Trend for Quality - TPATrend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน...

3
Trend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน การท�ากิจกรรมกลุ่ม QCC (QC Circle) จะมีการก�าหนดให้ใช้ เครื่องมือที่เรียกว่า 7 QC Tools ในการแก้ไข ปัญหา (problem solving) หลายคนมีความสงสัยว่าท�าไมต้องใช้ ชุดเครื่องมือเหล่านี้ด้วย และเครื่องมือนี้มี ประโยชน์อย่างไร ? บทความฉบับนี้น่าจะช่วยไขข้อข้องใจ ให้ผู้อ่านได้ วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ [email protected] ต่าง ๆ เพื่อน�ามารวบรวมเป็นชุดเครื่องมือให้ พนักงานระดับปฏิบัติการใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล โดยมีเงื่อนไข คือ ต้องเป็นเครื่องมือทีใช้งานง่ายและสามารถประยุกต์ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้ หลังจากการศึกษา เทคนิค เครื่องมือ วิธีการต่าง ๆ JUSE ได้รวบรวมเครื่องมือ 7 เครื่องมือ ซึ่งได้แก่ แผนภาพพาเรโต แผนภูมิ ควบคุม กราฟ ใบตรวจสอบ ฮีสโตแกรม กับการแก้ไขปัญหาด้วย QCC ชุดเครื่องมือ 7 QC Tools เกิดขึ้นใน ช่วง 1960s ซึ่ง JUSE (อ่านใน Union of Japanese Scientists and Engineers) ได้ สร้างกิจกรรม QCC ขึ้น โดย QCC เป็นการ รวมกลุ่มของพนักงานระดับปฏิบัติการเพื่อ แก้ปัญหาในงานของตนเอง และมีหัวใจ ส�าคัญของการแก้ไขปัญหาคือการตัดสินใจ จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง JUSE จึงได้ท�าการเลือกเครื่องมือ ตอนที 1

Transcript of Trend for Quality - TPATrend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน...

Page 1: Trend for Quality - TPATrend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน การท าก จกรรมกล ม QCC (QC Circle) จะม การก าหนดให

Trend

20for Quality Vol.20 No.194

December 2013

for Quality

ใน การท�ากิจกรรมกลุ่ม QCC (QC

Circle) จะมีการก�าหนดให้ใช ้

เครื่องมือที่เรียกว่า 7 QC Tools ในการแก้ไข

ปัญหา (problem solving)

หลายคนมีความสงสยัว่าท�าไมต้องใช้

ชุดเครื่องมือเหล่านี้ด้วย และเครื่องมือน้ีมี

ประโยชน์อย่างไร ?

บทความฉบับนีน่้าจะช่วยไขข้อข้องใจ

ให้ผู้อ่านได้

วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์

[email protected]

ต่าง ๆ เพื่อน�ามารวบรวมเป็นชุดเครื่องมือให้

พนักงานระดับปฏิบัติการใช้ในการวิเคราะห์

ข้อมูล โดยมีเงื่อนไข คือ ต้องเป็นเครื่องมือที่

ใช้งานง่ายและสามารถประยุกต์ใช้ในการ

วิเคราะห์ข้อมูลได้

หลังจากการศึกษา เทคนิค เครื่องมือ

วิธีการต่าง ๆ JUSE ได้รวบรวมเครื่องมือ 7

เครื่องมือ ซึ่งได้แก่ แผนภาพพาเรโต แผนภูมิ

ควบคุม กราฟ ใบตรวจสอบ ฮีสโตแกรม

กับการแก้ไขปัญหาด้วย QCCชุดเครื่องมือ 7 QC Tools เกิดขึ้นใน

ช่วง 1960s ซึ่ง JUSE (อ่านใน Union of

Japanese Scientists and Engineers) ได้

สร้างกิจกรรม QCC ขึ้น โดย QCC เป็นการ

รวมกลุ่มของพนักงานระดับปฏิบัติการเพื่อ

แก้ปัญหาในงานของตนเอง และมีหัวใจ

ส�าคัญของการแก้ไขปัญหาคือการตัดสินใจ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง

JUSE จึงได้ท�าการเลือกเครื่องมือ

ตอนท่ี

1

Page 2: Trend for Quality - TPATrend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน การท าก จกรรมกล ม QCC (QC Circle) จะม การก าหนดให

Trend

Vol.20 N

o.1

94 Decem

ber 2013

21

แผนภาพก้างปลา และแผนภาพการกระจาย

และได้ตั้งชื่อชุดเครื่องมือนี้ว่า 7 QC Tools

จะเหน็ได้ว่าชดุเครือ่งมอื 7 QC Tools

ถูกก�าหนดขึ้นมาเพื่อใช้ส�าหรับการ วิเคราะห์

ข้อมลู เพือ่แก้ไขปัญหา แต่จากประสบการณ์

ของผู้เขียนที่ได้เป็นที่ปรึกษาการท�า QCC

พบว่า คนส่วนมากน�าชุดเครื่องมือเหล่าน้ี

มาใช้เพียงเพื่อ น�าเสนอข้อมูล หรือน�าเสนอ

ผลงานเท่านั้น แต่มิได้ใช้เครื่องมือในการ

ค้นหาสารสนเทศจากข้อมูลเพื่อประกอบการ

ตัดสินใจแต่อย่างใด

แล้วเราจะน�า 7 QC Tools มาใช้

วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรดี ?

หากจ�าแนกตามจุดประสงค์ของการ

ใช้งาน สามารถจ�าแนก 7 QC Tools ได้เป็น

4 กลุ่ม ตามขั้นตอนของการแก้ไขปัญหาดังนี้

1. เครื่องมือส�าหรับการวิเคราะห์

ความเสถยีรของข้อมลู ได้แก่ แผนภาพพาเรโต

แผนภูมิควบคุม

2. เครื่องมือส�าหรับการวิเคราะห์

ความผนัแปรของข้อมลู ได้แก่ กราฟ ใบตรวจ-

สอบ แผนภูมิควบคุม ฮีสโตแกรม

3. เครื่องมือส�าหรับการวิเคราะห์

สาเหตแุละผล ได้แก่ แผนภาพก้างปลา กราฟ

ฮีสโตแกรม และแผนภาพการกระจาย

4. เครื่องมือส�าหรับการท�าให้เป็น

มาตรฐาน ได้แก่ แผนภูมิควบคุม

ในการแก้ไขปัญหาจะเริ่มจากการ

พจิารณาว่า กระบวนการทีจ่ะท�าการแก้ปัญหา

นั้นมีเสถียรหรือไม่ ?

เน่ืองจากกระบวนการที่เสถียรแปล

ความว่าสามารถคาดการณ์ได้ ท�าให้สามารถ

เก็บข้อมูลเพื่อท�าการวิเคราะห์ต่อไปได้ แต่

หากกระบวนการไม่เสถยีร แสดงว่าไม่สามารถ

คาดการณ์ได้ มีการเปล่ียนแปลง แกว่งตัว

ตลอดเวลา แบบนีก้ไ็ม่สามารถทีจ่ะเกบ็ข้อมลู

เพื่อวิเคราะห์ปัญหาได้

ลองนึกถึงกระบวนการที่ไม่มีมาตร-

ฐานการท�างาน ต่างคนต่างท�างาน จะพบว่า

งานทีไ่ด้จะมคีณุภาพแตกต่างกนัไป แสดงว่า

กระบวนการไม่เสถียร และเมื่อเกิดปัญหาขึ้น

การแก้ไขปัญหาจะท�าได้ยากเพราะไม่ทราบ

ว่า เงือ่นไขการท�างานใดก่อให้เกดิปัญหา การ

แก้ไขก็ได้แต่ลองผิดลองถูก ไม่สามารถ

วิเคราะห์ข้อมูล

แต่หากมีการก�าหนดมาตรฐานการ

ท�างานเบื้องต้นให้ทุกคนท�างานเหมือนกัน

กระบวนการจะเริม่มเีสถยีรภาพ ข้อมลูทีไ่ด้จะ

เริ่มนิ่งและคาดการณ์ได้ ท�าให้สามารถน�า

ข้อมลูมาวิเคราะห์เพือ่ปรบัปรงุมาตรฐานให้ดี

ขึ้นได้ จากจุดนี้เองท�าให้การเลือกปัญหา

จ�าเป็นต้องวิเคราะห์ความเสถียรของข้อมูล

เพื่อให้มั่นใจว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่

สามารถน�ามาแก้ไขได้

ส�าหรับเครื่องมือในการวิเคราะห์

ความเสถยีรนัน้ ม ี2 เครือ่งมอื ได้แก่แผนภาพ

พาเรโต และแผนภาพควบคุม ซึง่เครือ่งมอืทัง้

สองนี้ ผู้เขียนได้เคยน�าเสนอไปในบทความ

ฉบบัก่อน ๆ (สามารถอ่านรายละเอยีดเพิม่เตมิ

จาก ฉบับที่ 177-178 ส�าหรับแผนภาพ

พาเรโต และฉบับที่ 142-146 ส�าหรับแผนภูมิ

ควบคุม) ไปแล้ว ในที่นี้จึงขอสรุปสั้น ๆ ดังนี้

➲ แผนภาพพาเรโต เป็นเครือ่งมอืที่

ทกุคนทีท่�ากจิกรรม QCC รูจ้กักนัด ีเพราะเป็น

เครื่องมือตัวแรกที่ใช้เลือกปัญหา โดยแผน-

ภาพพาเรโตทีค่นส่วนมากรูจ้กักค็อื กราฟแท่ง

เรยีงชดิติดกันและมเีส้นความถีส่ะสม ดงัรปูที่

1 และเลือกปัญหาจากกราฟแท่งแรกที่มี

ข้อมูลมากที่สุด

ในความเป็นจรงินัน้ แผนภาพพาเรโต

ไม่ได้มีไว้เพียงแค่การเลือกปัญหาจากแท่ง

แรก แต่มไีว้ให้พจิารณาลกัษณะการแจกแจง

ของข้อมูล โดยแผนภาพพาเรโตที่ถูกต้อง

ไม่ใช่เพียงแค่เป็นกราฟแท่งเรียงชิดติดกัน

และมเีส้นความถ่ีสะสมเท่านัน้ แต่ต้องเป็นไป

ตามหลักการพาเรโตที่ว่า “Vital Few and

Trivial Many” ซึ่งแปลเป็นไทยได้ว่า “สิ่งที่

ส�ำคัญมำกมีจ�ำนวนน้อย สิ่งที่มีควำมส�ำคัญ

น้อยจะมีมำก” นั่นก็แปลความว่า ถ้าหาก

กระบวนการมเีสถียร ก็จะต้องเป็นไปตามหลกั

การพาเรโตด้วย

ในกรณทีีล่กัษณะการแจกแจงข้อมลู

ไม่เป็นไปตามหลักการพาเรโตดังรูปที่ 1A

แสดงว่ากระบวนการยังไม่เสถียรหรือการ

จ�าแนกข้อมูลยังไม่ถูกต้อง

▲ รูปที่ 1 กราฟแท่งเรียงชิดติดกัน A ไม่เป็นไปตามหลักการพาเรโต B เป็นไปตามหลักการพาเรโต

Page 3: Trend for Quality - TPATrend 20 for Quality Vol.20 No.194 December 2013 for Q uality ใน การท าก จกรรมกล ม QCC (QC Circle) จะม การก าหนดให

Vol.20 N

o.1

94 Decem

ber 2013

22

Trend

➲ แผนภมูคิวบคมุ หรอืทีเ่รยีกกันว่า

Control Chart เป็นเครื่องมือที่หลายคนรู้จัก

กันดี เพราะเป็นเคร่ืองมือที่มักถูกน�าไปใช้ใน

การพิจารณาว่ากระบวนการผลิต ผลิตผลิต-

ภัณฑ์ที่ดีหรือเสีย

แต่ที่ถูกต้องนั้น แผนภูมิควบคุมไม่

สามารถใช้พิจารณาผลิตภัณฑ์ดีหรือเสียได้

เพราะเส้นพิกัดควบคุมมิใช่ค ่าเสปกของ

ผลิตภัณฑ์ แต่เป็นค่าที่ได้จากการค�านวณ

ข้อมูลทางสถิติ เพื่อแสดงให้เห็นว่าธรรมชาติ

การกระจายตัวของข้อมูลควรมีค่าเป็นเท่าใด

ดงันัน้ การทีข้่อมลูอยูใ่นหรอืนอกพกัิดควบคมุ

ก็ไม่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ว่าจะเป็นผลิต-

ภัณฑ์ที่ดีหรือเสียแต่อย่างไร

นอกจากนี้จากการจ�าแนกกลุ ่ม

เครื่องมือทั้ง 4 ประเภท จะพบว่า แผนภูมิ

ควบคุมอยู ่ในชุดที่ 4 คือ การท�าให้เป็น

มาตรฐานด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีชื่อที่

เหมือนกัน แต่การสร้างแผนภูมิควบคุม 2

แบบนี้มีความแตกต่างกันเล็กน้อย เนื่องจาก

แผนภมูคิวบคมุท่ีใช้วเิคราะห์ความเสถยีร จะ

มีจุดข้อมูลก่อนแล้วจึงน�าข้อมูลเหล่านี้ไป

ค�านวณเส้นพิกัดควบคุมเพื่อทวนสอบความ

เสถียร ในขณะที่แผนภูมิควบคุมส�าหรับการ

ท�าให้เป็นมาตรฐาน จะมีพิกัดควบคุมจาก

ข้อมูลชุดเดิมก่อนที่จะท�าการเก็บข้อมูลและ

วาดลงบนแผนภูมิ

ส�าหรับการใช้แผนภูมิควบคุมในการ

วิเคราะห์ความเสถียร นอกจากการพิจารณา

ว่าข้อมูลต้องอยู่ภายใต้พิกัดควบคุมแล้ว ยัง

จ�าเป็นต้องพิจารณาว่าจุดข้อมูลกระจายตัว

อยู่ภายใต้พิกัดอย่างสุ่มหรือไม่ ? หากข้อมูล

มีการกระจายตัวไม่สุ ่ม (เกิดรัน แนวโน้ม

วฏัจกัร เกาะเส้นกลาง เกาะเส้นพกัิด) ก็แสดง

ว่ากระบวนการไม่เสถียรเช่นกัน

ทั้งแผนภาพพาเรโตและแผนภูมิ

ควบคุมสามารถใช้วิเคราะห์ความมีเสถียร

ของข้อมูลได้ แต่แตกต่างกันตรงที่ว่า แผน-

ภาพพาเรโตใช้ส�าหรับข้อมูลจ�าแนกพวก ใน

ขณะที่แผนภาพควบคุมใช้ส�าหรับข้อมูลที่ไม่

จ�าแนกพวก

หลังจากท�าการเลือกปัญหาแล้ว

ขั้นตอนถัดไปคือการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย

ในขั้นตอนนี้ ผู้แก้ไขปัญหาต้องค้นหาความ

ผิดปกติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการเพื่อ

เป็นข้อมลูเบือ้งต้นในการน�าไปสูก่ารวิเคราะห์

หาสาเหตุในขั้นตอนถัดไป

เครื่องมือในกลุ่มนี้ ได้แก่ กราฟ ใบ-

ตรวจสอบ แผนภูมิควบคุม และฮีสโตแกรม

โดยการใช้เครื่องมือเหล่านี้ จะใช้หลักการใน

การวิเคราะห์ความผันแปรก็คือ “กำรค้นหำ

ควำมแตกต่ำงและท�ำควำมเข้ำใจสำเหตุของ

ควำมแตกต่ำงที่เกิดขึ้น” โดยแต่ละเครื่องมือ

มกีารน�าไปใช้อย่างไร ? รบกวนผูอ่้านตดิตาม

ต่อในฉบับถัดไป

เอกสารอ้างอิง

1. คะทซยึะโฮโซตาน,ีการแก้ปัญหาแบบ

QC, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ ่น):

กรุงเทพฯ,2552

2. กิติศักดิ์พลอยพานิชเจริญ,ระบบการ

ควบคุมคุณภาพที่หน้างาน คิวซีเซอร์เคิล, TACT:

กรุงเทพฯ,2547

อ่านต่อฉบับหน้า

▲ รูปที่ 2 แผนภูมิควบคุม