QPSK): 9การส งข อมูลที่แถบความถี่ผ าน ตอน...

3
9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) EE323: หลักการระบบสื่อสาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ .. 2560 EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) .. 2560 1 / 12 ตัวอยางสัญญาณ QAM ตัวอยาง (สัญญาณ QPSK): สัญญาณ QPSK (เหมือนกรณี 2×2-QAM) ใช T = 1 ms, A = 1, f c = 4 kHz -3 -2 -1 0 1 2 3 0 0.001 0.002 0.003 0.004 s QPSK (t) t (in s) 11 01 00 10 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 0.25 0.75 1.25 1.75 phase (×π) -3 -2 -1 0 1 2 3 -3 -2 -1 0 1 2 3 11 01 00 10 EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) .. 2560 2 / 12 ตัวอยาง (ตอ): สัญญาณ QPSK มาจากการบวกกันของสวนประกอบ I และสวนประกอบ Q -2 0 2 0 0.001 0.002 0.003 0.004 s QPSK (t) t (in s) 11 01 00 10 -2 0 2 0 0.001 0.002 0.003 0.004 Modulated Q 1 1 0 0 -2 0 2 0 0.001 0.002 0.003 0.004 Modulated I 1 0 0 1 EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) .. 2560 3 / 12 การทำ detection สำหรับ QAM การทำ detection ใชเกณฑ minimum distance หาสัญลักษณในแผนภาพ constellation ซึ่งอยูใกลที่สุดกับคาสัญลักษณที่รับได ตัวอยาง: กรณี QPSK 00 แปลงเปนบิต 00 x 01 10 11 แปลงเปนบิต 11 x R k : คาสัญลักษณตัวทีk ที่ตัวรับรับได EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) .. 2560 4 / 12

Transcript of QPSK): 9การส งข อมูลที่แถบความถี่ผ าน ตอน...

Page 1: QPSK): 9การส งข อมูลที่แถบความถี่ผ าน ตอน 2)QPSK( T A f cbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/handout_09.pdf · กราฟBERของระบบM′×M′-QAM-6-5-4-3-2-1

9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2)

EE323: หลักการระบบสื่อสาร

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

พ.ศ. 2560

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 1 / 12

ตัวอยางสัญญาณ QAMตัวอยาง (สัญญาณ QPSK):สัญญาณ QPSK (เหมือนกรณี 2×2-QAM) ใช T = 1 ms, A = 1, fc = 4 kHz

-3

-2

-1

0

1

2

3

0 0.001 0.002 0.003 0.004

sQ

PS

K(t

)

t (in s)

11 01 00 10

-1.5

-1

-0.5

0

0.5

1

1.5

0.25 0.75 1.25 1.75

phase (×π)

-3

-2

-1

0

1

2

3

-3 -2 -1 0 1 2 3

1101

00 10

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 2 / 12

ตัวอยาง (ตอ):สัญญาณ QPSK มาจากการบวกกันของสวนประกอบ I และสวนประกอบ Q

-2

0

2

0 0.001 0.002 0.003 0.004

sQ

PS

K(t

)

t (in s)

11 01 00 10

-2

0

2

0 0.001 0.002 0.003 0.004

Mo

du

late

d Q 1 1 0 0

-2

0

2

0 0.001 0.002 0.003 0.004

Mo

du

late

d I 1 0 0 1

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 3 / 12

การทำ detection สำหรับ QAMการทำ detection ใชเกณฑ minimum distanceหาสัญลักษณในแผนภาพ constellation ซึ่งอยูใกลที่สุดกับคาสัญลักษณที่รับได

ตัวอยาง: กรณี QPSK

00

แปลงเปนบิต 00x01

1011แปลงเปนบิต 11x

Rk: คาสัญลักษณตัวที่ k ที่ตัวรับรับไดEE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 4 / 12

Page 2: QPSK): 9การส งข อมูลที่แถบความถี่ผ าน ตอน 2)QPSK( T A f cbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/handout_09.pdf · กราฟBERของระบบM′×M′-QAM-6-5-4-3-2-1

แผนภาพ constellation ที่ตัวรับจากแผนภาพ constellation ที่ตัวรับ เราคาดคะเนไดวาจะมีบิตผิดพลาดนอยหรือมาก

- 2

- 1

0

1

2

- 2 - 1 0 1 2

0001

11 10

- 2

- 1

0

1

2

- 2 - 1 0 1 2

0001

11 10

กําลังสัญญาณรบกวนตํ่า กําลังสัญญาณรบกวนสูงเนื่องจากความผิดพลาดมักจะเกิดระหวางคา symbol ที่อยูใกลกัน จึงใช Grey coding(symbol ที่อยูใกลกันมีบิตตางกันเพียง 1 บิต) ในการทำ constellation mapping

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 5 / 12

การประมาณ BER ดวย union bound estimate

การประมาณคา BER สามารถใช union bound estimate (ไมอธิบายที่มา)

BER ≈ Nminlog2M

Q( dmin√2N0

)

M: จำนวนคาสัญลักษณในแผนภาพ constellationdmin: ระยะทางระหวางคาสัญลักษณที่นอยที่สุดในแผนภาพ constellationNmin: คาเฉลี่ยของจำนวนคาสัญลักษณใกลเคียงที่อยูหางเปนระยะ dminN0: พารามิเตอรคา PSD (power spectral density) ของสัญญาณรบกวนเรามักเขียนสมการที่ไดในรูปของอัตราสวน Eb/N0

ตัวอยาง (การใช union bound estimate):ระบบ QPSK ที่มีคาสัญลักษณ ±A± iA ⇒ M = 4, dmin = 2A = 2

√Eb, Nmin = 2

BER QPSK ≈ 2log2 4

Q( 2√Eb√2N0

)= Q

(√2 EbN0

)

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 6 / 12

BER ของระบบ M′ ×M′-QAMคาที่เปนไปไดของสวน จริง/จินตภาพ สำหรับแตละสัญลักษณไดแก

−(M′ − 1)A, − (M′ − 3)A, . . . , (M′ − 3)A, (M′ − 1)A

dmin = 2A (คาสัญลักษณอื่นที่อยูใกลที่สุดอยูใน แถว/คอลัมน เดียวกัน)

Nmin = 4× 2+ 4(M′ − 2)× 3+ (M′ − 2)2 × 4

M′2 =4(M′ − 1)M′

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 7 / 12

จากหนาที่แลว dmin = 2A และ Nmin = 4(M′ − 1)M′

จากสไลดชุดที่แลว Es = 2A2(M′2 − 1)3

Eb = Es2 log2M′ (log2M′2 = 2 log2M′ บิตตอสัญลักษณ)

จาก union bound estimate BER ≈ Nminlog2M

Q( dmin√2N0

)

BER M′×M′-QAM ≈ 2(M′ − 1)

M′ log2M′Q(√

6 log2M′

(M′2 − 1)EbN0

)

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 8 / 12

Page 3: QPSK): 9การส งข อมูลที่แถบความถี่ผ าน ตอน 2)QPSK( T A f cbucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/handout_09.pdf · กราฟBERของระบบM′×M′-QAM-6-5-4-3-2-1

กราฟ BER ของระบบ M′ ×M′-QAM

-6

-5

-4

-3

-2

-1

0

0 5 10 15 20

log

10B

ER

Eb/N0 (dB)

2x2 4x4 8x8

16x16

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 9 / 12

BER ของระบบ M-PSKคาพารามิเตอรของระบบที่เกี่ยวของ

พารามิเตอร 2-PSK 4-PSK 8-PSK

dmin 2√Es√2Es

√(2−√2)Es

Eb Es Es/2 Es/3Nmin 1 2 2

จาก union bound estimate BER ≈ Nminlog2M

Q( dmin√2N0

)

BER 2-PSK ≈ Q(√2 EbN0

)

BER 4-PSK ≈ Q(√2 EbN0

)

BER 8-PSK ≈ 23Q√3(2−√2)2

EbN0

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 10 / 12

กราฟ BER ของระบบ M-PSK

-6

-5

-4

-3

-2

-1

0

0 5 10 15 20

log

10B

ER

Eb/N0 (dB)

M=2=4 M=8

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 11 / 12

ประสิทธิภาพการใชความถี่

คาประสิทธิภาพการใชความถี่ (spetral efficiency) คืออัตราบิตของการสงขอมูล (bps)ตอหนึ่งหนวยของแบนดวิดท (Hz) มีหนวยเปน (bit/s/Hz)โดยทั่วไป การสงสัญญาณพัลสทุก ๆ คาบ T จะใชพัลสที่มีแบนดวิดท (ที่แถบความถี่ฐาน)ระหวาง 12T และ

1T ขึ้นอยูกับรูปรางของพัลส

หมายเหตุ: คาต่ำสุด 12T เรียกวา Nyquist bandwidth

ตัวอยาง (การคำนวณประสิทธิภาพการใชความถี่):สมมุติวาสัญญาณพัลสมีแบนดวิดท 1T (ที่แถบความถี่ฐาน) ระบบ M-PSK จะมีแบนดวิดท

2T

(ที่แถบความถี่ผาน) และมีอัตราบิต log2MT ดังนั้น

ประสิทธิภาพการใชความถี่ = log2M/T2/T =log2M2 bit/s/Hz

EE323 (ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ) 9 การสงขอมูลที่แถบความถี่ผาน (ตอน 2) พ.ศ. 2560 12 / 12