Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

2
1 เพราะเหตุใดพ่อขุนพระรามคาแหง พระโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ จึงได้ชื่อว่า “รามคาแหง” 1. ....................................................................................................................................................... 2. ....................................................................................................................................................... 3. ....................................................................................................................................................... พ่อขุนรามคาแหง เป็นพระมหากษัตริย์เป็นลาดับที่ 3 แห่งกรุงสุโขทัย ให้นักเรียน นาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง นิกายเถรวาท ลายสือไทย ศิลาจารึก หลักที่ 1 จกอบ ชลประทาน วัฒนธรรม สรีดภงส์ พ่อปกครองลูก เมืองนครศรีธรรมราช แขนวกระดิ่ง พระแท่นมนังคศิลาบาตร พ่อขุนรามคาแหงทรงใช้รูปแบบการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก โดยทรงดูแลเอาใจใส่ทุกข์ สุข ของราษฎร ดุจดั่งพ่อดูแลลูก ทาให้เกิดความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ดังจะเห็น ได้ว่าทรง แขนวกระดิ่ง ไว้หน้าประตูวัง เพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์และไต่สวน ตัดสินคดีความด้วย ความยุติธรรม นอกจากนี้ยังทรงเป็นกษัตริย์นักรบที่ปรีชาสามารถ สามารถขยายพระราชอาณาเขตของสุโขทัย ออกไปอย่างกว้างขวาง ด้วยการทาสงคราม มีความมั่นคงเป็นปึกแผ่น พ่อขุนรามคาแหงทรงโปรดให้สร้าง สรีดภงส์ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนนาในฤดูแล้ง ปูองกันน้ท่วม และใช้ในการเกษตร นับเป็นภูมิปัญญาทางด้าน ชลประทาน ที่สาคัญของไทย ทรงใช้นโยบายที่เอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่การไม่เก็บภาษีที่เรียกว่า จกอบ กับราษฏรใน การค้า รวมทั้งทรงส่งเสริมการค้าอย่างเสรีในเมืองสุโขทัย ทาให้การค้าของสุโขทัยขยายตัวและ รุ่งเรือง พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นนักอักษรศาสตร์ โดยทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า ลายสือไทย ใน พ.ศ.1826 นับเป็นมรดกทางภูมิปัญญาที่มีคุณค่าทาง วัฒนธรรม ที่สาคัญของไทย โดยโปรดทรง บันทึกเรื่องราวของสุโขทัยใน ศิลาจารึกหลักที1 ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญของไทย ที่ทาให้คนไทยรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์สุโขทัยได้อย่างชัดเจน และยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น มรดกความทรงจาแห่งโลก โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESSCO) พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 8

Transcript of Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

Page 1: Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

1

เพราะเหตุใดพ่อขุนพระรามค าแหง พระโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ จึงได้ชื่อว่า “รามค าแหง”

1. ............................................................................................................................. .......................... 2. ............................................................................................................................. .......................... 3. ........................................................................................................ ...............................................

พ่อขุนรามค าแหง เป็นพระมหากษัตริย์เป็นล าดับที่ 3 แห่งกรุงสุโขทัย ให้นักเรียน น าค าที่ก าหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง

นิกายเถรวาท ลายสือไทย ศิลาจารึก หลักที่ 1 จกอบ ชลประทาน วัฒนธรรม สรีดภงส์ พ่อปกครองลูก เมืองนครศรีธรรมราช แขนวกระดิ่ง พระแท่นมนังคศิลาบาตร

พ่อขุนรามค าแหงทรงใช้รูปแบบการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก โดยทรงดูแลเอาใจใส่ทุกข์ สุขของราษฎร ดุจดั่งพ่อดูแลลูก ท าให้เกิดความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ดังจะเห็นได้ว่าทรง แขนวกระดิ่ง ไว้หน้าประตูวัง เพ่ือรับเรื่องราวร้องทุกข์และไต่สวน ตัดสินคดีความด้วยความยุติธรรม

นอกจากนี้ยังทรงเป็นกษัตริย์นักรบที่ปรีชาสามารถ สามารถขยายพระราชอาณาเขตของสุโขทัยออกไปอย่างกว้างขวาง ด้วยการท าสงคราม มีความม่ันคงเป็นปึกแผ่น

พ่อขุนรามค าแหงทรงโปรดให้สร้าง สรีดภงส์ เพ่ือแก้ปัญหาขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง ปูองกันน้ าท่วม และใช้ในการเกษตร นับเป็นภูมิปัญญาทางด้าน ชลประทาน ที่ส าคัญของไทย

ทรงใช้นโยบายที่เอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่การไม่เก็บภาษีท่ีเรียกว่า จกอบ กับราษฏรในการค้า รวมทั้งทรงส่งเสริมการค้าอย่างเสรีในเมืองสุโขทัย ท าให้การค้าของสุโขทัยขยายตัวและรุ่งเรือง

พ่อขุนรามค าแหงทรงเป็นนักอักษรศาสตร์ โดยทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า ลายสือไทย ใน พ.ศ.1826 นับเป็นมรดกทางภูมิปัญญาที่มีคุณค่าทาง วัฒนธรรม ที่ส าคัญของไทย โดยโปรดทรงบันทึกเรือ่งราวของสุโขทัยใน ศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ส าคัญของไทย ที่ท าให้คนไทยรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์สุโขทัยได้อย่างชัดเจน และยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจ าแห่งโลก โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESSCO)

พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย

พ่อขุนรามค าแหงมหาราช

8

Page 2: Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

2

ด้านการศาสนา ทรงส่งเสริมด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยรับพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท อย่างลังกาวงศ์มาจาก นครศรีธรรมราช มาเผยแพร่ยังสุโขทัย และดินแดนใกล้เคียง เช่น ล้านนา ล้านช้าง แพร่ และน่าน

ทรงเป็นนักนิติศาสตร์ โดยทรงโปรดให้ตรากฎหมายบังคับใช้ในสุโขทัย เพ่ือความสุขของราษฎร โปรดให้สร้าง พระแท่นมนังคศิลาบาตร ไว้กลางดงตาล ส าหรับเผยแพร่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และอบรมสั่งสอนประชาชนทุกวันพระ และใช้ประทับอบรมสั่งสอนราษฎรในวันธรรมดา

ทรงเป็นนักการทูต ที่สร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับดินแดนใกล้เคียง เช่น เชียงใหม่ มอญ ล้านช้าง และนครศรีธรรมราช ในรูปแบบต่างๆ เช่น ทางเครือญาติ ทางศาสนา ท าให้อาณาจักรสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง

1. ให้นักเรียน น าค าที่ก าหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง พระพุทธชินราช ทศพิธราชธรรม พระยาเลอไทย วัฒนธรรม พระพุทธศาสนา เทวาลัยมหาเกษตร ไตรภูมิพระร่วง พ่อขุนรามค าแหง

พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) เป็นพระราชโอรสของ พระยาเลอไทย เป็นพระนัดดาของพ่อขุนรามค าแหง ทรงมีความรู้ทางพระไตรปิฏกอย่างแตกฉาน ด้านการเมืองการปกครอง สมัยพระยาลิไท เป็นช่วงที่สุโขทัยขาดความเป็นปึกแผ่นมั่นคง ไม่เเหมือนสมัยพ่อขุนรามค าแหงมหาราช ดังนั้น เพ่ือสร้างอาณาจักรให้มีความเข้มแข็งมั่นคงเหมือนแต่ก่อน พระมหาธรรมราชาลิไท จึงทรงพยามฟ้ืนฟู ปรับปรุงอาณาจักรทุกด้าน โดยน าหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา มาเป็นเครื่องมือในการควบคุมดูแลราษฎรภายในอาณาจักร ได้แก่ ทศพิธราชธรรม ส าหรับให้ทรงยึดถือปฏิบัติปกครองราษฎรด้วยเมตตาธรรม

ด้านวัฒนธรรม ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ดังเห็นได้จากทรงออกผนวช เพ่ือศึกษาพระธรรม นอกจากนี้ยังทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเพ่ือให้เป็นที่สักการะของประชาชน ที่ส าคัญ เช่น พระพุทธชินสีห์ พระพุทธชินราช พระศรีศาสดา พระศรีศากยมุนี เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังส่งเสริมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ด้วย ดังเห็นได้จากให้สร้างเทวาลัยมหาเกษตร.ในปุามะม่วง ส าหรับประดิษฐานเทวรูปพระอิศวร พระนารายณ์ เพ่ือให้ประชาชนมากราบไหว้บูชา

ด้านวรรณกรรมส่งพระราชนิพนธ์หนังสือ ไตรภูมิพระร่วง หรือเตภูมิกถา โดยกล่าวถึงเรื่องบาปบุญคุณโทษ ส่งเสริมให้คนท าความดี ละเว้นความชั่ว

พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)