Product Presentation 14JAN2011

46
บริษัท บาลานซเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ผลิตภัณฑ วาลวควบคุมอัตราการไหลอัตโนมัติ (Automa(c Balancing Valves“BalancTec”) www.BalancTec.com

description

BalancTec Product Presentation 2011

Transcript of Product Presentation 14JAN2011

Page 1: Product Presentation 14JAN2011

!

บริษัท บาลานซเทค อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด!

ผลิตภัณฑ วาลวควบคุมอัตราการไหลอัตโนมัติ !

(Automa(c  Balancing  Valves“BalancTec”) !www.BalancTec.com  

   !

Page 2: Product Presentation 14JAN2011

Our Products STRAINER

FORGE BRASS

DUCTILE CAST IRON Y-PATTERN

P/T PLUG

CARTRIDGE

Page 3: Product Presentation 14JAN2011

1800 Electronics Measurement Specification q  Power supply 5 Vdc battery q  Max.current consumption 2700 mA q  Accuracy 5% q  Pressure Sensor 0-10 bar q  Temperature fluid -10 C to 110 C q  Ambient operating temperature from -20 C to 50 C q  Flow rate express in L/S,GPM q  Pressure express in PSI BalancTec 1800 Electronic Measurement of differential pressure and flow rate of water in HVAC, showing all data available. All BalancTec Balancing Valves data are included in the memory of the measure. A balancing valve report can be easily by connecting the measure to printer though the RS232 connector

Page 4: Product Presentation 14JAN2011

TEST KIT Specification

BalancTec gauge adapters q  Material q  Fitting : Brass q  Needle : SUS304 q  End connection: ¼”BSPT (NPT optional)

BalancTec P/T Plug With double spring force seal results to zero leakage q  Material q  Size : ¼”BSPT q  Body&cap : brass q  Robber core : Nordel q  Spring : sus304 q  Oring : EPDM

Test kits available built to your specification with BalancTec gauge adapters & P/T Plug

Page 5: Product Presentation 14JAN2011

BalancTec P/T Plug & Guage Adaptor 1). Push the needle adapter straight toward the PT Plug !

Note : For NPT PT plug & NPT Needle is on requested

2). Screw up the adapter nut 1.5-2.0 turns, the fluid will pass the needle to the hose. !

Page 6: Product Presentation 14JAN2011

Standardization : ISO 9001:2008

Page 7: Product Presentation 14JAN2011

Standardization : Pressure Standard

Page 8: Product Presentation 14JAN2011

Standardization : Accuracy Standard

Page 9: Product Presentation 14JAN2011

Testing Machine

Page 10: Product Presentation 14JAN2011

Testing Machine

Page 11: Product Presentation 14JAN2011

Comparison : Manual VS Automatic

Manual Balancing Valves A

ในระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ที่ใช้เคร่ืองทําน้ําเย็น (Chiller) และใช้วาล์วปรับสมดุลวงจรน้ําเย็น แบบManual balancing valves มักเกิดความไม่สะดวกและปัญหาการใช้งานดังนี้ A

Automatic Balancing Valves A

ในระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ที่ใช้เคร่ืองทําน้ําเย็น (Chiller) และใช้วาล์วปรับสมดุลวงจรน้ําเย็น แบบ Automatic Balancing Valvesซึ่งเป็น Dynamic Balance มีความสะดวกเหมาะสมกับระบบปรับอากาศที่มีการเปลี่ยนของความดันในระบบตลอดเวลา และมีความแม่นยําสูง A

Page 12: Product Presentation 14JAN2011

Manual Balancing Valves A

1. มีความไม่สะดวกในการใช้งาน เนื่องจากปรับแต่ง MBV ทุกตัว เนื่องจากพื้นที่ปรับอากาศในปัจจุบันมักเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ มีจํานวนเครื่องส่งลมเย็น 200-500 เครื่อง มีความซับซ้อนในการปรับแต่งก็มีมากขึ้น�

2.ต้องใช้ช่างเทคนิคที่มีความชํานาญและแรงงานในการปรับแต่ง MBV จํานวนมาก �

Comparison Automatic Balancing

Valves A

1. AutomaticBalancingValvesจะปรับตัวเองตามDifferential Pressure เพื่อให้ได้อัตราการไหลของน้ําเย็นตามที่ได้เลือCartridgeไว้โดยม ีAccuracy +/-5% A

: Manual VS Automatic

Page 13: Product Presentation 14JAN2011

Comparison : Manual VS Automatic

Page 14: Product Presentation 14JAN2011

Comparison : Manual VS Automatic

Page 15: Product Presentation 14JAN2011

Manual Balancing Valves A

3 .ใช้เวลาในการปรับแต่งนาน ซึ่งในทางปฏิบัติมักไม่มีเวลาพอ เนื่องจากมีความจําเป็นต้องเปิดพื้นที่ใช้งาน�

4.มีความคลาดเคลื่อน เครื่องส่งลมเย็นส่วนหนึ่งจะมีอัตราการไหลของน้ําเย็น มากกว่าที่ต้องการ และ เครื่องส่งลมเย็นอีกส่วนหนึ่ง จะมีอัตราการไหลของน้ําเย็น น้อยกว่าความต้องการของเครื่อง ทําให้เกิดปัญหาการนําความร้อน(Cooling Load) ออกจากพื้นที่ปรับอากาศไม่ได้ตามที่ออกแบบไว้�

5.การปรับแต่งMBV ทําที่เปิดFCU,AHUที่100% ซึ่งมักแตกต่างจากสภาพการใช้งานจริง�

ความคลาดเคลื่อนส่วนใหญ่ มักจะเกิดOVERFLOWทําให้มีผลตามมาดังนี้�

n  ต้องการ BHP ที่สูงกว่า ทําให้เกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน �n  มี Dynamic head ต่ํากว่าที่ออกแบบไว้ �n  VSD ไม่สามารถทํางานได้อย่างเต็มที่�

Comparison : Manual VS Automatic

Page 16: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing Valves A

2. การปรับสมดุลวงจรน้ําเย็นจําเป็นต้อง ทําการปรับที่ภาระการปรับอากาศ 100% (เครื่องส่งลมเย็นทุกเครื่องเปิดหมด) แต่สภาพการใช้งานจริง พื้นที่ปรับอากาศจะไม่ได้ใช้พื้นที่ปรับอากาศพร้อมกันทั้งหมด ซึ่งไม่ตรงกับสภาวะที่ได้ปรับแต่งไว้ ทําให้อัตราการไหลของน้ําเย็นมีความคลาดเคลื่อนจากที่ได้ปรับแต่งไว้ A

Automatic Balancing Valves A

2. Automatic Balancing Valves เป็น Dynamic Balance สามารถควบคุมการไหลตามความดันที่เปลี่ยนแปลงได ้เหมาะสมกับระบบปรับอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงภาระทําความเย็น(Cooling load) และความดันในระบบ(system pressure fluctuation)ตลอดเวลา A

: Manual VS Automatic

Page 17: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing

Valves A

3. หลายโครงการในการก่อสร้างมักมีระยะเวลาจํากัดในการปรับแต่งสมดุลน้ําเย็น ทําให้การปรับแต่งสมดุลไม่สามารถทําได้อย่างถูกต้องใน บางโครงการอาจไม่ได้ปรับแต่งเลย หรือมีความจําเป็นในการเปิดพื้นที่ใช้งานในบางส่วนก่อน การปรับแต่งวงจรน้ําเย็นจึงไม่สามารถทําได้อย่างถูกต้องA

Automatic Balancing Valves A

3. เมื่อไม่มีความจําเป็นต้องปรับแต่งวาล์ว สามารถลดเวลาในการCommissioningได้อย่างมาก และสามารถเปิดพื้นที่ใช้งานเป็นส่วนๆได ้โดยไม่มีผลกระทบในการCommissioningA

: Manual VS Automatic

Page 18: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing Valves A

4. จากเหตุผลข้อที่1 และ2 เป็นผลให้อุณหภูมิน้ําเย็นที่ออกจากเครื่องส่งลมเย็น (Leaving Temperature) และอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ําเย็นที่กลับมายังเครื่อง (chilled water temperature) ไม่สามารถเป็นตัวแทนของภาระทําความเย็น (Cooling Load) ที่แท้จริงได้ เครื่องทําน้ําเย็น (Chiller) โดยการควบคุมของ Capacity controller จะรับสัญาณและควบคุม ทําให้ความสามารถในการทําความเย็น คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง และจะกระทบต่อพื้นที่ปรับอากาศ โดยเฉพาะพื้นที ่ที่อยู่ไกลจากเครื่องสูบน้ําเย็นA

Automatic Balancing Valves A

4. เมื่อวงจรน้ําเย็นสมดุล สามารถทํางานได้อย่างสมบูรณ์ อุณหภูมิน้ําเย็นที่ออกจากเครื่องส่งลมเย็น (Leaving temperature) และอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ําเย็นที่กลับมายังเครื่อง (chilled water temperature) สามารถเป็นตัวแทนของภาระทําความเย็น(Cooling Load) ที่แท้จริงได้การควบคุมของ Capacity controller จะรับสัญญาณและควบคุม อย่างถูกต้องA

: Manual VS Automatic

Page 19: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing

Valves A

5. มีความจําเป็นต้องติดตั้งวาล์วปรับสมดุลตามท่อทางหลักและทางแยกย่อย เพื่อให้สามารถปรับน้ําเย็นทั้งระบบได ้ทําให้เกิด Friction loss ในระบบมากขึ้น และต้องการ Pump Head มากขึ้นด้วย ทําให้สิ้นเปลืองพลังงานมากขึ้น A

Automatic Balancing Valves A

5. Friction lossของระบบต่ํา เนื่องจากใช้วาล์วเพียงตัวเดียวที่ตําแหน่ง เครื่องส่งลมเย็น A

: Manual VS Automatic

Page 20: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing Valves A

6. เมื่อมีการปรับเปลี่ยนลด หรือเพิ่มพื้นที่ในการปรับอากาศ จําเป็นที่ต้องมีการปรับสมดุลของน้ําเย็นทั้งระบบใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลามาก A

Automatic Balancing Valves A

6. ไม่มีความจําเป็นต้องปรับวาล์วเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงลดหรือเพิ่ม พื้นที่การปรับอากาศในอนาคต A

: Manual VS Automatic

Page 21: Product Presentation 14JAN2011

Comparison Manual Balancing Valves A

7. ด้วยความยากลําบาก และความซับซ้อนในการปรับ ในทางปฏิบัติจริง อ้างอิงตามบทความจากวรสารเทคนิค ระบบปรับอากาศ ยินยอมให้มีความคลาดเคลื่อนในการปรับ Manual balancing valves ถึง 30% เป็นผลให้สูญเสียพลังงานและเพิ่มค่าใช้จ่าย จํานวนมาก ตามที่ได้แนบรายการคํานวณ operating cost สําหรับ โครงการพัฒนาที่ดินบริเวณลานจอดรถสยามสแควร์ Block L ที่ overflow 25% ต้องสูญเสียค่าไฟที่เพิ่มขึ้นถึงปีละ187,000 บาท A

Automatic Balancing Valves A

7. ไม่มีการสูญเสียพลังงาน เครื่องเป่าลมเย็นทุกตัว ได้รับน้ําเย็น ตามที่ได้ออกแบบไว้ A

: Manual VS Automatic

Page 22: Product Presentation 14JAN2011

Manual Balancing Valves A

8. เมื่อเกิดความคลาดเคลื่อนที่ overflow 25% เป็นผลให้ Total Dynamic Head ของ เครื่องสูบน้ําแต่ละตัวลดลงอย่างมาก (ตามรายการคํานวณ operating cost) CHP ตามที่ออกแบบ ต้องทํางานที่ 780 US.GPM 130 ft.TDH.แต่เมื่อเกิดการ overflow 25% CHP จะทํางานที ่975 US.GPM. 112ft.TDH.ซึ่งมีค่าTotal Dynamic Head ต่ํากว่าที่ออกแบบไว้ ถึง 18 ft. ทําให้มีปัญหาในการส่งน้ําเย็นให้ถึงเครื่องเป่าลมเย็นที่ตําแหน่งไกลจากตัวเครื่องสูบน้ํา และยังเป็นผลให้อุปกรณ์ปรับลดความเร็วรอบ (VSD)ไม่สามารถทํางานได้อย่างเต็มที ่เพราะ Total dynamic Head นั้นมีค่าต่ําอยู่แล้ว A

Comparison Automatic Balancing

Valves A

8. เครื่องสูบน้ําทุกตัวทํางานที่ตําแหน่งที่ได้ออกแบบไว้ และ อุปกรณ์ปรับลดความเร็วรอบ (VSD) สามารถทํางานได้อย่างเต็มที่ A

: Manual VS Automatic

Page 23: Product Presentation 14JAN2011
Page 24: Product Presentation 14JAN2011
Page 25: Product Presentation 14JAN2011
Page 26: Product Presentation 14JAN2011
Page 27: Product Presentation 14JAN2011
Page 28: Product Presentation 14JAN2011
Page 29: Product Presentation 14JAN2011
Page 30: Product Presentation 14JAN2011
Page 31: Product Presentation 14JAN2011
Page 32: Product Presentation 14JAN2011
Page 33: Product Presentation 14JAN2011
Page 34: Product Presentation 14JAN2011
Page 35: Product Presentation 14JAN2011
Page 36: Product Presentation 14JAN2011

FOUR Point by Sheraton , Phuket

Page 37: Product Presentation 14JAN2011

The KEE Resort & Spa , Phuket

Page 38: Product Presentation 14JAN2011

Hamilton Harbor , Brisbane Australia

Page 39: Product Presentation 14JAN2011
Page 40: Product Presentation 14JAN2011

Hamilton Harbor , Brisbane Australia

Page 41: Product Presentation 14JAN2011

Hamilton Harbor , Brisbane Australia

Page 42: Product Presentation 14JAN2011

Hamilton Harbor , Brisbane Australia

Page 43: Product Presentation 14JAN2011
Page 44: Product Presentation 14JAN2011

วาล์วควบคุมอัตราไหลโดยอัตโนมัติ (Automatic Balancing

Valves)!

• วาล์วจะต้องได้รับการออกแบบให้สามารถควบคุมอัตราการไหลให้คงที่ได้โดยใช้ชุด Cartridge และ Spring  ที่ทําด้วยสเตนเลส โดยที่ยอมให้อัตราการไหลจะมีความคลาดเคลื่อนไม่เกินกว่า +/-5 % ของอัตราไหลที่

กำหนด • วาล์วจะต้องออกแบบมาให้ทนแรงดัน ไม่น้อยกว่า 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือ 25 บาร ( Working Pressure 300 PSI หรือ 25 Bar ) • วาล์วที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 15 มิลลิเมตร ( 1/2” ) จนถึง 40 มิลลิเมตร ( 1 1/2” ) จะต้องเป็นชนิด Y-TYPE ตัววาล์วทําด้วยทองเหลือง (Forged Brass) ใช้การต่อเข้ากับท่อน้ําด้วยเกลียว (Screwed End) • วาล์วที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มิลลิเมตร (1 1/2” ) จนถึง 50 มิลลิเมตร ( 2” ) จะต้องเป็นชนิด Y-TYPE ตัววาล์วทําด้วยเหล็กหล่อเหนียว(Ductile Cast Iron) ใช้การต่อเข้ากับท่อน้ําด้วยเกลียว (Screwed End) • วาล์วที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 65 มิลลิเมตร ( 2 1/2” ) ขึ้นไป จะต้องเป็นแบบเวฟเฟอร์(Wafer Type) ตัววาล์วทําด้วยเหล็กหล่อเหนียว (Ductile Cast Iron) ใช้การต่อเข้ากับท่อน้ําด้วยหน้าแปลน �( Flange End)

Page 45: Product Presentation 14JAN2011

วาล์วควบคุมอัตราไหลโดยอัตโนมัติ (Automatic Balancing

Valves)!

•  วาลวรุนที่นำเสนอนี้จะตองมีใบรับรองผลการทดสอบตามมาตรฐาน มอก 431-2525 สำหรับวาลว

ขนาดเล็กต้ังแตขนาด 15 มิลลิเมตร ( 1/2” ) จนถึง 40 มิลลิเมตร ( 1

1/2” ) และ วาลวรุนที่นำเสนอนี้จะตองมีใบรับรองผลการทดสอบตามมาตรฐาน มอก 256240

สำหรับวาลวขนาดใหญต้ังแตขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2” ) ขึ้นไป •  วาล์วทุกตัวจะต้องมีจุดต่อสําหรับวัดค่าความดันและค่าอุณหภูมิ ( Pressure & Temperature Port ) เพื่อความสะดวกในการตรวจวัดโดยใช้เครื่องวัดแบบเคลื่อนที ่โดยไม่จําเป็นต้องจัดหาและติดตั้งชุดเกจวัดความดันแบบถาวรติดไว้ที่ท่อน้ําก่อนเข้าเครื่อง •  ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์วัดอัตราการไหลของน้ําแบบเคลื่อนที ่(Portable) ให้กับทางโครงการอย่างน้อย 1 ชุด ทั้งนี้อุปกรณ์ดังกล่าวต้องแสดงผลออกมาเป็นอัตราการไหลโดยตรงจากมาตรวัด พร้อมทั้งสามารถ บันทึกค่าได้เพื่อใช้ในการทํารายงานผลการทดสอบการเดินเครื่อง ( Commisioning Report )� ยี่หอต่างๆที่มีจำหนายในประเทศไทย : Auto Flow, BalancTec , Flowcon

Page 46: Product Presentation 14JAN2011

เครื่องวัดและบันทึกอัตราไหล ความดัน และอุณหภูมิ ในระบบท่อน้ําเย็นชนิด ตัวเลขแบบเคลื่อนที่ ( Portable Digital Flow and Pressure Measure and Recorder )

ตัวเครื่องวัดทําด้วยพลาสติกหรือโลหะ ที่มีโครงสร้างปิดมิดชิด สามารถใช้งานภาคสนามได้ดี โดยมีโครงสร้างปิดมิดชิดกันฝุ่น กันละอองน้ํา และ กันการกระเทือน และสามารถใช้งานในที่มีแสงน้อยได้ดี สามารถวัดค่าอัตราไหล ค่าความดัน และค่าอุณหภูมิ ได้โดยมีค่าความเคลื่อนไม่เกิน 5% จากค่ามาตรฐาน พร้อมทั้งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า 500 ชุด ก่อนที่จะต้องถ่ายข้อมูลลงยังเครื่องคอมฯต่อไป และสามารถใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 8 ชม ต่อการชาร์จไฟหนึ่งครั้ง