Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3...

12
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา 1632203 สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Information Resources in Science and Technology ๒. จานวนหน่วยกิต บรรยาย-ปฎิบัติ -ศึกษาด้วยตนเอง 3(3-0-6) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 เป็นวิชาเอกเลือก ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อ.สิรินาฏ วงศ์สว่างศิริ ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2 / ชั้นปีท่ 2 ตามแผนการศึกษาของหลักสูตรสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)

Transcript of Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3...

Page 1: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยัราชภัฏเพชรบุร ี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์และสงัคมศาสตร ์

หมวดท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป

๑. รหัสและชื่อรายวิชา

1632203 สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี

Information Resources in Science and Technology

๒. จ านวนหน่วยกิต

บรรยาย-ปฎิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง 3(3-0-6)

๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 เป็นวิชาเอกเลือก

๔. อาจารยผ์ู้รับผิดชอบรายวิชา

อ.สิรินาฏ วงศ์สว่างศิริ

๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีท่ีเรยีน

ภาคการศึกษาที่ 2 / ช้ันปีที่ 2

ตามแผนการศึกษาของหลักสูตรสารสนเทศศาสตรแ์ละบรรณารักษศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2554

๖. รายวิชาท่ีต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite)

ไม่มี

๗. รายวิชาท่ีต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)

Page 2: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

2

ไม่มี

๘. สถานท่ีเรียน

ห้อง 301 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

๙. วันท่ีจัดท าหรือปรบัปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลา่สุด

10 มกราคม 2558

หมวดท่ี ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการ ขอบเขต ลักษณะและประเภท ของทรัพยากรสารสนเทศสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 2. เพื่อให้นกัศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับสถาบันทีผ่ลิต เผยแพร่และให้บริการสารสนเทศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับบรกิารสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้

4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับการสืบค้นสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ได้ 5. เพื่อให้นกัศึกษาสามารถประเมินคุณค่าและใช้สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

1) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านวรรณกรรมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2) เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวรรณกรรมสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีในงานบริการห้องสมุด บริการตอบค าถามและช่วยการค้นคว้าได้

Page 3: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

3

หมวดท่ี ๓ ลักษณะและการด าเนินการ

๑. ค าอธิบายรายวิชา

ความหมาย ขอบเขต และประเภทของสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหลง่ผลิตและบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ การสบืค้นสารสนเทศจากสื่อสิ่งพิมพ์และสือ่อิเล็กทรอนกิส์ การประเมินคุณค่าและการใช้สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๒. จ านวนชั่วโมงท่ีใช้ต่อภาคการศึกษา 45 ช่ัวโมง

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ช่ัวโมง/ ภาคการศึกษา

ตามความต้องการของนักศึกษา

- ช่ัวโมง/ ภาคการศึกษา

75 ช่ัวโมง/ ภาคการศึกษา

๓. จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ท่ีอาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์

อาจารย์ประจ าวิชาประกาศเวลาให้ค าปรึกษาผ่านเว็บไซต์โปรแกรมวิชา

หมวดท่ี ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จรยิธรรมท่ีต้องพัฒนา 1) ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจในคุณธรรม จรยิธรรมต่อการด ารงตนและการปฏิบัติงาน 2) มีความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่ต่องานในหน้าที่ 3) มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีจิตสาธารณะ 4) แสดงความเสียสละ และซื่อสัตย์ สุจริต 5) เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

Page 4: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

4

1.2 วิธีการสอนท่ีจะใช้พัฒนาการเรียนรู้ 1) สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และปลกูฝงัจรรยาบรรณ วิชาชีพ

1.3 วิธีการประเมินผล 1) การให้คะแนนการเข้าช้ันเรียน การตรงตอ่เวลาในการนัดหมายและส่งงาน 2) ประเมินพฤติกรรมในการท ากิจกรรมต่างๆ 3) สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบงัคับอย่างต่อเนื่อง 2. ความรู ้

2.1 ความรู้ท่ีจะได้รับ 1) มีความรู้ และความเข้าใจหลักการและทฤษฏี 2) รู้ความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ 3) มีทักษะตามหลักการ และทฤษฎีที่ส าคัญตามที่ได้ศึกษา

4) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และสามารถสร้างสรรค์บรูณา การความรู้ในเนื้อหาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ทีเ่กี่ยวข้องได ้2.2 วิธีการสอน 1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2) มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพิ่มเติม และการน าเสนอผลการศึกษา 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 4) การจัดกิจกรรมโครงการฝึกทักษะวิชาชีพ

2.3 วิธีการประเมิน 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี ส าหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ 2) การทดสอบย่อย 3) ประเมินจากงานที่มอบหมาย 4) ประเมินจากความสนใจและรายงานผลการศึกษาดูงาน 5) ประเมินจากกิจกรรมโครงการฝึกทักษะวิชาชีพ และการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง 6) ประเมินผลจากผลการฝึกประสบการณ์จากสถานศึกษา สถานประกอบการ หรือ สหกิจศึกษา 3. ทักษะทางปญัญา 3.1 ทักษะทางปัญญาท่ีต้องพัฒนา

1) สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ 2) สามารถคิด วิเคราะห์เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ต่างๆ ได้ 3) สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพ และชีวิตประจ าวันได้อย่างเหมาะสม

Page 5: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

5

3.2 วิธีการสอน 1) ส่งเสริมการเรียนรู้โดยการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนจากการฝึกปฏิบัติจริง 2) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ 3) การศึกษาค้นคว้าและการรายงาน 4) การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบโดยใช้หลักการวิจัย

3.3 วิธีการประเมินผลทักษะทางปญัญาของนักศึกษา 1) ประเมินจากการรายงานผลการด าเนินงานและการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากการฝึกปฏิบัติจริง 2) ประเมินจากผลงานที่ได้จากการฝึกภาคปฏิบัต ิ 3) ประเมินจากทักษะการศึกษาค้นคว้า ผลงาน และการรายงาน

4) ประเมินจากกระบวนการและผลการวิจัย

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1) สามารถปรับตัวและท างานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน และชุมชนได ้ 2) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน และบุคคลทั่วไป 3) สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะในการแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพ และชีวิตประจ าวันได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถสื่อสาร และถ่ายทอดความคิด ความรู้ระหว่างบุคคลได ้ 4.2 วิธีการสอน 1) ประเมินจากรายงานหน้าช้ันเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 2) ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้น าและผู้ตามทีด่ี 3) พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 4) สังเกตพฤติกรรมและติดตามการท างานร่วมกบัผู้อืน่ 5) ส่งเสริมให้นกัศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเหน็ในและนอกช้ันเรยีน 6) ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรบัความคิดเห็นของผู้อื่นด้วย เหตุผล 7) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟงัความคิดเหน็ของผู้อื่น 4.3 วิธีการประเมิน 1) ประเมินจากรายงานหน้าช้ันเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 2) ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 3) พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 4) สังเกตพฤติกรรมและติดตามการท างานร่วมกบัผู้อื่น

Page 6: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

6

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศท่ีต้องพัฒนา 1) สามารถน าความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และสถิตมิาใช้ในการประมวลผล การแปลความหมาย และ การวิเคราะห์ข้อมูลได ้

2) สามารถฟงั พูด อ่าน และเขียน เพื่อสื่อสารและน าเสนอผลงานกบับุคคลกลุม่ต่าง ๆ ได้ 3) สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษใช้งานได้อย่างเหมาะสม 4) มีความรูเ้กี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยกุต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ สืบค้นข้อมูล การจัดการข้อมูล และน าเสนอผลงานได ้

5.2 วิธีการสอน 1) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูล 2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษาน าเสนอ 3) การใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในการน าเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย

4) ให้ความส าคัญในการอ้างองิแหล่งที่มาของข้อมูล 5.3 วิธีการประเมิน

1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมกีารบันทึกเป็นระยะ

2) ประเมินจากผลงานและการน าเสนอผลงาน 3) ประเมินจากทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการน าเสนอผลงาน

หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ท่ี หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน* (ช่ัวโมง)

กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อท่ี

ใช้

ผู้สอน

1 - ปฐมนิเทศแนะน ารายวิชา แนวการสอน

- รวบรวมข้อมูลภูมิหลังของนักศึกษา

- ทดสอบก่อนเรียน(เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียน)

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

แนวการสอน

PPT

อ.สิรินาฏ

Page 7: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

7

2 ความหมาย ขอบเขต และความส าคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิวัฒนาการ และบุคคลส าคัญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

แนวการสอน

PPT

อ.สิรินาฏ

3 รูปแบบและลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มผู้ใช้สารสนเทศ

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

4 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: รายงานการประชุม วิทยานิพนธ์

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

5 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : วารสารวิชาการ

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

6 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : เอกสารหรือหนังสือวิชาการ สมุดประจ าห้องปฏิบัติการ

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

7 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: สิทธิบัตร เอกสารก่อนการจัดพิมพ์เผยแพร่ ทบทวนสัปดาห์ที่ 1-7

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

8 สอบกลางภาค

9 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: รายงานทางด้านเทคนิค สมพัตรสร

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

10 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: มาตรฐาน

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

Page 8: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

8

11 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: หนังสือรายปี บรรณานุกรม ข้อมูลชีวประวัติ

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

12 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: ปริทัศน์วรรณกรรม คู่มือแนะน าวรรณกรรม

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

13 ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

: ฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

14 สืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การประเมินสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

15 แหล่งผลิต เผยแพร่ และสถาบันบริการสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทบทวนสัปดาห์ที่ 10 - 15

3 บรรยาย แบบฝึกหัด

PPT

อ.สิรินาฏ

16 สอบปลายภาค

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู ้

ผลการเรียนรู*้ วิธีการประเมิน** สัปดาห์ท่ีประเมิน

สัดส่วนของการประเมิน

รู้และเข้าใจในทรัพยากรสารสนเทศทาง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้

ดูจากแบบฝึกหัด

สอบกลางภาค และปลายภาค

ทุกสัปดาห์

สอบกลางภาค

15%

30%

ตอบค าถามในเรื่องราวทรัพยากรสารสนเทศทาง

วิทยาศาสตร์และ

ดูจากแบบฝึกหัด

ทุกสัปดาห์

15%

Page 9: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

9

เทคโนโลยีได้ สอบปลายภาค

สอบปลายภาค 30%

ผลการเรียนรู ้ สิ่งที่ต้องการพัฒนา

(100%)

วิธีการสอน วิธีการประเมิน สัปดาห์ทีป่ระเมิน สัดส่วนของ

คะแนน

1. คุณธรรมจริยธรรม (10 %) 1..ตระหนักใน

คุณค่ารู้และเข้าใจ

ในคุณธรรม

จริยธรรมต่อการ

ด ารงตนและการ

ปฏิบัตงิาน

ความซื่อสัตย์

จรรยาบรรณวิชาชีพ

สอนโดยสอดแทรก

เรื่องคุณธรรม

จริยธรรม และปลูกฝัง

จรรยาบรรณ วิชาชีพ

สังเกตพฤติกรรม ทุกสปัดาห ์ 10%

2. ความรู ้( 30%) 1.มีความรู้ และ

ความเข้าใจ

หลักการและ

ทฤษฏี

ความรู้และความเข้าใจ

ในหลักการและทฤษฏี

ด้านกิจกรรมส่งเสริม

การอา่นและการเรียนรู้

1. ใช้การสอนหลาย

รูปแบบ โดยเน้นหลัก

ทางทฤษฎีและการ

ปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์

ความรู้

2. มอบหมายงาน

การศึกษาค้นคว้าด้วย

ตนเองเพิ่มเติม และ

การน าเสนอผล

การศึกษา

3. การจดักิจกรรมการ

เรียนการสอนที่เน้น

ผู้เรียนเป็นส าคัญ

4. . การจัดกจิกรรม

โครงการฝึกทักษะ

วิชาชีพ

1. แบบฝึกหัด

2. แบบทดสอบ

3. รายงาน

4. โครงการ

5. ข้อสอบกลางภาค

6. ข้อสอบปลายภาค

8 และ 17 30%

3. ทักษะทางปัญญา ( 30%) 3.1.สามารถ

ประยุกต์ความรู้

และทักษะในการ

แก้ไขปัญหาทาง

ทักษะในการจัด

กิจกรรมส่งเสริมการ

อ่านและการเรียนรู้

1. ส่งเสริมการเรียนรู้

โดยการแก้ไขปัญหาที่

เกิดข้ึนจากการฝึก

ปฏิบัตจิริง

1. แบบฝึกหัด

2. แบบทดสอบ

8 และ 16 30%

Page 10: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

10

หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรยีนการสอน

๑. ต าราและเอกสารหลัก

เอกสารประกอบการสอนวิชา 1632203 สารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Handout Power Point)

๒. เอกสารและข้อมลูส าคัญ

ชุติมา สัจจานันท์. (2530). สารนิเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี นนทบรุ:ี สาขาวิชาศิลป

วิชาชีพและ

ชีวิตประจ าวันได้

เหมาะสม

2. มอบหมายงานที่

ส่งเสริมการคิด

วิเคราะห์และ

สังเคราะห ์

3. การศกึษาค้นคว้า

และการรายงาน

3. รายงาน

4. โครงการ

5. ข้อสอบกลางภาค

6. ข้อสอบปลายภาค

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (15.%) 4.1.สามารถ

ปรับตัวและท างาน

ร่วมกับเพื่อนร่วมงาน

และชุมชนได้

การเข้าสังคมและความ

รับผิดชอบ

พิจารณาจากการเข้า

ร่วมกิจกรรมของ

นักศึกษา

1.สังเกตพฤติกรรมและ

ติดตามการท างาน

ร่วมกับผู้อื่น

ทุกสปัดาห ์ 15%

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (15.%)

มีความรู้เกี่ยวกับ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

และสามารถ

ประยุกต์ใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อการสืบค้นข้อมูล

การจัดการข้อมูล

และน าเสนอผลงาน

ได้

ความรู้เกี่ยวกับ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

และคอมพิวเตอร์

ให้ความส าคัญในการ

อ้างอิงแหล่งที่มาของ

ข้อมูล

มีการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอย่าง

เหมาะสม

ประเมินจากผลงาน

และการน าเสนอ

ผลงาน

ทุกสปัดาห ์ 15%

Page 11: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

11

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศิลปะศาสตร.์ (2539). เอกสารการสอนชุดวิชา

แหล่งสารนิเทศทางสังคมศาสตร์ มนษุยศาสตร์และวิทยาศาสตร.์ นนทบรุ:ี ผู้แต่ง.

ศูนย์เทคโนโลยอีิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แหง่ชาติ. (2521). บรรณารักษ์ ศูนยบ์ริการและ

การสืบค้นสารสนเทศในปี 2000. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

สุชาดา ชินะจิตร. (2535). การสบืค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร.์ กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

อารีย์ รังสโิยภาส. (2542). บรรณารักษศาสตร์และสังคมศาสตร์เบื้องต้น. สงขลา:

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.

เป็นต้น

หมวดท่ี ๗ การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

ใช้ Pre test และ Post test

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ใช้แบบประเมิน

๓. การปรับปรุงการสอน

ดูแบบประเมินแล้วปรับปรุงตามเหมาะสม เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม และเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา

ใช้ข้อมูลจากการรายงานผลวิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล

๕. การด าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

ปรับปรุงการเรียนการสอนโดยใช้ข้อมูลจากการรายงานผลวิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล

Page 12: Information Resources in Science and Technologyedu.pbru.ac.th/TQF/58/58202382-163220354.pdf · 3 หมวดที่ ลักษณะและการด าเนินการ

12

ส าหรับภาคการศึกษาในปีถัดไป