4  ชวยลดปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ต่ําของนักศึกษาหลังจากที่ไดเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต(WBI)

Page 18: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บทท่ี  2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการ ทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย  ไดพัฒนาขึ้นโดยการนําทฤษฎี แนวความคิด และผลงานการวิจัยอ่ืน ๆ ที่ เกี่ยวของดังตอไปนี้ 

2.1  หลักสตูรวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 2.2  อินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษา 2.3  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบเครือขายอินเตอรเนต็ 2.4  การออกแบบและสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนอินเตอรเนต็ 2.5  กระบวนการสรางแบบทดสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 2.6  การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนอินเตอรเนต็ 2.7  งานวิจัยที่เกี่ยวของ 

2.1  หลักสูตรวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ไดกําหนดหลักสูตรวิชาโครงสรางและการทํางานระบบ 

คอมพิวเตอร ระดับปริญญาตรี โดยทบวงมหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545 ซึ่งเปนรายวิชาสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ ซึ่งกําหนดเนื้อหาวิชาของหลักสูตรดังตอไปนี้ 

2.1.1 วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร Computer System Organization รหัสวิชา BT 303 

2.1.2  คุณสมบัติรายวิชาเปนวิชาเอกบังคับ สังกัดคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 

2.1.3  ไมมีวิชาบังคับกอน 2.1.4  เวลาในการศึกษา ใชเวลาเรียน 15 สัปดาห สัปดาหละ 2  ครั้ง ครั้งละ 3 คาบ 2.1.5  จํานวนหนวยกิต 3 (3-0-3)  หนวยกิต 2.1.6  จุดประสงครายวิชาเพ่ือใหมีความรูความเขาใจถึงโครงสรางการทํางานของระบบ 

คอมพิวเตอร เพื่อสามารถที่จะนําประโยชนที่ไดไปใชในการประกอบการทํางานตอไปได 2.1.7  คําอธิบายรายวิชา ศึกษาโครงสรางการทํางานของระบบคอมพิวเตอรระดับตาง ๆ หนวยความจําหลัก 

ระบบ Input/output โครงสรางการทํางานของระบบปฏิบัติการ การจัดตารางการใชงานหนวย

Page 19: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

10 

ประมวลผลกลาง และการจัดสรรหนวยความจํา ระบบการทํางานของระบบคอมพิวเตอรแบบ Fault Tolerant และแบบ Clustering 

2.2  อินเตอรเน็ตเพื่อการศึกษา 2.2.1  ความหมายของเครือขายอินเตอรเน็ต เครือขายอินเตอรเน็ต หรือ เครือขายคอมพิวเตอรที่มนุษยไดประดิษฐคิดคนและพัฒนา 

เพื่อการใชงาน  ซึ่งมีผูใหความหมายไวดังนี้ ยืน (2539 :  28) กลาววาอินเตอรเน็ตเปนเครือขายของเครือขายที่เชื่อมโยงระหวาง 

เครือขายตาง ๆ เขาดวยกัน เมื่อนําเครือขายอ่ืนมาเชื่อมอีกก็จะเขาสูอินเตอรเน็ต และเปนการ ขยายเครือขายอินเตอรเน็ตดวย 

ทักษิณา (2539 : 157) กลาววา อินเตอรเน็ตหมายถึง เครือขายคอมพิวเตอรนานาชาติที่ มีสายตรงตอไปยังสถาบัน หรือหนวยงานตาง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูใชรายใหญ ทั่วโลก ผานโมเด็ม (Modem) คลายกับ Computer Serve ผูใชเครือขายนี้ สามารถสื่อสารถึงกัน ไดทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) สามารถสืบคนขอมูล และสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอก แฟมขอมูลและโปรแกรมบางโปรแกรมมาใชได แตจะตองมีเครือขายภายในรับชวงตออีกทอด หนึ่งจึงจะไดผล 

ถนอมพร  (2539  : 2) กลาววา เครือขายอินเตอร เน็ต คือเครือขายของเครือขาย ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร (ทั้งที่อยูในองคกรรัฐ และเอกชน) ทั่วทุกมุมโลกเขาดวยกัน ภายใต มาตรฐานการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเพื่อการแลกเปลี่ยนและสงผานขอมูล  การทํางานของ เครือขายอินเตอรเน็ตนั้นไมมีใคร หรือองคกรกลางใดองคกรหนึ่งที่เปนเจาของ การเขาเปนสวน หนึ่งของเครือขายทําไดโดยการขอเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอรเขากับเครือขายใดเครือขายหนึ่ง ที่เปนสวนหนึ่งของเครือขายอินเตอรเน็ตอยูแลว  เมื่อมีเครื่องเชื่อมตอแลวก็จะสามารถใชบริการ บนเครือขายอินเตอรเน็ตได 

สุธิภา (2540 :  15) กลาววา เครือขายอินเทอรเน็ต คือเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาด ใหญที่สุดในโลก  โดยการเชื่อมโยงระหวางระบบเครือขาย หรือเน็ตเวิรกจํานวนมหาศาลทั่วโลก เขาดวยกันภายใตหลักเกณฑมาตรฐานเดียวกัน  ใชโปรโตคอลเดียวกัน ซึ่งโปรโตคอลก็คือ ขอตกลงที่เปนสื่อกลางในการสื่อสารของคอมพิวเตอรที่ตอกันเปนเน็ตเวิรก และแตละเน็ตเวิรก ก็ตอถึงกันทั่วโลก  ซึ่งจะทําใหผูคนสามารถเชื่อมตอแลกเปลี่ยนขอมูลถึงกันไดโดยสะดวก รวดเร็ว ไมวาขอมูลเหลานั้น จะอยูในรูปแบบใด ๆ อาจจะเปนตัวอักษร ขอความ หรือเสียง และ ประโยชนเพื่ออํานวยความสะดวกในการใหบริการสื่อสารขอมูล เชน การบันทึกเขาระยะไกล การถายโอนแฟม ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และกลุมอภิปราย เปนตน เครือขายอินเตอรเน็ต เปนวิธีในการเชื่อมโยงขายงานคอมพิวเตอรที่มีอยูใหขยายออกไปอยางกวางขวาง เพื่อการ เขาถึงแตละระบบที่มีสวนรวมอยู

Page 20: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

11 

สิทธิชัย  (2540  : 3)  กลาววา อินเตอร เน็ต หมายถึง ระบบเครือขาย  (Network) ที่เชื่อมโยงเครือขายมากมายหลากหลายเครือขายเขาดวยกัน อินเตอรเน็ตจึงเปนแหลงขอมูล ขนาดใหญที่มีขอมูลในทุก ๆ ดาน ใหผูที่สนใจเขาไปคนควาหามาใชไดอยางสะดวกรวดเร็วและ งายดาย 

อนิรุทธ (2542  : 29) กลาววา อินเตอรเน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอร หลาย ๆ เครือขายภายใตมาตรฐานและขอตกลงเดียวกัน โดยที่เครือขายสามารถที่จะสื่อสาร ขอมูลกันในรูปแบบของตัวอักษร ภาพ และเสียงไดอยางรวดเร็ว จากคอมพิวเตอรที่ตางชนิด และตางระบบกัน 

จากความหมายที่มีผูกลาวมาทั้งหมดนี้สรุปไดวา อินเตอรเน็ต ก็คือเครือขายขนาดใหญ ที่เชื่อมโยงติดตอสื่อสารกันไดทั่วโลกไมวาจะเปนขอมูลอักขระ ภาพ หรือเสียง จากที่หนึ่งไปยัง อีกที่หนึ่งไดงาย สะดวก และรวดเร็ว ภายใตมาตรฐานสากลเดียวกัน หรือเรียกวา TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) 

2.2.2  จุดเริ่มตนของเครือขายอินเตอรเน็ต กระทรวงกลาโหมสหรัฐไดพัฒนาเครือขายคอมพิวเตอรขึ้นมา เพื่อใชในทางกิจการทหาร 

ระบบหนึ่ง  ซึ่งมีคุณสมบัติที่แตกตางจากระบบเครือขายคอมพิวเตอรทั่วไป คือ สามารถรับสง ขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางไมผิดพลาด แมวาคอมพิวเตอรบางเครื่อง หรือสาย รับสงขอมูลบางสวนจะเสียหายหรือถูกทําลายไปก็ตาม  ระบบเครือขายนี้มีชื่อเรียกวา อารพาเน็ต (ARPANET: Advanced Research Project Agency Network) โดยเริ่มใชในกิจการ เมื่อประมาณ พ.ศ.2512 ในชวงเวลาดังกลาวนั้น เปนยุคของสงครามเย็นระหวางรัสเซีย และสหรัฐ ความตึงเครียดของสงครามเย็น ทําใหกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ ตองการที่จะสราง ระบบเครือขายสื่อสารคอมพิวเตอรเตรียมไวสูในสงครามนิวเคลียร ซึ่งคอมพิวเตอรแตละเครื่อง จะเชื่อมโยงกันดวยสายสงขอมูลไปใหอีกเครื่องหนึ่งใน อารพาเน็ต จะแบงขอมูลออกเปน สวนยอย ๆ แลวทยอยสงไปใหปลายทางตามที่กําหนด โดยแตละชิ้นยอย ๆ นี้อาจไปคนละ ทางกัน แตจะไปรวมกันที่ปลายทางตามลําดับที่ถูกตองตามเดิมได แตถาหากวาในระหวางทาง ขอมูลสวนใดสวนหนึ่งเกิดสูญหาย หรือผิดพลาด อันเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนก็ดีหรือสาย สงขอมูล และเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูกลางทางเสียหายหรือถูกทําลายก็ดี เครื่องคอมพิวเตอร ปลายทางจะสงสัญญาณกลับมาแจงใหคอมพิวเตอรตนทางรับรู และทําการจัดสงขอมูลเฉพาะ สวนที่ขาดไปใหใหม  โดยใชเสนทางอ่ืนแทน ดวยวิธีนี้สามารถมั่นใจไดวา ขอมูลที่สงออกไป จะถึงปลายทางแนนอน แมวาจะมีบางสวนของเครือขายเกิดความเสียหายก็ตาม และเฉพาะ ขอมูลสวนที่เสียหายเทานั้นที่จะตองสงใหม ไมใชสิ่งใหมทั้งหมดตั้งแตตนจึงเสียเวลามาก ดังนั้นคอมพิวเตอรในเครือขายของอารพาเน็ต  จะสามารถรับสงขอมูลไปยังปลายทาง  โดยใช สายสงขอมูลเท าที่ เหลืออยู ได และเลือกเสนทางที่ดีที่ สุดในขณะนั้นให   พรอมกับมี การเปลี่ยนแปลงเสนทางการรับสงขอมูลไดตลอดเวลา

Page 21: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

12 

กาวแรกอารพาเน็ต ประกอบดวยคอมพิวเตอร 4 เครื่อง คือ เครื่องคอมพิวเตอรของ มหาวิทยาลัยยูทาห มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียที่ ลอสแองเจอลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอรด เมื่อมีการทดลองใชงาน อารพา เน็ต จนไดผลเปนที่นาพอใจแลว กระทรวงกลาโหมของสหรัฐก็ไดขยายเครือขายของอารพาเน็ต ออกไป โดยเชื่อมตอคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยตาง ๆ รวม 50 แหง ในป พ.ศ.2515 ซึ่งเครือขายของ อารพาเน็ต ในขณะนั้นใชงานเพื่อการคนควาและวิจัยทางทหารเปน สวนใหญ โดยคอมพิวเตอรที่ตอเขากับเครือขายของอารพาเน็ต จะมีมาตรฐานการรับสงขอมูล อันเดียวกัน เรียกวา Network  Control  Protocol  (NCP)  เปนสวนควบคุมการรับสงขอมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการรับสงขอมูล และเปรียบเสมือนตัวกลางที่เชื่อมตอ คอมพิวเตอรทุกเครื่องเขาดวยกัน อยางไรก็ตามมาตรฐาน NCP ที่ใชในขณะนั้นยังมีขอจํากัด อยูมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงคือ มีขอจํากัดในดานจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรที่ตอเขากับ อารพา เน็ต ทําใหขยายจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรออกไปมาก ๆ ไมได  จึงไดเริ่มมีการพัฒนามาตรฐาน การรับสงขอมูลแบบใหมขึ้น  จนกระทั่งในปพ.ศ.2525 ไดมีมาตรฐานใหมออกมาเรียกวา Transmission  Control  Protocol/Internet  Protocol  หรือโปรโตคอล แบบ TCP/IP  นี้ ทําให เครื่องคอมพิวเตอรตางชนิดกัน สามารถรับสงขอมูลไปมาระหวางกันได และนับวาเปนหัวใจของ เครือขายอินเทอรเน็ตเลยทีเดียว โปรโตคอล TCP/IP ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ในปถัด มาคือ ป 2526 และถือเปนสวนหนึ่งของระบบปฏิบัติการยูนิกซ (UNIX) เวอรชั่น 4.2 จํานวน เครื่องคอมพิวเตอรในเน็ตเวิรคไดเพิ่มขึ้นจาก 235 เครื่องในป 2525 มาเปน 500 เครื่องในป 2526 และเพิ่มเปน 1,000 เครื่องในป 2527 

ตอมาในป 2529 มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติ หรือ National Science Foundation (NSF) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดวางระบบเครือขายขึ้นมาอีกระบบหนึ่งที่เรียกวา NSFNET  ซึ่ง ประกอบดวยซุปเปอรคอมพิวเตอร จํานวน 5 เครื่อง ใน 5 รัฐ เชื่อมตอเขาดวยกัน เพื่อใช ประโยชนทางการศึกษาและคนควาทางวิทยาศาสตร และไดใชโปรโตคอล TCP/IP เปน มาตรฐานในการรับสงขอมูลเชนกัน  ทําใหการขยายตัวของเน็ตเวิรคเปนไปอยางรวดเร็ว เนื่องจากมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษามีความตองการที่จะเชื่อมตอเขากับซูเปอร คอมพิวเตอร เพื่อการใชงานซูเปอรคอมพิวเตอรคุมคาที่สุด และสามารถแลกเปลี่ยนขอมูล ระหวางกันได ประกอบการรับสงขอมูลก็ใชมาตรฐานเดียวกัน จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรใน เครือขายจึงเพิ่มขึ้นเปน 5,000 เครื่อง นอกจาก อารพาเน็ต และ เอ็นเอสเอฟเน็ตแลว ยังมี เครือขายอ่ืน ๆ อีกหลายเครือขาย เชน UUNET, UUCP, BitNet, CSNet เปนตน ซึ่งตอมาก็ได เชื่อมตอเขาดวยกัน โดยมี NSFNET  เปนเครือขายหลัก เปรียบเสมือนกระดูกสันหลังหรือ Backbone ของระบบจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรในเครือขายจึงไดเพิ่มเปนกวา 20,000 เครื่อง ในป 2530 และกาวกระโดดอยางรวดเร็วเปน 100,000 เครื่องในป 2532

Page 22: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

13 

หลังจากที่ อารพาเน็ต ไดรวมเขากับเอ็นเอสเอฟเน็ต แลวในป 2530 เครือขายอารพาเน็ต ก็คอย ๆ ลดบทบาทลง เนื่องจากการเปลี่ยนไปใชความสามารถของเอ็นเอสเอฟเน็ตแทน จนกระทั่งในป 2533 ก็เลิกใชงาน อารพาเน็ต โดยสิ้นเชิง แตจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรใน เครือขาย ก็ยังคงเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณตอไป และในป  2534 ก็ไดมีการจัดตั้งสมาคม CIX (Commercial  Internet  Exchange)  ขึ้น โดยขณะนั้นมีเครื่องคอมพิวเตอรรวมกวา 60,000 เครื่องในระบบ และเมื่อเครือขายอินเตอรเน็ตมีอายุครบรอบ 25 ป คือในป พ.ศ.2537 จํานวน เครื่องคอมพิวเตอรก็พุงสูงกวา 2,000,000 เครื่อง ปจจุบันประมาณกันวาเครื่องคอมพิวเตอร ทั่วโลกเชื่อมตอเครือขายอินเตอรเน็ตมีเกือบสิบลานเครื่องที่ทําหนาที่ใหบริการขอมูล ขาวสาร รับสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ และมีคนใชงานเครือขายอินเตอรเน็ตผานเครื่องคอมพิวเตอร สวนบุคคลที่ตอเชื่อมเขามาไมต่ํากวาวันละหลายสิบลานคน 

ความสําเร็จเริ่มตนของ อารพาเน็ตนี้ ทําใหมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในสหรัฐอเมริกาไดให ความสนใจ และขอเขารวมโครงการ โดยเชื่อมตอคอมพิวเตอรเขากับเครือขายเพื่อประโยชนใน การศึกษาและวิจัย เครือขายคอมพิวเตอรของวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยตาง ๆ ใน สหรัฐอเมริกาจึงไดเปนสวนหนึ่งของเครือขายอินเตอรเน็ตมานานแลว  และในปจจุบันนี้ โรงเรียนทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาก็ไดเขามาใชเครือขายอินเตอรเน็ตดวยเชนกนั จากนั้นจึงไดเผยแพรไปสูประเทศตาง ๆ ที่เห็นประโยชนของเครือขายอินเตอรเน็ต และมีการ นําเอาเครือขาย   อินเตอรเน็ตมาใชในงานตาง ๆ มากมาย (ตน และคณะ, 2539  : 10 - 25) 

2.2.3  เครือขายอินเตอรเน็ตในประเทศไทย เครือขายอินเตอรเน็ตในประเทศไทยนั้น  เริ่มตนโดยการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร 

เพื่อเชื่อมตอรับสงขอมูลกับเครือขายอินเตอรเน็ต สําหรับใชในการศึกษาของมหาวิทยาลัย เริ่มตั้งแตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ Asian  Institute  of  Technology  หรือ AIT ไดเชื่อมตอเครื่องมินิคอมพิวเตอรเขารับสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสกับมหาวิทยาลัยเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย ในป พ.ศ.2530 โดยใชสายโทรศัพทติดตอรับสงขอมูลกันผานโมเด็ม ซึ่งทางออสเตรเลียจะเปนผู ออกคาใชจายในการโทรทางไกลเขามารับสงขอมูลกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ AIT  วันละ 4  ครั้ง แบงเปนการติดตอเขาที่สงขลา 2 ครั้ง ซึ่งในขณะนั้นใชโมเด็มความเร็วเพียง 2,400 บิต ตอวินาทีเทานั้น ผูใชบริการจดหมาย อิเล็กทรอนิกส ก็คือ อาจารยในมหาวิทยาลัยทั้งสองแหง รวมถึงอาจารยจากมหาวิทยาลัยอ่ืน ๆ ดวย 

ตอมาในป พ.ศ.2535 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดเชาวงจรถาวรเชื่อมตอรับสงขอมูลกับ เครือขายอินเตอรเน็ตแบบออนไลนเปนครั้งแรก ดวยความเร็ว 9,600 บิตตอวินาที โดยเชื่อมตอ เขากับเครือขายอินเตอรเน็ตที่ยูยูเน็ต เทคโนโลยี (UUNET  Technologies) ซึ่งทําหนาที่เปน ไอเอสพ ี(ISP) ในสหรัฐอเมริกาเปนการใชงานเครือขายอินเตอรเน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเปนครั้งแรก ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

Page 23: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

14 

หรือ NECTEC (National Electronics and Technology Center) ก็ไดเชื่อมตอคอมพิวเตอรของ สถาบันการศึกษาภายในประเทศจํานวน 6  แหงเขาดวยกัน ประกอบดวย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร,  เนคเทค, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยเรียกเครือขายนี้วา ไทยสาร (Thai  Social/Scientific  Academic  and  research  Network,  Thai  Sam) ซึ่งเปนการใชงาน เครือขายอินเตอรเน็ตทางการศึกษา และวิจัยโดยเฉพาะ ซึ่งนับเปนจุดเริ่มตนของบริการ เครือขายอินเตอรเน็ตในประเทศไทย โดยทั้ง  6  แหงจะใชคอมพิวเตอรที่จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เปนจุดสําหรับเชื่อมตอรับสงขอมูลกับตางประเทศเพียงจุดเดียว 

หลังจากนั้นในป พ.ศ.2536 เครือขายของไทยสารก็ขยายขอบเขตบริการเขาเชื่อมตอกับ สถาบันการศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากเดิม 6 แหง เปน 19 แหง ประกอบดวยสถาบันในระดับอุดมศึกษาจํานวน 15 แหง และหนวยงานรัฐบาลอีก 4 แหง เมื่อมี ผูใชบริการมากขึ้น เนคเทคจึงไดเพ่ิมวงจรระหวางประเทศความเร็ว 64 กิโลบิตตอวินาทีขึ้นอีก หนึ่งวงทําใหมีวงจรเชื่อมตอจากประเทศไทยเขาสูเครือขายของเครือขายอินเตอรเน็ตเพิ่มเปน สองวงจร เพื่อใชสํารองซึ่งกันและกันได นอกจากนี้ ยังทําใหคุณภาพของการใชงานเครือขาย อินเตอรเน็ตดีข้ึนมาก ในขณะนั้นเนคเทคจึงเปนจุดเชื่อมตอเขากับเครือขายอินเตอรเน็ตจุดหลัก แทนที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และปพ.ศ.2537 ก็ไดขยายเครือขายออกไปอีก รวมเปนการ เชื่อมตอหนวยงานทั้งสิ้น 27 หนวยงาน แบงออกเปนสถาบันอุดมศึกษา 20 แหง และหนวยงาน ทางราชการ 7 แหง อยางไรก็ตามเครือขายไทยสารนี้จัดตั้งขึ้น เพื่อใชในงานวิจัย และการศึกษา เทานั้นไมไดจัดตั้งขึ้นมาเปดบริการในเชิงธุรกิจใหแกบุคคลทั่วไป  เนื่องจากไทยสารเปน เครื อขายที่ ไ ดรั บเงิ นสนับสนุนจากรั ฐบาล และการ เช าวงจรระหว างประ เทศจาก การสื่อสารแหงประเทศไทย มีเงื่อนไขวาจะนําไปใหผูอ่ืนเชาชวงหรือเชาบริการตอไมได ดังนั้น บุคคลทั่วไปและบริษัทตาง ๆ จึงเชื่อมตอเขาใชบริการเครือขายอินเตอรเน็ตจากเครือขายของ ไทยสารไมได แมวาจะเปนผูบุกเบิกการใชงานเครือขายอินเตอรเน็ตในประเทศไทยก็ตาม เมื่อเครือขายคอมพิวเตอรในประเทศไทยมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ก็ไดมีการจัดกลุมที่ชื่อวา ไทยเน็ต (ThaiNet:Thailand Access  to  Internet) แยกออกจากไทยสาร ซึ่งกลุมของไทยเน็ต ประกอบดวยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, สํานักวิทยบริการ, วิทยาลัยอัสสัมชัญเชียงใหม และ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) รวมกันออกคาใชจายสําหรับวงจรเชาระหวางประเทศ จาก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ยูยูเน็ต ความเร็ว 64 กิโลบิตตอวินาที สวนเครือขายอ่ืน ๆ ที่เหลือ จะเชื่อมตอเปนลูกขายของไทยสารตามเดิม โดยเนคเทคยังคงเปนผูสนับสนุนคาใชจายในการ เชาวงจรตางประเทศในฐานะที่เนคเทคเปนหนวยงานกลางที่รับผิดชอบดานการวิจัยและพัฒนา ประเทศ 

จนกระทั่งเดือนกันยายน 2537 ประเทศไทยมีเครือขายที่เชื่อมตอกันทั้งสิ้น 35 เครือขาย เปนคอมพิวเตอรทั้งสิ้น 1,267 เครื่องที่เชื่อมตอเขากับเครือขายอินเตอรเน็ต ซึ่งจัดไดวาประเทศ

Page 24: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

15 

ไทยมีเครือขายใหญเปนอันดับ 6 ในยานเอเชียแปซิฟก รองจากออสเตรเลีย ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลี และนิวซีแลนด ซึ่งนับวาเปนเครือขายที่มีการขยายตัวเร็วมาก รวมทั้งยังมีจํานวน เครือขายและคอมพิวเตอรมากกวาสิงคโปรและฮองกงในขณะนั้นอีกดวย  ทําใหประเทศไทย ไดรับการยอมรับวาเปนอีกประเทศหนึ่งที่ เปดบริการเครือขายอินเตอรเน็ตและประสบ ความสําเร็จอยางมากในยานนี้ 

อยางไรก็ตามเครือขายไทยสาร ซึ่งเปนผูเริ่มตนใหบริการเครือขายอินเตอรเน็ตในประเทศ ไทยก็ยังคงขยายตัวออกไปตลอดเวลา โดยมีเนคเทค เปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงและเปน ผูสนับสนุนอุปกรณการสื่อสารและวงจรเชื่อมตอใหกับสถาบันและหนวยงานราชการตาง ๆ ที่ ตองการเชื่อมตอเขาใชบริการเครือขายอินเทอรเน็ต (ตน และคณะ, 2539 : 10-25) 

2.2.4  บริการในเครือขายอินเตอรเน็ต บริการในเครือขายอินเตอรเน็ตมีอยูดวยกันหลายประเภท สามารถเลือกใชไดตามความ 

ตองการดังตอไปนี้ (ตน และคณะ, 2539 : 25-30) จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronics  Mail:  E-mail) เปนบริการที่ผูใชบริการสามารถ 

สงจดหมายถึงบุคคล องคกร สถาบัน ฯลฯ โดยผูรับจะไดรับผานจอคอมพิวเตอรหรือ พิมพเปน เอกสารไดทันที  หากผูรับไมไดอยูที่จอคอมพิวเตอร  จดหมายนี้จะถูกสงไวในตูคือใน หนวยความจําที่เสมือนเปนตูจดหมายในคอมพิวเตอร ซึ่งผูรับจะรับเวลาใดก็ได และจะโตตอบ เวลาก็ไดเชนกัน 

การเขาใชเครื่องระยะไกล  (Remote  Login) คือการที่ผูใชสามารถติดตอกับเครื่อง คอมพิวเตอรที่อยูหางไกลได เสมือนไดนั่งอยูที่หนาเทอรมินัลของเครื่องนั้น ๆ โดยผูใชเพียง ทํางานอยู อยูหนาเทอรมินัลของเครื่องของตนเองเทานั้นแลว เรียกคําสั่งที่ใชในการติดตอกับ เครื่องระยะไกลผานของเครือขายคอมพิวเตอร การเขาใจเครื่องระยะไกลทําได 2 วิธีใหญ ๆ คือ 

การใชคําสั่งเทลเน็ต (Telnet) การใชคําสั่งไฮเทลเน็ต (Hytelnet) การถายโอนแฟมขอมูล (File Transfer Protocol: FTP) เปนบริการถายโอนแฟมขอมูล 

หรือโปรแกรมที่ผูใชตองการจากเครื่องอ่ืนมาเก็บไวยังเครื่องของตน สามารถถายโอนแฟมไดทั้ง ที่เปนขอมูลทั่วไป ขาวประจําวัน บทความ รวมทั้งโปรแกรมที่บางทานพัฒนาขึ้น และตองการ บริจาคใหสาธารณะประโยชนไดใชโดยไมคิดมูลคา โปรแกรมในลักษณะนี้เรียกวา แชรแวร (Shareware) บางโปรแกรมก็อาจทดลองใชเปนครั้งคราว หากสนใจก็อาจจะตองเสียคาใชจาย 

กลุมขาวที่นาสนใจ (Usenet) เปนบริการที่เสมือนเปนกระดานประกาศขายสินคาหรือ แสดงความตองการ เพื่อใหผูสนใจตรงกัน หรือคลาย ๆ กัน ไดสงขาวติดตอกัน ขาวทีน่าํเสนอไว อาจจะเกี่ยวกับสังคม กีฬา ศาสนา เทคโนโลยี ปรัชญา การปรุงอาหาร การเลี้ยงสัตว การ แลกเปลี่ยนแนวคิด ดนตรี ปญหาตาง ๆ ฯลฯ ทายขาวจะมีที่อยูที่ติดตอได หรือผูสนใจติดตอ ถึงกัน

Page 25: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

16 

การสนทนาออนไลน (Talk) เปนอีกวิธีหนึ่งที่ผูใชเครือขายอินเตอรเน็ตสามารถใชในการ สื่อสาร ติดตอแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันได การสนทนาแบบออนไลนนั้น ผูสนทนาสามารถ คุยโตตอบกันผานหนาจอ เสมือนกับการคุยโทรศัพทกันอยูเพียงแตใชการพิมพแทนการใชเสียง นั่นก็คือผูสงและผูรับโตตอบกันทางตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร ซึ่งในขณะนี้มีเพียงซอฟตแวรที่ พัฒนาขึ้นใหสามารถพูดโตตอบกันผานระบบคอมพิวเตอรได ดังเชนพูดกันทางโทรศัพท เชน โปรแกรมชื่อ คูลทอรก (Cool Talk) เปนตน 

การสืบคนขอมูลโดยการใช Archie ผูใชสามารถคนหารายชื่อโปรแกรมที่ตองการวาเก็บ อยูที่ใด เพื่อที่จะสามารถถายโอนแฟมขอมูลได อารชี่ทําหนาที่สรางบัตรรายการและเปนเสมือน บรรณารักษ ชวยคนหาชื่อคอมพิวเตอรที่เก็บแฟมขอมูลที่ตองการ 

การสืบคนขอมูลโดยการใช Gopher ผูใชเครือขายอินเทอรเน็ตสามารถคนหาขอมูลตาง ๆ ในเครือขายอินเทอรเน็ตดวยระบบเมนู โดยโกเฟอรจะทําการคนหามุงตรงไปยังแหลงที่ใหขอมูล และแสดงขอมูลที่ตองการทางจอภาพ นอกจากนี้โกเฟอรยังเปนตัวกลางใหบริการเขาใชระบบ จากระยะไกล ถายโอนแฟมขอมูลหรือขอใชบริการอารชี่คนหาโฮสตที่เก็บแฟมขอมูล ซึ่งในการ ใชโปรแกรมโกเฟอรจึงอํานวยความสะดวก เนื่องจากไมตองพิมพคําสั่งและไมตองจดจําชื่อ คอมพิวเตอรที่ตองการติดตอ เพราะสามารถเลือกไดจากเมนู 

การสืบคนขอมูล โดยการใช World Wide Web (WWW) ผูใชสามารถที่จะเขาไปคนหา ขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะเปนตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง ที่นําเสนอให ผูตองการเรียกดู เรียกใช หรือสําเนาขอมูล รูปภาพ และเสียงบางรายการ ในปจจุบันเปนที่นิยม มากไมวาจะเปนธุรกิจการคา การอุตสาหกรรม องคกรทั้งภาครัฐ และเอกชนที่จะนําเสนอ ประชาสัมพันธหนวยงานผานเวิลด วาย เว็บ โดยการสรางเว็บไซต (Web  site)  ของตนขึ้น เผยแพรซึ่งใหผลในแงของการประชาสัมพันธ การคาขาย แลกเปลี่ยน การตกลง อยางมหาศาล 

บริการสืบคนดัชนีหัวขอ (Wide Area Information Service) หรือ WAIS เปนเครื่องมือที่ ชวยคนหาขอมูลในรูปของแฟมเอกสาร โดยจะรวมฐานขอมูลไวดวยกัน และเมื่อสั่งหาขอมูลที่ เราสนใจโดยการพิมพขอความลงไป เวสจะแสดงรายการที่คนพบออกมาในรูปแบบของดรรชนี ซึ่งเราสามารถเลือกดูขอความโดยละเอียดทั้งหมด หรือถาเปลี่ยนเรื่อง หรือเปลี่ยนหัวขอให คนหาเปนเรื่องอ่ืน เวสแสดงรายการดรรชนีในหัวขอใหมออกมา การใชงานในลักษณะนี้ เหมือนกับการที่เราไปคนเอกสารจากหองสมุด ที่ตองคนหาเรื่องราวที่สนใจจากดรรชนีของ หองสมุดนั้นกอน แลวจึงดึงไปเอาเอกสารที่ตองการตามที่ระบุไวในดรรชนีอีกทีหนึ่ง 

บริการขาวสารบนอินเทอรเน็ต ในลักษณะของการสงขาว  ในลักษณะของการสงขาว คือ กลุมขาว ซึ่งออกมาเปนหัวขอตาง ๆ เรียกวา กลุมขาว (News Group) ซึ่งผูใชสามารถที่จะเขา ไปอานในเรื่องที่ตนเองสนใจได และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอ่ืนได ในลักษณะที่ คลายกับจดหมายอิเล็กทรอนิกส โดยที่เวลาสงขาว (Post News) ทุกคนที่อานในกลุมนั้นจะเห็น ขาวที่สงไป

Page 26: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

17 

จดหมายขาวหรือจดหมายเวียน เปนระบบการบริการกระจายขาวใหสมาชิกเมื่อมีสมาชิก รายใดรายหนึ่งสงขาวมาที่ศูนยกลาง บริการนี้ไดแก List  Serve  ซึ่งอยูภายใตการดูแลของ เครือขายบิตเน็ต ศูนยบริการจะดูแลบัญชีรายชื่อซึ่งเก็บไวเพียงชุดเดียว เมื่อสมาชิกตองการสง ขาวไปยังสมาชิกอ่ืน ก็ฝากขอความดวยไปรษณียอิเล็กทรอนิกสใหศูนยบริการทําหนาที่กระจาย ขาวหรือจดหมายที่สงออกไปอาจเปนการสนทนาทั่วไป การซักถาม ขอความชวยเหลือ หรือการ แลกเปลี่ยนขอมูล เปนตน 

เกม (Games) เปนการเลนเกมบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ตซึ่งอาจเลนคนเดียวหรือ หลายคนพรอมกันก็ได เกมบนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้สามารถที่จะถายโอนดวย  FTP ศูนยบริการบางแหงยังมีเกมทางเครือขาย หรือ MUD (Multi User Dimensions) ซึ่งเปนสภาวะ ที่จําลองขึ้นมาใหผูใชเครือขายหลาย ๆ คนชวยแกปริศนา การเลนเกมผจญภัย รวมทั้งสนทนา กับสมาชิกคนอ่ืน 

2.2.5  ประโยชนของเครือขายอินเทอรเน็ตดานการศึกษา สําหรับดานการศึกษานั้น เครือขายอินเทอรเน็ตมีประโยชนในการชวยเสริมสรางคุณภาพ 

และความเสมอภาคทางการศึกษาในหลายเรื่อง ดังนี้ (อธิปตย, 2540) ครู อาจารย ผูสอน สามารถพัฒนาคุณภาพบทเรียน หรือแนวคิดในสาขาวิชาที่สอน 

โดยการเรียกดูจากสถาบันการศึกษาอ่ืน ไมวาจะเปนเนื้อหาวิชาการ คูมือครู แบบฝกหัด ซึ่งบาง เรื่องสามารถคัดลอกมาใชไดทันที เนื่องจากผูผลิต ผูคิดเดิม แจงความจํานงใหเปนสาธารณชน นําไปใชได (Public Mode) ในทางกลับกัน ครู อาจารย ทานใดมีแนวคิด วิธีสอน คูมือการสอนที่ นาสนใจสรางความเขาใจไดดีกวาผูอ่ืนก็สามารถนําเสนอเรื่องดังกลาวในโฮมเพจ ของสถาบัน ของตนเอง เพื่อใหผูอ่ืนศึกษาใชงานได สวนหนึ่งของเรื่องดังกลาวอาจจะทําเปนโปรแกรม สําเร็จรูป หรืออยูในรูปของซีดีรอม  (CD-ROM) ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปเรียกกันวา คอมพิวเตอร ชวยการเรียนการสอน  (CAI) ซึ่งมีทั้งชวยสอนวิชาทั่ว ๆ ไป และชวยสอนวิชาที่เกี่ยวกับ วิทยาการดานคอมพิวเตอรโดยตรง 

นักเรียน นักศึกษาสามารถเขาถึงการเรียนการสอนของครู อาจารยตางสถาบันเนื้อหา สาระที่หองสมุดตนเองยังไมมี รูปภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เชน การทํางานของเครื่องจักร การศึกษาดูสวนรายละเอียดของการทํางานของรางกาย เสียงดนตรี เพลง วิธีเลนกีฬา การ ทดลองวิทยาศาสตร ภาพเขียนทางศิลปวัฒนธรรม สารคดีที่เกี่ยวของกับการเรียน ภูมิศาสตร วิธีการถนอมอาหาร การเรียนรูดวยตนเองผานบทเรียนสําเร็จรูป การทําอุปกรณบางอยางดวย ตนเอง การแลกเปลี่ยนความรูกับเพ่ือนในสถาบันเดียวกันแตคนละหอง หรือตางสถาบัน ฯลฯ 

ขอมูลการบริหารการจัดการ สามารถติดตอถายโอนและแลกเปลี่ยนได ทะเบียน ประวัติ นักเรียน การเลือกเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ขอมูล ผูปกครองดานอาชีพรายไดตอป การยายถิ่นที่อยู ขอมูลครูอาจารย เงินเดือน คุณวุฒิ การอบรม ฝกฝน ความรูความสามารถพิเศษ เปนตน ขอมูลดังกลาวพรอมภาพของนักเรียน อาจารย และ

Page 27: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

18 

ชวยใหอาจารยประจําชั้น ประจําวิชา ฝายบริหารไดติดตามแลกเปลี่ยนถายโอนความจําเปนเพื่อ ดูแลใหนักเรียน อาจารยสามารถพัฒนาตนเองไดสูงสุด ตามศักยภาพของขอมูลดังกลาวรวมถึง เด็กผูมีพรสวรรคเกงเปนเลิศ หรือเด็กและเยาวชนที่ยังตองการความชวยเหลือ เนื่องจากพิการ ทางรางกายหรือจิตใจ ซึ่งตองการชดเชยในบางเรื่องบางสวน  เพื่อสามารถชวยตนเองและ ครอบครัวไดตามศักยภาพของตน ระบบขอมูลเชนนี้เรียกวา ขอมูลการบริหารการจัดการ (MIS) 

งานวิเคราะห วิจัย เรื่องนี้นักเรียนที่อยูระดับมัธยม อาชีวศึกษาขึ้นไป และครู อาจารย สถาบันทุกระดับ สามารถคนหาเรื่องราวที่เกี่ยวของกับความสนใจที่จะศึกษาคนควา วิเคราะห วิจัยโดยเฉพาะ ในสวนที่เปนวรรณคดีที่เกี่ยวของ (Review  of  Literature)  เพื่อดูวามีผูรูทาน ใดบาง ศึกษาคนควาเมื่อใด ผลเปนประการใดเพื่อนํามาอางอิง หรือนํามาเปนตัวแบบศึกษา คนควาตองานบางเรื่องอาจจะตองเสียคาใชจายบาง ซึ่งสามารถจายไดผานบัตรเครดิต (Credit Card)  เนื่องจากเปนงานที่มีลิขสิทธิ์ทางปญญา แตเอกสารสวนมากทั้งงานวิจัย และเอกสาร ทั่วไปที่คนควาไดจะเปนเรื่องที่เปดเผยแกสาธารณะชนทั่วไป โดยไมคิดมูลคา 

การประมวลผลหรือการทํางานโดยใชเครื่องอื่น บริการเครือขายอินเตอรเน็ต รวมถึงการ ขอใชเครื่องที่มีศักยภาพสูง ทํางานบางงานใหเราไดหากไดรับอนุญาตหรือเราเปนสมาชิกอยูนั้น งานประมวลผล หรืองานคํานวณที่ตองการความรวดเร็ว และมีความซับซอนสูง ก็สามารถใช บริการนี้ได สถานศึกษาบางแหงอาจมีเครื่องที่มีสมรรถนะไมสูงพอที่จะทํางานบางงาน ก็สามารถทํางานที่เครื่องของตนเองแตสงงานขามเครื่องไปใหศูนยใหญ หรือศูนยสาขาชวย ทํางานใหและสงผลงานนั้นกลับมายังจอคอมพิวเตอรของเจาของงาน 

การเลนเกมเพื่อลับสมอง และฝกความคิดกับการทํางานของมือในเครือขายอินเตอรเน็ต มีเกมเลนทุกระดับ ซึ่งสวนหนึ่งของเกมดังกลาวจะเปดใหเลนโดยไมคิดมูลคา ซึ่งนักเรียน นักศึกษาทุกระดับอาจขอเขาลองศึกษาวิธีการ และลองเลนกับเพื่อนรวมชั้น หรือเลนกับผูอยูตาง สถาบันไดโดยสะดวก แตอยางไรก็ตาม การเลนเกมควรมีขอพิจารณาวา เลนเพื่อฝกสมอง หรือ คลายความเครียดนั้นจะเปนประโยชนมากกวาทุมเท เสียเวลา  (และคาใชจายที่อาจมี) เพื่อเอาชนะการเลนในเกมแตเพียงอยางเดียว 

การศึกษางานดานศิลปวัฒนธรรมผานเครือขายอินเตอรเน็ต สังคมโลกเปนสังคมที่ ประกอบไปดวยผูคนหลายเชื้อชาติที่มีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเปนอยู แนวคิด สภาวะเศรษฐกิจ ฯลฯ แตกตางกันมาก แตในเครือขายนี้ การศึกษาแลกเปลี่ยนความรู แนวคิด เพื่อนําสวนที่ดี และเหมาะสมของบางสังคมมาประยุกตใชทําไดโดยงาย นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย อาจจะเพลิดเพลินใชเวลาเปนวัน ๆ อานสาระ รับฟงเรื่องราวบาง เรื่องรวมทั้งดูภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวผานเครือขายนี้ เพื่อนํามาใชในการเรียนการสอน การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

Page 28: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

19 

2.3  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบเครือขายอนิเตอรเน็ต 2.3.1  ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรผานเว็บ คาน (Khan, 1997:6) ไดนิยามบทเรียน WBI/WBT ไววา เปนโปรแกรมการเรียนการสอน 

ที่นําเสนอในรูปแบบของไฮเปอรมิเดีย ที่นําคุณลักษณะและทรัพยากรตาง ๆ ที่มีอยูใน เครือขายใยแมงมุมมาใชเปนประโยชนในการจัดสภาพแวดลอมเพื่อสนับสนุนการเรียนรู (มนตชัย, 2543 : 355) 

2.3.2  สวนประกอบของบทเรียน WBI/WBT จากนิยามความหมายของบทเรียน WBI/WBT  ดังกลาวขางตน เมื่อพิจารณาถึงการใช 

เทคโนโลยีของเว็บและใชเว็บเบราเซอรในการนําเสนอ ภายในกรอบของระบบการเรียนการสอน บทเรียน WBI/WBT จะประกอบดวย 4 สวน ดังนี้ 

1.  สื่อสําหรับนําเสนอ (Presentation  Media)  หมายถึง ตัวบทเรียนที่นําเสนอผาน เครือขายอินเตอรเน็ตไปยังผูเรียนในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก 

1.1  ขอความ (Text) 1.2  ภาพนิ่ง (Still Image) 1.3  กราฟก (Graphic) 1.4  ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 1.5  วิดีทัศน (Video) 1.6  เสียง (Sound) 

2.  การปฏิสัมพันธ (Interactivity)  หมายถึง การโตตอบที่เกิดขึ้นระหวางผูเรียนกับ บทเรียน 

3.  การจัดการฐานขอมูล (Database  Management)  หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับ บทเรียนเริ่มตั้งแตการลงทะเบียนจนถึงการประเมินผลการเรียน 

4.  สวนสนับสนุนการเรียนการสอน (Course Support) หมายถึง การบริการตาง ๆ ที่มี อยูในเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน จําแนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก line สําหรับการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับบทเรียนหรือผูอ่ืนที่เกี่ยวของ ไดแก 

4.1  Asynchronous  หมายถึง สวนสนับสนุนการเรียนการสอนที่ใชงานในลักษณะ Off-line สําหรับการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับบทเรียนหรือผูอ่ืนที่เกี่ยวของ ไดแก 

อิเล็กทรอนิกสบอรด (Electronic Board) เชน BBS, Web board จดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-Mail) 

4.2  Synchronous หมายถึง สวนสนับสนนุการเรียนการสอนที่ใชงานในลักษณะ On- line สําหรับการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับบทเรียนหรือผูอ่ืนที่เกี่ยวของ ไดแก 

4.2.1  การสนทนาผานเครือขาย (Internet Relay Chat) เชน Chatrooms, ICQ 4.2.2  การประชุมทางไกลดวยภาพ (Video Conferencing)

Page 29: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

20 

4.2.3  การบรรยายสด (Live Lecture) 4.2.4  การติดตอสื่อสารผานเครือขาย เชน Internet Phone, Net Meetings 

นอกจากนี้ยังมีสวนสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งเปนการใชเครื่องมือหรือการบริการที่มี อยูบนเครือขายอินเตอรเน็ตอํานวยความสะดวกในการศึกษาบทเรียน WBI/WBT ไดแก 

เครื่องมือสําหรับคนหาขอมูล ไดแก Search Engine Tool ตางๆ เครื่องมือสําหรับเขาสูระบบเครือขาย ไดแก Telnet, FTP 

ภาพที่  2–1  สวนประกอบของบทเรียน 

2.3.3  ประเภทของบทเรียน WBI/WBT บทเรียน WBI/WBT จําแนกเปน 3 ประเภทตามระดับความยาก ไดแก 

2.3.3.1  Embedded WBI เปนบทเรียนที่นําเสนอดวยขอความและกราฟกเปน หลักจัดวาเปนบทเรียนชั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียน CAI/CBT สวนใหญพัฒนาขึ้นดวย ภาษา HTML (Hypertext Markup Language) 

2.3.3.2  IWBT (Interactive WBI) เปนบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจากบทเรียนประเภท แรก โดยเนนการมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนเปนหลัก นอกจากจะนําเสนอดวยสื่อตาง ๆ ทั้งขอความ กราฟก และภาพเคลื่อนไหวแลว การพัฒนาบทเรียนในระดับนี้จึงตองใชภาษาคอมพิวเตอรยุคที่ 4 ไดแก ภาษาเชิงวัตถุ (Object  Oriented  Programming)  เชน Visual  Basic,  Visual  C++ รวมทั้งภาษา HTML, Pearl  เปนตน 

2.3.3.3  IMMWBI (Interactive Multimedia WBI) เปนภาษา WBI ที่นําเสนอโดย ยึดคุณสมบัติทั้ง 5 ดานของมัลติมีเดีย ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการ ปฏิสัมพันธ จัดวาเปนระดับสูงสุด เนื่องจากการปฏิสัมพันธเพื่อการจัดทางดานภาพเคลื่อนไหว และเสียงของ บทเรียนโดยใชเว็บเบราเซอรนั้นมีความยุงยากมากกวาบทเรียนที่นําเสนอแบบใช งานเพียงลําพัง ผูพัฒนาบทเรียนจะตองใชเทคนิคตาง ๆ เขาชวย เพื่อใหการตรวจปรับของ

Page 30: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

21 

บทเรียนจากการมีปฏิสัมพันธเปนไปดวยความรวดเร็วและราบรื่น เชน การเขียนคุกกี ้(Cookies) ชวยสื่อสารขอมูลระหวางเว็บเซิรฟเวอรกับตัวบทเรียนที่อยูในไคลเอนท เปนตน ตัวอยางของภาษาที่ใชพัฒนาบทเรียนระดับนี้ ไดแก Java, ASP, JSP  และ PHP เปนตน 

2.3.4  สถาปตยกรรมของระบบสําหรับบทเรียน WBI/WBT สถาปตยกรรมของระบบสําหรับบทเรียน WBI/WBT ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดงันี้ 

2.3.4.1  เครื่องไคลเอนท  (Client) เปนเครื่องคอมพิวเตอรของผู เรียนที่มี สมรรถนะสูงเพียงพอที่จะตอเชื่อมเขากับระบบเครือขายอินเตอรเน็ตดวยความรวมเร็ว โดยมี ความสามารถดานมัลติมีเดียประกอบดวยซีพียูที่มีความเร็วสูงและมีหนวยความจําหลักขนาด เพียงพอ รวมทั้งมีแผงวงจรเครือขายสําหรับเชื่อมตอเขากับระบบอินเตอรเน็ต 

2.3.4.2  การติดตอเชื่อมเขาระบบเครือขาย (Network  Connectivity)  เปนการ ตอเชื่อมเครื่องไคลเอนทเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรทั้งอินเตอรเน็ตหรืออินทราเน็ต ผาน บริษัทที่บริการดานอินเตอรเน็ต (Internet Service Provider) โดยใชโมเด็มและคูสายโทรศัพท หรือใชสายเชา 

2.3.4.3  เว็บเบราเซอรและปลั๊กอิน (Web Browser and Plug-ins) เปนโปรแกรม นําเสนอบทเรียนโดยใชเทคโนโลยีของเว็บ ไดแก  Hypertext  Transfer  Protocol  โดยใช โพรโตคอลแบบ TCP/IP  เชน Netscape  Navigator,  Internet  Explorer,  Net  Captor  และ NCSA Mosaic เปนตน พรอมดวยปลั๊กอินซึ่งเปนซอฟทแวรที่ชวยการนําเสนอไฟลภาพและไฟล เสียงผานเว็บเบราเซอร 

2.3.4.4  บทเรียน WBI/WBT  ติดตั้งไวที่เว็บเซิรฟเวอรใด ๆ ที่ตอเชื่อมเขากับ ระบบเครือขายอินเตอรเน็ตหรืออินทราเน็ต 

ภาพที่  2–2  สถาปตยกรรมของระบบ

Page 31: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

22 

2.3.5  ลักษณะของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT บทเรียน WBI/WBT  จะมีแนวความคิดและหลักการออกแบบเชนเดียวกันกับบทเรียน 

CAI/CBT  แตลักษณะของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT ความแตกตางกัน ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ 

1.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT สามารถขยายพื้นที่การเรียนการ สอนไดมากกวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนปกติหรือการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมในชั้นเรียน ผูเรียนที่มีเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ทํางานหรือที่บานก็สามารถตอเชื่อมเขาระบบได ทําใหการ เรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT มีพื้นที่ไมจํากัด นอกจากไมมีชั้นเรียนแลว ยังแพรขยาย ไปยังพื้นที่หางไกลไดสะดวกกวาบทเรียนชนิดอ่ืน ๆ 

2.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ผูเรียนสามารถคนควาหาขอมูล เพิ่มเติมไดงายจากเครือขายใยแมงมุม (World Wide Web) ของเครือขายอินเตอรเน็ต ทําให การศึกษาไมถูกจํากัดเฉพาะหนังสือหรือเอกสารที่ผูสอนเตรียมมาเทานั้น 

3.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT  สรางความรูสึกแปลกใหมและ สรางความสนใจกับผูเรียนไดสูง ซึ่งเปนผลมาจากการปฏิสัมพันธที่ผูเรียนมีตอบทเรียนอยาง ตอเนื่องตลอดเวลา สงผลใหการเรียนรูเปนไปดวยความสนุกสนานและทาทาย ทําใหองคความรู ของผูเรียนเกิดขึ้นตลอดเวลาและมีประสิทธิผล 

4.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ชวยใหผูเรียนมีทางเลือกมากขึ้น ในการศึกษาบทเรียนดวยตนเอง ซึ่งสามารถเลือกศึกษาคนควาขอมูลจากไฮเปอรเท็กซที่มีอยู บนเครือขายอินเตอรเน็ตตามความถนัดและความชอบของตนเอง โปรแกรมการเรียนมีความ ยืดหยุนมากกวาบทเรียนชนิดอ่ืน ๆ 

5.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับ ผูสอนไดสะดวก โดยใชเครื่องมือสนับสนุนหรือบริการตางๆ ที่มีอยูบนเครือขายอินเตอรเน็ต ทั้ง ในลักษณะ Asynchronous และ Synchronous ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาบทเรียน WBI/WBT จึงไดรับการแกไขที่ทันเวลา ทําใหผูเรียนเกิดความมั่นใจในการศึกษาบทเรียนเพียง ลําพัง 

6.  การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน  WBI/WBT  สามารถจัดการศึกษาได หลากหลายรูปแบบ เชน การเรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative  Learning)  การเรียนรูแบบ ผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student  Centered)  หรือระบบการเรียนการสอนอ่ืน ๆ ที่ใชงานผาน เครือขายอินเตอรเน็ต ทําใหเกิดสังคมการเรียนรูในรูปแบบใหม ๆ ที่แปลกไปจากเดิม เกิดการ ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการสรางสรรคองคความรูใหม ๆ รวมทั้งการแกปญหาและการทํางาน รวมกัน ซึ่งเปนกลยุทธที่ทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 

2.3.6  รูปแบบของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT

Page 32: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

23 

บทเรียน WBI/WBT สามารถใชกับการเรียนการสอนไดทุกสาขาวิชา ซึ่งรูปแบบการเรียน การสอนดวยบทเรียน WBI/WBT นั้น นักคอมพิวเตอรศึกษาไดจําแนกออกเปน 4 รูปแบบ ดังนี้ 

1.  Standalone Course หมายถึง การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT ที่ตัวเนื้อหา บทเรียนและสวนประกอบตาง ๆ ทั้งหมดถูกนําเสนอบนเครือขายอินเตอรเน็ต ผูเรียนเพียงแต ตอเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอรเขากับระบบโดยปอนชื่อผูใชและรหัสผานก็จะสามารถเขาไปศึกษา บทเรียนได เริ่มตั้งแตการลงทะเบียน การเลือกวิชาเรียน การศึกษาบทเรียน WBI/WBT การวัด และประเมินผล และการรายงานผลการเรียน ขั้นตอนทั้งหมดนี้จะดําเนินการโดยระบบการ จัดการผานเครือขายอินเตอรเน็ต ผูเรียนไมจําเปนตองเดินทางไปศึกษาในชั้นเรียนจริงก็ สามารถศึกษาจนจบหลักสูตรได การเรียนการสอนลักษณะนี้เปรียบเสมือนเปนหองเรียนขนาด ใหญที่ไมมีกําแพงกั้น หรือที่เรียกวา No Wall School หรือ No Classroom องคความรูทั้งหมด จะถูกนําเสนอผานบทเรียน WBI/WBT  ผูเรียนเพียงที่ตอเชื่อมมาจากสถานที่แตกตางกันก็ สามารถเขาศึกษาในชั้นเรียนเดียวกันได จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา Cyber Class 

2.  Web Supported Course หมายถึง การเรียนการสอนปกติแบบเผชิญหนาในชั้นเรียน ระหวางผูเรียนกับผูสอน แตใชบทเรียน WBI/WBT  สนับสนุนหรือสอนเสริม เพื่อใชเปน แหลงขอมูลเพิ่มเติม ทําใหผูเรียนไดรับความรูหลากหลายขึ้น ไมเฉพาะทางดานการนําเสนอ เนื้อหาบทเรียนเทานั้น แตยังรวมถึงการทํากิจกรรม การทํากรณีศึกษา การแกปญหา หรือ การ ติดตอสื่อสารดวย ซึ่งบทเรียน WBI/WBT  ที่ใชสนับสนุนการเรียนการสอนปกติตามรูปแบบนี้ กําลังมีบทบาทอยางสูงตอระบบการศึกษาในปจจุบัน อันเนื่องมาจากความไมพรอมของ คอมพิวเตอรฮารดแวรและการแพรขยายของระบบเครือขายอินเตอรเน็ต ทําใหการจัดการเรียน การสอนในลักษณะของ Standalone  Course  ยังทําไมไดในบางชุมชน การใชบทเรียน WBI/WBT สนับสนุนการเรียนการสอนปกติจึงเปนทางเลือกใหมในการจัดการศึกษาปจจุบัน ซึ่ง มีประสิทธิภาพมากกวาการที่ผูเรียนนั่งฟงคําบรรยายจากผูสอนเฉพาะแตในชั้นเรียนเทานั้น 

3.  Collaborative  Learning  หมายถึง การเรียนการสอนแบบรวมมือโดยใชบทเรียน WBI/WBT โดยที่ผูเรียนจากชุมชนตาง ๆ ทั้งในและนอกประเทศตอเชื่อมระบบเขาสูบทเรียนใน เวลาเดียวกันหลาย ๆ คนและศึกษาบทเรียนเรื่องเดียวกัน ซึ่งสามารถชวยเหลือซึ่งกันและกันใน การตอบคําถาม แกปญหา ทํากิจกรรมการเรียนการสอน และดําเนินการตางๆ ในการรวมกัน สรางสรรคบทเรียนกัน ทําใหเกิดเปนเครือขายองคความรูขนาดใหญที่ทาทายและชวนใหผูเรียน ติดตามบทเรียนโดยไมเกิดความเบื่อหนาย 

4.  Web  Pedagogical  Resources หมายถึง การนําแหลงขอมูลตางๆ ที่มีอยูบน เครือขายอินเตอรเน็ตมาใชสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาตาง ๆ ซึ่งไดแก แหลงเว็บไซท ที่เก็บรวบรวมขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน และเสียง รวมทั้งบทเรียน WBI/WBT ลักษณะของการใชสนับสนุนจึงสามารถใชไดทั้งการใชประกอบการเรียนการสอน และการทํา กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาตาง ๆ

Page 33: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

24 

2.3.7  ซอฟทแวรสําหรับพัฒนาบทเรียน WBI/WBT ซอฟทแวรสําหรับพัฒนาบทเรียน WBI/WBT แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก 1.  ระบบนิพนธบทเรียน (Authoring System)  เปนซอฟทแวรที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อใช 

พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยตรง ปจจุบันซอฟทแวรที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อใชพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยตรง ปจจุบันซอฟทแวรประเภทนี้สามารถนําไปพัฒนา บทเรียน WBI/WBT ไดเชนกัน เนื่องจากมีการปรับปรุงใหสามารถนําเสนอผานเว็บเบราเซอรได ไดแก Authorware, Multimedia  Toolbooks  II,  Icon Author, Quest,  IBTAuthor,  CBIQuick, Macro media Flash เปนตน 

2.  ภาษาคอมพิวเตอร (Computer  Language)  เปนภาษาคอมพิวเตอรที่ใชพัฒนา โปรแกรมใชงานทั่ว ๆ ไป ไดแก HTML, Java, ASP, JSP, PHP, Perl และ ASP+ 

2.3.8  ขอดีและขอจํากัด สําหรับขอจํากัดประการสําคัญของบทเรียน WBI/WBT ก็คือ ความเร็วในการนําเสนอและ 

การปฏิสัมพันธเปนเหตุมาจากขอจํากัดของแบนวิดธในการสื่อสารขอมูล โดยเฉพาะอยางย่ิงการ นําเสนอภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน และเสียง ทําใหภาพเกิดอาการกระตุก (Jitter) และขาด ความตอเนื่อง ถาบทเรียนนําเสนอดวยสื่อประเภทนี้ จึงเปนขอจํากับในการใชงานประการสําคัญ ที่ลดความสนใจลงไป บทเรียน WBI/WBT ในปจจุบันสวนใหญจึงพยายามหลีกเลี่ยงการนําเสนอ ภาพเคลื่อนไหวขนาดใหญ ๆ จึงทําใหคุณภาพของบทเรียนยังไมถึงขั้น IMMWBI  ที่สมบูรณ นอกจากนี้บทเรียน WBI/WBT  ที่มีการพัฒนาขึ้นในปจจุบันมักจะมีความใกลเคียงกับหนังสือ อิเล็กทรอนิกส (e-Books) มาก โดยที่ผูพัฒนาบทเรียนบางคนยังมีความเขาใจคลาดเคลื่อนวา บทเรียน WBI/WBT  ก็คือหนังสือที่นําเสนอโดยใชเบราเซอรนั่นเอง ทําใหกลายเปนบทเรียน WBI/WBT ที่มีเนื้อหาตายตัวมากเกินไป ไมยืดหยุนในการใชงานเทาที่ควร 

2.3.9  ขอแตกตางระหวางการเรียนการสอนปกติกับการใชบทเรียน WBI/WBT การเรียน การสอนปกติในชั้นเรียน มีลักษณะดังนี้ 

2.3.9.1  ผูเรียนถูกจํากัดดวยเวลาเรียน ชั้นเรียน และสถานศึกษา 2.3.9.2  ผูเรียนกับผูสอนมีการเผชิญหนากันโดยตรง การสื่อสารใชคําพูดเปน 

หลัก 2.3.9.3  บทเรียนมีการควบคุมเวลาโดยผูสอนและหลักสูตร 2.3.9.4  สื่อการเรียนการสอนที่ใช ไดแก เอกสารสิ่งพิมพ และการบรรยาย 2.3.9.5  การจัดกลุมกิจกรรมการเรียนการสอนทําไดคอนขางจํากัด เนื่องจาก 

ปญหาทางดานจํานวนผูเรียน เวลา และสถานที่ การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT มีลักษณะดังนี้ 

2.3.9.6  ผูเรียนเลือกเวลาเรียนไดตามความสะดวกทั้งที่บานหรือสถานที่ทํางาน 2.3.9.7  ผูเรียนกับผูสอนติดตอสื่อสารกันผานเครือขายอินเตอรเน็ต

Page 34: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

25 

2.3.9.8  บทเรียนไมมีการควบคุมเวลา ผูเรียนเรียนตามความสามารถของตนเอง 2.3.9.9  สื่อการเรียนการสอนทีใชมีหลายหลากทั้งบทเรียน WBI/WBT  หรือ 

ขอมูลอ่ืนๆ จากแหลงขอมูลบทเรียนเครือขายใยแมงมุม 2.3.9.10  การจัดกลุมกิจกรรมการเรียนการสอนทําไดหลากหลายรูปแบบ 

เนื่องจากผูเรียนไมจําเปนตองเดินทางไปรวมกลุมจริง แตใชเชื่อมตอผานเครือขายอินเตอรเน็ต สําหรับขอแตกตางระหวางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กับ บทเรียน WBI/WBT บน 

เครือขายอินเตอรเน็ต มีดังนี้ การเรียนการสอนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีลักษณะดังนี้ 

2.3.9.11  เปนการใชงานในลักษณะโดยลําพัง 2.3.9.12  สนับสนุนการเรียนการสอนแบบ Asynchronous เพียงอยางเดียว 2.3.9.13  ไมสามารถจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือได  (Collaborative 

Learning) 2.3.9.14  ไมมีระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) ในการเรียนการสอน 2.3.9.15  สามารถเขาถึงบทเรียนไดเปนสวน ๆ เทานั้น 2.3.9.16  ไมกอใหเกิดเครือขาหรือสังคมแหงการเรียนรู 

การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT บทเครือขายอินเตอรเน็ต มีดังนี้ 2.3.9.17  เปนการใชงานในลักษณะเครือขาย 2.3.9.18  สนับสนุนการเรียนการสอนทั้งแบบ Synchronous และ Asynchronous 2.3.9.19  สนับสนุนการเรียนการสอนแบบรวมมืออยางสมบูรณ 2.3.9.20  มีระบบพี่เลี้ยงชวยเหลือผูเรียนเกี่ยวกับการเรียนการสอน 2.3.9.21  สามารถเขาถึงบทเรียนไดทุก ๆ สวน 2.3.9.22  เปดโอกาสใหเกิดเครือขายหรือสังคมแหงการเรียนรู ไดงายและ 

กวางไกล 2.3.10  เกณฑการพิจารณาเลือกใช เกณฑการพิจารณาเลือกใชบทเรียน มีลักษณะดังนี้  WBI/WBT ที่แสดงไวในคูมือ 

Multimedia and Internet Training Awards ประกอบดวยขอกําหนดจํานวน 10 ขอไดแก 2.3.10.1  เนื้อหา (Content) เปนการพิจารณาทั้งปริมาณและคุณภาพของเนื้อหา 

ของบทเรียนวามีความเหมาะสมหรือไม เนื่องจากเนื้อหาที่เหมาะสมจะตองมีความเปน สารสนเทศซึ่งเปนองคความรู (Information) ไมใชเปนขอมูล (Data) อันเปนคุณสมบัติพื้นฐาน ของบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน 

2.3.10.2  การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional  Design)  บทเรียน WBI/WBT ที่ดี จะตองผานกระบวนกระบวนการวิเคราะหและออกแบบ เพื่อพัฒนาเปนระบบ การเรียนการสอน ไมใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่นําเสนอผานจอภาพของคอมพิวเตอร

Page 35: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

26 

2.3.10.3  การปฏิสัมพันธ  (Interactivity)  บทเรียน WBI/WBT จะตองนําเสนอ โดยยึดหลักการปฏิสัมพันธกับผูเรียน องคความรูที่เกิดขึ้นแตละเฟรม ควรจะเกิดขึ้นจากการที่ ผูเรียนมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับบทเรียน เชน การตอบคําถาม การรวมกิจกรรม เปนตน ไมได เปนการนําเสนอในลักษณะของการสื่อสารแบบทางเดียว (One-way Communication) 

2.3.10.4  การสืบทองขอมูล (Navigation) ดวยหลักการนําเสนอในรูปแบบของ ไฮเปอรเท็กซ บทเรียน WBI/WBT ควรประกอบดวยเนื้อหาทั้งเฟรมหลักหรือโนดหลักและเชื่อม ไปยังโนดยอยที่มีความสัมพันธกัน โดยใชวิธีการสืบทองขอมูลแบบตาง ๆ เชน Bookmarks, Backtracking, History Lists หรือวิธีอ่ืน ๆ อันเปนคุณลักษณะเฉพาะของเว็บเบราเซอร 

2.3.10.5  สวนของการนําเขาสูบทเรียน (Motivational Components) เปนการ พิจารณาดานการใชคําถาม เกม แบบทดสอบ หรือกิจกรรมตาง ๆ ในขั้นของการกลาวนําหรือ การนําเขาสูบทเรียนเพ่ือดึงดูดความสนใจของผูเรียนกอนที่จะเริ่มศึกษาเนื้อหา 

2.3.10.6  การใชสื่อ (Use  of  Media)  เปนการพิจารณาความหลากกลายและ ความสมบูรณของสื่อที่ใชในบทเรียนวาเหมาะสมหรือไมเพียงใด เชน การใชภาพเคลื่อนไหว การใชเสียง หรือการใชภาพกราฟก เปนตน 

2.3.10.7  การประเมินผล (Evaluation) บทเรียน WBI/WBT ที่ดี จะตองมีสวน ของคําถาม แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบ เพ่ือประเมินผลทางการเรียนของผูเรียน อีกทั้งยังตอง พิจาณาระบบสนับสนุนการประเมินผลดวย เชน การตรวจวัด การรวบรวมคะแนน และการ รายงานผลการเรียน เปนตน 

2.3.10.8  ความสวยงาม (Aesthetics)  เปนเกณฑพิจารณาดานความสวยงาม ทั่ว ๆ ไป เกี่ยวกับตัวอักษร กราฟก และการใชสี รวมทั้งรูปแบบการนําเสนอ และการติดตอกับ ผูใช 

2.3.10.9  การเก็บบันทึก (Record Keeping) ไดแก การเก็บบันทึกประวัติผูเรียน การบันทึกผลการเรียนและระบบฐานขอมูลตาง ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนรู เชน การออก ใบประกาศนียบัตรหลังการเรียนจบ 

2.3.10.10  เสียง (Tone) ถาบทเรียน WBI/WBT สนับสนุนมัลติมีเดียดวย ก็ควร พิจารณาดานเสียง เกี่ยวกับลักษณะของเสียงที่ใช ปริมาณการใช และความเหมาะสม (มนตชัย ,2543 : 355- 365) 

2.4  การออกแบบและสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนบนอินเตอรเน็ต สําหรับการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยใชวิธีการระบบ มีขั้นตอนหลัก ๆ 

อยู 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะหเนื้อหา การออกแบบบทเรียน การพัฒนาบทเรียน การทดลองใช และการประเมินผล ซึ่งรายละเอียดแตละขั้นตอนมีดังตอไปนี้

Page 36: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

27 

ภาพที่  2-3  ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยใชวิธีการระบบ 

2.4.1  การวิเคราะหเนื้อหา การวิเคราะหเนื้อหา เปนขั้นตอนแรกของการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งมี 

ความสําคัญอยางย่ิง เนื่องจากผลที่ไดจากขั้นตอนนี้จะสงผลขั้นตอนตอ ๆ ไปถาการวิเคราะห เนื้อหาไมสมบูรณ จะทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นไมมีประสิทธิภาพที่จะ นําไปใชงานตามวัตถุประสงคได ขั้นตอนนี้จึงตองกระทําดวยความรอบคอบ และตองใชขอมูล จากแหลงตาง ๆ เขาชวย รวมทั้งตองอาศัยผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความสมบูรณของเนื้อหาที่ได การกําหนดขอบขายเนื้อหา และการกําหนดวิธีการนําเสนอ ตามรายการกิจกรรมที่ตองการ กระทําดังตอไปนี้  (มนตชัย, 2539: 42) 

การวิเคราะหหลักสูตร และเนื้อหาไดมาจากการศึกษาวิเคราะหรายวิชาและเนื้อหาของ หลักสูตรรวมถึงแผนการสอน และคําอธิบายรายวิชา หนังสือ ตํารา และเอกสารประกอบในการ สอน แตละวิชา หลังจากไดรายละเอียดของเนื้อหาแลว ใหกระทําดังนี้ 

2.4.1.1  นํามากําหนดวัตถุประสงคทั่วไป 2.4.1.2  จัดลําดับเนื้อหาใหมีความสัมพันธตอเนื่องกัน 2.4.1.3  เขียนหัวขอเรื่องตามลําดับเนื้อหา 2.4.1.4  เลือกหัวขอเรื่องและเขียนหัวขอยอย 2.4.1.5  นําเรื่องที่เลือกมาแยกเปนหัวขอยอย แลวจัดลําดับความตอเนื่องและ 

ความสัมพันธ ในหัวขอยอยของเนื้อหา 

การวิเคราะหเนื้อหา 

การวิเคราะหเนื้อหา 

การวิเคราะหเนื้อหา 

การวิเคราะหเนื้อหา  การวิเคราะหเนื้อหา

Page 37: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

28 

การกําหนดวัตถุประสงคของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะบงบอกถึงสิ่งที่คาดหวังวา ผูเรียนจะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมาหลังจากสิ้นสุดการเรียนรู โดยที่พฤติกรรมนั้นจะตอง วัดได หรือสังเกตได คําที่ระบุในวัตถุประสงคประเภทนี่จึงเปนคํากริยาที่ชี้เฉพาะเชน อธิบาย แยกแยะ เปรียบเทียบ วิเคราะห เปนตน โดยนําเนื้อหา และกิจกรรทที่ไดจากที่ผานมาซึ่ง สอดคลองกับหัวเรื่องยอยที่จะมาสรางเปนบทเรียนมาพิจารณาเขียนวัตถุประสงค 

การวิเคราะหสื่อ และกิจกรรมการเรียนการสอนในขั้นตอนนี้ จะยึดตามวัตถุประสงคของ บทเรียนเปนหลัก โดยมีรายละเอียดดังนี้ 

2.4.1.6  กําหนดเนื้อหา กิจกรรมการเรียน และสังเขปของเนื้อหา ที่คาดหวังวาจะ ใหผูเรียนไดเรียนรู 

2.4.1.7  เขียนเนื้อหาสั้น ๆ ทุกหัวขอยอยใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรม 

2.4.1.8  เขียนลําดับเนื้อหาทุกหัวขอยอย จากนั้นจึงทําการจัดลําดับเนื้อหา ตามลําดับขั้น โดยเริ่มจากบทนํา ระดับของเนื้อหา และกิจกรรมความตอเนื่องของเนื้อหาแตละ บล็อกหรือเฟรม ความยากงายของเนื้อหา และเลือกสื่อที่จะชวยใหเกิดการเรียนรู 

การกําหนดขอบขายของบทเรียน หมายถึงการกําหนดความสัมพันธของเนื้อหาแตละ หัวขอยอย ในกรณีที่เนื้อหาเรื่องดังกลาวแยกเปนหัวขอเรื่องยอยหลาย ๆ หัวขอจําเปนตอง กําหนดขอบขายขอบบทเรียนที่ผูเรียนจะเรียนตอไป 

2.4.2  การออกแบบบทเรียน การออกแบบบทเรียนในขั้นตอนนี้ หมายถึงการเขียนบทดําเนินเรื่อง (Storyboard) และ 

ผังงาน (Flowchart) บทดําเนินเรื่องหมายถึง เรื่องราวของบทเรียนที่ประกอบดวยเนื้อหาแบง ออกเปนเฟรมตามวัตถุประสงค และรูปแบบการนําเสนอ โดยรางเปนเฟรมยอย ๆ เรียง ตามลําดับตั้งแตเฟรมที่ 1 จนถึงเฟรมสุดทายของบทเรียน บทดําเนินเรื่องจะประกอบดวยภาพ ขอความลักษณะของภาพ และเงื่อนไขตาง ๆ โดยมีลักษณะเชนเดียวกันกับบทสคริปตของการ ถายทําสไลดหรือภาพยนตร และเขียนบทดําเนินเรื่องจะยึดหลักของขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห เนื้อหาที่ผานมาเปนหลัก บทดําเนินเรื่องจะใชเปนแนวทางในการสรางบทเรียนในขั้นตอไป ดังนั้นการสรางบทดําเนินเรื่องจึงตองมีความละเอียดรอบคอบและสมบูรณ เพื่อใหการสราง บทเรียนในขั้นตอไปทําไดงาย และเปนระบบ อึกทั้งยังสะดวกตอการแกไขบทเรียนในภายหลัง เขียนผังงานเพื่อแสดงความสัมพันธของบทดําเนินเรื่อง ซึ่งเปนการจัดลําดับความสัมพันธของ เนื้อหาแตละเฟรมหรือแตละสวน ดังนั้นการเขียนบทดําเนินเรื่องและผังงาน จึงตองกระทําควบคู กันไปขั้นอยูกับผูออกแบบบทเรียนวาจะพิจารณาสิ่งใดกอน อาจจะเขียนไปพรอมๆ กันก็ได 

2.4.3  การสรางบทเรียน การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในขั้นนี้จะยึดตามขั้นตอนที่ดําเนินการมาแลว 

ทั้งหมด เพื่อสรางบทเรียนโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งทําได 2 ลักษณะตามที่ไดกลาว

Page 38: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

29 

มาแลวคือ การใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับสรางบทเรียนโดยเฉพาะในลักษณะของระบบนิพนธ บทเรียนซึ่งการใชโปรแกรมนี้เหมาะสําหรับผูสอนทั่ว ๆ ไป โดยไมจําเปนตองมีทักษะทางดาน การเขียนโปรแกรมมากอน สวนอีกลักษณะหนึ่งก็คือ การใชโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร วิธีการ สรางบทเรียนแบบนี้ จะเปนการใชภาษาคอมพิวเตอรสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยที่ ผูสรางจะตองอาศัยความชํานาญ และมีประสบการณในดานการเขียนโปรแกรมตาง ๆ มาแลว เปนอยางดีข้ันตอนการสรางบทเรียนประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ 

2.4.3.1  การเตรียมการ ไดแก 2.4.3.1.1  การเตรียมภาพ เชน ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่นไหว ภาพกราฟก 2.4.3.1.2  การเตรียมเสียง 2.4.3.1.3  การเตรียมสิ่งอ่ืน ๆ ประกอบการสรางบทเรียน 

2.4.3.2  การใสเนื้อหาและกิจกรรม 2.4.3.2.1  ปอนขอมูลที่แสดงบนจอภาพ 2.4.3.2.2  สิ่งที่คาดหวัง และการตอบสนอง 2.4.3.2.3  ขอมูลสําหรับการควบคุมการตอบสนอง 

2.4.3.3  การใสขอมูลเพื่อบันทึกการสอน 2.4.4  การทดลองใช หลังจากสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเสร็จสิ้นแลว ขั้นที่ตองทําตอไปก็คือการนํา 

บทเรียนไปทดลองใช ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่จําเปนอยางย่ิงกอนที่จะนําเอาบทเรียนไปใชในการ เรียนการสอนโดยมีขอควรปฏิบัติดังนี้ 

2.4.4.1  การตรวจสอบ ในการตรวจสอบจะตองกระทําตลอดเวลา ซึ่งรวมถึงการ ตรวจสอบในแตละขั้นตอนของการออกแบบ และการพัฒนาบทเรียน 

2.4.4.2  การทดลองใชงานบทเรียน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจําเปนตองมี การทดลองใชงานกอนที่จะมีการนําไปใชงานจริง โดยกระทํากับกลุมเปาหมาย ผูเชี่ยวชาญ เพี่อ เปนการตรวจสอบความถูกตอง และความสมบูรณของบทเรียน 

2.4.5  การประเมินผลบทเรียน การประเมินผลการเรียนดวยบทเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะคลายกับการ 

ประเมินผลบทเรียนทั่วไป โดยทั่วไปมีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ เพื่อการประเมินผลตัว บทเรียน และประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน เมื่อเรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใช สถิติมาเปนเกณฑในการประเมินผลดานประสิทธิภาพของตัวบทเรียน 

ในการออกแบบและสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน นอกจากตองกระทําตามขั้นตอน ดังที่กลาวมาขางตนแลว ในการออกแบบผูออกแบบยังตองคํานึงถึงสวนประกอบที่สําคัญ ๆ ของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ดีควรมี โดยยึดหลักการศึกษาเงื่อนไขการเรียนรูจากทฤษฎีของ นักการศึกษา และนักจิตวิทยากลุมตาง ๆ (มนตชัย, 2543 : 54-59)

Page 39: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

30 

2.4.6  สวนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจึงประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ บทนําเรื่อง  (Title) บทนําเรื่องประกอบดวยภาพนําเรื่อง ชื่อเรื่อง และเทคนิคตาง ๆ 

ประกอบ สวนนี้เปนสวนแรกของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางความสนใจและกระตุนให ผูเรียนติดตามบทเรียน ตามหลักการของ Robert  Gagne กลาววาในขั้นนี้จะตองใชเทคนิค ตาง ๆ ทั้งภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟก สีเสียง ผสมผสานกัน เพื่อเรงเราความสนใจของผูเรียน ดวยการนําเสนอสื่อตาง ๆ ในเวลาอันสั้นกระชับ และตรงจุด ซึ่งอาจตามดวยชื่อหัวเรื่องบทเรียน แลวอาจจะคางภาพดังกลาวนี้ไวบนจอภาพ จนกระทั่งผูเรียนกดแปนใด ๆ เพื่อใหผูเรียนมีสวน รวมในบทเรียน บทนําเรื่องจึงเปนสวนสําคัญที่ชวยกระตุนใหผูเรียนติดตามบทเรียน ผูออกแบบ บทเรียนจึงควรใหความสําคัญในการนําเสนภาพขอความและเทคนิคตาง ๆ ที่ชวยสรางความ สนใจไดสูงอยางไรก็ตามไมควรใชเวลาในการนําเสนอมากเกินไปผูเรียนอาจเกิดความเบื่อหนาย ได 

คําชี้แจงบทเรียน (Instruction) เปนสวนที่แจงใหผูเรียนทราบถึงวิธีการใชบทเรียน และ การควบคุมบทเรียน เชน การใชแปนพิมพ การใชเมาส ตลอดจนการคิดคะแนนและการเก็บ รักษาบทเรียน เปนตน ตามที่ผูออกแบบบทเรียนเห็นวามีความจําเปนที่ควรชี้แจงเพื่อให ผูเรียน เกิดความมั่นใจในการใชบทเรียนในสวนนี้ควรนําเสนอดวยขอความสั้น ๆ ใหกระชับ เปน ทางการ และไมควรใชเทคนิคพิเศษแตอยางใด แตอาจจะใชเทคนิคพิเศษในการปฏิสัมพันธบาง ก็ไดเมื่อเห็นวาคําชี้แจงสวนนั้นสามารถสรางเสริมใหผูเรียนมีกิจกรรมรวมได เชน การใชเมาส อาจสรางสถานการณจําลองการใชเมาสเพื่อฝกฝนใหผูเรียนคุนเคยกอนใช 

วัตถุประสงคบทเรียน (Objective) เปนสวนที่กําหนดไวเพื่อใหผูเรียนไดทราบความ คาดหวังของบทเรียน หรือพฤติกรรมที่ผูเรียนจะแสดงออกเมื่อสิ้นสุดบทเรียน โดยจะระบุเปน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมตามหลักการเรียนรูถือวาวัตถุประสงคมีความสําคัญมากเนื่องจาก เปนเปาหมายที่บทเรียนกําหนดไวใหผูเรียนไขวควาใหบรรลุตามเปาหมายนั้น ซึ่งจํานวนขอของ วัตถุประสงคข้ึนอยากับปริมาณของเนื้อหาที่ไดวิเคราะหมาแลวตั้งแตขั้นตอนแรก ๆ การนําแสน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในสวนนี้ อาจจะนําเสนอครั้งละขอหรือนําเสนอครั้งเดียวครบทุกขอก็ ได แตไมควรใชเวลามากนัก นอกจากนี้ยังอาจสรางไวเปนรายการใหผูเรียนเลือกก็ได เพื่อให ผูเรียนไดเลือกอานเมื่อตองการเทานั้น 

รายการใหเลือก  (Main Menu) เปนสวนที่แสดงหัวเรื่องยอย ๆ ทั้งหมดที่มีอยูในบทเรียน เพื่อใหผูเรียนเลือกเรียนตามลําดับกอนหลังหรือตามความสามารถของตนเอง (ถาบทเรียนเปด โอกาสใหเลือก) โดยวิธีการเลือกอาจปอนเปนตัวเลขหรือตัวอักษรเลื่อนแถบแสง คลิกเมาส หรือ วิธีการอ่ืน ๆ ก็ได การนําเสนออาจทําใหลักษณะของแผนยังการเรียน (Learning Map) ก็ได ซึ่ง หมายถึงการแสดงหัวเรื่องยอยในลักษณะของไดอะแกรม เชน บล็อคไดอะแกรม แสดงรายชื่อ ของหัวเรื่องยอยทั้งหมดในรูปของความสัมพันธที่ตอเนื่องกัน เพื่อแสดงใหผูเรียนทราบถึง ความสัมพันธของหัวเรื่องทั้งหมด

Page 40: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

31 

แบบทดสอบกอนบทเรียน (Pre-test) มีไวเพื่อประเมินความรูความสามารถของผูเรียนใน ขั้นตน กอนที่จะเริ่มเรียนวามีความรูพื้นฐานเพียงพอหรือไมหรือมีอยูในระดับใดทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ผูออกแบบบทเรียน วาจะนําผลการทดสอบไปใชหรือไมอยางไร เชน นําไปใชจัดลําดับการเขาสู บทเรียน ผูที่ไดคะแนนแบบทดสอบคอนขางดี อาจจะขามบทเรียนบางสวนแลวไปเรียนใน เนื้อหาสวนที่ยากข้ึน ในทางตรงกันขามหากผูเรียนคนใดที่ไดคะแนนต่ํากวาเกณฑอาจจะถูกตัด สิทธิ์ไมใหเรียนหรือตองเรียนตั้งแตตนก็ได แบบทดสอบที่นิยมใชจะเปนแบบที่ตรวจวัดงาย และ แปรผลเปนคะแนนไดสะดวก เชน แบบเลือกตอบ แบบถูกผิดแบบจับคู บางกรณีอาจจะใชแบบ เติมคําตอบสั้น ๆ ก็ไดขึ้นอยูกับลักษณะเนื้อหาและวัตถุประสงคของผูออกแบบบทเรียน โดย การพิจารณาวาควรมีแบบทดสอบกอนบทเรียนหรือไมนั้นขึ้นอยูกับผูออกแบบและลักษณะ เนื้อหา ถาวิชาทั่วไปอาจไมตองมีแบบทดสอบก็ได 

เนื้อหาบทเรียน (Information) เปนสวนสําคัญของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และใช เวลามากกวาสวนอ่ืน ๆ เปนสวนที่นําเสนอเนื้อหาใหมแกผูเรียน ตามหลักการนําเสนอเนื้อหา ใหมของ Robert Gagne ไดเสนอแนะวา ควรใชวิธีนําเสนอดวยภาพประกอบกับขอความ โดย ใชคําถามสรางสรรคบทเรียนและเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ บทเรียนกําหนดไว ซึ่งมีสวนประกอบ ไดแก สวนของเนื้อหาใหม สวนของเฟรมชวยเหลือ และ สวนของสื่อประกอบ ในสวนของเนื้อหาใหมของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะนําเสนอเปน เฟรม ๆ ประกอบดวยขอความสั้น ๆ โดยพยายามใชภาพแทนคําพูด หรือคําอธิบายใหมากที่สุด นอกจากนี้การนําเสนอเนื้อหาใหม ยังตองยึดหลักการเรียนรูรายบุคคล 

การตรวจปรับเนื้อหา (Feedback) เกิดจากคําถามที่ใช ในระหวางการนําเนอเนื้อหา เพื่อ ดําเนินบทเรียนไปตามแนวทางที่กําหนดไว โดยใชคําถามเพื่อตรวจปรับความเขาใจเปนระยะ ๆ โดยใชหลักประสบการณการเรียนรู จากสิ่งที่งายไปสูยาก จากสิ่งที่รูแลวไปสูสิ่งที่ยังไมรู 

การเสริมแรง (Reinforcement) เปนองคประกอบหนึ่งของการนําเสนอบทเรียนเพื่อเสริม กําลังใจใหกับผูเรียน และสนใจติดตามบทเรียนภายหลังจากที่ผูเรียนโตตอบกับบทเรียน การ นําเสนอในสวนนี้อาจใชคําพูด เชน ถูก/ผิด ใชรูปภาพ/กราฟก หรือใชคะแนนก็ได ตามดวยการ สรุปเนื้อหา (Summary) เปนสวนที่มีความสําคัญย่ิง ซึ่งใชสรุปเนื้อหาหลังจากการนําเสนอ เนื้อหาแตละสวน ๆ เพื่อสรุปประเด็นใหผูเรียนจดจําเนื้อหาสวนนั้นไปใชงานตอไป 

แบบทดสอบทายบทเรียน (Post-test) มีไวเพื่อตรวจสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผูเรียน และประเมินผลวาผูเรียนบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไมเพียงใดถาไมผานเกณฑที่ กําหนดไว อาจจะออกแบบบทเรียนใหไปเรียนซ้ําในสวนที่ทําแบบทดสอบไมไดหรือกลับไปสู รายการใหเลือกใหมก็ได วัตถุประสงคหลักของแบบทดสอบทายบทเรียน ใชเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนหลังจากที่ไดศึกษาเนื้อหาที่ผานไปแลว นอกจากนี้ยังใชเพื่อประเมิน คุณภาพของบทเรียนตามหลักสถิติการศึกษา โดยการเปรียบเทียบระหวางผลคะแนนการ ทดสอบระหวางบทเรียนและผลการทดสอบทายบทเรียน

Page 41: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

32 

บทสรุปและการนําไปใชงาน (Summary and Application) เปนสวนสุดทายของบทเรียน ประกอบดวยเฟรมนําเสนอขอความที่สรุปความคิดรอบยอดเนื้อหาที่ผานมาในบทเรียน เพื่อสรุป ประเด็นตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชงานหรือไปใชศึกษาตอในหัวเรื่องถัดไป 

ภาพที่  2–4  สวนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

2.5  กระบวนการสรางแบบทดสอบสําหรับบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน กระบวนการสรางแบบทดสอบ สําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีขั้นตอนดังนี้ 

(มนตชัย,2543 : 207) 2.5.1  ศึกษาวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Study  the  Objective) วัตถุประสงคเชิง 

พฤติกรรมที่กําหนดไวในบทเรียนประกอบดวย พฤติกรรมที่ใหผูเรียนแสดงออกในหลาย ลักษณะ เชน ทางดานพุทธิพิสัย หรือจิตพิสัย ซึ่งแตละดานก็ยังแยงออกเปนระดับตาง ๆ กัน 

บทนําเรื่อง 

คําชี้แจงบทเรียน 

วัตถุประสงคบทเรียน 

รายการใหเลือก 

แบบทดสอบกอนบทเรียน 

เนื้อหาบทเรียน 

แบบทดสอบหลังบทเรียน 

บทสรุปและการนําไปใชงาน 

สื่อประกอบ เฟรมชวยเหลือ

Page 42: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

33 

ผูสรางขอสอบจะตองทําการวิเคราะหพฤติกรรมนั้น เพื่อสรุปพฤติกรรมที่ตองการทั้งหมด แลว ทําการเลือกพฤติกรรมที่เดนชัดและเหมาะสม นําออกไปออกขอสอบตอไป 

2.5.2  กําหนดรูปแบบของขอสอบ (Define Kind of Test) พฤติกรรมของผูเรียนที่ไดจาก การศึกษาในขอแรก จะทําใหทราบวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมวาเนนทางดานใด พุทธิพิสัย ทักษะพิสัยหรือจิตพิสัย รูปแบบของขอสอบในแตละดานจึงแตกตางกัน เชน ดานพุทธิพิสัย อาจจะสอบทางแบบขอเขียน ดานทักษะพิสัยอาจสอบทั้งขอเขียนและทักษะปฏิบัติ นอกจากนี้ใน แตละดานยังแบงระดับความยากงาย รูปแบบของขอสอบจึงตองกําหนดหลายรูปแบบ เชน แบบ ใหอธิบาย แบบใหเติมคํา แบบเลือกตอบ แบบถูก-ผิด เปนตน เพื่อใหผูเขาสอบไดแสดง พฤติกรรม ตามสถานการณที่แตกตางกัน 

สําหรับรูปแบบของขอสอบที่เหมาะสมกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมากที่สุดคือ ขอสอบแบบเลือกตอบ เนื่องจากงายตอการตัดสินผล อยางไรก็ตามขอสอบรูปแบบอ่ืน ๆ ก็สามารถใชไดกับระบบนิพนธบทเรียนสมัยใหม 

2.5.3  เตรียมงานและลงมือเขียนขอสอบฉบับราง  (Preparation)  เมื่อไดรูปแบบของ ขอสอบแลว ขั้นตอไปเปนการเตรียมงานเขียนขอสอบ โดยเขียนเปนฉบับรางกอน จะตองเขียน ใหมากขอกวาที่ตองการจริง จากนั้นคัดเลือกขอที่คาดวาถูกตองและเหมาะสมไปใชสอนจริงแลว ตองวิเคราะหคุณภาพของขอสอบอีกครั้งหนึ่งจากสอบเสร็จแลว 

2.5.4  วิเคราะหขอสอบ (Conduct Item Analysis) เมื่อสรางขอสอบเสร็จแลวควรจะมีการ ทบทวนตรวจทาน ในดานความยากงายของขอคําถามเบื้องตน ตรวจดูรูปแบบภาษาที่ใช เนื้อหาในขอสอบ คําสั่งถูกตองเขาใจงายหรือไม เฉลยถูกตองหรือไม ผูออกแบบขอสอบจะตอง ทําการแกไขปรับปรุงขอสอบกอนนําไปใชจริง และจะตองผานการวิเคราะหเพื่อหาคุณภาพของ ขอสอบกอน โดยกลุมเปาหมายที่จะเปนผูใชขอสอบก็คือกลุมประชากร ที่เคยผานการศึกษาหัว เรื่องนี้มาแลวในจํานวนที่เหมาะสม สําหรับการหาคุณภาพของขอสอบที่ใชในบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน จะตองพิจารณาคาทางสถิติตาง ๆ ดังนี้ 

2.5.4.1  คาความตรง (Validity) 2.5.4.2  คาความเชื่อมั่น (Reliability) 2.5.4.3  คาความยากงาย (Difficulty) 2.5.4.4  คาอํานาจจําแนก (Discrimination) 2.5.4.5  คาความเปนปรนัย (Objectivity) 

2.5.5  ดําเนินการจัดพิมพขอสอบ (Printing the Item) การดําเนินการจัดพิมพเปนขั้นตอนสุดทายสําหรับกระบวนการสรางขอสอบสําหรับ 

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งรวมถึงการสรางขอสอบในลักษณะของธนาคารขอสอบ โดย จัดการใหมีกระบวนการสุมขอสอบ ระบบการตรวจวัดผล และการรายงานผล 

ประเภทของขอสอบ ขอสอบจําแนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก

Page 43: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

34 

2.5.5.1  ขอสอบอัตนัย โดยทั่วไปใชขอสอบเปนเครื่องมือสําหรับวัดผลการเรียนของผูเรียน รวมไปถึงการ 

สอนของผูสอนเชนเดียวกันกับเครื่องมือชั่ว ตวง วัด ตามมาตรฐานที่มีใชกัน ดวยเชนนี้ขอสอบที่ ดี จึงควรมีมาตรฐานและสามารถแปลความหมายเปนพฤติกรรมได โดยเฉพาะพฤติกรรมการ วิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินผล ขอสอบที่นิยมใชกันคือ แบบอัตนัย ซึ่งมีลักษณะให ผูตอบหรือเขียนบรรยายคําตอบตามความคิดของตนเอง ขอสอบอัตนัย จําแนกออกเปน 2 แบบ ไดแก 

1.  แบบไมจํากัดคําตอบ (Extended Response) ลักษณะของขอสอบชนิดนี้จะให ผูตอบสามารถตอบไดอยางอิสระ สมารถแสดงความรูความสามารถและความคิดเห็นที่มีอยูได ดานความคิดริเริ่มสรางสรรคการประเมินคา และการวัดทางดานเจตคติ 

2.  แบบจํากัดคําตอบ (Restricted Response) ลักษณะของขอสอบชนิดนี้ จะให ผูตอบตอบคําถามเฉพาะเรื่อง แบบเฉพาะเจาะจง หรือตอบอยางรวบรัดอยูในขอบเขตที่ กําหนดให การตรวจใหคะแนนจะมีประสิทธิภาพมากกวาแบบไมจํากัดคําตอบ 

2.5.5.2  ขอสอบปรนัย ขอสอบปรนัย หมายถึง ลักษณะของขอสอบที่มีความเปนปรนัยอยูในตัว 

(Objectivity) กลาวคือ มีคําถามที่ชัดเจน ผูเรียนทุกคนอานแลวแปลความตรงกัน มีการตรวจให คะแนนที่มีเกณฑแนนอนไมวาใครจะเปนผูตรวจก็ตาม สวนอีกลักษณะหนึ่งของขอสอบแบบ ปรนัย คือ เวลาที่ใชในการสอนตอขอนอยกวาขอสอบแบบอัตนัย การเขียนตอบจะใชเวลาสั้น ๆ จึงเหมาะกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการตัดสินผลคําตอบ สามารถใชไดทั้งขอสอบทายบทเรียน (Post-test) ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสวนใหญ มักจะเปนขอสอบแบบปรนัย 

ลักษณะของขอสอบแบบปรนัย  ขอสอบปรนัยแบงออกเปน 4 ลักษณะ ดังนี้ 1.  แบบตอบสั้น ๆ (Short Answer) 2.  แบบจับคู (Matching) 3.  แบบถูก-ผิด (True-False) 4.  แบบเลือกคําตอบ (Multiple Choice) รายละเอียดของขอสอบปรนัยทั้ง 4 ลักษณะดังนี้ 1.  ขอสอบแบบตอบสั้น ๆ เปนขอสอบที่เขียนตอบสั้น ๆ เหมาะสําหรับการเรียนรูที่ตองการวัดพฤติกรรมในดาน 

ความรู ความจํา (Recall Knowledge) เชน การจําคํานิยาม คําศัพท ชื่อ ชิ้นสวน และอ่ืน ๆ ซึง่มี ลักษณะการตอบได 3 ลักษณะ ไดแก 

1.1  ลักษณะคําถามโดยตรง (Question Variety) ขอคําถามจะมีลักษณะเปนประโยค คําถามที่สมบูรณ และไมตองการคําอธิบายใด ๆ ตองการเพียงแตคําตอบเทานั้น

Page 44: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

35 

1.2  ลักษณะใหเติมขอความใหสมบูรณ (Completion  Variety) ขอคําถามจะเวน ชองวางไวเพื่อใหผูตอบเติมใหไดประโยคสมบูรณไดใจความ 

1.3  ลักษณะใหหาความสัมพันธ (Association Variety) ขอคําถามจะมีลักษณะใหหา คําตอบ หรือขอความที่สัมพันธกับสิ่งที่กําหนดให อาจเปนรูปหรือขอความก็ได 

2.  ขอสอบแบบจับคู เปนขอสอบที่เหมาะสําหรับการเรียนรูที่ตองการวัดเกี่ยวกับความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ 

เชน นิยาม ชื่อ รูปราง ลักษณะ และอื่น ๆ ลักษณะขอสอบประกอบดวย 2 สวนคือ 2.1 สวนของตัวปญหาหรือคําถาม โดยทั่วมักจะเขียนไวทางซายมือ โดยจะเวน 

ชองวางหนาขอไว เพื่อใหนําอีกสวนหนึง่มาตอบ 2.2 สวนของคําตอบ โดยทั่วไปเขียนไวทางขวามือ ซึ่งมักจะมีรหัสไวหนาขอ เพื่อให 

ผูตอบพิจารณานําไปจับคูกับสวนของตัวปญหา 3.  ขอสอบแบบถูก-ผิด เปนขอสอบที่เหมาะสําหรับการเรียนรูที่ตองการวัดความเปนไปไดเพียง 2 กรณีเทานั้น 

ซึ่งอาจเปน ถูก-ผิด  จริง-ไมจริง ใช-ไมใช ลักษณะของขอสอบจะเปนลักษณะคําบอกกลาวซึ่งมี ความสมบูรณในประโยค แลวใหผูตอบทํารหัสใสในชองวางหนาขอ โดยทั่วไปมักใชเครื่องหมาย üû หรือใชตัวอักษรยอ ถ ผ หรือ T(True) F (False) 

4. ขอสอบแบบเลือกตอบ เปนขอสอบที่มีลักษณะสวนตัวคําถามสวนหนึ่ง และสวนตัวเลือกอีกสวนหนึ่ง ซึ่งขอสอบ 

ปรนัยแบบเลือกตอบนี้สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนรูตั้งแตความรู ความจํา ความเขาใจ การ นําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห ตลอดจนถึงการประเมินผล สามารถออกขอสอบได ครอบคลุมเนื้อหาวิชา การตรวจและการใหคะแนนสะดวกและงายมีความแนน

Page 45: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

36 

ภาพที่  2–5  กระบวนการสรางขอสอบสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

ลักษณะของขอสอบที่ดีควรมีลักษณะดงัตอไปนี้ (มนตชยั,2543 : 219) 1.  มีความตรง  (Validity) เปนคุณลักษณะของขอสอบที่สมารถวัดสิ่งที่ตองการวัดอยาง 

ถูกตองตรงความมุงหมาย 2.  มีความเชื่อมั่น (Reliability) คะแนนที่ไดจากขอสอบตองมีความคงที่แนนอนวาจะทํา 

การสอบก่ีครั่ง ผลที่ไดตองคงที่ ไมเปลี่ยนแปลงมากนัก 3.  มีความยากงายพอเหมาะ (Difficulty) ขอสอบจะตองไมยากหรืองายเกินไป โดยทั่วไป 

ควรมีคาระดับความยากงายตั้งแต .20 ถึง .80 4.  มีอํานาจจําแนกดี (Discrimination) หมายถึง ลักษณะที่ขอสอบสามารถจําแนกผูเรียน 

ออกตามความสามารถได ขอสอบที่ผูเรียนตอบถูกหมดหรือผิดหมด จะเปนขอสอบที่ไมมีอํานาจ จําแนก ไมสามรถจําแนกคนเกงคนออนออกจากกันได 

5.  มีความเปนปรนัย  (Objectivity)  ขอสอบที่มีความเปนปรนัย ตองมีคุณสมบัติ 3 ประการ ดังนี้ 

Conduct Quality Analysis of Items 

Preparation 

Define Kind of Test 

Printing the Item 

Study the Objective Kind of Test 

Items/Items Bank 

Draft of Items

Page 46: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

37 

5.1  มีความแจมชัดในคําถาม ผูเรียนอานคําถามแลวเขาใจตรงกัน ไมเกิดการตีความ คนละประเด็น เขาใจคําถามวาขอสอบตองการถามอะไร 

5.2  การตรวจใหคะแนนตรงกัน ไมวาผูใดเปนผูตรวจหรือตรวจเมื่อไร ก็ยอมใหผล คะแนนตรงกัน 

5.3  แปลความหมายคะแนนตรงกัน 6.  มีลักษณะการสงถาย (Transferable) ลักษณะของขอสอบตองไมถามเฉพาะความรู 

ความจํามากนัก ควรถามผูเรียนใหรูจักคิดหาเหตุผลในการคนหาคําตอบ และควรวัดสมรรถภาพ ที่สูงขึ้น เชน การนํามาใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินผล 

7.  เรียงลําดับเหมาะสม (Sequence) ลักษณะของขอสอบหรือขอสอบที่ดี ควรเรียงลําดับ จากเนื้อหาที่ตอเนื่องกันจากงายไปหายาก ไมถามคําถามที่ซ้ําซาก และคําถามควรมีลักษณะทา ทายใหผูเรียนอยากทํา 

8.  มีประสิทธิภาพ (Efficiency) ขอสอบที่มีประสิทธิภาพจะใหประโยชนคุมคาที่มี โดยใช เวลา แรงงาน และใชงบประมาณนอย 

2.6  การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนอินเตอรเน็ต การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยเสนอในการวิจัย  สามารถพิจารณาไดใน 3 

แนวทาง  ไดแก ผลสําเร็จของบทเรียน การวิเคราะหผล และเจตคติ โดยทั่วไปการประเมินจะมี อยู 3 วิธี ไดแก การหาประสิทธิภาพของบทเรียน (Efficiency) การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผูเรียน (Effectiveness) และการหาความคงทนทางการเรียนของผูเรียน (Retention  of Learning) (มนตชัย, 2544,: 323-331) 

ประเมินผลแตละวิธีการจะมีขั้นตอนการดําเนินการแตกตางกัน และใหผลสรุปแตกตางกนั ในปจจุบันการประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นจะใชหลาย ๆ วิธี เพื่อใช เปนเกณฑยืนยันถึงคุณภาพ และบงบอกถึงประสิทธิภาพของบทเรียนวา สามารถนําไปใช ถายทอดองคความรู ในกระบวนการเรียนรูไดเปนอยางดี ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 

2.6.1  การหาประสิทธิภาพของบทเรียน  (Efficiency) หมายถึง ความสามารถของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในการสรางผลสัมฤทธิ์ ใหกับผู เรียนมีความสามารถทํา แบบทดสอบระหวางเรียน แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบหลังบทเรียน ไดบรรลุวัตถุประสงคใน ระดับเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดไว 

การหาประสิทธิภาพบทเรียนจึงตองกําหนดเกณฑมาตรฐานขึ้นกอน โดยทั่วไปจะใช คาเฉลี่ยของคะแนนที่เกิดจากแบบฝกหัด หรือคําถามระหวางบทเรียนกับคะแนนเฉลี่ยจาก แบบทดสอบ แลวนํามาคํานวณเปนรอยละเพื่อเปรียบเทียบกันในรูปของ Event 1/Event 2 โดย

Page 47: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

38 

เขียนอยางยอเปน E1/E2  เชน 90/90 หรือ 85/85 และจะตองกําหนดคา E1 และ E2  เทานั้น เนื่องจากงายตอการเปรียบเทียบและการแปลความหมาย 

2.6.1.1  การหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑมาตรฐาน E1/E2 มีขั้นตอน ดังตอไปนี้ (แสดงในภาพที่ 2- 6) 

2.6.1.1.1  E1 ไดจากคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนทั้งหมดจากการทํา แบบฝกหัด (Exercise) หรือ แบบทดสอบ (Test) ของบทเรียนแตละชุด หรือคะแนนเฉลี่ยของ ผูเรียนทั้งหมดจากการตอบคําถามระหวางบทเรียนของบทเรียนแตละชุด 

2.6.1.1.2  E2  ไดจากคะแนนเฉลี่ยของผูเรียนทั้งหมดจากการทํา แบบทดสอบหลังบทเรียน (Posttest) 

โดยปกติแลวคาที่ไดจากการวิจัย คาของ E2 จะมีคาต่ํากวาคา E1 เนื่องจาก E1 เกิดจาก การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนจากการทําแบบทดสอบ แบบฝกหัด หรือคําถาม ระหวางเรียน ซึ่งเปนการวัดผลในระหวางการนําเสนอเนื้อหา หรือวัดผลทันทีที่ศึกษาเนื้อหาจบ ในแตละเรื่อง ระดับคะแนนจึงมีคาเฉลี่ยสูงกวาคาของ E2 ซึ่งเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ของการเรียน 

2.6.2  การหาผลสัมฤทธิท์างการเรียนของผูเรียน (Effectiveness) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูของผูเรียนที่แสดงออกในรูปแบบของคะแนน 

หรือระดับความสามารถในการทําแบบทดสอบ  หรือแบบฝกหัดไดถูกตอง หลังจากที่ศึกษา เนื้อหาบทเรียนแลว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงสามารถแสดงผลไดทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ แตไมนิยมนําเสนอเปนคาโดด ๆ มักจะเปรียบเทียบกับเหตุการณเงื่อนไขตาง ๆ หรือ เปรียบเทียบระหวางกลุมผูเรียนดวยกัน เชน มีคาสูงขึ้น หรือคาไมเปลี่ยนเมื่อเทียบกับผูเรียน 2 กลุม เปนตน 

การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนตามแบบแผนการทดลอง ที่ใชในการประเมิน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จึงตองใชหลักสถิติ เพื่อสรุปความหมายในเชิงของการ เปรียบเทียบแตละแนวทางสถิติที่ใชเปรียบเทียบแตละแนวทางสถิติที่ใชเปรียบเทียบไดแก (T-test), (F-test), (ANOVA), (ANCOVA) และสถิติอ่ืน ๆ โดยแปลความหมายในเชิงคุณภาพ หรือเปรียบเทียบในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับการวิจัยนั้น เพื่อยืนยันดาน คุณภาพบทเรียน นอกจากจะตองหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑมาตรฐาน E1/E2 เพื่อ การประเมินผลบทเรียน แลวยังตองเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน เมื่อเรียน ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องดังกลาวดวย ถาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน สูงขึ้นหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาข้ึน เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการ เรียน ก็จะเปนสิ่งที่ยืนยันไดถึงความสามารถของผูเรียนที่เกิดการเรียนที่เกิดการเรียนรูขึ้นจาก การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องดังกลาว

Page 48: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

39 

ภาพที่  2–6  คาของ T1 และ T2 ตามแบบแผนการทดลองเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 

ดังนั้นบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ตองหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน จึงตอง ประกอบดวยทั้งแบบทดสอบกอนบทเรียน และแบบทดสอบหลังบทเรียน โดยทําการทดสอบ กอนบทเรียน (T1) และหลังจากการจบการศึกษาเนื้อหาบทเรียนจึงทําแบบทดสอบหลังบทเรียน (T2)  หลังจากนั้นจึงนําคา T1 และ T2  ไปเปรียบเทียบความแตกตางตามแบบแผนการทดลอง โดยใชสถิติเปรียบเทียบความสัมพันธ และสรุปผลที่ไดตามสมมุติฐานที่ตั้งไว 

2.7  งานวิจัยที่เก่ียวของ กัญญารัตน (2544) ไดทําการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 

ผานระบบเครือขายอินเทอร เน็ต วิชาสถิติเบื้องตน จากการวิจัยวาประสิทธิภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยวัดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลัง เรียนมีคาเทากับ 86.2/87.4 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว 80/80 นั่นคือสามารถนําบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตไปใชในการเรียนการสอนกับผูเรียนกลุมอ่ืนที่ เรียนเนื้อหาวิชานี้หรือผูที่สนใจศึกษาวิชาสถิติเบื้องตนนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ 

กิตตสิณี  (2544) ไดทําการวิจัยและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบ เครือขายอินเทอรเน็ต วิชาการเขียนโปรแกรมจัดการฐานขอมูล ผลปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ 

เริ่มบทเรียน 

แบบทดสอบกอนบทเรียน (Pretest) 

เนื้อหาบทเรียน 

แบบทดสอบหลังบทเรียน (Posttest) 

สิ้นสุดบทเรียน 

T1

T2 

Effectiveness

Page 49: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

40 

ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน  ซึ่งมาจากการที่ผูเรียนไดเรียนจากบทเรียนที่ไดมีการ จัดองคประกอบตาง ๆ ของบทเรียนที่เหมาะสมแกผูเรียน ผูเรียนเรียนไดตามศักยภาพของ ตนเอง ผูเรียนสามารถทบทวนบทเรียนไดตลอดเวลา และสามารถเลือกเนื้อหากอนและหลัง เรียนไดตามความตองการ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน  และจากการวจิยัสรปุ ไดวา บทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพ สามารถนําไปใชใน การจัดการเรียนการสอนในวิชา การเขียนโปรแกรมจัดการฐานขอมูล ในระดับประกาศนียบัตร ชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจได 

สรวงสุดา (2544)  ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครือขาย   อินเตอรเน็ต วิชา ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  (ปวส.) ชั้นปที่  2 แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัย อาชีวศึกษาอุดรธานี พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต มีคุณภาพ ตามความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยดีมาก และพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ตหลังเรียนสูง กวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นั่นคือสามารถนําบทเรียนคอมพิวเตอรไป ใชในการเรียนการสอนในรายวิชาระบบเครือขายคอมพิวเตอร สําหรับนักศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หรือนักศึกษาสาขาวิชาอ่ืนที่ เรียนในรายวิชาเดียวกันได 

นพศักดิ์  (2544)  ไดทําการวิจัยเรื่องการสรางและหาประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดีย (MMCAI) วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเบื้องตน สําหรับ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ตามหลักสูตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยเริ่มจากใหกลุมตัวอยางที่ทดลองใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นเปนนักศึกษา จํานวน 60 คน หลังจากที่กลุมตัวอยางเรียนจบบทเรียนแลว ทําการทดสอบดวยแบบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทันที จากนั้นนําคะแนนที่ไดจากการทดสอบมาทําการวิเคราะหตาม หลักสถิติ และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลความคงทนทางการเรียนจากกลุมตัวอยางภายหลัง จบบทเรียนไปแลว 1 สัปดาห และ 1 เดือนตามลําดับ ผลการวิเคราะหขอมูลพบวาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 86.18/85.02 สูงกวาเกณฑ 85/85 ที่ตั้งไวตาม สมมติฐาน เมื่อนําคะแนนการทดสอบมาวิเคราะหโดยการทดสอบคาซี (Z-test) ทางการเรียน ของผูเรียนกอนและหลังเรียน พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนกอนและหลังเรียน เพิ่มข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และเมื่อพิจารณาผลคะแนนสอบหลังเรียนปรากฏ วาคะแนนเฉลี่ย รวมจากทดสอบหลังเรียนเทากับ 142.67 สูงกวาคะแนนเฉลี่ยรวมที่ไดจากการ ทดสอบกอนเรียนซึ่งมีคาเทากับ 88.20 คะแนน จากนั้นนําคะแนนเฉลี่ยรวมจากการทดสอบหลัง เรียน มาเปรียบเทียบกับขอมูลความคงทนทางการเรียนของผูเรียนหลังจากเรียนดวย บทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนแลว  1 สัปดาห และ 1 เดือน ตามลําดับ ผูใชบทเรียนและผูเชี่ยวชาญมี

Page 50: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

41 

ความคิดเห็นตอบทเรียนในระดับดี แสดงใหเห็นวา บทเรียนคอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดียที่สราง ขึ้น สามารถนําไปใชในการเรียนการสอน วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ตามหลักสูตรของสถาบันเทคโนโลยีราชการได 

อเนก (2545) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเตอรเน็ต เรื่อง ชีวิตและวิวัฒนาการ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยปรากฏวา 

1.  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่องชีวิตและวิวัฒนาการ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดคือ 82.92:82.33 

2.  นักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่อง ชีวิตและวิวัฒนาการ ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 

3.  นักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่อง ชีวิตและวิวัฒนาการที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 

พิเชษฐ (2545) บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่องสีของวัตถุ มีประสิทธิภาพเทากับ 80.33  :  80.00 เปนไปตามเกณฑที่กําหนด คือ 80:80 และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตสูงกวากอน เรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 

Power and Mitchell (2000) ไดทําการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องการรับรูของผูเรียน โดยการ จัดสภาพแวดลอมในหองเรียนเสมือน ซึ่งเปนการสื่อสารผานสื่ออิเล็กทรอนิคส ที่ประกอบดวย จดหมายอิเล็กทรอนิกส หองสนทนา และเวิลด วาย เว็บ โดยนําเสนอผานเครือขายอินเทอรเน็ต ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา ในเนื้อหาระดับบัณฑิตศึกษาประกอบดวยฐานขอมูลจากคลังขอมูล ขอความในจดหมายอิเล็กทรอนิคส นิตยสารของผูเรียน ตารางเรียน ผลการเรียน แลวสัมภาษณ กลุมตัวอยาง เพื่อวิเคราะหตามหลักการดังนี้ 

1.  การรับรูและพฤติกรรมของนักเรียน 2.  การสงเสริมปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนตอนักเรียน 3.  ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับกลุมนักเรียน 4.  ความตองการเวลาในการสอน แมจะมีการนิยามการสื่อสารทางไกลของผูเรียนวาการไมเผชิญหนา นักเรียนก็สามารถ 

พัฒนาปฏิสัมพันธของตนตอกลุมได ซึ่งสภาพการเรียนปกติไมสามารถทําได ความสัมพันธของ ความสามารถของนักเรียนแสดงใหเห็นถึงความแตกตาง แมผูสอนจะเปนผูนําขณะที่มีการเรียน ในหองก็ตาม ระหวางที่นักเรียนเรียนดวยตนเอง ณ ที่ใด ๆ ผูสอนจะเปลี่ยนบทบาท เปนเพียง

Page 51: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

42 

ผูถายทอดสาร และทุกคนในหองจะเปนสวนหนึ่งของการสื่อสาร นักเรียนมีความรูสึกวา ตองการใหเพิ่มเวลาเรียนเกิดขึ้น เพราะรูปแบบของเนื้อหา และการวิเคราะหตารางกิจกรรมที่ รวมเวลาในชวงเริ่มตนของอินเตอรเน็ต อีกทั้งมีการรับรูถึงหนาที่ และความรับผิดชอบเมื่ออยู หนาจอคอมพิวเตอร 

Smith  and  Northrop  (2000) รวมกันวิจัยโครงการ การสื่อสาร การเรียน การวัดผลใน ระบบการเรียนแบบเด็กเปนศูนยกลาง หรือคลาส (Class) มีความสมบูรณ และไดรับการยอมรับ กันแลว สําหรับโรงเรียนมัธยมที่ใช World  Wide  Web  ทุกวัน แผนกการศึกษาทางไกลของ มหาวิทยาลัยเนบราสกา-ลินคอลน (The University of Nebraska-Lincoln) ไดรับทุน 18 ลาน ดอลลาร เพื่อพัฒนางานสวนนี้ซึ่งตองเสร็จภายใน ค.ศ.2001 คลาสจะเปดสอนนักเรียน 54 รายวิชา โดยเลือกจากวิชาที่มีความตองการมาก รูปแบบของการออกแบบการสอนของคลาส สามารถนําเอาความหลากหลายของรายวิชา และสามารถออกแบบใหทราบผลยอนกลับรูปแบบ ดังกลาว จะประกอบดวยขั้นตอนดังนี้ คือ กําหนดความตองการ ประชุมคณะทํางานเพื่อพัฒนา เนื้อหาวิจัย ระดมความคิด กําหนดหนาที่แตละบุคคล กําหนดแหลงขอมูลในการคนควา เสนอ โครงงาน เสนอเนื้อหาวิชา ทดสอบเนื้อหา การสอนแบบคลาส ทําใหนักเรียนที่เรียนทางไกลมี โอกาสใชเครื่องมือมากมายเปนหมื่นเปนแสนที่เปนหนวยหนึ่งของบทเรียนทางอินเทอรเนต็ รวม ไปถึงการสื่อสารระหวางนักเรียน กิจกรรมการเรียนแบบเนนการกระทํา (พลวัต) สวนที่นักเรียน เลือกเรียน การเรียนที่เสริมแรงโดยมัลติมีเดีย การตรวจสอบความกาวหนาดวยตนเอง และเก็บ รวบรวมผลงานมัลติมีเดียไว ซึ่งสงผลใหการเรียนไมถูกควบคุมโดยเวลา และสถานที่อีกตอไป 

Tyan and others (2000) ไดทําการวิจัยเรื่องการใชการติดตอสื่อสารผานคอมพิวเตอรใน ระดับอุดมศึกษาภาคเอกชนของไตหวัน ดวยการจัดระบบการศึกษาที่นําเอา CMC (Computer Mediated  Communication)  มาพัฒนาในการจัดสภาพแวดลอมทางการศึกษาดวย อิเล็กทรอนิกส และพัฒนาคุณภาพการศึกษา นักเรียนแตละคนมีความตองการที่จะมีสวนรวมใน การประชุมทางอิเล็กทรอนิกสกอนจะใชการอภิปรายแบบเผชิญหนาในหองเรียนปกติ ทําให นักเรียนไดมีโอกาสที่จะมีการเรียนรูแบบรวมมือกัน และการเรียนรูโดยผูเรียนเองไดเปนอยางดี 

งานวิจัยชิ้นนี้จึงเปนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต โดยมีการนําทฤษฎี แนวความคิด หลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากผูเชี่ยวชาญ นักวิชาการหลายทานมาผสมผสานกัน เพื่อนํามาสรางบทเรียนใหมี ประสิทธิภาพสูงสุด พรอมกันนั้นยังสงเสริมใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาโครงสรางและการ ทํางานระบบคอมพิวเตอรดีขึ้นอีกดวย โดยอางอิงไดจากการนํางานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งใน ประเทศและตางประเทศมาศึกษา ผูวิจัยหวังเปนอยางย่ิงวา การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ก็จะ เปนอีกหนึ่งงานวิจัยที่จะสรางสื่อใหมีประสิทธิภาพ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาใหดีข้ึนตามลําดับเชนกัน

Page 52: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย 

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งผูวิจัยไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบน เครือขายอินเตอรเน็ตเพื่อไปทดลองใชกับกลุมทดลองจํานวน 30 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบ คอมพิวเตอร ซึ่งไดผลจากคะแนนที่กลุมตัวอยางทําไดจากแบบฝกหัดระหวางบทเรียนและ แบบทดสอบทายบทเรียน นํามาเปรียบเทียบกับเกณฑที่ตั้งไว 85/85 ตามสมมติฐานขอที่ 1 และ เปรียบเทียบดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งกอนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรตามสมมติฐานขอที่ 2 

วิธีการดําเนินการวิจัย มีลําดับขั้นตอไปนี้ 3.1  การศึกษาขอมูล 3.2  การกําหนดประชากรและคัดเลือกกลุมตัวอยาง 3.3  การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.4  การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล 3.5  การวิเคราะหขอมูลและสถติิทีใ่ชในการวิจัย 3.6  การทดลองใชและการเก็บรวบรวมขอมูล 

3.1  การศึกษาขอมูล ผูวิจัยไดทําการศึกษาขอมูลตางๆ เพื่อนํามาใชในงานวิจัยดังนี้ 3.1.1  สํารวจคะแนนสอบวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ของนักศึกษา 

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ในภาคเรียนที่ 1 และ 2 ป การศึกษา 2546 พบวา ในภาคเรียนที่ 1 นักศึกษาสวนใหญไดคะแนนตั้งแต 67 คะแนนลงมา มีจํานวนมากกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนนักศึกษาทั้งหมด ในภาคเรียนที่ 2 จํานวนนักศึกษาที่ได คะแนนตั้งแต 67 คะแนนลงมา มีจํานวนเพิ่มขึ้นกวาภาคเรียนที่ 1 และจากการสอบถามอาจารย ผูสอนและนักศึกษาก็พบวา เนื้อหามีจํานวนมาก นักศึกษาทําความเขาใจในเนื้อหาไดยาก จึงตองรีบจดเนื้อหาในเวลาเรียน และเรียนรูจากสื่อที่เปนภาพนิ่งในหนังสือเรียนเทานั้น  จึงทํา ใหยากแกการทําความเขาใจในเวลานั้น เมื่อไมเขาใจ นักศึกษาไมกลาที่จะขอคําปรึกษาหรือให อาจารยผูสอนอธิบายเนื้อหาที่ไมเขาใจเพิ่มเติม  จึงเปนผลใหคะแนนที่สอบเฉลี่ยเกาะกลุมอยูใน เกณฑคอนขางต่ํา

Page 53: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

44 

3.1.2  ศึกษาเนื้อหาวิชาโครงสรางและระบบการทํางานคอมพิวเตอร รายวิชาเอกบังคับ ระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ เพื่อนําไปออกแบบและนําเสนอ เนื้อหาภายในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต ซึ่งเนื้อหาของหลักสูตรมี ทั้งสิ้น 7 โมดูล แตผูวิจัยเลือกมาเพียง 6 โมดูล โดยแบงเปนหัวขอยอยดังนี้ 

3.1.2.1  หนาที่การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2.1.1  หนาที่การทํางาน 3.1.2.1.2  โครงสราง 

3.1.2.2  วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร 3.1.2.2.1  ประวัติคอมพิวเตอร 3.1.2.2.2  การออกแบบที่เนนประสิทธิภาพ 

3.1.2.3  หนาที่และการเชื่อมตอภายในเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2.3.1  สวนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2.3.2  โครงสรางการเชื่อมโยงภายในเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2.3.3  การเชื่อมโยงโดยใชบสั 

3.1.2.4  หนวยความจําภายใน 3.1.2.4.1  หนวยความจําหลักแบบเซมิคอนดักเตอร 3.1.2.4.2  การจัดโครงสราง DRAM 

3.1.2.5  หนวยความจํา Cache 3.1.2.5.1  หนวยความจําในเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2.5.2  ลักษณะพื้นฐานของหนวยความจํา Cache 3.1.2.5.3  องคประกอบในการออกแบบ Cache 

3.1.2.6  หนวยความจําภายนอก 3.1.2.6.1  ดิสกแมเหล็ก 3.1.2.6.2  RAID 3.1.2.6.3  หนวยความจําออพติก 3.1.2.6.4  เทปแมเหล็ก 

3.1.3  ศึกษาหลักการออกแบบการเรียนการสอน เชน การวิเคราะหเนื้อหา การเขียน วัตถุประสงค  การออกแบบบทเรียน  วิธีการใหเนื้อหา  การออกขอสอบ  และการหา ประสิทธิภาพของขอสอบจากตํารา เอกสารงานวิจัย และขอมูลอ่ืนที่เกี่ยวของบนอินเตอรเน็ต 

3.1.4  ศึกษาขั้นตอนและวิธีใชเครื่องมือสําหรับสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบน เครือขายอินเตอรเน็ต เชน โปรแกรมสรางภาพเคลื่อนไหว Macromedia Flash MX โปรแกรม สรางบทเรียนที่ใชในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมตัวบทเรียนทั้งหมด Active Server Page

Page 54: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

45 

(ASP)  โปรแกรมสรางหนาเว็บดวย Macromedia  Dream  weaver  MX และฐานขอมูลที่เปน ตัวจัดเก็บคะแนนสอบของผูเรียนดวย Microsoft Access เปนตน 

3.1.5  ศึกษาการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นสําหรับผูเชี่ยวชาญทั้งดานเนื้อหา และดานเทคนิค รวมถึงผูใชบทเรียน จากตํารา เอกสารอางอิง งานวิจัย 

3.1.6  ศึกษาหลักการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต ตามหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งผูวิจัยไดออกแบบการสรางบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนแบบศึกษาเนื้อหาจากเอกสารการสอนหรือตํารา รวมถึงทางอินเตอรเน็ต และกําหนดโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนแบบเชิงเสน 

3.2  การกําหนดประชากรและคัดเลือกกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 สาขาเทคโนโลยี 

สารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ภาคเรียนที่ 1/2549 ที่ลงทะเบียนวิชาโครงสราง และการทํางานระบบคอมพิวเตอร จํานวน 271 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เปนกลุมตัวอยาง จํานวนทั้งสิ้น 30 คน 

3.3  การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยแบงเปน 2 สวน คือ 3.3.1  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการ 

ทํางานระบบคอมพิวเตอร 3.3.2  แบบสอบถามความคิดเห็นสําหรับผูเชี่ยวชาญ และผูใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวย 

สอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ ซึ่งผูวิจัยไดดําเนนิการตามลําดับขั้น 3.3.3  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต ซึง่มีการสรางบทเรียน 

คอมพิวเตอรชวยสอน(WBI)  ผูวิจัยไดดําเนินการดังนี้ 3.3.3.1  วิเคราะหเนื้อหา โดยมีขั้นตอนการศึกษาดังนี้ 

3.3.3.1.1  ศึกษาขอบขายเนื้อหาการเรียนรู จากเอกสารและตําราและ จากอาจารยผูสอนประจําวิชาใหตรงหลักสูตรวิชาของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยโดย ผูวิจัยได นํามาประยุกตใหเหมาะกับกลุมเปาหมายที่ใชเรียน จุดประสงครายวิชา รวมถึงหนวยการเรียนรู 

3.3.3.1.2  รวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของจากแหลงขอมูลตาง ๆ เชน เอกสารหลักสูตร หนังสือ รวมถึงการสอบถามผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา (ดังภาคผนวก ก) 

3.3.3.1.3  วิเคราะหเนื้อหา  (Content  Analysis)  โดยใชแผนภูมิ ประการัง (Coral Pattern Method) ดังรายละเอียด (ในภาคผนวก ข) 

3.3.3.1.4  จัดแบงเนื้อหาออกเปนหนวยการเรียนทั้งสิ้น 6 โมดูล คือ โมดูลที่ 1  หนาที่การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร

Page 55: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

46 

โมดูลที่ 2  วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร โมดูลที่ 3  หนาที่และการเชื่อมตอภายในเครื่องคอมพิวเตอร โมดูลที่ 4  หนวยความจําภายใน โมดูลที่ 5  หนวยความจํา Cache โมดูลที่ 6  หนวยความจําภายนอก 

3.3.3.2  ออกแบบเนื้อหา โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 3.3.3.2.1  ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหเนื้อหา ซึ่งหัวขอที่เลือกตองตรง 

ตามหลักสูตร ตัดหัวขอสวนที่ไมเกี่ยวของทิ้งไป แลวนําไปกรอกในแบบฟอรมการใหน้ําหนกัของ หัวขอจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา (Topic Evaluation Sheet) ดังรายละเอียด (ในภาคผนวก ข) 

3.3.3.2.2  เขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ลงในแบบฟอรมวิเคราะห วัตถุประสงค (Objective  Analysis  Listing  From)  กํากับในแตละหัวขอที่ไดกําหนดขึ้น รวม 48 วัตถุประสงค ดังรายละเอียด (ในภาคผนวก ข) 

3.3.3.2.3  เขียนแผนภูมิจัดลงในแบบฟอรม  (Network  Diagram) โดยนําหัวขอที่กําหนดอยูในแบบฟอรมมาเขียนเรียงลําดับเนื้อหากอน-หลัง โดยอาศัยหลักการ จัดลําดับเนื้อหาที่ผูเรียนควรมีพื้นฐานในการเรียนกอนที่จะเรียนเนื้อหายาก ดังรายละเอียด (ในภาคผนวก ข) 

3.3.3.3  ออกแบบทดสอบวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 

3.3.3.3.1  วิเคราะหจํานวนขอสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงค โดยกําหนดใหหนึ่งวัตถุประสงคจะออกแบบทดสอบจํานวน 3 ขอ เพื่อใชในบทเรียนรวมทั้งวิชา โดยจะวิเคราะหตามน้ําหนักพฤติกรรมที่มุงหวังในระดับตาง ๆ และลําดับความสําคัญของ หนวยการเรียนนั้น ๆ 

3.3.3.3.2  นํารางแบบทดสอบเสนอใหที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดาน เนื้อหา ซึ่งเปนอาจารยผูสอนประจําวิชา และคณาจารยที่มีความรูความเชี่ยวชาญเรื่องโครงสราง และการทํางานระบบคอมพิวเตอร ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ทําการประเมินตรวจสอบ ซึ่งเปนการหาคาความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) โดยคาที่ยอมรับไดตองมากกวา 0.5 

3.3.3.3.3  ทําการปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญที่ แนะนํา 

3.3.3.3.4  กําหนดกลุมตั วอย างในการทดลองหาคุณภาพของ แบบทดสอบ โดยแบงเปน 2  กลุมคือ กลุมทดลองแบบทดสอบขั้นตน และกลุมทดสอบ แบบทดสอบขั้นใชงานจริง จากนั้นนําแบบทดสอบมาทดลองใชกับกลุมทดสอบขั้นตนจํานวน 3  คน และกลุมทดสอบขั้นใชงานจริงจํ านวน  30  คน ซึ่ งกลุมตัวอยาง เปนนักศึกษา

Page 56: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

47 

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ซึ่งปจจุบันนักศึกษาไดผาน การเรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรมาแลวในปการศึกษา 2548 

3.3.3.4  การวิเคราะหแบบทดสอบ 3.3.3.4.1  แยกผลคะแนนจากผลสอบลักษณะกลุ มสู ง กลุ มต่ํ า 

โดยแบงกลุมละ 27% ของนักศึกษาที่ทําแบบทดสอบ ซึ่งจะไดกลุมละ 8 คน เรียงลําดับคะแนน นักศึกษาที่ ไดคะแนนสูงสุด และรองลงมาไปตามลําดับ จํานวน  8  คน เปนกลุมสู ง และเรียงลําดับคะแนนนักศึกษาที่ไดคะแนนต่ําสุด ไปตามลําดับซึ่งได จํานวน 8 คน เปนกลุมต่ํา 

3.3.3.4.2  วิเคราะหหาคาระดับความยากงาย และอํานาจจําแนก 3.3.3.4.3  คัดเลือกขอสอบเฉพาะขอที่มีระดับความยากงาย (Difficulty) 

0.20-0.80 และเกณฑสําหรับเลือกขอที่มีอํานาจจําแนก (Discrimination) อยูในระดับ 0.20ขึ้นไป 3.3.3.4.4  วิเคราะหคาความเชื่อมั่น  (Reliability)  โดยคํานวณหาคา 

สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นตามสูตร คูเดอร-ริชารดสัน (KR-20) ดังรายละเอียด (ในภาคผนวก ข) 3.3.3.4.5  คัด เลื อกขอทดสอบที่ อยู ใ นเกณฑ  เพื่อนํ ามาใช เปน 

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งกอนและหลังเรียน ดังภาพ 3-1 

ภาพที่ 3-1  การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 

(IOC) 

วิเคราะหหลักสูตรและเนื้อหา 

เขียน Coral Pattern, Network Diagram 

ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ  แกไข ปรับปรุง 

เหมาะสม 

สรางขอคําถามใหครอบคลุมวัตถุประสงค

ไมเหมาะสม 

นําขอสอบไปทดลองกับนักศึกษา เพื่อหาคุณภาพ 

วิเคราะหหาความยากงาย อํานาจจําแนก และคาความเชื่อมั่น 

เลือกขอสอบที่อยูในเกณฑมาใชในบทเรียน และปรับปรุงขอสอบที่ไมอยูในเกณฑ

Page 57: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

48 

3.3.3.5  ลักษณะของแบบทดสอบ  แบงการใชงานตามวัตถุประสงคดังนี้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประกอบดวย 3.3.3.5.1  แบบทดสอบกอน-หลังบทเรียน (Pretest - Posttest) เพื่อใช 

วัดความรูพื้นฐานของนักศึกษากอนทําการเรียน และหลังที่ไดเรียนจนจบบทเรียนทั้งหมด 6 โมดูลแลวจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการ ทํางานระบบคอมพิวเตอร 

3.3.3.5.2  แบบฝกหัดระหวางบทเรียน (Exercise) เพื่อใชวัดผลทางการ เรียนของนักศึกษาหลังจากเรียนจบบทเรียนในแตละบท 

3.3.3.6  การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) มีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ 

3.3.3.6.1  ออกแบบ Flowchart ของการจัดรูปแบบบทเรียน 3.3.3.6.2  ทําเอกสารตัวเนื้อหาในรูปแบบของสคริปตเนื้อหาและรูปแบบ 

ตัวเอกสารในลักษณะของเฟรมเนื้อหา (Story Board) ตามที่กําหนดไวในหัวขอโมดูลการเรียน ดังตัวอยาง (ในภาคผนวก ค) 

3.3.3.6.3  นําเอกสารที่สรางเสนอใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาตรวจสอบ 3.3.3.6.4  ปรับปรุงแกไขเนื้อหาตามที่ผูเชี่ยวชาญแนะนําหรือปรับแก 

3.3.3.7  การดําเนินการสรางบนเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ต(WBI) ตามลําดับขั้นดังนี้ 

3.3.3.7.1  รวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษามากําหนดเปนโครงสรางใน การพัฒนาบทเรียน ในรูปแบบ Network Diagram of Objective/Topic 

3.3.3.7.2  ออกแบบหนาจอ (Screen  Design) โดยดูจากระดับของ เนื้อหาและของผูเรียนถึงความเหมาะสมและความสะดวกในการใชงานกับโปรแกรม รวมทั้ง กําหนดความละเอียดของการแสดงภาพกําหนดไวที่ 800  x  600 Pixel  ตามมาตรฐานการ แสดงผลในระดับ SVGA  ที่ระดับสีตั้งแต 32 KiloColor  หรือ 64 KiloColor  ขึ้นไป กําหนด ตัวอักษร สี แลวนําไปตรวจสอบความเหมาะสมกับผูที่มีประสบการณ โดยรายละเอียดการจัด หนาจอและสวนประกอบรูปแบบตาง ๆ มีดังนี้

Page 58: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

49 

ภาพที่  3–2  Title กอนเขาสูบทเรียน 

ภาพที่  3-3  สวนของการปอนชื่อ และรหสัผานเพื่อเขาสูระบบ 

ตรา สถาบัน 

ขอมลูผูลงทะเบยีน 

ชื่อวิชา 

ตรา สถาบัน 

Title กอนเขาสูบทเรียน 

ช่ือวิชา

Page 59: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

50 

ภาพที่  3–4  แสดงสวนของการสมัครเปนสมาชิกกอนเขาระบบ 

ภาพที่  3-5  สวนของการแสดงวัตถุประสงค

ตรา สถาบัน

แสดงสวนผูลงทะเบียนใหม 

ชื่อวิชา 

Xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx 

Xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx

ตรา สถาบั

แสดงขอมูล วัตถุประสงค 

ชื่อวิชา

Page 60: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

51 

ภาพที่  3–6  สวนของการแสดงตําแหนงลําดับโครงสรางบทเรียน 

ภาพที่  3-7  สวนของการแสดงตําแหนงของหนวยการเรียน

ตรา สถาบัน

Network Diagram แสดงตําแหนงลําดับโครงสรางบทเรียน 

ชื่อวิชา

ตรา สถาบัน

Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 

Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx*  แสดงสถานะของตาํแหนงทีเ่รยีน xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 

Xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 

ชื่อวิชา

Page 61: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

52 

ภาพที่  3-8  สวนของการแสดงขอมูลคําชี้แจงและเงื่อนไขของบทเรียน 

ภาพที่ 3–9  แสดงสวนของหนาเนื้อหาของบทเรียน

ตรา สถาบัน

แสดงขอมูลคําชี้แจงและเงื่อนไขของบทเรียน 

ชื่อวิชา

ตรา สถาบัน

ชื่อวิชา 

ขอมูลเนื้อหา บทเรียน รูปภาพ

Page 62: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

53 

ภาพที่  3-10  สวนของการแสดงความกาวหนาผลการเรยีน 

3.3.3.8  สรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) ให ครบตามเฟรมเนื้อหาที่กําหนดไวในเนื้อหาของบทเรียนทั้ง 6 โมดูล จากนั้นจึงทําการออกแบบ ฐานขอมูลของบทเรียนโดยใช E-R Diagram ซึ่งเปนฐานขอมูลเชิงสัมพันธ หลังจากนั้นนําทั้ง สองสวนมารวมกันเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานดวยภาษา ASP,  โปรแกรมสราง ภาพเคลื่อนไหว (Macromedia Flash MX), โปรแกรมสรางหนาเว็บดวย Macromedia Dream weaver MX และฐานขอมูลที่เปนตัวจัดเก็บคะแนนสอบคือโปรแกรม Microsoft Access จากนั้น นําสวนที่เปนเนื้อหาบทเรียนใสลงเว็บเพจ 

3.3.3.9  นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI)  ที่สรางขึ้น สงใหอาจารย ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาความถูกตองเหมาะสมทั้งดานเนื้อหาและรูปแบบ 

3.3.3.10  นําไปทดลองกับกลุมทดลองกลุมยอย ซึ่งเปนนักศึกษาชั้นปที่ 2 คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ ที่ไดเคยเรียนวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร มาแลวจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนอีก และใหแสดงความคิดเห็นลง ในแบบสอบถามทันทีหลังจากที่ไดใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) แลว

ตรา สถาบัน

ชื่อวิชา 

ความกาวหนาการเรียนรู  แถบแสดงสถิติ  ผลลัพธ xxxxxxxxxxxx  xxxxxxxx  xxxxx 

ความกาวหนาผลการเรียน :

Page 63: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

54 

3.3.3.11  นําขอมูลจากแบบสอบถามที่ไดจากกลุมทดลองกลุมยอย 3 คน นํามา วิเคราะหหาคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียน (ดังภาคผนวก ข) 

3.3.3.12  ทําการแกไขขอบกพรองหลังจากทดลองใชกับกลุมตัวอยางแลว 3.3.3.13  นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  (WBI) ที่ปรับปรุงแลวเสนอให 

ผูเชี่ยวชาญทดสอบ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน  (WBI) ซึ่งผูเชี่ยวชาญจะแบงออกเปน 2 กลุมคือ กลุมแรกผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหา จํานวน 3 คน กลุมที่สองคือผูเชี่ยวชาญทางดานเทคนิคโปรแกรม จํานวน 3 คน และหลังจากที่ผูเชี่ยวชาญ ทั้งสองดานไดทดสอบใชบทเรียนแลวใหแสดงความคิดเห็นลงในแบบสอบถามตามความ เชี่ยวชาญเฉพาะดาน (ดังภาคผนวก ง) 

3.3.3.14  นําแบบสอบถามที่ไดจากผูเชี่ยวชาญ มาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 

3.3.3.15  ทําการแกไขปรับปรุงในสวนตาง ๆ ตามที่ผูเชี่ยวชาญไดพบจากการ ตรวจสอบหาขอบกพรอง 

3.3.3.16  นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชา โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร (WBI) ฉบับสมบูรณ ขึ้นระบบเครือขายโดยติดตั้ง เครื่องแมขาย (Server) กลางอยูที่ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยเพื่อเก็บขอมูล จริงกับกลุมตัวอยางที่ผูวิจัยกําหนดข้ึนซึ่งเปนนักศึกษา จํานวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 1/2549 

รายละเอียดขั้นตอนการดําเนินการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ต ดังภาพ

Page 64: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

55 

นําบทเรียนชวยสอนฉบับสมบูรณขึ้น ผานระบบเบราเซอรของเซิรฟเวอร 

จบ 

ภาพที่ 3-11  ขั้นตอนการดําเนินการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเนต็ 

เหมาะสม 

วิเคราะหเนื้อหา 

จัดลําดับความสัมพันธของเนื้อหา 

ปรึกษาคณะกรรมการ  แกไข 

ออกแบบหนาจอ 

ไมเหมาะสม 

เหมาะสม 

ออกแบบผังงาน,เขียนสคริปต 

ปรึกษา อ.ที่ปรึกษา  แกไข ปรับปรุง 

สรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต 

ไมเหมาะสม 

ทดลองกลุมยอย 3 คน  แกไข ปรับปรุง ไมเหมาะสม 

เหมาะสม 

ทดสอบกับผูเชี่ยวชาญ 6 คน 

แกไข ปรับปรุง ไมเหมาะสม 

เหมาะสม

Page 65: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

56 

Efficiency 

Effectiveness 

3.4  การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลนั้น ผูวิจัยไดดําเนินการตามแบบของการ 

วิจัยแบบกลุมเดียว สอบกอนและสอบหลัง (One-Group Pretest- Posttest Design) ดังนี้ 3.4.1  ติดตั้งโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI) ที่สรางขึ้นโดยนําขึ้น Server 

โดยใชระบบเครือขายของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โดย ใหนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ เปนกลุมตัวอยางในการทดลอง จํานวน 30 คน ได ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI) ที่สรางขึ้น 

3.4.2  กลุมตัวอยางที่ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI) จะตองทําแบบทดสอบกอน บทเรียน (Pretest) เพื่อนําผลสัมฤทธิ์ที่ไดไปเปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์หลังเรียน 

3.4.3  จากนั้น เมื่อกลุมตัวอยางเรียนจบบทเรียนทุกโมดูลการเรียนแลว จะทําการทดสอบ ทายบทเรียน (Posttest)ทั้งนี้ จะทําภายใตความควบคุมจากอาจารยผูสอนประจําวิชา และมี ผูวิจัยเปนผูชวยในการควบคุม 

3.4.4  นําคะแนนผูเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบมาวิเคราะหหาประสิทธิภาพของ บทเรียน โดยใชระดับคาคะแนนที่ไดจากการเรียนของนักศึกษากลุมตัวอยางมาเปนคะแนนเฉลีย่ ของแบบทดสอบระหวางบทเรียนและแบบทดสอบทายบทเรียน เพื่อมาเปรียบเทียบตามสูตร E1/E2 ตามสมมติฐานขอที่ 1 

3.4.5  นําผลสัมฤทธิ์กอนเรียน มาเปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์หลังเรียน โดยใชสูตร t-test เพื่อทําการทดสอบสมมติฐานขอที่ 2 

สามารถสรุปรายละเอียดของขั้นตอนการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ดังภาพที่ 3-12 

เริ่มบทเรียน 

แบบทดสอบกอนเรียน(Pretest) 

แบบทดสอบระหวางบทเรียน 

แบบทดสอบหลังเรียน(Posttest) 

เริ่มบทเรียน 

ภาพที่  3-12  ขั้นตอนในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต 

T1 

T2 

E1

E2

Page 66: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

57 

3.5  การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย 3.5.1  การวิเคราะหหาความยากงาย (Difficulty) ใชสูตร (บุญชม, 2535 : 81) 

f Rl Ru P 

2 +

=  (3-1) 

p  คือ   ระดับความยาก Ru  คือ   จํานวนคนในกลุมสูงที่ตอบถูก Rl  คือ   จํานวนคนในกลุมต่ําทีต่อบถูก f  คือ   จํานวนคนในกลุมสงูหรือกลุมต่ําซึง่เทากัน 

ขอบเขตของคายากงายและความหมาย 0.81 – 1.00  เปนขอสอบที่งายมาก 0.61 – 0.80  เปนขอสอบที่คอนขางงาย (ใชได) 0.41 – 0.60  เปนขอสอบที่ยากงายพอเหมาะ (ด)ี 0.21 – 0.40  เปนขอสอบที่คอนขางยาก (ใชได) 0.00 – 0.20  เปนขอสอบที่ยากมาก 

ดังนั้นการเลือกคาความยากงายของขอสอบควรอยูประมาณ 0.20 - 0.80 3.5.2  คาอํานาจจําแนก (Discrimination) ใชสูตร (บุญชม, 2535: 81) 

f Rl Ru r −

=  (3-2) 

r  คือ   อํานาจจําแนก Ru  คือ   จํานวนคนในกลุมสูงที่ตอบถูก Rl  คือ   จํานวนคนในกลุมต่ําทีต่อบถูก f  คือ   จํานวนคนในกลุมสูงหรือกลุมต่ําซึ่งเทากัน 

ขอบเขตของคาอํานาจจําแนกและความหมาย 0.4 ขึ้นไป  อํานาจจําแนกสูง คณุภาพดีมาก 0.30 – 0.39  อํานาจจําแนกปานกลาง คุณภาพดีพอสมควร 0.20 – 0.29  อํานาจจําแนกคอนขางต่ํา คุณภาพดีพอใชได 0.00 – 0.19  อํานาจจําแนกต่ํา คุณภาพใชไมได 

ดังนั้นคาอํานาจจําแนกที่ยอมรับได คือ ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ผลจากการวิเคราะหหาคาความยากงายและอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ 

(ดังภาคผนวก ข) สรุปไดวาแบบทดสอบรวม 148 ขอ มีคาความยากงายอยูระหวาง 0.19 ถึง 0.81 โดยเฉลี่ยอยูที่ 0.57 แสดงวาขอสอบมีความยากงายพอเหมาะ ไมยากหรืองายจนเกินไป

Page 67: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

58 

สวนคาอํานาจจําแนกมีคาอยูระหวาง -0.25 ถึง 0.88 โดยเฉลี่ยอยูที่ 0.41 จัดวาขอสอบมีคา อํานาจจําแนกในระดับดีมาก 

แสดงใหเห็นวาแบบทดสอบมีคาอยูในเกณฑที่เหมาะสม สามารถนําไปใชในการสราง แบบทดสอบในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตและใชเปนแบบทดสอบ กอนเรียนหลังเรียนและเมื่อผูเรียนเรียนจบทุกโมดูลแลว สําหรับในการวิจัยครั้งนี้ได 

3.5.3  การวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ใชสูตร KR-20 ของคูเดอร ริชารด-สัน (Kuder-Richardson) (ลวนและอังคณา, 2539: 215) 

− = ∑ 

2 1 1  S 

pq k k r t 

(3-3) t r  คือ   คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k  คือ   จํานวนขอของแบบทดสอบ p  คือ   สัดสวนของผูเรียนที่ตอบถูกกับผูเรียนทั้งหมด q  คือ   สัดสวนของผูเรียนทีต่อบผิดกับผูเรียนทั้งหมด 

(มีคาเทากับ  p − 1  ) 2 S  คือ   คาความแปรปรวน 

แบบทดสอบที่มีคาความเชื่อมั่นใกล +1.00 แสดงวามีคาความเชื่อมั่น คะแนนที่ไดจาก แบบทดสอบนี้เชื่อถือได สวนแบบทดสอบที่มีคาความเชื่อมั่น 0.00 หรือใกลเคียงจนถึงคา -1.00 แสดงวาแบบทดสอบนี้ไมอยูในเกณฑยอมรับความเชื่อมั่น คะแนนที่ไดเชื่อถือไมได 

ผลจากการวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้ง 6 โมดูล แสดงใหเห็นถึงคาความ เชื่อมั่นของแบบทดสอบอยูที่ 0.94  แสดงใหเห็นวาแบบทดสอบมีคาความเชื่อมั่นอยูในเกณฑที่ เหมาะสมเชื่อถือได สามารถนําไปใชในการวิจัยฉบับนี้ได 

3.5.4  การวิเคราะหประเมินผลความคิดเห็นของผูใชบทเรียนและความคิดเห็นของ ผูเชี่ยวชาญ 

3.5.4.1  หาคาคะแนนเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ดังสตูร (ลวนและอังคณา, 2539: 306) 

n x 

x ∑ = (3-4) 

x  คือ คาเฉลี่ย ∑ x  คือ ผลรวมของคะแนนทัง้หมด n  คือ จํานวนผูเรียนทัง้หมด

Page 68: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

59 

3.5.4.2  หาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Devision : SD) ใชสูตร (บุญชม, 2535 : 103) 

( ) ) 1 ( 

2 2

− = ∑ ∑ 

n n x x n 

SD  (3-5) 

SD  คือ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑ x  คือ ผลรวมของคะแนนผูสอบทั้งหมด 

คือ ผลรวมของคะแนนของผูสอบแตละคนยกกําลังสอง n  คือ จํานวนผูเรียนทัง้หมด 

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน =  0  หมายความวา ขอมูลชุดนั้นไมมีการกระจาย ถาเปนความ คิดเห็นของผูใชบทเรียนหรือผูเชี่ยวชาญตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แสดงวาความคิดเห็นของผูใชบทเรียน หรือผูเชี่ยวชาญทุกคนมีความเห็นตอสิ่งนั้นเหมือนกัน 

3.5.4.3  หาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ใชสูตร (ลวนและอังคณา, 2539 : 248)

n R 

IOC ∑ = (3-6) 

IOC  คือ  ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับวัตถุประสงค ∑ R  คือ  ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ n  คือ  จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 

3.5.4.4  เกณฑคาเฉลี่ยที่ไดจากแบบสอบถามวัดความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ และผูใชบทเรียน (ประคอง, 2542 : 73) 

คาน้ําหนัก  ความหมาย 4.50 - 5.00  ดีมาก 3.50 - 4.49  ด ี2.50 - 3.49  ปานกลาง 1.50 - 2.49  พอใช 1.00 - 1.49  ควรปรับปรุง 

การวิเคราะหความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้ง 6 ทาน ที่เกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร โดยแบงเปน

Page 69: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

60 

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค  จํานวน 3 ทาน ซึ่งได ประเมินผลความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งสองดานผูวิจัยไดผลแสดงเปนคาเฉลี่ย และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคสําหรับวิชาวิชาโครงสรางและ การทํางานระบบคอมพิวเตอร พบวาระดับความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญอยูในเกณฑที่ดี โดยมี คาเฉลี่ยรวมอยูที่  4.29 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.57  (รายละเอียดแสดงใน ภาคผนวก ข) 

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาวิชาโครงสรางและการทํางาน ระบบคอมพิวเตอร พบวาระดับความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญอยูในเกณฑที่ดี โดยมีคาเฉลี่ย รวมอยูที่ 4.38 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.49 (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ข) 

3.6  การทดลองใชและการเก็บรวบรวมขอมูล ผู วิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 

ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI)  ของนักศึกษาจากกลุมตัวอยาง ที่ได เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางาน ระบบคอมพิวเตอร โดยมีขั้นตอนการดําเนินการดังตอไปนี้ 

3.6.1  การทดลองดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชา โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น โดยอาจารยผูสอนประจําวิชา เปนผูควบคุมกลุมตัวอยางและผูวิจัยเปนผูชวยในการควบคุม โดยอาจารยผูสอนจะกําหนดเวลา ในการทดลองชวงระหวางวันพุธ และวันศุกร ชวงเวลา 16.30 – 19.30 น. และชั่วโมงแรกมีการ อธิบายถึงวิธีการใชบทเรียนอยางละเอียดกอนทําการเรียน และใหนักศึกษามีโอกาสในการถาม ถึงความเขาใจในวิธีการใช จากนั้นกลุมตัวอยางจึงดําเนินการเรียนดวยตนเอง โดยมีผูวิจัยเปน ผูคอยควบคุม และคอยใหคําแนะนํา  ซึ่งนักศึกษาสามารถเรียนไปตามสามารถของแตละบุคคล เวลาที่ใชในการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI)  จะใชเวลาครั้งละ 3 ชั่วโมงและเรียน สัปดาหละ 2 ครั้ง โดยใชระยะเวลาในการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน(WBI)ทั้งหมด โดยเริ่มทําการทดลองในวันศุกรที่ 2  มิถุนายน 2549 ถึงวันศุกรที่ 7 กรกฎาคม 2549  และ ทําการสรุปผลครั้งสุดทายในวันพุธที่ 12  กรกฎาคม 2549 โดยใหนักศึกษาที่เรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร กรองแบบสอนถามตามที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น 

3.6.2  การเรียนดวยบทเรียน (WBI)  จะทําแบบทดสอบกอนเรียน และเมื่อเรียนจบ บทเรียนแลวจะทําแบบทดสอบทายบทเรียนในแตละบทเรียน โดยขอสอบจะทําการสุมจากคลัง ขอสอบที่มีรวมจํานวน 140 ขอ โดยนักศึกษาที่เรียนดวยบทเรียนเมื่อทําแบบทดสอบแลว

Page 70: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

61 

คะแนนจะถูกจัดเก็บลงฐานขอมูลทันที แตนักศึกษาจะเรียนดวยบทเรียนจนกวาจะผานเกณฑที่ กําหนดไวของแตละบทจึงจะผานไปสูเนื้อหาบทตอไปได 

3.6.3  การทําแบบทดสอบทายบทเรียน  เมื่อนักศึกษาเรียนครบทุกบทเรียนแลว นักศึกษาจะตองทําทดสอบรวมอีกครั้งหนึ่ง โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 80 ขอ ซึ่งเปนขอสอบชุดเดียวกันกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียน โดยใชวิธีการ สุมจากคลังขอสอบ จากนั้นเมื่อนักศึกษาไดทําแบบทดสอบเสร็จแลวถือวาเรียนจบ จากนั้นผูวิจยั จึงนําคะแนนที่ไดจากนักศึกษาที่เรียนแลวมาคิดหาประสิทธิภาพของบทเรียน และหาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษา โดยใชสูตรทางสถิติตอไปนี้ 

การหาประสทิธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ใชสตูร (เสาวณีย, 2538: 294- 295) 

100 1 × =

∑ 

A n X 

E  (3-7) 

100 2 × =

∑ 

B n Y 

E  (3-8) 

1 E  คือ  ความมีประสิทธิภาพของแบบทดสอบระหวางบทเรยีน 2 E  คือ ความมีประสิทธิภาพของแบบทดสอบทายบทเรียน 

∑X  คือ คะแนนรวมของผูเรียน ระหวางบทเรียน ∑Y  คือ คะแนนรวมของผูเรียน ทายบทเรียน n  คือ จํานวนผูเรียนทัง้หมด A  คือ คะแนนเต็มรวม ระหวางบทเรียน B  คือ คะแนนเต็มรวม ทายบทเรียน 

การหาความแตกตางของผลสัมฤทธิ์กอนเรียน กับหลังเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน ใชสูตร t-test (บุญชม, 2535 : 109) 

1 ) (  2 2

− =

∑ ∑ ∑ 

n D D n 

D t  (3-9) 

โดย  df  =  n-1 t  คือ  คาสถติิทีใ่ชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมี 

นัยสําคัญ D คือ  ผลตางของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลงัเรียน n  คือ  จํานวนผูเรียนทัง้หมด

Page 71: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บทท่ี  4 ผลของการวิจัย 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน (WBI) วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลังจากนั้นจึงไดดําเนินการหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (WBI) ที่ผูวิจัย ไดสรางขึ้น โดยตั้งสมมุติฐานการวิจัย คือ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดอยางนอย 85/85 และผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาหลังใชบทเรียน WBI สูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนใชบทเรียน WBI อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ จํานวน 30 คน โดยใช วิธีการเลือกแบบสุมอยางงาย (Sample  Random  Sampling) เรียนดวยบทเรียนที่สรางขึ้น ซึ่งผลการวิจัยมีขั้นตอนดังนี้ 

4.1  ผลการพัฒนาบทเรียน WBI 4.2  ผลการประเมินคุณภาพบทเรียน WBI 4.3  ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของบทเรียน WBI ตามสมมุติฐาน ขอที่ 1 4.4  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยางตามสมมุติฐาน ขอที่ 2 4.5  การออกแบบบทเรียน WBI วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 

4.1  ผลการพัฒนาบทเรียนWBI ผูวิจัยไดทําการพัฒนาบทเรียน WBI โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1.1  เนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสราง และ 

การทํางานระบบคอมพิวเตอร จํานวน 6 โมดูล มีวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมทั้งหมด 48 ขอ แบบทดสอบทั้งหมด 140 ขอ 

4.1.2  กลยุทธในการนําเสนอบทเรียน WBI มีคุณลักษณะดังนี้ 4.1.2.1  การนําเสนอเนื้อหาบทเรียน เปนแบบเชิงเสน (Linear)  เปนการจัด 

เนื้อหาแบบตามลําดับ แบบผูเรียนไมสามารถลัดขั้นตอนในการเรียนได และสามารถทบทวน เนื้อหาใหมได 

4.1.2.2  บทเรียนแบงเนื้อหาออกเปนหนวยการเรียนยอยๆ

Page 72: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

64 

4.1.2.3  ขั้นตอนการนําเสนอบทเรียนในแตละหนวยการเรียนกําหนดเปน ขั้นตอน  ดังภาพที่ 4-1 

ภาพที่  4-1  ขั้นตอนการนําเสนอบทเรียน 

4.1.2.4  มีระบบจัดเก็บประวัติการเรียน (Bookmark) โดยสามารถเขาถึงเนื้อหา ที่ตอจากครั้งที่ผานมาได 

4.1.2.5  แบบทดสอบเปนแบบสอบกอน – หลังเรียน เปนแบบสุมมาจากธนาคาร ขอสอบตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 

4.1.2.6  มีระบบจัดเก็บขอมูล สามารถรายงานผลการเรียน พรอมสถิติขอมูลของ ผูเรียนเปนระดับชั้นของหนวยการเรียน 

4.1.2.7  ผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับ กลุมผูเรียน หรืออาจารยผูสอนได โดย ผานทางกระดานถามตอบ (Web Board)  หองสนทนาออนไลน (Chat Room)  และทางอีเมล (E-mail) และเอกสารประกอบการเรียนเสริมของแตละหนวยการเรียน 

4.1.2.8  ผูสอนสามารถทราบขอมูลความกาวหนาของนักศึกษาแตละคนได พรอมทั้งผลการเรียน สถิติ  แบบเปนรายบุคคล และเชิงเปรียบเทียบของทั้งกลุมผูเรียน 

4.1.2.9  การออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 

�  วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 

�  แบบทดสอบกอนเรียน 

�  เนื้อหาบทเรียน 

�  แบบทดสอบหลังเรียน 

ประเมินผล 

ประเมินผล

Page 73: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

65 

ภาพที ่ 4-2  สวนสมัครเขาสูบทเรียน 

ภาพที่  4-3  หนาจอแสดงไตเติ้ลนําเขาสูบทเรียน

Page 74: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

66 

ภาพที่ 

ภาพที่  4-4  วัตถุประสงค 

ภาพที่  4-5  หัวขอสวนเนื้อหาบทเรียน

Page 75: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

67 

ภาพที่  4-6  เนื้อหาบทเรียนอธิบายถึงโครงสรางการทํางานของคอมพิวเตอร 

ภาพที่  4-7  เนื้อหาบทเรียนอธิบายถึงการเคลื่อนยายขอมูล

Page 76: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

68 

ภาพที่  4-8  หนาที่การทํางานหนวยความจําในเครื่องคอมพิวเตอร 

ภาพที่  4-9  หนาที่การทํางานหนวยประมวลผลกลาง

Page 77: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

69 

ภาพที่  4-10  แบบทดสอบ 

ภาพที่  4-11  ความกาวหนาของการเรียนรูของผูเรียน

Page 78: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

70 

4.2  ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนWBI ผลการประเมินบทเรียน WBI โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และดานเทคนิค ดานละ 3 ทาน 

ผลปรากฏดังตารางที่ 4-1 

ตารางที่ 4-1  ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียน WBI โดยผูเชี่ยวชาญ ผูเชี่ยวชาญ  N  X  SD  ระดับความคิดเห็น ดานเนื้อหา  3  4.38  0.49  ดี ดานเทคนิค  3  4.29  0.57  ดี 

จากตารางที่ 4-1  ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียน WBI โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และจากผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค คาเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น เทากับ 4.38 และ 4.29 ตามลําดับ ซึ้งไดเปรียบเทียบระดับของความคิดเห็นอยูในเกณฑดี แสดงวาบทเรียน WBI  ที่ ผูวิจัยสรางขึ้นมีคุณภาพดี 

4.3  ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของบทเรียนWBI ตามสมมติฐาน ขอที่ 1 จากที่ผูวิจัยไดนําบทเรียน WBI ที่สรางไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางการวิจัยที่กําหนดไว 

30 คน โดยกําหนดแบบทดสอบที่ไดมาจากการสุมทั้งหมดจํานวน 80 ขอ ตามวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรมที่ตั้งไว แลวนําผลการทดลองมาหาสมมุติฐาน คือ 85/85 และไดผลการทดลอง ดังตารางที่ 4-2 

ตารางที่ 4-2  การหาประสิทธิภาพของบทเรียน แบบทดสอบ  คะแนนเต็ม  X  SD  ประสิทธภิาพ 

แบบทดสอบท ายบท เ รี ยนแต ล ะ บทเรียน (E1) 

80  53.77  1.04  89.61 

แบบทดสอบรวม (E2)  80  68.3  1.24  85.38 

จากตารางที่ 4-12  แสดงใหเห็นวา บทเรียน WBI ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 89.61/85.38 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวที่  85/85 แสดงวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ

Page 79: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

71 

4.4  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากกลุมตัวอยางตาม สมมุติฐานขอที่ 2 

จากการเปรียบเทียบผล ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยาง โดยการทดสอบ หาความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางกอนเรียนและหลังเรียน ดวยบทเรียน WBI โดยการทดสอบหาคาที (t-test) ไดผลดังตารางที่ 4-3 ตารางที่ 4-3  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนกับหลังเรียน 

คะแนน  n  x  SD  df  tคํานวณ  tตาราง กอนเรียน  30  54.07  2.36 หลังเรียน  30  68.30  1.24 

29  32.45 **  1.69 

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 

จากตารางที่ 4-3 แสดงใหเห็นวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนสูงกวา กอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการ ทํางานระบบคอมพิวเตอร อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 หากนํามาเขียนในรูปของโคงพาลาโบลา จะไดดังนี้ t คํานวณ =  32.45  , t ตาราง = 1.699 

ภาพที่ 4-2  กราฟรูประฆังควํ่าแสดงโคงพาลาโบลา 

จากตารางที่ 4-3 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียน และหลังเรียน พบวานักศึกษาจากกลุมตัวอยางที่เรียนดวยบทเรียน WBI มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากที่ ไดใชบทเรียน WBI สูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนใชบทเรียน WBI เมื่อผลคะแนนเฉลี่ย ปรากฏวา หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 68.30 สูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน เทากับ 54.07 ซึ่งแสดงใหเห็นวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน WBI ทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น เมื่อพิจารณาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) กอนเรียนเทากับ 2.36 และหลังเรียน เทากับ 1.24 ซึ่งแสดงใหเห็นวา หลังเรียนความแกวงในการทําแบบทดสอบของกลุมตัวอยางนอยกวา 

32.45 1.699

Page 80: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

72 

กอนเรียน และไดคํานวณจากคา t โดย tคํานวณ มีคามากกวา tตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาที่เรียนดวยบทเรียน WBI หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05  ตรงตามสมมุติฐานที่ตั้งไว

Page 81: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บทท่ี  5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต  (WBI) แลวจึงดําเนินการเปรียบเทียมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหวาง การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตวิชาโครงสรางและ การทํางานระบบคอมพิวเตอรที่สรางขึ้นกับหลังเรียนดวยบทเรียน (WBI)  โดยกลุมตัวอยางที่ นํามาศึกษาในครั้งนี้ ไดจากการใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งไดจาก นักศึกษาชั้นปที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1/2549 จํานวน 278 คน โดยกําหนดเลือก กลุมตัวอยางแบบเจาะจงมา  จํานวน 30 คน 

ผูวิจัยไดออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนแบบโครงสรางของบทเรียนเชิงเสน โดยนําเสนอเนื้อหาแบบเรียงลําดับกอนหลัง 

เครื่องมือที่ใชสําหรับการพัฒนาระบบจัดการบทเรียน ผูวิจัยไดใชภาษา ASP เปนภาษา หลักในการควบคุม สวนฐานขอมูลใช Microsoft Access ตัวอิดิเตอร (Editor) ใช Macromedia Dream  weaver  MX และ  Edit  Plus  ใช Internet  Explorer  Version  6  เปนบราวเซอร ใช Macromedia Flash MX  และ Swish ax สรางภาพเคลื่อนไหว ใช Photoshop ตกแตงภาพนิ่ง ภาพกราฟก  สวนในดานการนําเสนอเนื้อหาในตัวบทเรียนจะประกอบดวย ขอความ ภาพเคลื่อนไหว และ ภาพนิ่ง บทเรียนแบงออกเปน 6 โมดูล ภายในแตละโมดูลจะประกอบดวย แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบทายบทเรียน และแบบทดสอบรวม ซึ่งขอสอบดังกลาวจะได มากจากการสุมขึ้นมาจากคลังขอสอบ 

การหาประสิทธิภาพของบทเรียนไดมากจากคะแนนจากการทําแบบทดสอบทายบทเรียน ในแตละบทเรียน (E1) และคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบรวมทายบทเมื่อนักศึกษาไดเรยีน ครบทั้ง 6 โมดูลแลว (E2) 

5.1  สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยจากการทดสองตามแผนการทดลองพบวา 5.1.1  ผลการประเมินความเหมาะสมของบทเรียน WBI โดยผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค และ 

จากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานละ 3 คน จากคาเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นอยูที่ 4.29 และ 4.38 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสราง และการทํางานระบบคอมพิวเตอร  ซึ่งคิดจากคาคะแนนเฉลี่ยของการทําแบบฝกหัดทาย

Page 82: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

74 

บทเรียนของกลุมตัวอยางไดถูกตอง คิดเปนรอยละ 89.61 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว (85 ตัว แรก) และคะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบทดสอบรวมของกลุมตัวอยางไดถูกตอง คิดเปนรอยละ 85.38 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว (85 ตัวหลัง) หรือสรุปไดวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรที่พัฒนาขึ้นแลว นําไปใชกับกลุมตัวอยางมีประสิทธิภาพ 89.61/85.38  ที่กําหนดไวในสมมุติฐานขอที่ 1 

5.1.2  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมตัวอยางหลังเรียนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 และเมื่อพิจารณาผลคะแนนจากแบบทดสอบทายบทเรียนพบวา คะแนนเฉลี่ยรวมจากการทําแบบทดสอบทายบทเรียนเทากับ 68.30 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยรวม ที่ไดจากการทําแบบทดสอบกอนเรียน ซึ่งมีคาเทากับ 54.07 จากคะแนนเต็ม 80 

5.1.3  ผลจากการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษาหลังจากที่ไดเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร ที่สรางขึ้น ปรากฏวาระดับความคิดเห็นของนักศึกษาอยูในระดับดี มีคาคะแนนเฉลี่ยรวมเทากับ 4.31  และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59 

5.2  อภิปรายผลการวิจัย การอภิปรายผลวิจัยครั้งนี้ มีดังตอไปน้ี 5.2.1  การหาประสิทธิภาพของบทเรียน WBI  วิชาโครงสรางและการทํางานระบบ 

คอมพิวเตอร พบวารอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทําแบบทดสอบทายบทเรียน (E1) มี คา 89.61  และคะแนนการทําแบบทดสอบรวมเพื่อประเมินผลหลังเรียน (E2) มีคา 85.38  ซึ่งสูง กวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 85/85 ทั้งนี้ เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตนี้เปนบทเรียนที่มีการนําเสนอเนื้อหาแบบเรียงลําดับกอนหลังจากเนื้อหาที่งายไปหา ยาก และแตละเฟรมของเนื้อหาจะเปนแบบมีเนื้อหาและภาพเคลื่อนไหวอยูในเฟรมเดียวและเปน เนื้อหาที่นอยแตสื่อดวยภาพจําลองที่แสดงถึงการอธิบายการทํางานตาง ๆ เพื่อใหนักศึกษาได จินตนาการจากภาพที่เคลื่อนไหวสื่อใหเห็นไดดีกวาการดูจากหนังสือ และยังสงเสริมการเรียนที่ เปนสวนตัว ที่ผูเรียนสามารถจัดการกับสถานที่ และเวลาเรียนไดเอง และจากผลการวิจัยครั้งนี้ มีขอสังเกตวา คะแนนเฉลี่ยของการทําแบบทดสอบทายบทเรียนมีคา 53.77 คิดเปนรอยละ 89.61 ซึ่งมีคาสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของการทําแบบทดสอบรวมเมื่อประมวลผลหลังเรียนมีคา 68.30 คิดเปนรอยละ 85.38  ซึ่งผูวิจัยไดวิเคราะหและพบวาเกิดปจจัยหลายประการดังตอไปนี้ 

5.2.1.1  บทเรียนสําเร็จรูปทีส่รางขึ้นนี ้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ  85/85  ซึ่ง อาจารยผูสอนสามารถนําบทเรียนสําเร็จรูปนี ้ ไปใชในการเรียนการสอนวิชาโครงสรางและการ ทํางานระบบคอมพิวเตอร  ของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย  เพื่อแกปญหานักศึกษาที่มี

Page 83: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

75 

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําได 5.2.1.2  เนื่องจากบทเรียน WBI ที่พัฒนาข้ึนนี้ มรีะบบติดตามความกาวหนาของ 

ผูเรียน  โดยการประเมินผลการเรียนในทุก  ๆ  บทเรียน  จึงทําใหนักศึกษาสามารถตรวจสอบ คะแนนผลการเรียนของตนในระหวางเรียนทําใหมีความพยายามในการเรียนใหดีย่ิง ๆ ขึ้น ซึง่ก็ มีผลกับคะแนนระหวางและหลังการเรียนดีข้ึนไดอีกดวย 

5.2.1.3  จากการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรช วยสอนบนเครือขาย อินเตอรเน็ตมีการบอกวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของการเรียนในแตละหนวยการเรียนจึงทําให นักศึกษาไดรูลวงหนาถึงประเด็นสําคัญของเนื้อหา และเปนการบอกใหทราบถึงเคาโครงเนื้อหา การที่นักศึกษาไดทราบถึงโครงรางของเนื้อหาอยางกวางๆ กอนเรียนจะชวยใหสามารถ ผสมผสานแนวคิดเนื้อหาใหสอดคลอง และสัมพันธกับเนื้อหาในสวนใหญไดเร็ว ซึ่งจะมีผลทําให การเรียนรูมีประสิทธิภาพมากข้ึน ชวยทําใหเพิ่มแรงจูงใจในการเรียน 

คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต (WBI)  ที่สรางขึ้นมีคะแนนแตกตางกัน กลาวคือคะแนนเฉลี่ยกอนการเรียนดวยบทเรียนที่สรางขึ้นแตกตางจากผลคะแนนเฉลี่ยหลัง เรียน ซึ่งแสดงใหเห็นวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตที่สรางขึ้น ทําให ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น 

5.2.2  การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต จะเห็นไดวาคา E1  จะมากกวาคา E2  ซึ่งเกิดจากการวัดผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาที่ทํา แบบทดสอบทายบทเรียน ซึ่งจะวัดผลทันทีที่นักศึกษาเรียนเนื้อหาจบในแตละโมดูล ซึ่งทําให ระดับคะแนนเฉลี่ยสูงกวาคา E2 ที่มีการวัดผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาหลักจากที่ไดเรียนครบแลว ทุกโมดูลแลวทําแบบทดสอบรวม และจากการวิเคราะหถึงระยะเวลาในการเรียน จึงทําใหไม ความรูความจําไดไมตอเนื่องจึงทําใหความคงทนในการจําเนื้อหาของบทเรียนไดลดลง 

จากผลการวิจัยครั้งนี้สรุปไดวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสูตรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยที่สรางขึ้น สามารถเปนโครงสรางสําหรับการสรางบทเรียน WBI ของวิชาอ่ืน ๆ ตอไปไดดี ซึ่งจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียน WBI ที่สรางขึ้น นกัศกึษา จะไดคะแนนที่สูงและยังสามารถตอบสนองการจัดการศึกษาโดยตองยึดหลักวานักศึกษาทกุคนมี ความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหนักศึกษาสามารถ พัฒนาตามศักยภาพ การนําเสนอเนื้อหา ลําดับเนื้อหาใหสัมพันธกันและใหเนื้อหาทีละนอย ๆ ทําใหผูเรียนไมเบื่อ ระหวางการเรียนยังมีสวนสนับสนุนการเรียนใหนักศึกษาเรียนทําใหไมรูสึก เบื่อและยังสามารถติดตอสื่อสารกับเพื่อนรวมหอง และสามารถเรียนเพิ่มเติมจากเอกสาร ประกอบไปพรอม ๆ กัน รวมถึงการติดตามความกาวหนาผลการเรียนขอตนเองไดตลอดเวลา ซึ่งเปนการสนับสนุนการเรียนที่เปนสวนตัวของนักศึกษาแตละคน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสามารถ ของนักศึกษาแตละคนที่จะจัดการกับเวลา สถานที่ และความพรอมของการเรียนดวยตนเองมาก

Page 84: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

76 

ขึ้น สวนจุดเดนอีกดานของผูสอน สามารถติดตามความกาวหนาของนักศึกษาแตละคนได ตลอดเวลา ทําใหสามารถใหคําแนะนําและใหคําปรึกษานักศึกษาแตละคนทันทีเมื่อพบปญหา จึงทําใหบทเรียน WBI นี้มีความนาสนใจ สงเสริมความรูทางดานการเรียนการสอนไดอีกทาง เพื่อเปนโครงสรางสําหรับอางอิงในการสรางและพัฒนาบทเรียน WBI ของวิชาอ่ืน ๆ อีกตอไปได 

5.3  ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะจากการวิจัยครั้นนี้ มีดังตอไปนี้ 5.3.1  ขอเสนอแนะทั่วไป 

5.3.1.1  การออกแบบทดสอบหรือขอสอบของบทเรียน WBI ในชวงทายบทของ แตละบทควรเปนการทําแบบหนาละ 1 ขอ และทําตอไปเรื่อย ๆ จนครบและบันทึกผลทันที ไมควรแสดงขอสอบทั้งชุดอยูในหนาเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อปองกันนักศึกษาที่ทําแบบทดสอบพรอม กันและแอบดูแบบทดสอบ หรือขอสอบที่อาจจะเหมือนกันได 

5.3.1.2  ควรนําเสนอบทเรียน  ตามความแตกตางของตัวบุคคลคือการใช โครงสรางบทเรียนเปนแบบผสม เพราะจะไดสอดคลองกับผูเรียนที่แตกตางทางดานพื้นฐานของ ตัวบุคคลมากกวาการเรียนดวยบทเรียนแบบเชิงเสน 

5.3.1.3  ในการเสนอเนื้อหาที่ยากและซับซอน ควรเนนในสวนของขอความสาํคญั ซึ่งอาจเปนการขีดเสนใต การตีกรอบ การกระพริบ การเปลี่ยนสีพื้น การโยงลูกศร การใชสี หรือ เปนการชี้แนะใหเกิดความสนใจเพิ่มข้ึน 

5.3.2  ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัย 5.3.2.1  ฐานขอมูลของบทเรียน WBI ที่ผูวิจัยสังเคราะหขึ้นมาในสวนของการเก็บ 

บันทึกจะเปน Microsoft Access ซึ่งรองรับการเขาถึงขอมูลของผูเรียนไดในจํานวนไมมากควรที่ จะเปลี่ยนเปนระบบฐานขอมูลที่มีขนาดใหญขึ้น เชน Microsoft SQL Server หรือOracleเปนตน 

5.3.2.2  ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน และบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตเพื่อศึกษา ความแตกตางระหวางนักศึกษาทั้งสองแบบการเรียน 

5.3.2.3  ในการวิจัยครั้งตอไปควรวิจัยเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการ เรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต ในรายวิชาอ่ืน ๆ  เนื่องจาก การวิจัยที่ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ตเปนสื่อที่ใหนักศึกษา สามารถทบทวนไดดวยตนเอง สามารถเลือกเวลาที่วางโดยไมจํากัดสถานที่ และเวลา และเปน สื่อที่ตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคล โดยสงเสริมใหนักศึกษามีโอกาสเรียนรูดวย ตนเองตามความสามารถ ความถนัด และตามศักยภาพของตนเองอีกดวย

Page 85: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

บรรณานุกรม 

ภาษาไทย กิตตสิณี  นุนภักดี.  บทเรียนคอมพิวเตอรผานระบบเครอืขายอินเทอรเน็ต.  วิทยานิพนธ 

ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและ เทคนิคศึกษา บัณฑติวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง, 2544. 

กัญญารตัน  อูตะเภา.  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต.  วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบัง, 2544. 

ตน ตัณฑสุทธิวงศ และคณะ.  รอบรู INTERNET และ World Wide Web.  กรุงเทพมหานคร : บริษัทโปรวิชั่นจํากัด, 2539. 

ถนอมพร ตันพิพัฒน.  อินเทอรเนต็เพื่อการศึกษา.  ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คระครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2539. 

ทักษิณา สวนานนท.  พจนานุกรมศัพทคอมพิวเตอร.  พมิพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ห.จ.ก.วี.ที.ซี.คอมมูนิเคชัน่, 2539. 

นพศักด์ิ  ติสัตยานนท.  การสรางและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบ มัลติมีเดีย (MMCAI) วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเบื้องตน สําหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้สงู (ปวส.) ตามหลักสูตรสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบณัฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร  ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา  บัณฑิตวิทยาลัย  สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2544. 

บุญชม  ศรีสะอาด.  การวิจัยเบื้องตน.  พิมพครั้งที่ 2.  กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน, 2535. ประคอง  กรรณสตู.  สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร.  กรุงเทพมหานคร : ศูนยหนังสือ 

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542. พิเชษฐ  ขอดแกว.  บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่อง สีของวัตถุ. 

วิทยานิพนธครุศาสตรอุสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาทางการ อาชีวะและเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2545 

.

Page 86: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

78 

มนตชัย  เทียนทอง.  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดียสําหรับฝกอบรม ครู-อาจารย และนักฝกอบรม เรื่องการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑติดษุฎีบัณฑติ สาขาวิชาวิจัยและพัฒนา หลักสตูร ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑติวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2539. 

______________.  เอกสารประกอบการสอนวิชา มัลตมิีเดียและไฮเปอรมีเดีย. ภาควิชา คอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ, 2543. 

______________.  การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน.  คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2545 

ยืน ภูวรวรรณ.  “ไซเบอรแคมปสเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน.”  วารสารศึกษาศาสตร ปริทัศน.  1(12): 26-31, 2539. 

ลวน  สายยศ และอังคณา  สายยศ.  เทคนิคการวัดผลการเรียนรู.  กรงุเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน, 2539. 

สิทธิชัย ประสารวงศ. Internet ปฏิบัติดวย Netscape Communicator4.  กรุงเทพมหานคร : ซอฟทเพรส, 2540. 

สุธิภา แสนทอน.  ตัวแปรทีส่ัมพันธกับการยอมรับเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อการเรียนการสอน ของอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สงักัดทบวงมหาวิทยาลัย.  วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโสตทศันศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540. สํานักนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.  พระราชบัญญตัิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพรา, 2542. 

สรวงสุดา  สายสสีด.  บทเรียนคอมพิวเตอรผานเครือขายอินเทอรเน็ต.  วิทยานิพนธครุศาสตร อุตสาหกรรมมหาบณัฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนคิ ศึกษา บัณฑติวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบงั, 2544. 

อธิปตย คลี่สุนทร.  INTERNET & SCHOOLNET กับการเสริมสรางคุณภาพการศึกษาไทย. [Online]. Available : http://www.moe.go.th/main2/article/article5.html, 2543. 

อนิรุทธ สติมั่น.  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียทางอินเตอรเนต็ เรื่องการถายภาพ สําหรับบุคคลทั่วไป.  สารนิพนธการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2542.

Page 87: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

79 

อเนก ประดิษฐพงษ.  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายนเทอรเน็ต เรื่อง ชีวิตและวิวัฒนาการ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.  วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2545. 

ภาษาอังกฤษ Khan, B.H, (Ed.).  Web-based instruction.  Englewood Cliffs, NJ: Educational 

Technologies Publications, 1997. Power, Susan M. Mitchell, Jennie.  “Student Perceptions and Performance in a Virtual 

Classroom Environment.”  [Online].  Available : http://ericir.syr.edu/, 2000. Smith, Kavin, Northrop, Kathy.  “The class Course design Model for Web Based 

Instruction.”  [Online].  Available : http://ericir.syr.edu/, 2000. Tyan, Nay-ching Nancy, Hong, Frank Min-chow.  “When Western Technology Meets 

Oriental Culture : Use of Communication in a Higher Education Classroom.” [Online].  Available : http://ericir.syr.edu/, 2000.

Page 88: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ภาคผนวก ก 

รายนามผูเชี่ยวชาญและคําสั่งแตงตั้งผูเชี่ยวชาญในการประเมินสื่อ

Page 89: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

83 

รายนามผูเชี่ยวชาญประเมินผลเครื่องมือวิจัย วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร 

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 

ผูเชี่ยวชาญดานเน้ือหา 1.  ผศ.ดร.ประจวบ  วานิชชัชวาล  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 2.  อาจารยวิญู  นิรนาทล้ําพงษ  คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 3.  อาจารธีรศักด์ิ  สุริยาประสิทธิ์  ศูนยคอมพิวเตอร 

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

ผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค 1.  อาจารยสมคิด   แซหลี  ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา 

คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 

2.  อาจารยจิรพันธุ  ศรสีมพันธุ  ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 

3.  นายธีรยุทธ   นนทะสร  ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย

Page 90: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

84

Page 91: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

85

Page 92: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

86

Page 93: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

87

Page 94: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

88

Page 95: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

89

Page 96: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ภาคผนวก ข 

รายละเอียดวิเคราะหหลักสตูรการศึกษาวิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

Page 97: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

93 

หลักสูตรการศึกษา 

ชื่อวชิา  โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร  จํานวน  3  หนวยกิต 

รายวชิาสังกัดคณะ  เทคโนโลยีสารสนเทศ 

สถานภาพของวิชา  วิชาเอกบังคับ 

วิชาบังคับกอน  ไมมี 

คําอธิบายรายวชิา 

ศึกษาโครงสรางการทํางานของระบบคอมพิวเตอรระดับตาง ๆ หนวยความจําหลัก ระบบ Input/Output  โครงสรางการทํางานของระบบปฏิบัติการ การจัดตารางการใชงานหนวย ประมวลผลกลาง และการจัดสรรหนวยความจํา ระบบการทํางานของระบบคอมพิวเตอรแบบ Fault Tolerant และแบบ Clustering 

หัวขอบทเรยีนหลังจากขั้นตอนการวิเคราะหเน้ือหา 

จากรายละเอียดคําอธิบายรายวิชาเมื่อผานการวิเคราะหแลว  ผูวิจัยไดหัวเรื่องนําไปราง เปนแผนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ จํานวน 6 โมดูล ดังนี้ 

โมดูลที่ 1  หนาที่การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร โมดูลที่ 2  วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร โมดูลที่ 3  หนาที่และการเชื่อมตอภายในเครื่องคอมพิวเตอร โมดูลที่ 4  หนวยความจําภายใน โมดูลที่ 5  หนวยความจํา Cache โมดูลที่ 6  หนวยความจําภายนอก

Page 98: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

94 แผนผงัปะการังบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเน็ต 

วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

Page 99: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

95 

6.หน

วยคว

ามจํา 

ภายน

อก 

5.หน

วยคว

ามจํา 

Cache 

4.หน

วยคว

ามจํา 

ภายใน 

3. หน

าที่แล

ะการเชื่อม

ตอ 

ภายในเครื่องคอ

มพิวเต

อร 

2.วิวัฒน

าการ 

ของคอม

พิวเตอร 

1.โครงสรางแล

ะหนา

ที่ การท

ํางาน

คอมพ

ิวเตอร 

การจ

ัดลําด

ับควา

มสัมพ

ันธขอ

งเนื้อห

า โดย

ใชNe

twork D

iagram

 of To

pic 

วิชาโค

รงสราง

และการท

ํางานร

ะบบค

อมพิว

เตอร 

2 3 

4 5 

1 6

Page 100: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

96 

Topic Evaluation Sheet Title  :  โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร. Level :  ระดับปริญญาตรี. 

Criteria  Finalize Sub-Topic or Task 1  2  3  A  R 

Note 

1.  โครงสรางและหนาที่การทํางานคอมพิวเตอร 1.1 หนาที่การทํางาน 

1.1.1 การประมวลผลขอมูล 1.1.2 สวนเก็บบันทึกขอมูล 1.1.3 สวนการเคลื่อนยายขอมูล 1.1.4 สวนการควบคุม 

1.2 โครงสราง 1.2.1 หนวยประมวลผลกลาง 1.2.2 หนวยความจําหลัก 1.2.3 Input/Output 

2.  วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร 2.1  ประวัติคอมพิวเตอร 

2.1.1  คอมพิวเตอรยุคที่หนึ่ง 2.1.2  คอมพิวเตอรยุคที่สอง 2.1.3  คอมพิวเตอรยุคที่สาม 2.1.4  คอมพิวเตอรยุคปจจุบัน 

2.2  การออกแบบที่เนนประสิทธิภาพ 2.2.1  ความเร็วในการประมวลผลของซีพียู 2.2.2  การรักษาสมดุลของประสิทธิภาพ 

X X X X X X X X X 

X X X X X X X X 

I X X X I X X I X 

I x X X I I X I 

I X I X X X X X I 

X I X X X X X X 

/ / / / / / / / / 

/ / / / / / / / 

Criteria :  1  =  Promotes Problem Solving 2  =  Promotes Learning Skill 3  =  Transfer Values 

Finalize  A =  Accept R =  Reject 

Sheet No :  1  of  3

Page 101: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

97 

Topic Evaluation Sheet Title :  โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร. Level :  ระดับปริญญาตรี.  . 

Criteria  Finalize Sub-Topic or Task 1  2  3  A  R 

Note 

3.  หนาที่และการเชื่อมตอภายในเครื่องคอมพิวเตอร 3.1 สวนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร 

3.1.1  หนาที่ของเครื่องคอมพิวเตอร 3.1.2  การดึงคําสั่งและการประมวลผล 3.1.3  อินเทอรรัพท 3.1.4  ฟงกชั่นไอโอ 

3.2 โครงสรางการเชื่อมโยงภายในเครื่อง คอมพิวเตอร 3.3  การเชื่อมโยงโดยใชบัส 

3.3.1  โครงสรางแบบบัส 3.3.2  โครงสรางลําดับชั้นของบัส หลายระดับ 

4.  หนวยความจําภายใน 4.1  หนวยความจําหลักแบบเซมิคอนดักเตอร 

4.1.1  การจัดโครงสราง 4.1.2  DRAM และ SRAM 

4.2  การจัดโครงสราง DRAM 4.2.1  ซิงโครนัส DRAM 4.2.2  แรมบัส DRAM 4.2.3  Cache DRAM 

X X X X X / 

X X X 

X X X X X X X 

X I I I X X 

X I I 

X I I X X I X 

X X X X I X 

X X X 

X X X X I X I 

/ / / / / / 

/ / / 

/ / / / / / / 

Criteria :  1  =  Promotes Problem Solving 2  =  Promotes Learning Skill 3  =  Transfer Values 

Finalize  A =  Accept R =  Reject 

Sheet No :  2  of  3

Page 102: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

98 

Topic Evaluation Sheet Title : โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร. Level :  ระดับปริญญาตรี. 

Criteria  Finalize Sub-Topic or Task 1  2  3  A  R 

Note 

5.  หนวยความจํา Cache 5.1  หนวยความจําในเครื่องคอมพิวเตอร 

5.1.1  คุณลักษณะของระบบหนวยความจํา 5.1.2  โครงสรางลําดับชั้นของ หนวยความจํา 

5.2  ลักษณะพืน้ฐานของหนวยความจํา Cache 5.3  องคประกอบในการออกแบบ Cache 

5.3.1  ขนาดของ Cache 5.3.2  ฟงกชั่นแม็บปง 5.3.3  การบันทึกลงหนวยความจําหลัก 

6.  หนวยความจําภายนอก 6.1  ดิสกแมเหล็ก 

6.1.1  การอานและบันทึกขอมูลบนสื่อ 6.1.2  การจัดโครงสรางของขอมูลและการ 6.1.3  คุณลักษณะของดิสกแมเหล็ก 6.1.4  คาประกอบประสิทธิภาพของดิสก 

6.2  RAID 6.3  หนวยความจําออพติก 

6.3.1  แผนซีดี 6.3.2  ดีวีดี 

6.4  เทปแมเหล็ก 

X X X 

X X X X X 

X X X X X X X X X X 

X I I 

X I I X X 

X I X X X I I X X I 

X I X 

X X X I I 

X X I I I X X I I X 

/ / / 

/ / / / / 

/ / / / / / / / / / 

Criteria :  1  =  Promotes Problem Solving 2  =  Promotes Learning Skill 3  =  Transfer Values 

Finalize  A =  Accept R =  Reject 

Sheet No :  3  of  3

Page 103: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

99 

Objective Analysis Listing Form Title : โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร Level : ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

Level  Type Objective R  A  T  1  2  3 

List of Test 

1. บอกข้ันตอนการทํางานของ คอมพิวเตอรได  P P  1-3 

2. บอกสวนประกอบของระบบ คอมพิวเตอรได  P P  4-7 

3. อธิบายหนาที่การทํางานของระบบ คอมพิวเตอรแตละสวนได  P P  8-10 

4. อธิบายองคประกอบของคอมพิวเตอร ได  P P  11-13 

5. บอกการทํางานของโครงสราง คอมพิวเตอรได  P P  14-16 

6. บอกการทํางานภาในเครื่อง คอมพิวเตอรได  P P  17-19 

7. บอกประวัติความเปนมาของ คอมพิวเตอรได  P P  20-22 

8. บอกวิวัฒนาการของยุคตาง ๆ ของคอมพิวเตอรได  P P  23-25 

9. บอกการพัฒนารูปแบบของ คอมพิวเตอรทีน่ํามาใชงานได  P P  26-28 

10. การออกแบบเพ่ือเนนประสิทธิภาพ  P P  29-31 

Level of Objective:  R =  Recall of Knowledge  (ความรูความจํา) A =  Applied of Knowledge (ความเขาใจ+การนําไปใช) T =  Transferred of Knowledge (วิเคราะห+สังเคราะห+ประเมินคา) 1 =  Cognitive Domain (พุทธิพสิัย) 2 =  Psychomotor Domain (ทักษะพสิัย) 3 =  Affective Domain ( เจตพสิัย) 

Sheet No : 1 / 4

Page 104: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

100 

Objective Analysis Listing Form Title : โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร Level : ระดับปริญญาตร ีสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

Level  Type Objective 

R  A  T  1  2  3 List of Test 

11. บอกประสิทธิภาพในการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอรได  P P  32-34 

12. อธิบายการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชใน การทํางานได  P P  35-37 

13. อธิบายการออกแบบที่เนนประสิทธิภาพ การทํางานของคอมพิวเตอรได  P P  38-40 

14. อธิบายการทํางานของ CPU แตละรุนได  P P  41-43 15. บอกประเภทของความเปนมาของ CPU ได  P P  44-46 16. บอกวิวัฒนาการของ CPU แตละยุคได  P P  47-49 17. อธิบายการทํางานภายในเครื่อง 

คอมพิวเตอรได  P P  50-52 

18. อธิบายฟงกชั่นพื้นฐานของระบบ คอมพิวเตอรได  P P  53-55 

19. อธิบายองคประกอบที่สําคัญของเครื่อง คอมพิวเตอรได  P P  56-58 

20. บอกหนาที่พื้นฐานของคอมพิวเตอรได  P P  59-61 21. อธิบายการดึงคําสั่งคอมพิวเตอรได  P P  62-64 22. อธิบายการประมวลผลคอมพิวเตอรได  P P  65-67 

Level of Objective :  R =  Recall of Knowledge  (ความรูความจํา) A =  Applied of Knowledge (ความเขาใจ+การนําไปใช) T =  Transferred of Knowledge (วิเคราะห+สังเคราะห+ประเมินคา) 1 =  Cognitive Domain (พุทธิพสิัย) 2 =  Psychomotor Domain (ทักษะพสิัย) 3 =  Affective Domain ( เจตพสิัย) 

Sheet No : 2 / 4

Page 105: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

101 

Objective Analysis Listing Form Title : โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร Level : ระดับปริญญาตร ีสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

Level  Type Objective 

R  A  T  1  2  3 List of Test 

23. บอกโครงสรางการเชื่อมโยงภายใน คอมพิวเตอรได  P P  68-70 

24. บอกหนาที่การทํางานของสวนประกอบ ภายในเครื่องคอมพิวเตอรได  P P  71-73 

25. อธิบายขั้นตอนการถายโอนขอมูลภายใน เครื่องคอมพิวเตอรได  P P  74-76 

26. อธิบายถึงระบบ System Busของ คอมพิวเตอรได  P P  77-79 

27. อธิบายขอแตกตางของ Expansion Bus แบบตาง ๆ  P P  80-83 

28. บอกวิธีการทํางานบัสได  P P  84-86 29. บอกวิธีการทํางานของหนวยความจํา 

ภายในได  P P  87-89 

30. อธิบายการทํางานของวงจรคําสั่ง คอมพิวเตอรได  P P  90-92 

31. อธิบายการทํางาน SRAM และ DRAM  ได  P P  93-95 32. บอกคุณสมบัติการทํางานของ SDRAM ได  P P  96-98 33. บอกโครงสรางภายในชิพได  P P  99-101 34. บอกคุณลักษณะและโครงสรางลําดับชั้น 

ของหนวยความจํา Cache ได  P P  102-104 

Level of Objective:  R =  Recall of Knowledge  (ความรูความจํา) A =  Applied of Knowledge (ความเขาใจ+การนําไปใช) T =  Transferred of Knowledge (วิเคราะห+สังเคราะห+ประเมินคา) 1  =  Cognitive Domain (พุทธิพสิัย) 2  =  Psychomotor Domain (ทักษะพิสัย) 3  =  Affective Domain ( เจตพิสัย) 

Sheet No : 3 / 4

Page 106: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

102 

Objective Analysis Listing Form Title :  โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร Level :  ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

Level  Type Objective 

R  A  T  1  2  3 List of Test 

35.  บอกลักษณะพื้นฐานของหนวยความจํา Cache ได  P P  105-107 

36. บอกองคประกอบในการออกแบบ Cache ได  P P  108-110 37. อธิบายวิธีการบันทึกขอมูลจาก Cache ลง 

หนวยความจําหลักได  P P  111-113 

38. บอกระดับชั้นการทํางานของหนวยความจํา Cacheได  P P  114-116 

39. อธิบายกลไกในการอานและบันทึกขอมูลบน สื่อแมเหล็กได  P P  117-119 

40. บอกความหมายของการฟอรแมทดิสกได  P P  120-122 41. บอกสวนประกอบของดิสกแมเหล็กได  P P  123-125 42. อธิบายความหมายและการทํางานของเวลา 

คนหาได  P P  126-128 

43. บอกความหมาย RAID ได  P P  129-131 44. อธิบายการทํางานระดับชั้นของ RAID ได  P P  132-134 45. บอกความสําคัญของ RAID ได  P P  135-138 46. บอกคุณสมบัติของแผนซีดีรอมได  P P  139141 47. อธิบายการทํางานของแผนซีดีแตละชนิดได  P P  142-144 48. บอกคุณสมบัติของ ดีวีดี ได  P P  145-148 

Level of Objective:  R =  Recall of Knowledge  (ความรูความจํา) A =  Applied of Knowledge (ความเขาใจ+การนําไปใช) T =  Transferred of Knowledge (วิเคราะห+สังเคราะห+ประเมินคา) 1  =  Cognitive Domain (พุทธิพสิัย) 2  =  Psychomotor Domain (ทักษะพิสัย) 3  =  Affective Domain ( เจตพิสัย) 

Sheet No : 4 / 4

Page 107: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

103 

ตารางที่ ข - 1  การวิเคราะหคาอํานาจจําแนก และคาความยากงาย ของแบบทดสอบ 

ขอที่ ทําถูก (p) 

ทําผิด (q) 

pq กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก

(R) 

สรุปผล 

1  0.77  0.23  0.18  7  5  0.75  0.25  * 2  0.80  0.20  0.16  8  4  0.75  0.50  * 3  0.63  0.37  0.23  8  2  0.63  0.75  * 4  0.73  0.27  0.20  8  3  0.69  0.63  * 5  0.73  0.27  0.20  7  5  0.69  0.38  * 6  0.63  0.37  0.23  7  5  0.75  0.25  * 7  0.60  0.40  0.24  4  6  0.63  -0.25  - 8  0.67  0.33  0.22  6  4  0.63  0.25  * 9  0.67  0.33  0.22  5  5  0.63  0.00  - 10  0.70  0.30  0.21  8  4  0.75  0.50  * 11  0.63  0.37  0.23  7  5  0.75  0.25  * 12  0.70  0.30  0.21  7  4  0.69  0.38  * 13  0.67  0.33  0.22  6  4  0.63  0.25  * 14  0.57  0.43  0.25  6  3  0.56  0.38  * 15  0.60  0.40  0.24  7  5  0.75  0.25  * 16  0.73  0.27  0.20  8  4  0.75  0.50  * 17  0.67  0.33  0.22  7  4  0.69  0.38  * 18  0.70  0.30  0.21  8  4  0.75  0.50  * 19  0.50  0.50  0.25  5  3  0.50  0.25  * 20  0.73  0.27  0.20  7  5  0.75  0.25  * 21  0.50  0.50  0.25  5  3  0.56  0.38  * 22  0.70  0.30  0.21  7  6  0.81  0.13  - 23  0.50  0.50  0.25  5  3  0.50  0.25  * 24  0.53  0.47  0.25  7  4  0.69  0.38  * 25  0.50  0.50  0.25  7  2  0.56  0.63  * 26  0.73  0.27  0.20  7  6  0.81  0.13  - 27  0.47  0.53  0.25  6  3  0.50  0.50  *

Page 108: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

104 

ตารางที่ ข - 1 (ตอ) 

ขอที่ ทําถูก (p) 

ทําผิด (q)  pq 

กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก (R) 

สรุปผล 

28  0.60  0.40  0.24  6  4  0.63  0.25  * 29  0.67  0.33  0.22  6  4  0.63  0.25  * 30  0.70  0.30  0.21  7  4  0.69  0.38  * 31  0.63  0.37  0.23  7  4  0.69  0.38  * 32  0.53  0.47  0.25  6  4  0.56  0.38  * 33  0.67  0.33  0.22  7  3  0.69  0.38  * 34  0.60  0.40  0.24  7  4  0.56  0.63  * 35  0.57  0.43  0.25  7  2  0.69  0.38  * 36  0.50  0.50  0.25  6  4  0.63  0.25  * 37  0.70  0.30  0.21  7  4  0.75  0.25  * 38  0.67  0.33  0.22  7  5  0.81  0.13  - 39  0.53  0.47  0.25  6  6  0.56  0.38  * 40  0.60  0.40  0.24  7  3  0.69  0.38  * 41  0.57  0.43  0.25  7  4  0.56  0.63  * 42  0.57  0.43  0.25  6  2  0.56  0.38  * 43  0.57  0.43  0.25  7  3  0.69  0.38  * 44  0.53  0.47  0.25  5  4  0.50  0.25  * 45  0.50  0.50  0.25  4  3  0.38  0.25  * 46  0.63  0.37  0.23  6  2  0.56  0.38  * 47  0.60  0.40  0.24  6  3  0.63  0.25  * 48  0.73  0.27  0.20  6  4  0.63  0.25  * 49  0.73  0.27  0.20  7  4  0.69  0.38  * 50  0.60  0.40  0.24  7  4  0.69  0.38  * 51  0.47  0.53  0.25  2  1  0.25  0.25  * 52  0.43  0.57  0.25  4  1  0.31  0.38  * 53  0.50  0.50  0.25  5  2  0.44  0.38  * 54  0.50  0.50  0.25  5  1  0.38  0.50  * 55  0.63  0.37  0.23  7  2  0.56  0.63  *

Page 109: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

105 

ตารางที่ ข - 1 (ตอ) 

ขอที่  ทําถูก (p) 

ทําผิด (q) 

pq  กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก

(R) สรุปผล 

56  0.60  0.40  0.24  7  1  0.50  0.75  * 57  0.70  0.30  0.21  7  5  0.75  0.25  * 58  0.60  0.40  0.24  7  3  0.63  0.50  * 59  0.70  0.30  0.21  6  4  0.63  0.25  * 60  0.50  0.50  0.25  5  3  0.50  0.25  * 61  0.60  0.40  0.24  7  4  0.69  0.38  * 62  0.70  0.30  0.21  7  4  0.69  0.38  * 63  0.53  0.47  0.25  8  1  0.56  0.88  * 64  0.50  0.50  0.25  5  2  0.44  0.38  * 66  0.57  0.43  0.25  6  4  0.63  0.25  * 67  0.37  0.63  0.23  4  0  0.25  0.50  * 68  0.57  0.43  0.25  5  2  0.44  0.38  * 69  0.23  0.77  0.18  3  0  0.19  0.38  - 70  0.43  0.57  0.25  5  1  0.38  0.50  * 71  0.60  0.40  0.24  7  2  0.56  0.63  * 72  0.40  0.60  0.24  3  1  0.25  0.25  * 73  0.50  0.50  0.25  6  2  0.50  0.50  * 74  0.50  0.50  0.25  5  1  0.38  0.50  * 75  0.40  0.60  0.24  5  0  0.31  0.63  * 76  0.60  0.40  0.24  7  1  0.50  0.75  * 77  0.63  0.37  0.23  7  5  0.75  0.25  * 78  0.43  0.57  0.25  6  2  0.50  0.50  * 79  0.57  0.43  0.25  7  2  0.56  0.63  * 80  0.53  0.47  0.25  5  2  0.44  0.38  * 81  0.60  0.40  0.24  6  4  0.63  0.25  * 82  0.47  0.53  0.25  5  1  0.38  0.50  * 83  0.40  0.60  0.24  6  0  0.38  0.75  * 84  0.50  0.50  0.25  5  2  0.44  0.38  *

Page 110: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

106 

ตารางที่ ข - 1 (ตอ) 

ขอที่  ทําถูก (p) 

ทําผิด (q) 

pq  กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก (R) 

สรุปผล 

85  0.43  0.57  0.25  5  1  0.38  0.50  * 86  0.60  0.40  0.24  6  4  0.63  0.25  * 87  0.43  0.57  0.25  5  1  0.38  0.50  * 88  0.50  0.50  0.25  5  3  0.50  0.25  * 89  0.50  0.50  0.25  7  1  0.50  0.75  * 90  0.43  0.57  0.25  4  2  0.38  0.25  * 91  0.73  0.27  0.20  7  5  0.75  0.25  * 92  0.80  0.20  0.16  8  4  0.75  0.50  * 93  0.70  0.30  0.21  8  2  0.63  0.75  * 94  0.70  0.30  0.21  8  3  0.69  0.63  * 95  0.70  0.30  0.21  7  3  0.63  0.50  * 96  0.73  0.27  0.20  7  5  0.75  0.25  * 97  0.70  0.30  0.21  7  5  0.75  0.25  * 98  0.80  0.20  0.16  8  4  0.75  0.50  * 99  0.70  0.30  0.21  8  2  0.63  0.75  * 100  0.57  0.43  0.25  6  3  0.56  0.38  * 101  0.53  0.47  0.25  4  2  0.38  0.25  * 102  0.53  0.47  0.25  6  3  0.56  0.38  * 103  0.69  0.31  0.21  7  4  0.69  0.38  * 104  0.77  0.23  0.18  8  4  0.75  0.50  * 105  0.73  0.27  0.20  7  5  0.75  0.25  * 106  0.63  0.37  0.23  7  3  0.63  0.50  * 107  0.63  0.37  0.23  6  4  0.63  0.25  * 108  0.67  0.33  0.22  7  3  0.63  0.50  * 109  0.60  0.40  0.24  6  2  0.50  0.50  * 110  0.63  0.37  0.23  6  4  0.63  0.25  * 111  0.47  0.53  0.25  6  1  0.44  0.63  * 112  0.40  0.60  0.24  5  0  0.31  0.63  *

Page 111: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

107 

ตารางที่ ข - 1 (ตอ) 

ขอที่  ทําถูก (p) 

ทําผิด (q) 

pq  กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก

(R) สรุปผล 

113  0.60  0.40  0.24  6  3  0.56  0.38  * 114  0.40  0.60  0.24  5  1  0.38  0.50  * 115  0.57  0.43  0.25  5  3  0.50  0.25  * 116  0.37  0.63  0.23  5  0  0.31  0.63  * 117  0.50  0.50  0.25  5  2  0.44  0.38  * 118  0.47  0.53  0.25  7  1  0.50  0.75  * 119  0.50  0.50  0.25  4  2  0.38  0.25  * 120  0.53  0.47  0.25  6  1  0.44  0.63  * 121  0.53  0.47  0.25  4  2  0.38  0.25  * 122  0.47  0.53  0.25  4  2  0.38  0.25  * 123  0.57  0.43  0.25  6  2  0.50  0.50  * 124  0.57  0.43  0.25  6  1  0.44  0.63  * 125  0.63  0.37  0.23  7  2  0.56  0.63  * 126  0.67  0.33  0.22  7  4  0.69  0.38  * 127  0.60  0.40  0.24  8  2  0.63  0.75  * 128  0.67  0.33  0.22  6  4  0.63  0.25  * 129  0.56  0.44  0.25  6  3  0.56  0.38  * 130  0.37  0.63  0.23  3  3  0.38  0.00  - 131  0.57  0.43  0.25  5  2  0.44  0.38  * 132  0.60  0.40  0.24  7  3  0.63  0.50  * 133  0.67  0.33  0.22  7  4  0.69  0.38  * 134  0.43  0.57  0.25  5  2  0.44  0.38  * 135  0.60  0.40  0.24  7  3  0.63  0.50  * 136  0.57  0.43  0.25  6  2  0.50  0.50  * 137  0.67  0.33  0.22  6  4  0.63  0.25  * 138  0.63  0.37  0.23  7  4  0.69  0.38  * 139  0.57  0.43  0.25  6  3  0.56  0.38  * 140  0.67  0.33  0.22  7  4  0.69  0.38  *

Page 112: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

108 

ตารางที่ ข - 1 (ตอ) 

ขอที่  ทําถูก (p) 

ทําผิด (q) 

pq  กลุม RH(8) 

กลุม RL(8) 

คาความ ยากงาย (p) 

คาอํานาจ จําแนก

(R) สรุปผล 

141  0.63  0.37  0.23  7  3  0.63  0.50  * 142  0.67  0.33  0.22  7  4  0.69  0.38  * 143  0.60  0.40  0.24  7  2  0.56  0.63  * 144  0.53  0.47  0.25  5  5  0.63  0.00  - 145  0.50  0.50  0.25  6  1  0.44  0.63  * 146  0.47  0.53  0.25  5  3  0.50  0.25  * 147  0.53  0.47  0.25  5  3  0.50  0.25  * 148  0.60  0.40  0.24  7  3  0.63  0.50  * รวม  86.44  61.56  34.32  911  438  84.56  59.94 

รวม    ใชได  140  ขอ  * ใชไมได  8  ขอ  - 

หมายเหตุ  *  แบบทดสอบขอนี้มีคุณภาพสามารถนํามาใชได -  แบบทดสอบขอนี้ไมมีคุณภาพ 

สรุปผลการหาคุณภาพของแบบทดสอบจาก  148  ขอพบวามีค าความยากงาย อยูระหวาง 0.19 – 0.81 แสดงวาขอสอบมีคาความยากงายไมอยูในเกณฑที่ยอมรับได และจาก การวิเคราะหดูคาที่ต่ํากวาเกณฑมีจํานวน 6 ขอ สวนคาอํานาจจําแนกมีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 10.25  – 0.88 มีจํานวน 8 ขอ ซึ่งนําขอสอบที่มีคาอยูในเกณฑที่ยอมรับไดเพื่อนํามาใชเปน แบบทดสอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (WBI) จํานวน 140 ขอ

Page 113: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

109 

ตารางที่ ข-2  การวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คนที่  X  X 2  คนที่  X  X 2 

1  118  13924  16  97  9409 2  116  13456  17  93  8649 3  115  13225  18  82  6724 4  114  12996  19  81  6561 5  114  12996  20  79  6241 6  113  12769  21  75  5625 7  112  12544  22  78  6084 8  111  12321  23  64  4096 9  98  9604  24  60  3600 10  100  10000  25  58  3364 11  90  8100  26  56  3136 12  98  9604  27  53  2809 13  92  8464  28  51  2601 14  91  8281  29  50  2500 15  97  9409  30  44  1936 

รวม  2600  241028 

จาก ∑pq = 34.24 (จากตารางที่ ข -1) k = 148, ∑X = 2600, ∑X 2 = 241028 และ S 2 = 541 วิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น (  t r  ) โดยใชสูตร KR-20 

− = ∑ 

2 1 1  S 

pq k k r t

ไดผลดังนี้

− = 

541 24 . 34 1 

1 148 148 

t r 

= 0.94 ความคงที่ของขอสอบ เทากับ (0.94) 2 X 100 = 88.36 % ความแปรผันขอสอบ เทากับ  100 – 88.36 = 11.64 %

Page 114: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ภาคผนวก ค 

แบบประเมินความคิดเห็นนักศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค แบบประเมินความพึงพอใจนักศึกษาที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย อินเตอรเนต็วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

Page 115: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

113 

ตารางที่ ค–1  คาคะแนนการประเมินความคิดเห็นสําหรบันักศึกษา 

นักศึกษา เรื่องที่ประเมิน 1  2  3  X 

SD 

1.  เนื้อหาและการดําเนินเรื่อง 1.1  ความสมบูรณของวัตถุประสงค  4.00  5.00  4.00  4.33  0.58 1.2  ความสอดคลองของจุดประสงคกับเนื้อหา  4.00  4.00  5.00  4.33  0.58 1.3  ความเหมาะสมของเนื้อหากับระดับผูเรียน  5.00  4.00  5.00  4.67  0.58 

2.  ภาพ  ภาษา และเสียง 2.1  ขนาดของภาพที่ใชประกอบบทเรียน  5.00  3.00  4.00  4.00  1.00 2.2  รูปภาพที่ใชประกอบบทเรียน  5.00  3.00  4.00  4.00  1.00 2.3  ภาพเคลื่อนไหวที่ใชประกอบบทเรียน  4.00  4.00  4.00  4.00  0.00 2.4  ภาพการตูนที่ใชประกอบบทเรียน  4.00  5.00  5.00  4.67  0.58 2.5  ความเขาใจเกี่ยวกับภาษาที่ใชในบทเรียน  5.00  5.00  3.00  4.33  1.15 

3.  ตัวอักษร และสี 3.1  รูปแบบของตัวอักษร  5.00  4.00  5.00  4.67  0.58 3.2  ขนาดของตัวอักษร  5.00  3.00  4.00  4.00  1.00 3.3  สีของตัวอักษร  5.00  4.00  3.00  4.00  1.00 3.4  สีของพื้นหลัง และ ภาพ  5.00  3.00  2.00  3.33  1.53 

4.  แบบทดสอบ 4.1  ความนาสนใจเก่ียวกับวิธีการตอบโต  3.00  5.00  4.00  4.00  1.00 4.2  จํานวนขอของแบบทดสอบ  3.00  4.00  3.00  3.33  0.58 4.3  การรายงานผลคะแนน  2.00  4.00  5.00  3.67  1.53 

5.  การจัดการบทเรียน 5.1  ความสะดวกในการใชบทเรียน  4.00  4.00  4.00  4.00  0.00 5.2  ความชัดเจนของคําสั่งการใชงานบทเรียน  3.00  5.00  5.00  4.33  1.15 

5.3ความนาสนใจของหนาจอภาพ โดยภาพรวม  5.00  5.00  3.00  4.33  1.15 5.4  ความนาสนใจของวิธีการโตตอบบทเรียน  4.00  4.00  4.00  4.00  0.00 5.5  ความนาสนใจชวนใหติดตามบทเรียน  5.00  3.00  5.00  4.33  1.15 

คาเฉลี่ยรวม  4.25  4.05  4.05  4.12  0.81

Page 116: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

114 

ตารางที่ ค-2  คาคะแนนการประเมินคณุภาพ สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 

ผูเชี่ยวชาญ เรื่องที่ประเมิน 1  2  3  X 

SD 

1.  เนื้อหาวิชา 1.1 ความสมบูรณของวัตถุประสงค  5  4  4  4.33  0.58 1.2  ความสอดคลองของจุดประสงคกับเนื้อหาวิชา  5  5  4  4.67  0.58 1.3  ความถูกตองของเนื้อหา  4  4  4  4.00  0.00 1.4 ปริมาณความเหมาะสมของเนื้อหาแตละบทเรียน  4  5  4  4.33  0.58 1.5 ความเหมาะสมของเนื้อหากับระดับของผูเรียน  5  4  5  4.67  0.58 

2.  การดําเนินเรื่อง 2.1 ความเหมาะสมของลําดับขั้นในการนําเสนอเนื้อหา  5  4  5  4.67  0.58 2.2 ความชัดเจนในการดําเนินเรื่อง  4  5  4  4.33  0.58 2.3 ความนาสนใจในการดําเนินเรื่อง  5  4  5  4.67  0.58 2.4 การนําเสนอสื่อมีความสอดคลองกับเนื้อหา  5  5  4  4.67  0.58 

3.  การใชภาษา 3.1  รูปแบบของตัวอักษร  4  4  4  4.00  0.00 3.2 ความเหมาะสมของภาษาที่ใชกับวัยของผูเรียน  4  4  4  4.00  0.00 3.3 ความชัดเจนของภาษาที่ใชสื่อความหมาย  4  4  4  4.00  0.00 

4.  แบบทดสอบ 4.1 ความชัดเจนของคําสั่งและคําถามของแบบทดสอบ  4  4  5  4.33  0.58 4.2 ความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับ 

จุดประสงคโดยรวม 4  5  4  4.33 

0.58 4.3 ความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับ 

จุดประสงคแตละสวน 4  4  4  4.00 

0.00 4.4 ความเหมาะสมของแบบทดสอบที่เลือกใช  4  4  4  4.00  0.00 4.5 ความเหมาะสมของคําถาม  5  4  5  4.67  0.58 4.6 ความถูกตองของคําตอบและเหมาะสมของตัวลวง  5  4  5  4.67  0.58 4.7 ความสะดวกของวิธีการโตตอบแบบทดสอบ เชน 

ใชเมาสคลิกการเลื่อนเมาส เปนตน 5  5  4  4.67 

0.58 4.8 ความถูกตองของวิธีการรายงานผลคะแนนแตละ 

ขอของแบบทดสอบ 4  5  4  4.33  0.58 

4.9 ความถูกตองของวิธีการสรุปผลคะแนนรวม  5  4  5  4.67  0.58 คาเฉลี่ยรวม  4.48  4.38  4.29  4.38  0.49

Page 117: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

115 

ตารางที่ ค-3  แบบประเมินคณุภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค 

ผูเชี่ยวชาญ เรื่องที่ประเมิน 1  2  3  X 

SD 

1. สวนนําของบทเรียน 1.1 ความครอบคลุมของการใหขอมูลพื้นฐาน เชน 

จุดประสงค,คําชี้แจงของบทเรียน,เมนูหลักเปนตน 5  4  4  4.33  0.58 

1.2 ความชัดเจนและตรงประเด็นของการใหขอมูล พื้นฐาน  4  5  5  4.67  0.58 

1.3 การเราความสนใจผูเรียน  4  5  5  4.67  0.58 2. สวนประกอบดานมัลติมีเดีย 

2.1 ความสอดคลองของภาพกับเนื้อหา  4  5  5  4.67  0.58 2.2 ความชัดเจนของภาพที่ใชประกอบบทเรียน  4  5  5  4.67  0.58 2.3 ขนาดของภาพที่ใชประกอบบทเรียน  4  5  5  4.67  0.58 2.4 ความชัดเจนของภาพกราฟกที่ใชประกอบ 

บทเรียน 4  5  4  4.33  0.58 

2.5 ความชัดเจนของภาพเคลื่อนไหว ที่ใชประกอบ บทเรียน  4  5  4  4.33  0.58 

3. ตัวอักษรและสี 3.1 ความเหมาะสมของรูปแบบของตัวอักษรที่ใช 

นําเสนอ 4  5  4  4.33  0.58 

3.2 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่ใช  4  5  4  4.33  0.58 3.3 ความเหมาะสมของสีตัวอักษร  4  5  4  4.33  0.58 3.4 ความเหมาะสมของสีพื้นหลังบทเรียน  4  5  4  4.33  0.58 3.5 ความเหมาะสมของสีภาพกราฟก  4  5  4  4.33  0.58 

4. การออกแบบปฏิสัมพันธ 4.1 การออกแบบปฏิสัมพันธใหโปรแกรมใชงานงาย 

สะดวก 3  4  5  4.00  1.00 

4.2 การควบคุมเสนทางการเดินของบทเรียน (Navigation) 

3  5  4  4.00  1.00 

4.3 การเชื่อมโยงเนื้อหาของบทเรียน  3  4  4  3.67  0.58 4.4 ความเหมาะสมของการออกแบบหนาจอ  4  5  4  4.33  0.58

Page 118: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

116 

ตารางที่ ค-3  (ตอ) ผูเชี่ยวชาญ เรื่องที่ประเมิน 

1  2  3  X SD 

5. การจัดการบทเรียน 5.1 การนําเสนอชื่อเรื่องหลักของบทเรียน  4  3  4  3.67  0.58 5.2 การควบคุมบทเรียน เชน การใชแปนพิมพ, การใช 

เมาส 4  5  4  4.33  0.58 

5.3 เครื่องมือสนับสนุนการเรียน เชน e-mail, web board, search engine, chat เปนตน  4  5  4  4.33  0.58 

5.4 ความเหมาะสมในการจัดการของบทเรียน เพื่อ จัดเก็บไฟลขอมูลของผูเรียนแตละคน 

4  5  4  4.33  0.00 

5.5 ความสอดคลองระหวางคําถามระหวางบทเรียนกับ เนื้อหา 

4  4  4  4.00  0.00 

5.6 การใชประโยชนของคอมพิวเตอรในการจัดการ บทเรียน 

4  5  4  4.33  0.58 

คาเฉลี่ยรวม  3.91  4.70  4.26  4.29  0.57

Page 119: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

117 

แสดงการประเมินบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอนิเตอรเนต็วิชาโครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอรของนักศึกษา (คนที่ 1-30) 

1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29  30  X  SD. 

1.1  ความสมบูรณของวัตถุประสงค  5  4  4  5  4  4  4  5  5  5  4  4  4  5  4  5  4  5  4  4  5  4  5  5  4  4  4  5  5  4  4.43  0.50 1.2  ความสอดคลองของจุดประสงคกบั 

เนื้อหา 4  5  4  4  4  4  5  5  5  4  5  5  5  4  4  4  5  5  4  5  4  4  4  4  5  4  5  4  4  4  4.40  0.50 

1.3  ความเหมาะสมของเนือ้หากับระดับ ผูเรียน 

4  5  5  5  5  4  4  4  4  5  5  4  4  4  5  5  5  5  5  5  5  4  4  4  5  4  5  4  5  4  4.53  0.51 

2.1  ขนาดของภาพที่ใชประกอบบทเรียน  5  4  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  5  5  4  4  4  4.50  0.51 2.2  รูปภาพท่ีใชประกอบบทเรียน  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  4  5  5  5  5  4  4  4  4  4  4  4  4  5  4  5  4.43  0.50 2.3  ภาพเคลื่อนไหวท่ีใชประกอบ 

บทเรียน 4  4  4  4  4  4  3  3  3  4  4  4  3  3  3  4  4  4  4  4  5  4  4  3  4  4  5  4  4  3  3.80  0.55 

2.4  ภาพการตนูที่ใชประกอบบทเรียน  5  5  5  5  5  4  4  5  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  4  5  4  5  4  4  5  4.57  0.50 2.5  ความเขาใจเกี่ยวกับภาษาท่ีใชใน 

บทเรียน 4  4  4  4  4  4  3  3  3  4  4  4  3  3  3  4  4  4  4  4  5  4  4  3  4  4  5  4  4  3  3.80  0.55 

3.1  รูปแบบของตัวอกัษร  5  4  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  5  5  4  4  4  4.50  0.51 3.2  ขนาดของตัวอักษร  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  4  5  4  5  5  5  5  4  4  4  4  4  4  4  4  5  4  5  4.43  0.50 3.3  สีของตัวอกัษร  4  4  4  4  4  4  3  3  3  4  4  4  3  3  3  4  4  4  4  4  5  4  4  3  4  4  5  4  4  3  3.80  0.55 3.4  สีของพื้นหลัง และ ภาพ  5  5  5  5  5  4  4  5  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  4  5  4  5  4  4  5  4.57  0.50 4.1  ความนาสนใจเกี่ยวกับวิธกีารตอบโต  5  4  4  5  4  4  4  5  5  5  4  4  4  5  4  5  4  5  4  4  5  4  5  5  4  4  4  5  5  4  4.43  0.50 

4.2  จํานวนขอของแบบทดสอบ  4  5  4  4  4  4  5  5  5  4  5  5  5  4  4  4  5  5  4  5  4  4  4  4  5  4  5  4  4  4  4.40  0.50 4.3  การรายงานผลคะแนน  4  5  5  5  5  4  4  4  4  5  5  4  4  4  5  5  5  5  5  5  5  4  4  4  5  4  5  4  5  4  4.53  0.51 5.1  ความสะดวกในการใชบทเรียน  5  4  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  5  5  4  4  4  4.50  0.51 5.2  ความชัดเจนของคําสัง่การใชงาน 

บทเรียน 5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  4  5  4  5  5  5  5  4  4  4  4  4  4  4  4  5  4  5  4.43  0.50 

5.3  ความนาสนใจของหนาจอภาพ โดยภาพรวม 

4  4  4  4  4  4  3  3  3  4  4  4  3  3  3  4  4  4  4  4  5  4  4  3  4  4  5  4  4  3  3.80  0.55 

5.4  ความนาสนใจของวิธีการโตตอบ บทเรียน 

5  5  5  5  5  4  4  5  5  4  5  5  4  4  4  4  5  5  5  5  4  4  5  4  5  4  5  4  4  5  4.57  0.50 

5.5  ความนาสนใจชวนใหติดตาม บทเรียน 

4  4  4  4  4  4  3  3  3  4  4  4  3  3  3  4  4  4  4  4  5  4  4  3  4  4  5  4  4  3  3.80  0.55 

4.31  0.59

Page 120: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ภาคผนวก ง 

ตัวอยางรายละเอียดลักษณะของเฟรมเนื้อหา (Story Board) ตัวอยางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็ (WBI)

Page 121: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

120

Page 122: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

121

Page 123: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

122

Page 124: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

123

Page 125: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

124

Page 126: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

125

Page 127: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

126

Page 128: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

127

Page 129: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

128

Page 130: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

129 

ภาพที่ ง–1  หนาจอแสดงไตเติ้ลนําเขาสูบทเรียน 

ภาพที่ ง–2  หนาจอลงทะเบียนกอนเขาสูบทเรียน

Page 131: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

130 

ภาพที่ ง–3  หนาจอนักศึกษากรอกขอมูลสวนตัวเพื่อเปนสมาชิกเพื่อเรียนดวยบทเรียน (WBI) 

ภาพที่ ง – 4  หนาจอแสดงโครงสรางของบทเรียน

Page 132: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

131 

ภาพที่ ง–5  หนาจอแสดงวัตถุประสงคของบทเรียน 

ภาพที่ ง–6  หนาจอแสดงเอกสารประกอบการสอน

Page 133: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

132 

ภาพที่ ง–7  หนาจอแสดงเมนูอาจารยผูสอน 

ภาพที่ ง–8  หนาจอแสดงเมนูกระดานขาว

Page 134: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

133 

ภาพที่ ง–9  หนาจอแสดงแนะนําวิธีการใช 

ภาพที่ ง–10  หนาจอแสดงเมนูรายละเอียดการทํางานของผูสอน

Page 135: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

134 

ภาพที่ ง–11  หนาจอแสดงหัวขอการเพิ่มขอมูลเนื้อหา 

ภาพที่ ง–12  หนาจอแสดงผลความกาวหนาของการเรียน

Page 136: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

135 

ภาพที่ ง–13  หนาจอแสดงสถิตผิลการเรียน 

ภาพที่  ง–14  หนาจอแสดงผลบทเรียน

Page 137: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

136 

ภาพที่ ง–15  หนาจอแสดงหัวขอเนื้อหาบทเรียน 

ภาพที่ ง–16  หนาจอแสดงเนื้อหาบทเรียน

Page 138: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

137 

ภาพที่ ง–17  หนาจอแสดงเนื้อหาบทเรียน 

ภาพที่ ง–18  หนาจอแสดงผลการทําแบบทดสอบ

Page 139: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

138 

ประวัติผูวิจัย 

ชื่อ  นางสาวสุพรรณิกา   เตี๋ยวงษสุวรรณ วิทยานิพนธเรื่อง  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็วิชา 

โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสตูรบรหิารธุรกิจบัณฑติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

สาขาวิชา  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร 

ประวัติการศึกษา  ระดับประถมศึกษา  โรงเรียนราษฏรบํารุงศิลป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพาณชิยการสามเสน ระดับปริญญาตรี  สถาบันราชภัฏพระนคร 

ประวัติการทํางาน  เลขานุการศูนยคอมพิวเตอร และหัวหนาแผนกฝกอบรมและ ใหคําปรึกษา ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

สถานทีต่ิดตอ  47/636 โสสุนครคอนโด ซอยชินเขต เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

Page 140: (WBI) - Microsoft Internet Information Services 8 · PDF fileด วยบทเรียน wbi วิชาโครงสร างและการทํางานระบบคอมพิวเตอร

ประวัติผูวิจัย 

ชื่อ  นางสาวสุพรรณิกา   เตี๋ยวงษสุวรรณ วิทยานิพนธเรื่อง  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเตอรเนต็วิชา 

โครงสรางและการทํางานระบบคอมพิวเตอร หลักสตูรบรหิารธุรกิจบัณฑติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

สาขาวิชา  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร 

ประวัติการศึกษา  ระดับประถมศึกษา  โรงเรียนราษฏรบํารุงศิลป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพาณชิยการสามเสน ระดับปริญญาตรี  สถาบันราชภัฏพระนคร 

ประวัติการทํางาน  เลขานุการศูนยคอมพิวเตอร และหัวหนาแผนกฝกอบรมและ ใหคําปรึกษา ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติย 

สถานทีต่ิดตอ  47/636 โสสุนครคอนโด ซอยชินเขต เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210