New ผลการจัดประสบการณ์การเรียนร้...

244
ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู ้แบบโครงการที่มีต ่อความสามารถ ด้านการสังเกต การจาแนก และการเปรียบเทียบ ของเด็กปฐมวัย ยุพา ศิริรักษ์ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2558

Transcript of New ผลการจัดประสบการณ์การเรียนร้...

  • ผลการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการที่มีต่อความสามารถ ด้านการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทยีบ

    ของเดก็ปฐมวยั

    ยุพา ศิริรักษ์

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาหลกัสูตรและการสอน มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค์

    พ.ศ. 2558

  • ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการทีม่ต่ีอความสามารถ ด้านการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทยีบ

    ของเด็กปฐมวยั

    ยุพา ศิริรักษ์

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาหลกัสูตรและการสอน มหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

    พ.ศ. 2558 ลขิสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

  • THE EFFECTS OF PROJECT APPROACH ON OBSERVATION, CLASSFICATION

    AND COMPARISON OF PRESCHOOL CHILDREN

    YUPA SIRIRUK

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Curriculum and Instruction

    Nakhon Sawan Rajabhat University 2015

    Copyright of Nakhon Sawan Rajabhat University

  • บทคดัย่อ

    ช่ือเร่ือง ผลการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ ท่ีมีต่อความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบของเด็กปฐมวยั ผู้วจัิย นางยพุา ศิริรักษ ์อาจารย์ทีป่รึกษา อาจารย ์ดร. บณัฑิตา อินสมบติั สาขาวชิา หลกัสูตรและการสอน ปีการศึกษา 2558

    การวจิยัคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือศึกษาจ านวนของเด็กปฐมวยัท่ีมีคะแนนความสามารถดา้นการสงัเกต

    การจ าแนก และการเปรียบเทียบผา่นเกณฑ ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเตม็ และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถดา้น

    การสงัเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบก่อนและหลงัจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการของเด็กปฐมวยั

    กลุ่มตวัอยา่งในการวจิยัคร้ังน้ี ไดแ้ก่นกัเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2557โรงเรียนบา้น

    เทวฤทธ์ิพนัลึก(ศรีอุบลอปุถมัภ)์สงักดัส านกังานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์ เขต 3

    จ านวน 13 คนไดม้าจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling)

    เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยัประกอบดว้ย 1) แผนการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ มี

    ความสอดคลอ้งในระดบัเหมาะสมมากท่ีสุด 2) แบบทดสอบวดัความสามารถดา้นการสงัเกต การจ าแนกและ

    การเปรียบเทียบ เป็นแบบทดสอบท่ีมีค าถามเป็นรูปภาพ 3 ตวัเลือก จ านวน 3 ชุดชุดละ 10 ขอ้ ชุดท่ี 1 วดั

    ความสามารถดา้นการสงัเกต มีค่าความยากง่าย ตั้งแต่ 0.55 – 0.74 ค่าอ านาจจ าแนก(B) ตั้งแต่ 0.25 – 0.45 และ

    มีค่าความเท่ียงเท่ากบั 0.93 ชุดท่ี 2 วดัความสามารถดา้นการจ าแนก มีค่าความยากง่าย ตั้งแต่ 0.52 - 0.71

    ค่าอ านาจจ าแนก(B) ตั้งแต่ 0.24 – 0.68 และมีค่าความเท่ียงเท่ากบั 0.86 ชุดท่ี 3 วดัความสามารถดา้นการ

    เปรียบเทียบ มีค่าความยากง่าย ตั้งแต่ 0.51 – 0.71 ค่าอ านาจจ าแนก(B) ตั้งแต่ 0.24 - 0.63 และมีค่าความเท่ียง

    เท่ากบั 0.77 วเิคราะห์ขอ้มูลโดยใชก้ารทดสอบ ไค-สแควร์ และการทดสอบอนัดบัท่ีมีเคร่ืองหมายก ากบัของ

    วลิคอกสนั

    ผลวจิยัพบวา่

    1. เด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการมีความสามารถดา้นการสงัเกต

    การจ าแนก และการเปรียบเทียบผา่นเกณฑร้์อยละ 75 ของคะแนนเตม็อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

    2. เด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการมีความสามารถดา้นการสังเกต

    การจ าแนก และการเปรียบเทียบหลงัเรียนสูงกวา่ก่อนเรียนอยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

  • Abstract Title The Effects of Project Approach on Observation, Classfication and Comparison of Preschool Children Author Mrs. Yupa Siriruk Advisor Lecturer Dr. Bantita Insombat Program Curriculum and Instruction Academic Year 2015 The purposes of this research were 1) to compare the number of preschool children being learned by the project approach who obtained 75 percent of total scores with 75 percent criterion, and 2) to compare observation, classification and comparison of preschool children being learned by the project approach after and before learning. The samples of this study were 13 second year kindergarten students in the second semester, academic year 2014, Ban Tawaritpantuek School under the Office of Nakron Sawan Primary Educational Service Area 3 selected by cluster random sampling. The research instruments used were 1) the project based on learning lesson plans, 2) the test on observation with 15 items, 3 multiple choices, with degree of difficulty from 0.55 to 0.74, the discrimination power from 0.25 to 0.45, and reliability coefficient of 0.93; the test on classification with 15 items, 3 multiple choices, with degree of difficulty from 0.52 to 0.71, the discrimination power from 0.24 to 0.68, and reliability coefficient of 0.86; and the test on comparison with 15 items, 3 multiple choices, with degree of difficulty from 0.51 to 0.71, the discrimination power from 0.24 to 0.63, and reliability coefficient of 0.77. The research findings were as follows: 1. The preschool children being learned by the project approach learning had observation, classification and comparison passing the criterion score of 75 percents of total scores at the .05 level of significance. 2. The preschool children being learned by the project approach learning had observation, classification and comparison with a higher score in the posttest than that in the pretest at the .05 level of significance

  • กติติกรรมประกาศ

    วทิยานิพนธ์เล่มน้ีส าเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี ทั้งน้ีเพราะไดรั้บความกรุณาและเอาใจใส่อยา่ง

    ดียิง่จากท่านอาจารย ์ดร. บณัฑิตา อินสมบติั อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ ซ่ึงท่านคอยให้

    ค าปรึกษา แนะน า และเสียสละเวลาในการตรวจทานแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ ในการท าวทิยานิพนธ์

    ดว้ยความเอาใจใส่อยา่งดียิง่ ผูว้จิยัขอขอบพระคุณเป็นอยา่งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี พร้อมทั้งขอขอบคุณ

    คณะกรรมการสอบวทิยานิพนธ์ทุกท่าน ท่ีใหค้ าแนะน าและขอ้เสนอแนะในการท าวทิยานิพนธ์

    ขอขอบคุณอาจารยทุ์กท่านท่ีใหค้วามรู้จนผูว้จิยัสามารถน าความรู้มาใชป้ระโยชน์ในการท าวจิยัเล่ม

    น้ี และขอขอบคุณส านกังานบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค ์ท่ีใหค้วามช่วยเหลือ

    ในการท าวจิยัเล่มน้ี

    พร้อมทั้งขอขอบคุณผูเ้ช่ียวชาญ คือ ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.วไลพร เมฆไตรรัตน์ คุณครู

    อ านวย สิงหะนดั และคุณครูธิภาภรณ์ บางหลวง เสียสละใหค้วามช่วยเหลือแนะน าในการท า

    เคร่ืองมือการวจิยั ขอขอบคุณท่านผูอ้ านวยการโรงเรียนบา้นเทวฤทธ์ิพนัลึก (ศรีอุบลอุปถมัภ)์ พร้อม

    ทั้งคณะครูท่ีใหค้วามร่วมมือสนบัสนุนในการท าวจิยัคร้ังน้ี จนส าเร็จลุล่วงไปดว้ยดี

    ทา้ยน้ีผูว้จิยัขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาท่ีท่านอบรมสั่งสอนใหเ้ป็นคนดีมีความ

    มานะพยายาม ใหก้ารศึกษาและความรู้ต่าง ๆ แก่ผูว้จิยั ขอขอบคุณญาติพี่นอ้งทุกคนท่ีคอยให้

    ก าลงัใจมาตลอด

  • สารบัญ

    บทที่ หน้า

    บทคดัยอ่ภาษาไทย.......................................................................................................... (1) บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ..................................................................................................... (2)

    กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... (3)

    สารบญั............................................................................................................................ (4)

    สารบญัตาราง.................................................................................................................. (8)

    สารบญัภาพ..................................................................................................................... (9)

    1 บทน า........................................................................................................................... 1

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา................................................................... 1

    วตัถุประสงคข์องการวจิยั........................................................................................ 4

    ขอบเขตการวจิยั....................................................................................................... 4

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ...................................................................................................... 5

    ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ...................................................................................... 6

    2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง.................................................................................... 7

    การจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั................................................................... 8 การจดัประสบการณ์แบบโครงการ......................................................................... 21

    ความสามารถดา้นการสังเกต จ าแนก และเปรียบเทียบ.......................................... 39 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง................................................................................................... 49

    งานวจิยัในประเทศ......................................................................................... 49

    งานวจิยัต่างประเทศ........................................................................................ 52

    กรอบแนวคิดการวจิยั................................................................................................ 53

    สมมติฐานการวิจยั..................................................................................................... 55

  • สารบัญ (ต่อ)

    บทที่ หน้า

    3 วธีิด าเนินการวจิยั....................................................................................................... 56

    ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง....................................................................................... 56

    เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั........................................................................................... 57

    การเก็บรวบรวมขอ้มูล.............................................................................................. 65

    การวเิคราะห์ขอ้มูล.................................................................................................... 66

    สถิติท่ีใชใ้นการวจิยั.................................................................................................. 68

    4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล.................................................................................................. 71

    5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ............................................................................. 74

    สรุปผลการวจิยั......................................................................................................... 77

    อภิปรายผล............................................................................................................... 78

    ขอ้เสนอแนะ............................................................................................................. 82

    บรรณานุกรม................................................................................................................... 83

    ภาคผนวก........................................................................................................................ 89

    ภาคผนวก ก รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญตรวจเคร่ืองมือวจิยั................................................. 91

    หนงัสือขอความอนุเคราะห์ในการตรวจเคร่ืองมือวจิยั...................... 92

    ภาคผนวก ข แบบประเมินคุณภาพแผนการจดัการเรียนรู้...................................... 97

    ผลการประเมินคุณภาพของแผนการจดัการเรียนรู้............................ 102

  • สารบัญ (ต่อ)

    บทที่ หน้า

    ภาคผนวก (ต่อ)

    ภาคผนวก ค แบบประเมินความตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบวดัความสามารถ

    ดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบ........................... 104

    ผลการหาค่าดชันีความสอดคลอ้งระหวา่งจุดประสงคก์บัขอ้สอบ.... 121 ผลการหาค่าความยากง่าย และ ค่าอ านาจจ าแนกของขอ้สอบ........... 130 ผลการหาคา่ความเท่ียงของแบบทดสอบวดัความสามารถ

    ดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบ........................... 139 ภาคผนวก ง ผลการศึกษาจ านวนนกัเรียนปฐมวยั ท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์ การเรียนรู้แบบโครงการ ท่ีมีความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก

    และ การเปรียบเทียบ ผา่นเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเตม็........... 146

    ผลการเปรียบเทียบความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบ ของเด็กปฐมวยั ก่อนและหลงัการจดัประสบการณ์ การเรียนรู้แบบโครงการ................................................................... 148 ภาคผนวก จ แบบทดสอบวดัความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการ เปรียบเทียบ ของเด็กปฐมวยั............................................................... 155

    ภาคผนวก ฉ ตวัอยา่งแผนการจดัการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ... 207

    ภาคผนวก ช ตวัอยา่งภาพกิจกรรม การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ….223

    ประวติัยอ่ผูว้จิยั........................................................................................................... ... 231

  • สารบัญตาราง

    ตารางที่ หน้า

    3.1 รายละเอียดของแผนการจดัประสบการณ์ รวม 20 ชัว่โมง....................................... 57

    3.2 การด าเนินการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ......................................... 58

    3.3 แบบแผนการทดลอง................................................................................................ 65

    4.1 จ านวนนกัเรียนท่ีมีคะแนนความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ

    การ เปรียบเทียบ ผา่นเกณฑร้์อยละ 75 ของคะแนนเตม็......................................... 70

    4.2 ผลการเปรียบเทียบผลความสามารถดา้นการสังเกตก่อนการจดัประสบการณ์การเรียนรู้

    และหลงัการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์

    การเรียนรู้แบบโครงการ ......................................................................................... 72

    4.3 ผลการเปรียบเทียบผลความสามารถดา้นการจ าแนกก่อนการจดัประสบการณ์การเรียนรู้

    และหลงัการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์

    การเรียนรู้แบบโครงการ ......................................................................................... 73

    4.4 ผลการเปรียบเทียบผลความสามารถดา้นการเปรียบเทียบก่อนการจดัประสบการณ์

    การเรียนรู้และหลงัการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บ

    การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ ............................................................ 73

  • สารบัญภาพ

    ภาพที ่ หน้า

    2.1 ตวัอยา่งแบบทดสอบทกัษะการสังเกต ....................................................................... 47

    2.2 ตวัอยา่งแบบทดสอบวดัความสามารถในการบอกความแตกต่างของส่ิงของ............. 48

    2.3 ตวัอยา่งแบบทดสอบวดัความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบ… 50

    2.4 กรอบแนวคิดการวจิยั.................................................................................................... 54

    3.1 ตวัอยา่งแบบทดสอบวดัความสามารถดา้นการสังเกต ................................................... 62

  • บทที ่ 1

    บทน า

    ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา การศึกษาปฐมวยัเป็นศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนมาแต่โบราณและมีการพฒันาข้ึนตามยคุตามสมยัและ

    ตามปรัชญา แนวคิด ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วฒันธรรมท่ีผา่นมาของแต่ละประเทศไดใ้ชเ้ป็นดชันีน้ีวดัดา้นการศึกษาวา่เป็นส่ิงท่ีแสดงถึงการพฒันาและความเจริญรุ่งเรือง ดงันั้นทุกประเทศทัว่โลกจึงมุ่งพฒันาการศึกษา เพราะการศึกษาคือเคร่ืองมือส าคญัในการพฒันาทรัพยากรของมนุษยโ์ดยเฉพาะในช่วงปฐมวยัซ่ึงเป็นรากฐานของการพฒันาทั้งปวงเป็นการพฒันาคุณภาพมนุษยท่ี์ย ัง่ยนืและป้องกนัปัญหาสังคมในระยะยาว (ส านกังานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550, น. 7) และหลกัการจดัการศึกษาปฐมวยัไดมุ้่งเนน้การพฒันาเด็กทุกคนทั้งดา้นร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม สติปัญญา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548, น. 3-21) การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั ถือไดว้า่เป็นวยัทองของการเรียนรู้ เพราะเป็นช่วงท่ีพฒันาการทุกดา้นเป็นไปอยา่งรวดเร็ว โดยเฉพาะ พฒันาการดา้นสติปัญญา ทั้งในดา้นการรับรู้ การเรียนรู้ และการแกปั้ญหา และจะเป็นลกัษณะเฉพาะตวั การพฒันาความพร้อมของเด็กปฐมวยัจึงควรพฒันาไปพร้อมกนัทุกดา้น เพราะพฒันาการของมนุษยมี์มิติสัมพนัธ์ระหวา่งกนัหลายดา้น ทั้งพฒันาการดา้นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ประสบการณ์ส าคญัเป็นส่ิงส าคญัอยา่งหน่ึงท่ีจะช่วยส่งเสริมพฒันาการของเด็กและสนบัสนุนใหเ้ด็กไดมี้ประสบการณ์ดว้ยการใชป้ระสาทสัมผสัทั้งหา้ และการปฏิสัมพนัธ์กบัผูค้นและส่ิงต่าง ๆ รอบตวั ดงันั้น การฝึกทกัษะต่าง ๆ เพื่อใหเ้ด็กเกิดการเรียนรู้จากการส ารวจ ทดลอง และลงมือกระท าจริง จ าเป็นตอ้งมีการจดัประสบการณ์ส าคญัแบบองคร์วม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546, น. 16)

    ประสบการณ์ส าคญั เป็นส่ิงจ าเป็นอยา่งยิง่ท่ีจะตอ้งเกิดข้ึนในตวัเด็ก เพื่อพฒันาเด็กทั้ง ดา้นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะช่วงระยะปฐมวยัมีความส าคญัเป็นพิเศษ เน่ืองจากเป็นรากฐานของพฒันาการกา้วต่อไปของชีวติ บุคคลแต่ละคน ตลอดจนเป็นปัจจยัส าคญัท่ีก าหนดความสามารถ แรงจูงใจใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ดีและความกระตือรือร้นในการพฒันาตนเองของเด็ก ท่ีจะส่งผลต่อเน่ืองจากช่วงวยัเด็กไปสู่วยัรุ่นและวยัผูใ้หญ่ ประสบการณ์ส าคญัจะเก่ียวขอ้งกบัการจดัสภาพแวดลอ้มทุกดา้น ท่ีกระตุน้ใหเ้ด็กเกิดการเรียนรู้ และมีความสามารถในการสร้าง ความสัมพนัธ์กบัส่ิงต่าง ๆ รอบตวั ในวถีิชีวติของเด็กและในสังคมภายนอก อนัจะสั่งสมเป็นทกัษะพื้นฐานท่ีจ าเป็นต่อการเรียนรู้ และสามารถพฒันาต่อเน่ืองไปสู่ระดบัท่ีสูงข้ึน(กระทรวงศึกษาธิการ,

  • 2546, น. 16) ประสบการณ์ส าคญัท่ีควรส่งเสริมใหก้บัเด็กปฐมวยั เช่น การสังเกต การฟัง การคิด การแกปั้ญหาและภาษา เด็กควรมีโอกาสส ารวจ คน้ควา้ ทดลอง ทดสอบ ทดลองวตัถุส่ิงของท่ีเป็นของจริง ส่ิงของท่ีเลียนแบบของจริง ไดคิ้ดวางแผน คิดตดัสินใจ หรือคิดแกไ้ขปัญหาง่าย ๆ ดว้ยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546, น. 19)การให้เด็กไดรั้บรู้ เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวัดว้ยประสาทสัมผสัทั้งหา้ ผา่นการคิด การใชภ้าษา การสังเกต การจ าแนก และเปรียบเทียบ ถือเป็นประสบการณ์ส าคญัท่ีส่งเสริมพฒันาการทางดา้นสติปัญญา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546, น. 21)

    พฒันาการทางสติปัญญาของเด็กช่วงอายุระหวา่ง 2-6 ปี จะเจริญสูงสุดถึงขั้นการคิดเป็น ขั้นท่ีเด็กยงัไม่สามารถคิดหาเหตุผลแบบรูปธรรมได ้การคิดของเด็กจะแสดงออกโดยอาศยัการรับรู้ หากไม่ไดรั้บการเสริมสร้างประสบการณ์ท่ีจะช่วยกระตุน้ดา้นการคิดหาเหตุผลอยา่งเพียงพอ ดงันั้นแนวทางท่ีจะสร้างเสริมปัญญาใหก้บัเด็กปฐมวยั คือ จดัประสบการณ์ส าคญัท่ีเหมาะสม และครูตอ้งเตรียมความพร้อมใหเ้ด็กไดมี้ประสบการณ์ในการสัมผสั จดักระท า รู้จกัสังเกต เปรียบเทียบ จ าแนกส่ิงของ รวมของเป็นหมวดหมู่ รู้จดัคิดอยา่งมีเหตุผล (กฤษณา สังขว์ะระปรีชา, 2555, น. 1) การจดัประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้บัเด็กปฐมวยันั้นมีความส าคญั และจ าเป็นอยา่งยิง่ กิจกรรมท่ีจดัจะตอ้งเป็นกิจกรรมท่ีเด็กสนใจลงมือคน้ควา้ และกระท าดว้ยตนเอง จะท าใหเ้ด็กเกิดการเรียนรู้ไดเ้ร็วข้ึน (กุลยา ตนัติผลาชีวะ, 2551, น. 24-25) การจดัประสบการณ์ท่ีเปิดโอกาสใหเ้ด็กไดส้ังเกต จ าแนกและเปรียบเทียบ ทดลอง ลงมือปฏิบติัจริง เรียนรู้จากการสัมผสัส่ิงแวดลอ้มโดยตรง ดว้ยการใช้ประสาทสัมผสัทั้งหา้ ก่อใหเ้กิดพฒันาการดา้นสติปัญญา น าไปสู่การคิดเป็น ท าเป็น แกไ้ขปัญหาเป็น เป็นคนช่างสังเกต รู้จกัคิดอยา่งมีเหตุผล รู้จกัคน้ควา้หาความรู้ดว้ยตนเอง ซ่ึงจะช่วยในสามารถด ารงชีวิตอยูใ่นสังคมไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพและมีความสุข (กฤษณา สังขว์ะระปรีชา, 2555, น. 3)

    จากการประเมินพฒันาการของเด็กท่ีเรียนจบหลกัสูตรการศึกษาปฐมวยัของโรงเรียน บา้นเทวฤทธ์ิพนัลึก(ศรีอุบลอุปถมัภ)์ อ าเภอตากฟ้า สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 3 ในปีการศึกษา 2556 พบวา่ พฒันาการดา้นสติปัญญาของเด็ก ชั้นอนุบาลปีท่ี 2 เด็กมีพฒันาการต ่ากวา่ในดา้นอ่ืน ๆ โดยเฉพาะความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบ ซ่ึงสอดคลอ้งกบัขอ้มูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาของส านกังานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา 2555 ในระดบัการศึกษาปฐมวยั สาเหตุท่ีพบเกิดจากปัญหา ในการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ การจดักิจกรรมท่ีขาดประสบการณ์ส าคญัไม่การสนบัสนุนใหเ้ด็กไดรั้บรู้และเรียนรู้ธรรมชาติรอบตวัในชีวิตประจ าวนัผา่นประสาทสัมผสัทั้งหา้และการเคล่ือนไหว ไม่พฒันาการใชภ้าษาส่ือความหมายและความคิด รู้จกัสังเกตคุณลกัษณะต่าง ๆ ไม่วา่จะเป็นสี ขนาด รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผสั จดจ าช่ือเรียกต่าง ๆ รอบตวั ไม่มีการฝึกการใชอ้วยัวะรับสัมผสัต่าง ๆ ไดแ้ก่ ตา หู จมูก ล้ิน และผวิหนงัในการแยกแยะส่ิงท่ีรับรู้และ

  • เรียนรู้เก่ียวกบัความเหมือน ความแตกต่างและมิติสัมพนัธ์ และยงัจดักิจกรรมท่ีไม่ส่งเสริมใหเ้ด็กเกิดการเรียนรู้ดว้ยตนเอง ซ่ึงเหตุผลดงักล่าว ส่งผลใหผู้เ้รียนมีพฒันาการดา้นสติปัญญาต ่า โดยเฉพาะอยา่งยิง่ในเร่ืองความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบ แสดงให้เห็นวา่ การจดัประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กระดบัปฐมวยัในกลุ่มฟ้าบูรพา อ าเภอตากฟ้า ส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์ เขต 3 ควรไดรั้บการแกไ้ขและพฒันา

    การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ เป็นการสอนท่ีเนน้ผูเ้รียนเป็นศูนยก์ลาง ซ่ึงเกิดจากพื้นฐานปรัชญาพฒันานิยมท่ีเนน้ใหเ้ด็กเรียนรู้จากการกระท าและไดป้ระสบการณ์จริงเป็นการเรียนรู้อยา่งลุ่มลึกในเร่ืองท่ีเด็กสนใจ ดว้ยการสืบคน้หาค าตอบ โดยการลงมือปฏิบติัและหาประสบการณ์จากปรากฏการณ์จริงดว้ยตนเอง จากกิจกรรมสนทนาแลกเปล่ียนความในชั้นเรียนซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีเด็กใชต้ั้งแต่เร่ิมโครงการจนส้ินสุดโครงการ กิจกรรมทศันศึกษาเด็กไดส้ัมผสั รับรู้ สังเกตและมีปฏิสัมพนัธ์จากส่ิงท่ีปรากฏอยูจ่ริงดว้ยตนเอง กิจกรรมสืบคน้ เด็กท าการคน้ควา้เพื่อหาขอ้ความรู้ท่ีตอ้งการอาจมาจากหนงัสือ บุคคล สถานท่ี ดว้ยการอ่าน ถาม การสนทนาเพื่อใหเ้ด็กไดข้อ้มูลลุ่มลึกมาสนบัสนุนโครงการใหบ้รรลุเป้าหมาย, กิจกรรมน าเสนอผลงาน โดยการอธิบาย บรรยายหรือจดัแสดงใหเ้ห็นถึงความรู้ความเขา้ใจในส่ิงท่ีเด็กเรียนรู้จากโครงการ ซ่ึงกระบวนการน้ีช่วยใหเ้ด็กสามารถพฒันาความรู้ดา้นเหตุผล ทกัษะการสังเกต รวมทั้งวิธีการ เก็บรวบรวมขอ้มูลและการน าเสนอ (กุลยา ตนัติผลาชีวะ,2551, น. 95-105) ซ่ึงสอดคลอ้งกบั วฒันา มคัคสมนั (2554, น. 39) ท่ีกล่าววา่ การจดัประสบการณ์แบบโครงการเป็นการจดัประสบการณ์ท่ีเปิดโอกาสใหเ้ด็กไดศึ้กษาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงอยา่งลุ่มลึกโดยเร่ืองท่ีเรียนมาจาก ความสนใจของเด็ก การจดักิจกรรมมุ่งให้เด็กมีประสบการณ์ตรงกบัเร่ืองท่ีศึกษานั้น โดยเปิดโอกาสใหเ้ด็กสังเกตอยา่งใกลชิ้ดจากแหล่งเรียนรู้เบ้ืองตน้อาจใชร้ะยะเวลาท่ียาวนานอยา่งเพียงพอตามความสนใจของเด็กเพื่อใหเ้ด็กคน้พบค าตอบแลว้น าความรู้ท่ีไดม้าเสนอในรูปแบบต่างๆโดยน าเสนอความรู้ต่อเพื่อน คุณครู ผูป้กครอง และคนอ่ืนๆ ท าใหเ้กิดความภาคภูมิใจในความส าเร็จนั้น เน่ืองจากเด็กปฐมวยั เป็นวยัท่ีอยูใ่ช่วงการเติบโตควรไดรั้บการพฒันานาศกัยภาพ การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการเป็นกระบวนการจดัการเรียนรู้ท่ีเด็กจะไดเ้รียนรู้ในเร่ืองท่ีตนเองสนใจไดล้งมือปฏิบติั สืบคน้ แสวงหาความรู้ดว้ยตนเองในเร่ืองท่ีตนสนใจอยากรู้อยากเห็น และการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการเป็นการจดัการเรียนรู้ผา่นระบบการคิด และการปฏิบติัอยา่งมีระบบ ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมใหเ้ด็กมี มีความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทียบเพิ่มมากข้ึน

    จากเหตุผลดงักล่าว ท าใหผู้ว้ิจยัตอ้งการพฒันาการจดัการเรียนรู้ของเด็กปฐมวยัโดย การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ เม่ือน ามาใชจ้ดัประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้บัเด็กปฐมวยั

  • สามารถจะพฒันาความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบอยูใ่นระดบัดีมากได ้ดงันั้น ผูว้ิจยัจึงสนใจท่ีจะศึกษา ผลของการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการท่ีมีต่อความสามารถในดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบของเด็กปฐมวยั และผลการศึกษาคร้ังน้ี สามารถใหผู้ท่ี้เก่ียวขอ้งกบัเด็กปฐมวยัไดใ้ชเ้ป็นแนวทางในการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบซ่ึงเป็นประสบการณ์ส าคญัหน่ึง ของทกัษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ใหก้บัเด็กปฐมวยัต่อไป วตัถุประสงค์ของการวจัิย ในการวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคข์องการวิจยั ดงัน้ี

    1. เพื่อศึกษาจ านวนของเด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ มีคะแนนความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทียบผา่นเกณฑ์ร้อยละ 75 ของคะแนนเตม็

    2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบก่อน จดัประสบการณ์การเรียนรู้และหลงัจดัประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยัท่ีไดรั้บ การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ ขอบเขตการวจัิย

    การวจิยัคร้ังน้ี ผูว้จิยัก าหนดขอบเขตการวจิยัไวด้งัน้ี 1. ขอบเขตด้านเนือ้หา เน้ือหาท่ีใชใ้นการวจิยัคร้ังน้ี ไดแ้ก่ หน่วยส่ิงต่าง ๆรอบตวั ตามแผนการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ระดบัชั้นอนุบาลปีท่ี 2 โดยการจดัประสบการณ์แบบโครงการ (Project approach) ท่ีส่งเสริมความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทียบ ซ่ึงเป็นการเตรียมความพร้อมในการพฒันาทกัษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรท่ีใชใ้นการวิจยัคร้ังน้ี ไดแ้ก่ นกัเรียนระดบัชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ของกลุ่มโรงเรียนฟ้าอุดม สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์ เขต 3 กลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการวจิยัคร้ังน้ี คือนกัเรียนระดบัชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนบา้นเทวฤทธ์ิพนัลึก (ศรีอุบลอุปถมัภ)์ สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ี

  • การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์ เขต 3 จ านวน 13 คน ไดม้าจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยมีขั้นตอนการสุ่มตวัอยา่งดงัต่อไปน้ี 1) ส ารวจจ านวนนกัเรียนโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนฟ้าบูรพา ในปีการศึกษา 2557 พบวา่ มีจ านวน 5 โรงเรียน 5 หอ้งเรียน 2) จบัฉลากมา 1 โรงเรียนไดน้กัเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 2 โรงเรียนบา้นเทวฤทธ์ิพนัลึก (ศรีอุบลอุปถมัภ)์ จ านวน 13 คน เป็นกลุ่มตวัอยา่ง 3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตวัแปรในการวิจยัคร้ังน้ี มีดงัน้ี 1) ตวัแปรอิสระ ไดแ้ก่ การจดัประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ 2) ตวัแปรตาม 3 ตวัแปร ไดแ้ก่ 1) ความสามารถดา้นการสังเกต 2) ความสามารถดา้น การจ าแนก 3) ความสามารถดา้นการเปรียบเทียบ นิยามศัพท์เฉพาะ ในการวจิยัคร้ังน้ี ผูว้ิจยัไดก้ าหนดนิยามศพัทเ์ฉพาะดงัน้ี การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ หมายถึง การจดัประสบการณ์ในรูปแบบ การบูรณาการเน้ือหาการเรียนรู้อยา่งลุ่มลึก การเปิดโอกาสใหผู้เ้รียนไดศึ้กษาคน้ควา้ดว้ยตนเอง ร่วมกนัวางแผน ทดลอง คิดคน้ และปฏิบติัการหาค าตอบและแกปั้ญหาดว้ยตนเอง โดยครูคอยสนบัสนุนในดา้นกระบวนการจดัการเรียนรู้ อ านวยความสะดวก แนะน าใหค้ าปรึกษา ในการแกปั้ญหาอยา่งใกลชิ้ด ซ่ึงจะจดัในรูปแบบของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยมีขั้นตอน 3 ระยะดงัน้ี ระยะท่ี 1 ระยะเร่ิมตน้โครงการ คือ การสร้างความสนใจและสังเกตความสนใจของเด็ก และร่วมกนัก าหนดหวัขอ้โครงการ ระยะท่ี 2 ระยะพฒันาโครงการ คือ ก าหนดปัญหาท่ีจะศึกษา ตั้งสมมุติฐานเบ้ืองตน้ และทดสอบสมมุติฐานเบ้ืองตน้

    ระยะท่ี 3 ระยะสรุปผลโครงการ คือ การรวบรวมผลงาน วางแผนน าเสนอ ผลงาน การจดัเตรียมนิทรรศการ และการจดัแสดงนิทรรศการ

    ความสามารถด้านการสังเกต หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวยัท่ีสามารถรับรู้ และการมองเห็น ของส่ิงของสองส่ิง ในดา้นขนาดและรูปร่าง

  • ความสามารถด้านการจ าแนก หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวยัในการจดัแบ่งพวก เรียงล าดบัวตัถุ ส่ิงของท่ีมีอยูใ่หเ้ป็นหมวดหมู่ โดยมีเกณฑใ์นการจดัแบ่งเกณฑด์งักล่าวอาจจะใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพนัธ์

    ความสามารถด้านการเปรียบเทยีบ หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวยั ในการมองเห็นความแตกต่างของขนาด รูปร่าง จ านวนท่ีมากกวา่ เท่ากนั และนอ้ยกวา่ ของวตัถุและส่ิงต่างๆ

    ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    การวจิยัคร้ังน้ี ผูว้จิยัคาดวา่จะไดรั้บประโยชน์จากการวิจยั ดงัน้ี 1. ไดแ้ผนการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ ส าหรับใชจ้ดักิจกรรมการเรียน

    การสอนเด็กปฐมวยั 2. ไดพ้ฒันาความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทียบของเด็กปฐมวยั

    โดยการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ 3. เป็นแนวทางส าหรับครูและผูส้นใจในการน าวธีิการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบ

    โครงการมาประยกุตใ์ชใ้หเ้หมาะสม เพื่อส่งเสริมความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบของเด็กปฐมวยั รวมทั้งส่งเสริมทกัษะดา้นอ่ืน ๆ ต่อไป

  • บทที ่ 2

    เอกสารและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง

    การศึกษาผลการจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการท่ีมีต่อความสามารถดา้น การสังเกต การจ าแนกและการเปรียบเทียบของเด็กปฐมวยัในคร้ังน้ี ผูว้ิจยัไดศึ้กษา แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ดงัน้ี

    1. การจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั 1.1 ความหมายของการจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั 1.2 แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบัการจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั 1.3 การเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั 1.4 หลกัการจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั 1.5 ประสบการณ์ท่ีส าคญัท่ีส่งเสริมพฒันาการ 1.6 ประสบการณ์ส าคญัท่ีส่งเสริมพฒันาการทางสติปัญญา

    2. การจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.1 ความหมายการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.2 ลกัษณะของการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.3 ความส าคญัของการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.4 แนวคิดพื้นฐานและทฤษฎีเก่ียวกบัการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.5 หลกัการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.6 ขั้นตอนการจดัประสบการณ์แบบโครงการส าหรับเด็กปฐมวยั 2.7 กิจกรรมท่ีส าคญัในการจดัประสบการณ์แบบโครงการ 2.8 บทบาทของครูในการจดัประสบการณ์แบบโครงการส าหรับเด็กปฐมวยั

    3. ความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และการเปรียบเทียบ 3.1 ความสามารถดา้นการสังเกตส าหรับเด็กปฐมวยั 3.2 ความสามารถดา้นการจ าแนกส าหรับเด็กปฐมวยั 3.3 ความสามารถดา้นการเปรียบเทียบส าหรับเด็กปฐมวยั 3.4 แนวทางการวดัและประเมินผลความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ

    การเปรียบเทียบในระดบัปฐมวยั

  • 3.5 ตวัอยา่งแบบทดสอบวดัความสามารถดา้นการสังเกต การจ าแนก และ การเปรียบเทียบ

    4. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 5. กรอบแนวคิดการวจิยั 6. สมมติฐานการวิจยั

    การจัดประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั

    1. ความหมายของการจัดประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั นกัจิตวทิยา และนกัการศึกษาใหค้วามหมายของการจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั

    ดงัน้ี นนัทิยา นอ้ยจนัทร์ (2548, น. 126) กล่าววา่ การจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั

    หมายถึง การจดัเตรียมสภาพแวดลอ้ม การจดัวสัดุอุปกรณ์ ส่ิงจ าลองและส่ือต่างๆ ท่ีมีลกัษณะและคุณสมบติัเหมาะสมส าหรับการท ากิจกรรมตอบสนองต่อสถานการณ์นั้นๆ จะเกิดประสบการณ์ต่างๆตามวตัถุประสงคข์องผูจ้ดั

    วไลพร เมฆไตรรัตน์ (2549, น. 46) กล่าววา่ การจดัประสบการณ์ หมายถึง การจดักิจกรรมรวมทั้งส่ืออุปกรณ์ต่างๆใหเ้ด็กเรียนรู้ผา่นประสาทสัมผสัทั้ง 5 เพื่อพฒันาทางดา้นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา

    กุลยา ตนัติผลาชีวะ (2551, น. 47) กล่าววา่ การจดัการเรียนการสอนส าหรับเด็กปฐมวยัเป็นการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ซ่ึงหมายถึงกระบวนการท่ีจะท าใหเ้ด็กไดรั้บความรู้มีทกัษะปฏิบติัและเห็นส่ิงต่างๆ ท่ีครูตอ้งการให้รู้โดยสอดคลอ้งกบัลกัษณะความใคร่รู้ใคร่เรียนของเด็ก ซ่ึงลกัษณะของประสบการณ์การเรียนรู้มีลกัษณะเฉพาะท่ีส าคญัดงัน้ี

    1. เด็กตอ้งไดส้ัมผสัจบัตอ้งโดยตรงดว้ยตนเอง ไม่จะเป็นประสบการณ์ในชั้นเรียน หรือนอกชั้นเรียน เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม

    2. เด็กเป็นผูริ้เร่ิม เป็นผูเ้ลือกส่ิงท่ีตนเองตอ้งการเรียนรู้ดว้ยตนเอง 3. เน้ือหาหรือสาระท่ีเรียนรู้มีความหมาย กล่าวคือเหมาะกบัอายขุองเด็ก 4. ประสบการณ์การเรียนรู้มีความต่อเน่ือง 5. สนบัสนุนใหโ้อการสในการใชภ้าษา การมีปฏิสัมพนัธ์ดว้ยการส่ือสาร 6. สร้างเสริมประสบการณ์ปฏิสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นเพื่อการแลกเปล่ียนประสบการณ์ และ

    การสร้างเสริมกิจกรรมทางสังคม

  • 7. มีการสรุปแนวคิดและความรู้จากกิจกรรม มีการสะทอ้นการเรียนอยา่งมีระเบียบวธีิ และมีการน าเสนอร่วมดว้ย

    สรุปไดว้า่การจดัประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวยั หมายถึง การจดัเตรียมกิจกรรม สภาพแวดลอ้มทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน รวมทั้งการการจดัหาส่ือวสัดุอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีเหมาะสม ใหเ้ด็กไดล้งมือปฏิบติัดว้ยตนเองผา่นประสาททั้ง 5 ในการสืบคน้โดยตรง รวมทั้งส่งเสริมใหเ้ด็กมีปฏิสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นเพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ ซ่ึงจะท าใหเ้ด็กเกิดพฒันาการดา้นร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจนบรรลุวตัถุประสงคท่ี์ก าหนด

    2. แนวคิดทฤษฎเีกีย่วกบัการจัดประสบการณ์ส าหรับเด็กปฐมวัย ผูว้จิยัไดศึ้กษาเอกสารเก่ียวขอ้งกบัทฤษฎีการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ส าหรับเด็กปฐมวยั ดงัน้ี

    2.1 ทฤษฎีทีเ่กี่ยวข้องกบัพฒันาการและการเรียนรู้ ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันาการเรียนรู้ ประกอบดว้ยทฤษฎีต่าง ๆ ดงัน้ี

    2.1.1 ทฤษฎพีฒันาการทางสติปัญญาของ Piaget สิริมา ภิญโญอนนัตพงษ ์ (2553, น. 43-46) กล่าววา่ ทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญา

    ของ Piaget เก่ียวขอ้งกบัพฒันาการ และการเรียนรู้ กล่าวคือ มนุษยมี์ความสามารถในการสร้างความรู้ผา่นการปรับตวัใหเ้ขา้กบัส่ิงแวดลอ้ม ซ่ึงปรากฏอยูใ่นเด็กตั้งแต่แรกเกิดโดยมีการปฏิสัมพนัธ์ โดยตรงกบัส่ิงแวดลอ้มใน 2 ลกัษณะ คือเด็กพยายามปรับตวัใหเ้ขา้กบัส่ิงแวดลอ้ม โดยซึมซบัประสบการณ์ (Assimilation) และปรับโครงสร้างสติปัญญา (Accommodation) ตาม สภาพแวดลอ้มเพื่อใหเ้กิดความสมดุลในโครงสร้าง นอกจากน้ี Piaget เนน้เร่ืองการเรียนรู้จะเกิดข้ึนได ้ เม่ือเด็กมีปฏิสัมพนัธ์กบัเพื่อน และผูใ้หญ่ในการเขา้สังคมนั้น ๆ อิทธิพลของทฤษฎีน้ีมีบทบาทในการจดัแนวประสบการณ์ในระดบัปฐมวยั คือ ใหเ้ด็กเรียนรู้ โดยให้โอกาสเด็กใน การเล่น ส ารวจ ทดลอง มีโอกาสเลือกตดัสินใจและแกปั้ญหาต่าง ๆ ดว้ยตนเอง ความสามารถ ทางสติปัญญาของมนุษยใ์นการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Piaget ในระดบัอนุบาลมี 2 ขั้น ดงัน้ี ขั้นท่ี 1 ขั้นประสาทสัมผสัและการเคล่ือนไหว (Sensorimotor) อาย ุ0-2 ปี เด็กเรียนรู้โดยใชป้ระสาทสัมผสั เช่น ปาก หู ตา ส่ิงแวดลอ้มรอบตวั ขั้นท่ี 2 ขั้นความคิดก่อนเกิดปฏิบติัการ (Intuitive or preoperational) อายุ 2-6 ปี เด็กเรียนรู้ภาษาพดู สัญลกัษณ์ เคร่ืองหมาย ท่าทางในการส่ือความหมาย รู้จกัส่ิงท่ีเป็นตวัแทน (Representation) โครงสร้างสติปัญญาแบบง่าย ๆ สามารถหาเหตุผลอา้งองได ้ มีความเช่ือในความคิดของตนอยา่งมาก ยดึตวัเองเป็นศูนยก์ลาง (Egocentric) เลียนแบบพฤติกรรมของผูใ้หญ่

  • วฒันา มคัคสมนั (2554, น. 35) กล่าวถึง ทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญาของ Piaget วา่ เด็กเกิดการเรียนรู้จากกระบวนการใหญ่ภายในตวัเด็ก 2 กระบวนการ คือ การจดัโครงสร้างทางความคิดภายใน (Organization) และการปรับตวัให้เขา้กบัสภาพแวดลอ้ม (Cdaptation) ซ่ึงการปรับตวัประกอบดว้ย 2 กระบวนการ คือ การดูดซึม และการปรับเปล่ียน การท่ีเด็กมีปฏิสัมพนัธ์ใด ๆ ในเบ้ืองตน้ เด็กจะพยายามท าความเขา้ใจประสบการณ์ใหม่ดว้ยการใช้ความคิดเก่า หรือประสบการณ์เดิม ดว้ยกระบวนการดูดซึม แต่เม่ือปรากฏวา่ไม่สามารถท าความเขา้ใจไดส้ าเร็จ เด็กจะเปล่ียนความคิดเก่ียวกบัส่ิงต่าง ๆ เสียใหม่ดว้ยกระบวนการปรับเปล่ียน จนสามารถผสมผสานความคิดใหม่นั้นใหก้ลมกลืนเขา้กนัไดก้บัความคิดเก่า สภาพการณ์เช่นน้ีก่อใหเ้กิดความสมดุล (Equilibration) กระบวนการท่ีเด็กมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและท าใหเ้กิดสภาวะท่ีสมดุลน้ี จะน าไปสู่การพฒันาการทางสติปัญญาจากขั้นหน่ึงไปสู่อีกขั้นหน่ึง จนถึงขั้นสูงสุด คือ ขั้นใชส้ามารถทางสมองในการแกปั้ญหา (Operation)

    ทิศนา แขมมณี (2556, น. 64-66) ทฤษฎีการพฒันาทางสติปัญญาของ Piaget มีสาระสรุปไดด้งัน้ี (Lall and Lall, 1983, pp. 45-54)

    1) พฒันาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวยัต่าง ๆ เป็นล าดบัขั้นดงัน้ี 1.1) ขั้นรับรู้ดว้ยประสาทสัมผสั (Sensorimotor period) เป็นขั้นพฒันาการ

    ในช่วงอาย ุ 0-2 ปี ความคิดของเด็กวยัน้ีข้ึนกบัการรับรู้และการกระท า เด็กตวัเองเป็นศูนยก์ลาง และยงัไม่สามารถเขา้ใจความคิดเห็นของผูอ่ื้น

    1.2) ขั้นก่อนปฏิบติัการคิด (Preoperational period) เป็นขั้นพฒันาการในช่วง อาย ุ 2-7 ปี ความคิดของเด็กวยัน้ียงัข้ึนอยูก่บัการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ ยงัไม่สามารถท่ีจะใชเ้หตุผลอยา่งลึกซ้ึง แต่สามารถเรียนรู้และใชส้ัญญาลกัษณ์ได ้ การใชภ้าษาแบ่งเป็นขั้นยอ่ย ๆ 2 ขั้นคือ

    1.2.1) ขั้นก่อนเกิดความคิดรวบยอด (Pre-conceptual intellectual period) เป็นขั้นพฒันาการในช่วงอายุ 2-4 ปี 1.2.2) ขั้นการคิดดว้ยความเขา้ใจของตนเอง (Intuitive thinking period) เป็นพฒันาการในช่วงอาย ุ 4-7 ปี 1.3) ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (Concrete operational period) เป็นขั้นพฒันาการในช่วงอาย ุ 7-11 ปี เป็นขั้นท่ีการคิดของเด็กไม่ข้ึนกบัการรับรู้จากรูปร่างเท่านั้น เด็กสามารถสร้างภาพในใจ และสามารถคิดยอ้นกลบัได ้ และมีความเขา้ใจ เก่ียวกบัความสัมพนัธ์ของตวัเลย และส่ิงต่าง ๆ ไดม้ากข้ึน

  • 1.4) ขั้นการคิดแบบนามธรรม (Formal operational period) เป็นขั้นพฒันาการในช่วงอาย ุ 11-15 ปี เด็กสามารถคิดส่ิงท่ีเป็นนามธรรมได ้ และสามารถคิดตั้งสมมติฐานและใช้กระบวนการทางวทิยาศาสตร์ได ้ 2) ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผูใ้หญ่ 3) กระบวนการทางสติปัญญามีลกัษณะดงัน้ี 3.1) การซึมซบัหรือการดูดซึม เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เร่ืองราว และขอ้มูลต่าง ๆ เขา้มาเก็บสะสมไวเ้พื่อใชป้ระโยชน์ต่อไป 3.2) การปรับและจดัระบบ คือกระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ใหเ้ขา้กนัเป็นระบบ หรือเครือข่ายทางปัญญาท่ีตนสามารถเขา้ใจได ้ เกิดเป็นโครงสร้างทางปัญญาใหม่ข้ึน 3.3) การเกิดความสมดุล เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนจากขั้นของการปรับ หากการปรับเป็นไปอยา่งผสมผสานกลมกลืนก็จะก่อใหเ้กิดสภาพท่ีมีความสมดุลข้ึน หากบุคคลไม่สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เขา้กนัได ้ ก็จะเกิดภาวะความไม่สมดุลข้ึน ซ่ึงก่อใหเ้กิดความขดัแยง้ทางปัญญาข้ึนในตวับุคคล จากทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญาของ Piaget ดงักล่าวสรุปไดว้า่ มนุษยส์ามารถปรับตวั โดยมีกระบวนการซึมซบัประสบการณ์และการปรับโครงสร้างสติปัญญาซ่ึงเกิดข้ึนตั้งแต่แรกเกิด พฒันาการในระดบัอนุบาล เด็กจะเรียนรู้โดยการใชป้ระสาทสัมผสั ใชส้ัญญาลกัษณ์แทนวตัถุท่ีอยูร่อบ ๆ ตวั ไดมี้การพฒันาทางภาษาและยงัยดึตนเองเป็นศูนยก์ลาง 2.1.2 ทฤษฎกีารเรียนรู้ของ Maslow ทิศนา แขมมณี (2556, น. 69; อา้งอิงจาก Maslow, 1962) กล่าววา่ มนุษยมี์ความตอ้งการพื้นฐานตามธรรมชาติเป็นล าดบัขั้น คือ ขั้นความตอ้งการทางร่างกาย (Physical need) ขั้นความตอ้งการความมัน่คงปลอดภยั (Safety need) ขั้นความตอ้งการความรัก (Love need) ขั้นตอ้งการความตอ้งการยอมรับและการยกยอ่งจากสังคม (Esteem need) และขั้นความตอ้งการท่ีจะพฒันาศกัยภาพของตนอยา่งเตม็ท่ี (Self-actualization) หากความตอ้งการขั้นพื้นฐานไดรั้บการตอบสนองเพียงพอส าหรับตนในแต่ละขั้น มนุษยจ์ะสามารถพฒันาตนไปสู่ขั้นท่ีสูงข้ึน มนุษยมี์ความตอ้งการท่ีจะรู้จกัตนเองและพฒันาตนเอง ประสบการณ์ท่ีเรียกวา่ “Peak experience” เป็นประสบการณ์ของบุคคลท่ีอยูใ่นภาวะด่ืมด ่าจากการรู้จกัตนเองตรงตามสภาพความเป็นจริง มีลกัษณะน่าต่ืนเตน้ เป็นความรู้สึกปีติ เป็นช่วงเวลาท่ีบุคคลท่ีบุคคลเขา้ใจเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง

  • อยา่งถ่องแท ้ เป็นสภาพท่ีสมบูรณ์ มีลกัษณะผสมผสานกลมกลืน เป็นช่วงเวลาแห่งการรู้จกัตนเองอยา่งแทจ้ริง บุคคลท่ีมีสถานการณ์เช่นน้ีบ่อย ๆ จะสามารถพฒันาตนไปสู่ความเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ จากทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญาของ Maslow สรุปไดว้า่ความตอ้งการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษยถ์า้ไดรั้บการตอบสนองเพียงพอ มนุษยก์็จะรู้จกัตนเองตรงตามสภาพ ความเป็นจริงและพฒันาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ 2.1.3 ทฤษฎพีฒันาการทางสติปัญญาของ Rousseau ทิศนา แขมมณี (2556, น. 47; อา้งอิงจาก Rousseau) กล่าววา่ มนุษยเ์กิดมาพร้อมความดี และการกระท าใด ๆ เกิดจากแรงกระตุน้ภายในตวัมนุษยเ์อง (Good – active) ธรรมชาติ ของมนุษยมี์ความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้และพฒันาตนเองหากไดรั้บเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพฒันาตนเองไปตามธรรมชาติ เช่ือวา่เด็กไม่ใช่ผูใ้หญ่ตวัเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซ่ึงแตกต่างไปจากวยัอ่ืนการจดัการศึกษาใหเ้ด็กจึงควรพิจารณาระดบัอายเุป็นหลกั และเช่ือวา่ธรรมชาติคือแหล่งความรู้ท่ีส าคญั เด็กควรจะไดเ้รียนรู้ไปตามธรรมชาติคือ การเรียนรู้จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ จากผลของการกระท าของตน มิใช่การเรียนจากหนงัสือ หรือจากค าพดูบรรยาย จากทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญาของ Rousseau สรุปไดว้า่ เด็กจะมีความกระตือรือร้น พฒันาตนเองไดดี้ เม่ือเด็กไดก้ารเรียนรู้แหล่งเรียนรู้จากธรรมชาติดว้ยการลงมือท าในเร่ืองท่ีตนเองสนใจและเหมาะสมกบัวยั 2.1.4 ทฤษฎพีฒันาการทางสติปัญญาของ Bruner ทิศนา แขมมณี ( 2556, น. 66-67) เป็นนกัจิตวท�