Gnr4 มนุษย์คุมกำเนิด...

10
GNR : Episode IV มนุษยคุมกําเนิด, หุนยนตสืบพันธุ ?!?! ในขณะที่นักประชากรศาสตรทั่วโลก กําลังพยายามควบคุมจํานวนประชากรโลกไมใหมีมาก จนเกินไป ดวยเกรงวาจะถึงจุดที่ประชากรมากลนจนทรัพยากรที่มีอยูจํากัดบนผืนพิภพจะไมเพียงพอใหบริโภคและ แบงปน นักวิทยาศาสตรอีกกลุมหนึ่งก็กําลังพยายามพัฒนาใหหุนยนตสามารถสืบถอดเผาพันธุของมันไดเองโดยไม จําเปนตองอาศัยการพัฒนาและออกแบบจากมนุษยอีกตอไป คําถามจึงมีอยูวา เราจะใชทฤษฎีวิวัฒนาการที่วา "สิ่งมีชีวิตที่ฉลาดกวา แข็งแกรงกวาเทานั้นที่จะดํารงชีวิตอยูได" มาใชคาดการณอนาคตของโลกไดหรือไม ?" และ "คน กับ หุนยนตคอมพิวเตอร ใครมีความฉลาดและความแข็งแกรงมากกวากัน ?" ตลอดจนกระทั่ง หลักการ พื้นฐานทางชีววิทยาที่เราร่ําเรียนกันมาแตชั้นมัธยมวา "การสืบพันธุ คือ ขอบงชี้ที่แยก สิ่งมีชีวิต ออกจาก สิ่งไมมีชีวิต" นั้นจะถึงเวลาที่ตองไดรับการวิเคราะหทบทวนใหมแลวหรือยัง ? จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ มันเปนที่รับรูกันมานานแลววา หุนยนต นั้น เปนประดิษฐกรรมของมนุษย เปนผลงานที่แสดงถึงความคิด สรางสรร และความวิริยะอุตสาหะของผูประดิษฐ โดยที่เรา อาจจะศึกษายอนประวัติของการประดิษฐหุนยนตกลับไปได นับเปนพันปจากประวัติศาสตรและตํานานที่ถูกเลาขานกันสืบ ตอกันมา ไมวาจะเปนเรื่องกองทัพหุนยนตในพงศาวดารสามกก หรือ มาไมเมืองทรอยแหงมหากาพยโอดิสซี อยางไรก็ตาม การ รับรูวาหุนยนตเปนผลงานของมนุษยอาจจะตองเปลี่ยนไปใน อนาคต หากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตรกลุมที่กําลัง พยายามพัฒนาใหหุนยนตมีการสืบพันธ (Mating robots) เพิ่ม ประชากรขึ้นไดดวยตัวของมันเองสามารถปรากฏขึ้นไดจริงๆ นิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือนกันยายนที่ผานมา ระบุวา ริชารด วัตสัน และเซ วาน ฟซิซี แหงมหาวิทยาลับแบรนเดสในรัฐแมสซาชูเซ็ททกําลังสรางผลงานที่พวกเขาเรียกวา "วิวัฒนาการแหงตัวตน (Embodied revolution)” โดยมีแนวคิดอยูที่การสรางชุมชนอิสระของหุนยนตขึ้นมาภายใตสภาพแวดลอมที่มี ลักษณะเฉพาะ แลวเฝารอใหบรรดาหุนยนตเหลานั้นมีการจับคู สืบพันธ และวิวัฒนาการไปดวยตัวของมันเอง (ผูสนใจในงานนี้อาจเขาไปเยี่ยมชมไดทางเว็บไซท http://demo.cs.brandeis.edu/pr/ee) ในการทดลองสรางวิวัฒนาการของหุนยนตที่วานีพวกเขาไดพัฒนาหุนยนตกระปองรูปแบบงายๆ ขึ้นมาเรียกวา "ทัปเปอรบ็อท" ซึ่งแตละตัวจะมีขนาดเล็กพอๆ กับจานที่เขี่ยบุหรี่ ภายในตัวถังพลาสติกจะประกอบไป ดวยอุปกรณตรวจจับสัญญาณแสงสองตัว, ไมโครโพรเซสเซอรควบคุมการทํางานหนึ่งตัว, มอเตอร และอุปกรณรับ/สง สัญญาณสื่อสารไรสาย สวนพลังงานไฟฟาที่ใชขับเคลื่อนประชากรหุนยนตเหลานี้ก็ไดมาจากพื้นหองที่ติดไวดวยแถบ ตัวนําไฟฟาแสตนเลส เพื่อนํากระแสไฟฟาเขาไปเลี้ยงหุนยนตผานฐานดานลางที่อยูระหวางลอ สิ่งที่ถือวาคอนขาง

Transcript of Gnr4 มนุษย์คุมกำเนิด...

GNR : Episode IV

มนุษยคุมกําเนิด, หุนยนตสืบพันธุ ?!?!

ในขณะท่ีนักประชากรศาสตรท่ัวโลก กําลังพยายามควบคุมจํานวนประชากรโลกไมใหมีมาก

จนเกินไป ดวยเกรงวาจะถึงจุดที่ประชากรมากลนจนทรัพยากรที่มีอยูจํากัดบนผืนพิภพจะไมเพียงพอใหบริโภคและ

แบงปน นักวิทยาศาสตรอีกกลุมหน่ึงก็กําลังพยายามพัฒนาใหหุนยนตสามารถสืบถอดเผาพันธุของมันไดเองโดยไม

จําเปนตองอาศัยการพัฒนาและออกแบบจากมนุษยอีกตอไป คําถามจึงมีอยูวา เราจะใชทฤษฎีวิวัฒนาการท่ีวา

"ส่ิงมีชีวิตที่ฉลาดกวา แข็งแกรงกวาเทาน้ันท่ีจะดํารงชีวิตอยูได" มาใชคาดการณอนาคตของโลกไดหรือไม ?" และ

"คน กับ หุนยนตคอมพิวเตอร ใครมีความฉลาดและความแข็งแกรงมากกวากัน ?" ตลอดจนกระท่ัง หลักการ

พ้ืนฐานทางชีววิทยาท่ีเรารํ่าเรียนกันมาแตช้ันมัธยมวา "การสืบพันธุ คือ ขอบงชี้ท่ีแยก สิ่งมีชีวิต ออกจาก

ส่ิงไมมีชีวิต" น้ันจะถึงเวลาที่ตองไดรับการวิเคราะหทบทวนใหมแลวหรือยัง ?

จุดเปล่ียนแหงศตวรรษ

มันเปนที่รับรูกันมานานแลววา หุนยนต นั้น

เปนประดิษฐกรรมของมนุษย เปนผลงานที่แสดงถึงความคิด

สรางสรร และความวิริยะอุตสาหะของผูประดิษฐ โดยที่เรา

อาจจะศึกษายอนประวัติของการประดิษฐหุนยนตกลับไปได

นับเปนพันปจากประวัติศาสตรและตํานานที่ถูกเลาขานกันสืบ

ตอกันมา ไมวาจะเปนเร่ืองกองทัพหุนยนตในพงศาวดารสามกก

หรือ มาไมเมืองทรอยแหงมหากาพยโอดิสซี อยางไรก็ตาม การ

รับรูวาหุนยนตเปนผลงานของมนุษยอาจจะตองเปลี่ยนไปใน

อนาคต หากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตรกลุมที่กําลัง

พยายามพัฒนาใหหุนยนตมีการสืบพันธ (Mating robots) เพิ่ม

ประชากรขึ้นไดดวยตัวของมันเองสามารถปรากฏข้ึนไดจริงๆ

นิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือนกันยายนที่ผานมา ระบุวา ริชารด วัตสัน และเซ

วาน ฟซิซี แหงมหาวิทยาลับแบรนเดสในรัฐแมสซาชูเซ็ททกําลังสรางผลงานที่พวกเขาเรียกวา "วิวัฒนาการแหงตัวตน

(Embodied revolution)” โดยมีแนวคิดอยูที่การสรางชุมชนอิสระของหุนยนตข้ึนมาภายใตสภาพแวดลอมที่มี

ลักษณะเฉพาะ แลวเฝารอใหบรรดาหุนยนตเหลาน้ันมีการจับคู สืบพันธ และวิวัฒนาการไปดวยตัวของมันเอง

(ผูสนใจในงานน้ีอาจเขาไปเย่ียมชมไดทางเว็บไซท http://demo.cs.brandeis.edu/pr/ee)

ในการทดลองสรางวิวัฒนาการของหุนยนตที่วาน้ี พวกเขาไดพัฒนาหุนยนตกระปองรูปแบบงายๆ

ข้ึนมาเรียกวา "ทัปเปอรบ็อท" ซึ่งแตละตัวจะมีขนาดเล็กพอๆ กับจานที่เขี่ยบุหร่ี ภายในตัวถังพลาสติกจะประกอบไป

ดวยอุปกรณตรวจจับสัญญาณแสงสองตัว, ไมโครโพรเซสเซอรควบคุมการทํางานหนึ่งตัว, มอเตอร และอุปกรณรับ/สง

สัญญาณสื่อสารไรสาย สวนพลังงานไฟฟาที่ใชขับเคลื่อนประชากรหุนยนตเหลาน้ีก็ไดมาจากพ้ืนหองที่ติดไวดวยแถบ

ตัวนําไฟฟาแสตนเลส เพ่ือนํากระแสไฟฟาเขาไปเลี้ยงหุนยนตผานฐานดานลางที่อยูระหวางลอ สิ่งที่ถือวาคอนขาง

พิเศษในหุนยนตทัปเปอรบ็อตเหลาน้ี คือ แตละตัวจะไดรับการปอนขอมูลเฉพาะซ่ึงอาจจะเรียกวาเปน "สารพันธุกรรม

(Genetic Algorithm : GA)" ของพวกมันไว

หุนยนตกระปองทุกตัวของริชารดและเซวานมีหนาที่จะตองเคลื่อนที่เขาไปหาแสงไฟที่ติดตั้งไว

ก่ึงกลางหอง และดวยโปรแกรมที่กําหนดใหทุกตัวเคลื่อนเขาแสง ทําใหบรรดาหุนยนตพากันไปคราคร่ําอยูที่บริเวณแสง

ไฟ เม่ือหุนยนตสองตัวเคลื่อนเขามาใกลกันในระยะหางที่เหมาะสมก็จะมีการสงผานขอมูลสารพันธุกรรม (GA) ไปมา

ระหวางกันผานอุปกรณสื่อสารไรสาย (ถามองแบบสิ่งมีชีวิต ก็ตองบอกวาหุนยนตสองตัวน้ีกําลังผสมพันธุกันอยู) ผล

จากการแลกเปลี่ยนโปรแกรมพันธุกรรมในแบบที่วาน้ี สงผลใหหุนยนตทดลองเริ่มมีขอมูลภายในโปรแกรม

เปลี่ยนแปลงไปจากที่ผูทดลองไดเขียนใหไวแตแรก ซ่ึงอาจจะเรียกวามีการกลายพันธุ (Mutation) ก็คงได แตที่

นาสนใจยิ่งไปกวาน้ันก็คือ ปรากฏวาหลังจากเกิดการกลายพันธุไปแลว หุนยนตกระปองพวกน้ีกลับมีความสามารถใน

การเคลื่อนที่เขาหาแสงไดดีข้ึน และนั่นเองคือขอสรุปที่นักทดลองกลุมนี้บอกวาหุนยนตของเขามีวิวัฒนาการ (วิวัฒ =

พัฒนาใหดีข้ึน)

นอก

จากจะมีงานหุนยนต

กลายพันธุของริชารด

และเซวานใหดูแลว

มหาวิทยาลัยแบรนเด

สยังมีงานทดลอง

ลักษณะคลายๆ กัน

ของ ฮ็อด ลิปสัน

(www.demo.cs.bra

ndeis.edu/golem/)

ซ่ึงไปไกลถึงขนาดที่วางแผนจะทําใหหุนยนตมีการปรับปรุงรูปรางตนเองไดดวย โดยลิปสันและคณะจะสรางอัลกอริ

ทึ่มสําหรับวิวัฒนาการข้ึนมาบนเครื่องคอมพิวเตอรกอน ทําใหอัลกอริทึ่มที่วาน้ีสามารถสั่งงานใหเครื่องพิมพสามมิติ

แลวพิมพโครงสรางรางกายของหุนยนตขึ้นมาดวยพลาสติกไวตอความรอน (thermoplastic) ซ่ึงหากโครงการน้ีสําเร็จ

ทีมงานของลิปสันก็จะถายโอนอัลกอริทึ่มที่วาเขาไปอยูในตัวหุนยนต และจะสงผลใหหุนยนตสามารถสรางอวัยวะของ

ตนเอง สรางแขนสรางขาขึ้นมาได หรือในทายที่สุดก็อาจจะสรางลูกหลานหุนยนตรุนถัดไปข้ึนมาไดดวย

(สําหรับผูที่อยากจะเห็นวาโปรแกรมจําลองแบบการแลกเปลี่ยนพันธุกรรมที่อยูในรูปภาษาจาวานั้นมี

ลักษณะเชนไร ก็อาจจะแวะเวียนไปที่เว็บไซท www.demo.cs.brandeis.edu/~miguel/cgi-bin/Bots/ โดยบนเว็บ

ไซทเดโมของมหาวิทยาลัยแบรนเดสน้ียังมีบทคัดยอของงานทดลองเกี่ยวกับหุนยนตอยูอีกเปนจํานวนมาก เทาที่

ผูเขียนลองประมาณดูก็นาเกือบคร่ึงรอยการทดลองเลยทีเดียว)

ความคึกคักในแวดวงนักสรางหุนยนต

ปจจุบัน วงการวิทยาศาสตรดูเหมือนวาจะใหความสนใจในหุนยนตศาสตร (Robotics) มากเปน

พิเศษ เห็นไดจากการที่มีโครงการวิจัยดานน้ีอยูในบรรดามหาวิทยาลัย ในบริษัทผูผลิตคอมพิวเตอร และใน

บริษัทผูผลิตอุปกรณไฟฟาช้ันนําของโลกแทบทุกแหง (ลําพังที่ผูเขียนเคยเก็บมาเลาไวในนิตยสารไอทีซอฟทก็นับวาไม

นอย ไมวาจะเปนการทดลองผาตัดฝงไมโครชิปเขาไปในรางกายของตนเองของ เควิน วอรวิค แหงมหาวิทยาลัยรีด

อังกฤษ หรือ การสรางระบบอินเทอรเฟซที่เลียนแบบหนาตามนุษยของโซนี่)

อยางลาสุดนี้ บริษัทโซน่ีไดผลิตหุนยนตสุนัขไอโบออกมาจําหนายขายดิบขายดี

จนผลิตไมทันแลวถึงสองรุน (หุนยนตสุนัขของโซนี่ นี่ดังขนาดนายกรัฐมนตรี

ญี่ปุนเอามาเปนของขวัญใหกับแขกเมืองสําคัญอยางประธานธิบดีรัสเซียเลยดวย

ซํ้า)

รูปที่ 1 หุนยนตสุนัขไอโบ (AIBO) เปนหุนยนตตนแบบยอดนิยมอีกตัวที่มักจะถูกนํามาใชทดสอบเร่ืองการเคลื่อนไหว

อยางองคการอวกาศนาซาของสหรัฐฯ น้ันก็มีการใหทุนสนับสนุนแกผูวิจัยที่ทํางานดานหุนยนต

ออกมาเปนจํานวนมากดวยความหวังที่จะนําเอาผลงานเหลาน้ีไปใชเพ่ือการสํารวจอวกาศ รวมทั้งยังมีการดําเนิน

กิจกรรมในลักษณะเรงประชาสัมพันธใหเกิดความต่ืนตัวในหมูนักประดิษฐหุนยนตทั้งหลาย ดวยการกอต้ังเว็บไซทช่ือ

NASA Space Telerootics Program (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html) และมี

การประกาศเกียรติคุณใหกับผลงานหุนยนตที่เจงที่สุดในแตละสัปดาห (Cool Robot of The Week) ออกมา ซ่ึง

กิจกรรมที่วาน้ีก็ไดดําเนินการตอเน่ืองมาไดรวมหาป หรือคิดเปนจํานวนหุนยนตที่ไดรับประกาศเชิดชูไปแลวไมนอย

กวา 250 โครงการ

การคัดเลือกผลงานหุนยนตข้ึนมาประกาศเกียรติคุณของนาซานี้อาจจะไมไดมีผลตอบแทนใหกับ

เจาของโครงการในรูปตัวเงิน แตการไดปรากฏช่ือบนเว็บไซทของนาซาก็ถือเปนเกียรติประวัติที่นาภาคภูมิใจไมนอย

อีกทั้งยังเปนชองทางเผยแพรผลงานใหเปนที่รับรูแกสาธารณชนและบรรดาเจาของทุนวิจัยไดเปนอยางดี ตัวอยางของ

หุนยนตที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนสุดยอดหุนยนตประจําสัปดาหจากนาซา นับยอนหลังไปสักสองเดือนก็จะมี

ดังตอไปนี้

7 พฤศจิกายน 00 หุนยนตกระโดด (Hopping Robot) เปนหุนขาเดียวทําจากลูกสูบชนิดจุดระเบิด

สามารถโดดไดสูงถึง 20 ฟุต ในแตละคร้ัง

30 ตุลาคม 00 หุนยนตเคล่ือนท่ีตามเสียงจําลองแบบจากจิ้งหรีด (Phonotaxis in crickets and

robots) เปนเทคโนโลยีที่ไดรับแรงบันดาลใจจากพฤติกรรมของจิ้งหรีด นํามาเปนแนวคิดสําหรัการ

เคลื่อนที่อยางอัตโนมัติของหุนยนต

23 ตุลาคม 00 หุนยนตกุงลอบสเตอร (Robolobster) เปนหุนยนตเคลื่อนที่ใตนํ้าที่ใชติดตามรองรอย

มลพิษทางเคมี โดยจําลองรูปแบบการเคลื่อนที่ของกุงลอบสเตอร

16 ตุลาคม 00 งานแขงขันหุนยนตป 2000 (Robot Games 2000) ที่จัดขึ้นโดยสมาคมหุนยนตศาสตร

แหงซานฟรานซิสโก

9 ตุลาคม 00 รถยนต V-Car ซ่ึงสามารถควบคุมการดําเนินการตางๆ ไดจากระยะไกล จาก MP3.com

จุดเดนของมันคือรูปแบบการติดตอควบคุมที่สะดวก กระชับ ไมเยิ่นเยอ

2 ตุลาคม 00 ชุดประกอบหุนยนตสําหรับเคร่ืองพาลม PPRK (the Palm Pilot Robo Kit) เปนแนวคิดที่

จะนําเอาอะหลั่ยเหลือใชขของเคร่ืองพาลมมาประกอบเขาเปนหุนยนต แทนที่จะปลอยทิ้งไวเปลาๆ

หลังจากการอัพเกรดเครื่อง

รูปที่ 2 หุนยนตตนแบบเคพเพรา (Khepera) ถูกประยุกตไปใชใน

งานศึกษาเก่ียวกับการเคลื่อนที่ตามเสียง ซ่ึงจําลองแบบ

จากจ้ิงหรีด (Phonotaxis incrickets and robots)

25 กันยายน 00 การแขงขันฟุตบอลหุนยนตป 2000 (FIRA

2000) คําวา FIRA ยอมาจากชื่อสมาพันธแหงสมาคม

ฟุตบอลหุนยนตนานาชาติ (Federation of

International robot-socer association) ซึ่งปน้ีจัด

แขงขันข้ึนที่ประเทศออสเตรเลีย ไลๆ กับกีฬาโอลิมปก

18 กันยายน 00 โครงการลูนา 16 (LUNA 16) อันนี้ใหเปนเกียรติ

ประวัติแกโครงการอวกาศของรัสเซีย เพราะในสัปดาหเดียวกันนี้ของเม่ือ 30 ปที่แลว สหภาพ

โซเวียตรัสเซียไดสงหุนยนตนักสํารวจสามตัวข้ึนไปกับยานอวกาศสํารวจดวงจันทร และไดเก็บ

รวบรวมตัวอยางจากพ้ืนผิวดวงจันทรกลับมายังโลกมนุษยไดสําเร็จ

11 กันยายน 00 โครงการมาโคร (Project Makro) เปนการผลิตหุนยนตตนแบบของสถาบัน GMD

Institute for Autonomous intelligent โดยหุนยนตตัวที่วานี้ประกอบไปดวยชิ้นสวนขอตอเปน

จํานวนมาก สําหรับใชเลื้อยเขาไปสํารวจตามทอตางๆ ที่มนุษยไมสามารถจะเขาไปภึงได

4 กันยายน 00 โครงการโกเลม (Golem Project) เปนการสรางสิ่งมีชีวิตเทียม (Artificial life) ของทีม

วิจัยแหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส โดยพยายามออกแบบ ประดิษฐ และจําลองสภาพแวดลอมที่เอื้อ

ตอการเกิดวิวัฒนาการของหุนยนต

นอกเหนือจากบรรดาหุนยนตที่มีโครงการพัฒนากันอยางใหญโต หุนยนตที่นาสนใจอีกประเภท

ไดแก "หุนยนตขยะ" หรือ "จังกบอต" ของมารค ทิลดอน แหงบริษัทโซลาริส เปนผลงานที่เกิดขึ้นจากการเที่ยวเก็บ

รวบรวมวัสดุเหลือใชภายในหองทํางานของของเขามาปะติดปะตอเขาดวยกัน มีทั้งกลไกจากวิทุซาวนอเบาทที่เสียแลว,

เศษช้ินสวนของเครื่องพิมพ, แถบโซลารเซลลที่เคยใชปอนพลังงานใหกับเคร่ืองคิดเลข ฯลฯ และโดยสาเหตุที่มันถูก

ผลิตขึ้นมาจากวัสดุเหลือใช หุนยนตแตละตัวของมารค ทิลดอน จึงมีลักษณะเฉพาะที่ไมคอยจะเหมือนใคร มีอยูตัวหน่ึง

ทํามาจากมอเตอรที่ใชเลื่อนแผนดิสกเขาออกจากไดรฟ มันเคลื่อนที่ดวยการเลื้อยไปมายังกับปลาไหลยุคดึกดําบรรพ

(Lamprey)

แมวาหุนยนตของมารค ทิลดอน จะไมใชหุนที่มีขีดสมรรถนะการทํางานสูงสงโดดเดน แตมันก็

นาสนใจในแงที่สรางแรงบันดาลใจใหกับบรรดาเยาวชนที่มีใจรักดานกลไกอิเล็กทรอนิกสอีกเปนจํานวนมากทั่วโลก

เพราะมันบอกใหพวกเขารูวา ความรูดานหุนยนตน้ันไมจําเปนตองอาศัยเงินทุนหรือเคร่ืองไมเคร่ืองมือวิจัยที่วิเศษวิโส

อะไรเลย ขอแคมีความรูความเขาใจ และมีไอเดียที่สรางสรรก็เหลือเฟอแลว หรือถานักประดิษฐหุนยนตรุนเยาจะ

รูสึกมืดแปดดานไมรูจะเริ่มตนพัฒนาหุนยนตขึ้นจากเศษอาหลั่ยอิเล็กทรอนิกสเหลือใชไดอยางไร วงการหุนยนตเขาก็

ยังมีหุนยนตพื้นฐานใหลองเลนลองฝกควบคุมกันได เรียกวาหุนยนตตระกูล K-Robot Family

หุนยนตตระกูล K-Family น้ีประกอบไปดวย องคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก โปรแกรมจําลอง

(Simulation) ซ่ึงจัดเปนข้ันแรกของการเรียนรูที่ประหยัดไมสิ้นเปลือง เพราะไมตองลงทุนกับหุนยนตจริงๆ แคติดต้ัง

โปรแกรมแลวทดลองไดเลย สวนถัดมาของ K-Family คือหุนยนต Khepera ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.5 เซนติเมตร

เล็กพอที่จะลองใหเดินเลนไปมาบนโตะอยูใกลๆ คอมพิวเตอรที่ควบคุมมัน และสวนสุดทายคือหุนยนต Koala ซ่ึง

จริงๆ แลวก็มีโครงสรงการทํางานคลายๆ กับ Khepera น่ันแหละ แตมีขนาดใหญโตกวาเยอะ จึงใชสําหรับหนวย

งานวิจัยที่มีพ้ืนที่กวางขวางเพียงพอที่จะใหเจาน่ีเดินเลนไปมาได

แนวคิดใหมในการพัฒนาหุนยนต

นอกจากแนวความคิดที่จะนําเอาช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสมา

สรางหุนยนตที่จําลองการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตแลว ก็ยังมีนักวิทยาศาสตรอีก

กลุมทีพ่ยายามศึกษาหุนยนตศาสตรในทิศทางที่ดูเหมือนวาจะสวนทางกับกลุมที่

ไดกลาวถึงมาแลวขางตน คือ ใชวิธีเลาะเอาระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใช

สั่งงานกลไกอิเล็กทรอนิกสแทน เชนงานของวิตตอริโอ แซงกวินเนติ แหง

มหาวิทยาลัยเจนัว ที่เลาะเอาสมองและแนวไขสันหลังของปลาไหล (lamprey)

มาขึงติดไวกับหุนยนตทดลองพ้ืนฐาน Khepera ซึ่งมีลักษณะเหมือนขวดแยม

ติดลอยังไงยังงั้น จากน้ัน วิตตอริโอ ไดทดลองกระตุนเน้ือสมองของปลาไหลดวยการสองไฟเขาไปที่กลุมเซลล

ประสาทรับสัมผัส นาแปลกวาสมองของเจาปลาไหลเคราะหรายน้ันสามารถสั่งงานใหหุนยนตกระปองเคลื่อนที่ใน

ลักษณะที่ตอบสนองกับแสงไฟไดดวย (หากเราจะจินตนาการตอไป ผลลัพธสุดทายของการทดลองประเภทอาจจะ

นําไปสูวิธีกระตุนใหผูปวยอัมพาตต้ังแตคอลงไปสามารถเคลื่อนไหวรางกายของตนได)

ที่นาแปลกใจอีกอยางคือ ดูเหมือนวาบรรดานักวิทยาศาสตรที่ทํางานดานหุนยนตชีวภาพ (Biological

Robots) เหลาน้ีจะมีความนิยมใชปลาไหลเปนสัตวทดลองเสียจริงๆ (ไมรูวามีเหตุผลอะไรอยางอื่นอีก นอกเหนือจาก

ความนิยม ที่ทําใหเซลลประสาทของปลาไหลถูกนํามาวิเคราะหเจาะลึกกันจนทะลุปรุโปรงไปหมด) อยางงานวิจัยของ

ศาสตราจารย บิลล ดิตโต แหงมหาวิทยาลัยจอรเจียเท็คน้ันก็เปนการเก็บเอาเซลลประสาทของปลาไหล (Leech) มา

เลี้ยงรวมกันไวในจานทดลอง แลวลองปอนตัวเลขเขาไปเพ่ือดูการตอบสนองของเซลลประสาทดังกลาว ซึ่งทีมวิจัย

พบวามันมีการตอบสนองที่แตกตางกันไปในแตละตัวเลขประหน่ึงวามันสามารถคํานวนตัวเลขได พวกเขาเลยเรียกมัน

แบบชวนใหขันวา Leechulator โดยเลียนแบบคําวา Calculator ที่แปลวาเครื่องคิดเลข

อยางไรก็ตาม การนําเอาเซลลประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใชศึกษาและพัฒนาขึ้นเปนหุนยนตน้ันยังไม

อาจจะนับวาเปนแนวคิดใหมของการประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริง เพราะจริงๆ แลว มนุษยเราไดอาศัยการเฝา

สังเกตุพฤติกรรมของสัตวอ่ืนๆ มาใชประดิษฐเคร่ืองจักรกล และหุนยนตขึ้นมานับเปนพันๆ ปแลว สิ่งที่นาจะถือเปน

ปรากฏการณใหมในแวดวงของนักประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริงนาจะอยูที่แนวคิดที่มีการนําเอาศาสตรสมัยใหม

อยางคอมพิวเตอร พันธุวิศวกรรม และจุณเทคโนโลยีมาใชเพ่ือการสรางหุนมากกวา

น่ันคือ เวลาที่ตองการจะสรางหุนยนตสักหนึ่งตัว สมัยกอนก็คงตองรางแบบไวในพิมพเขียว แลวเที่ยว

ไปหาอะหลั่ย หรือสั่งทําช้ินสวนกลไกที่ตนตองการมาเพ่ือปะกอบกันเขาเปนตัวหุน หลังจากนั้น เมื่อประกอบหุนเสร็จ

แลวก็ยังไมแนวาจะทํางานไดดั่งใจของผูออกแบบ ยังตองมีการปรับแกตรงน้ันตรงนี้อีกหลายรอบกวาจะออกมาเปน

หุนยนตตนแบบดังใจของผูสราง แตในอนาคตอันใกลนี้ ผูออกแบบหุนยนตจะใชวิธีสรางหุนของตนเองขึ้นมาบน

เครื่องคอมพิวเตอรกอน แลวก็ใชโปรแกรมจําลองการทํางาน (Simulation) ทดสอบดูวาหุนของตนจะเคลื่อนไหวและ

ตอบสนองไดอยางที่ตนตองการไดหรือไม หากไมไดก็ปรับแกกันเสียต้ังแตที่ยังเปนแคขอมูลบนเครื่องคอมพิวเตอรน่ีแห

ละ

หลังจากที่ไดหุนตนแบบในรูปของขอมูลคอมพิวเตอรออกมาแลว ผูออกแบบหุนก็จะสั่งใหเครื่อง

ประกอบหุนผลิตหุนใหออกมาเหมือนอยางที่ตนเองไดออกแบบไวโดยไมตองลองผิดลองถูก (ตรงน้ีแหละคือจุดที่ศาสตร

ดานจุณเทคโนโลยีจะเขามาเก่ียวของไดในอนาคต) ซึ่งในระยะแรกๆ น้ันตัวหุนอาจจะมีความหยาบอยูคอนขางมาก

เพราะชิ้นสวนตางๆ ในรางกายของหุนน้ันจะยังคงเปนช้ินสวนใหญๆ ที่เวลาตอเรียงกันข้ึนมาแลวดูเหมือนหุนเลโกของ

เด็กๆ (โครงการวิจัย Golem Project ของมหาวิทยาลัยแบรนเดส คือ โครงการหน่ึงที่พยายามสรางชิ้นสวนเลโกเล็กๆ

พวกน้ีขึ้นมาเพ่ือใชประกอบเปนตัวหุน เชน ชิ้นสวนกลุมหน่ึงใชสําหรับเปนสวนขอตอ กลุมหน่ึงใชเปนระบบประสาท

กลุมหนึ่งใชเปนตัวเคลื่อนไหวเหมือนมัดกลามเนื้อ และอีกสวนหน่ึงอาจจะถูกออกแบบมาใหเปนพ้ืนผิวที่ใชตกแตง

ภายนอกตัวหุน)

รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวิธีการเปลี่ยนแบบจําลองหุนยนตในรูปโปรแกรมคอมพิวเตอรใหกลายมาเปนหุนยนตตัวจริงของ

โครงการกาเล็ม แหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส

พระเจาสราง, มนุษยทําลาย ?

จากที่กลาวผานๆ มา ดูเหมือนวาเทคโนโลยีหุนยนตศาสตรจะมีแตดานดี และเปนการพัฒนาไปสู

ความเจริญของโลก แตผูเขียนเองก็ยังไมคอยม่ันใจนักวามันจะไมมีดานที่เลวรายแฝงอยูดวย เชนในบทความจีเอ็นอาร

ที่ผานๆ มา ผูเขียนไดยกตัวอยางถึงเหตุการณหลายตอหลายครั้งที่ความฉลาดของมนุษยไดนําไปสูการทําลายตนเองได

อยางเหลือเช่ือ ไมวาจะเปนการเกิดสงครามโลก การผลิตอาวุธมหาประลัย

นิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ หรือการที่มนุษยทําลายสภาพแวดลอมรอบๆ

ตัวเองลงไปทุกเม่ือเช่ือวัน ซ่ึงในทายที่สุด ผูเขียนจึงไดสรุปไวในบทความ

"พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ" วาแนวทางที่ถูกตองของการพัฒนาเทคโนโลยี

น้ัน ควรจะเปนแนวทางที่ไดนําเอาหลักทางพุทธศาสนามากํากับ โดยไดอางอิงถึง

ความเชื่อของบิลล จอย, คําสอนของทานทไลลามะ และพระธรรมปฎก (ป.อ.

ปยุตต ปยุตโต) มาประกอบ

อยางไรก็ตาม การที่จะใหบรรดานักวิทยาศาสตรผูสราง

เทคโนโลยีนอมรับเอาคําสอนทางพุทธศาสนาไปใชปฏิบัติอาจจะทําไดยากยิ่ง

เพราะผูพัฒนาเทคโนโลยีสวนใหญมักจะไมใชพุทธศาสนิก บางทานอาจจะไมเคย

ไดสัมผัสกับพุทธธรรมเลยตั้งแตเกิดจนตาย บางทานอาจจะไดเคยสัมผัสมาบางแตติดขอหามทางศาสนาของตนวา

ไมใหนับถือศรัทธาในคําสอนของศาสดาองคอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากศาสดาของตนเอง

เมื่อกลาวถึงเรื่องศาสนา หลวงพอพุทธทาสไดแบงศาสนาบนโลกนี้ไวเปนสองกลุมเพ่ือความเขาใจงาย

กลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่มีผูสราง (Creator) อีกกลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่ไมมีผูสราง โดยทั้งสองกลุมตางมีวิถีและ

แนวทางปฎิบัติที่มุงเนนใหคนทําดี เพ่ือสังคมที่รมเย็นเปนสุขดวยกันทั้งน้ัน เพียงแตกลุมศาสนาที่มีผูสรางอันไดแก

คริสต อิสลาม ฮินดู ฯลฯ น้ัน ไดระบุไวในคัมภีรอยางชัดเจนถึงการสรางโลกของพระเจา โดยเฉพาะคริสตดวยแลวจะ

มีเรื่องราวของการสรางสิ่งมีชีวิต อยางอาดัม และอีฟที่เปนมนุษยสองคนแรกที่เสวยสุขอยูในสวนอีเดน จนกระทั่งถูก

พระเจาขับไลออกจากแดนสวรรคเพราะละเมิดขอหามเรื่องกินผลไมที่ถูกสั่งไวแตแรก

เรื่องแปลกก็คือ ขณะที่นักวิทยาศาสตรผูประดิษฐเทคโนโลยีในโลกสวนใหญมักจะเปน

คริสตศาสนิกชน ซ่ึงเชื่อในเรื่องพระเจาและการสรางโลก แตกลุมชนกลุมเดียวกันนี้ก็เปนผูบุกเบิกและพิสูจนใหเห็น

จริงถึงทฤษฎีวิวัฒนาการ (evolution) เร่ืองโลกเย็นตัวลง และการคัดเลือกพันธตามธรรมชาติ นาแปลกที่พวกเขา

สามารถแยกการรับรูสองอยางนี้ออกจากกันได คือโลกจะมีวิวัฒนาการมาหลังจากหลุดออกจากดวงอาทิตยและเย็นตัว

ลงเชนไรก็เปนเรื่องหนึ่ง พระเจาจะสรางโลกเสร็จภายในเจ็ดวัน และสรางมนุษยคนแรกขึ้นมาเปนอาดัมเชนไรก็เปน

อีกเรื่องหน่ึง

กระน้ัน เมื่อบทบาทการเปนผูสรางของพระเจาเริ่มถูกทาทาย เพราะมีมนุษยบางกลุมพยายาม

เปลี่ยนบทบาทมาเปนผูสรางบางโดยอาศัยเทคโนโลยีจีเอ็นอาร (พันธุวิศวกรรม, จุณเทคโนโลยี และ หุนยนตศาสตร)

มันก็ทําใหเกิดเปนประเด็นใหถกวิเคราะหตามมาอยางมากมายในกลุมนักวิทยาศาสตรตะวันตก ผูเปนทั้งนักสราง

เทคโนโลยี และคริสตศาสนิกชน ปจจุบัน เราจึงไดเห็นเว็บไซทจํานวนมากที่พยายามดึงเอาเรื่องราวในพระคัมภีร

กลับมาศึกษาตีความกันใหมโดยเฉพาะประเด็นที่วา "ถูกตองแลวหรือ ที่พระเจาสรางมนุษย แลวมนุษยเองก็พยายาม

จะสรางสิ่งมีชีวิตพันธุใหม หรือมนุษยพันธุใหมที่เรียกวา "หุนยนต" ข้ึนมา

ตัวอยางของพระคัมภีรสวนที่ถูกนํามาถกวิเคราะหกันมาก

เปนพิเศษก็คือ บทที่ 2 และ 3 ของ "เจเนซิส" ซ่ึงกลาวถึงอาดัม และอีฟ ที่แต

แรกนั้นดํารงชีพแบบมีความสุขอยางไรเดียงสาอยูในสวนสววรคอีเดน พระ

เจาตรัสอนุญาตใหมนุษยคูแรกของโลกน้ีสามารถเก็บกินผลไมทุกชนิดที่ขึ้นใน

สวนได ยกเวนตนไมแหงความรับรูถึงความช่ัวและความดี (Tree of

Knowledge of Good and Evil) แตแลวมนุษยทั้งสองไดถูกลอลวงจาก

ซาตานในรูปของอสรพิษ (serpent) วาการกินผลไมจากตนไมดังกลาวจะชวย

ใหทั้งสองฉลาดขึ้น พวกเขาจึงไดละเมิดคําสั่ง แลวก็เกิดความละอายใน

รางกายที่เปลือยเปลาของตนเอง ตองหาใบไมมาปกปดที่อวัยวะเพศ

เมื่อพระเจาปรากฏตัวข้ึน และสอบถามถึงสาเหตุที่ตอง

นําเอาใบไมมาปกปดอวัยวะของตน อีฟก็สารภาพผิดพรอมกลาวโทษไปที่อสรพิษ จากน้ันอาดัมก็เลยสารภาพบางแต

กลาวโทษไปที่อีฟ แถมยังลามปามไปกลาวโทษพระเจาเสียอีกวาเปนเพราะ "ผูหญิงที่ทานประทานใหขาพเจา (the

woman You gave me" พระเจาจึงทรงลงโทษมนุษยทั้งสองดวยการขับไลออกจากสวนอีเดน พรอมกับทัณฑ 3

ประการ หนึ่ง ใหผูหญิงตองทนทุกขทรมาณจากการใหกําเนิดบุตร สอง ผูชายจะไมสุขสบายในการดํารงชีวิตอีกตอไป

แตจะตองทํางานจนเหง่ือโทรมกาย สาม มนุษยจะไมเปนอมตะ และจะตองรับรูดวยวาตนเองน้ันจะตองตายสักวัน

หน่ึง

จากเรื่องราวที่บันทึกไวในคัมภีรเจเนซีสนี้ หากมองกันดวยสายตาของคนนอกศาสนาเชนผูเขียนก็อด

จะสงสัยวา มีความเปนไปไดมากนอยเพียงไรที่มนุษยคูแรกน้ีอาจจะเปนหุนยนตที่ถูกสรางข้ึนโดยพระเจา ผูสราง

สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตไวอยางพรอมสรรพภายในไบโอโดม หรือที่รูจักกันในชื่อสวนอีเดน

หุนยนตคูน้ีแรกๆ ก็มีความไรเดียงสาเฉกเชนทารกเกิดใหมทั่วๆ ไปที่ไมเคยไดสัมผัสถึงการ เกิด แก เจ็บ ตาย และ ไตร

ลักษณ (อนิจจังง ทุกขัง อนัตตา) อันเปนความจริงแทของโลกเรา แตหลังจากที่พวกเขาเติบโตข้ึน พวกเขาจึงเริ่ม

ตระหนักถึงสภาพแวดลอมในฐานะของผูใหญ สวนการนําเอาใบไมมานุงหม และการกินแอปเปลน้ันอาจจะเปนผลตอ

เน่ืองมาจากความเปนผูใหญของคนทั้งคู นั่นคือ เริ่มรูจักปฏิเสธการเช่ือฟง (Disobedient)

อยางไรก็ดี ประเด็นที่ผูเขียนยกขึ้นมานี้ ไมใชแนวความคิดใหมของผูเขียนเอง แตเปนผลสืบ

เน่ืองมาจากการอานบทสนมนาระหวางนักวิทยาศาสตร "เคน โกลดเบิรก" และและนักศาสนาศาสตร "โอวิด จาคอบ"

ซ่ึงปรากฏอยูบนเว็บไซท hhttp://www.sirius.com/~ovid/agr.html โดยเคนไดสรุปเรื่องราวของพระเจา, อาดัม

และอีฟไวอยางนาสนใจวา "เม่ือใดก็ตาม ที่ผูสรางรูสึกวาสูญเสียการควบคุมสิ่งที่เปนผลงานของตน เวลาน้ันแหละ คือ

จุดเริ่มตนของพัฒนาการแหงตัวผลงานเอง" และ "ในความเปนจริงแลว พระเจาอาจจะไมไดพิโรธอะไรตอมนุษยทั้ง

สองเลยดวยซ้ํา เพราะทานทรงทราบดีอยูแลววา การปฏิเสธความเช่ือฟงตอพระองคน้ันเปนสวนหน่ึงของการเติบโต

ของมนุษย"

อันความรู รูกระจางแตอยางเดียว .......

แม เคน โกลดเบิรก และ โอวิด จาคอบ จะเปนคริสเตียนที่มีใจเปดกวางขนาดนําเอาเน้ือหาในคัมภีร

มาวิเคราะหและตีความใหม แตเขาก็ไมสนับสนุนความคิดของนักวิทยาศาสตรสมัยใหมที่จะเที่ยวไปสรางโนนสรางน่ี

แขงกับพระเจา (God) หรือธรรมชาติ (Mother Nature) เพราะประวัติศาสตรที่ผานมาไดใหบทเรียนแกมนุษยมา

หลายตอหลายครั้งวาการฝนธรรมชาติน้ันมักจะนํามาซึ่งมหันตภัย โดยเฉพาะการสรางสิ่งที่ใหญโตเกินกวาที่ผูสรางจะ

ควบคุมไดดวยแลว สุดทายมนุษยผูสรางก็อาจจะตกเปนเหยื่อของผลงานตนเองไดในที่สุด เปรียบเหมือน

ศาสตราจารยแฟรงเกนสไตนที่ตองประสบชะตากรรมถึงชีวิตจากซากศพอันเปนผลงานที่ตนเองพยายามปลุกชีพขึ้นมา

หรือหากจะยกตัวอยางที่ใกลตัว ก็ไดแก การที่บรรดานักวิทยาศาสตรรุนแรกๆ ที่มีสวนรวมในการ

พัฒนามหันตภัย นิวเคลียร อาวุธชีวภาพ หรืออาวุธเคมีทั้งหลายขึ้นมา แรกๆ พวกเขาเหลาน้ีก็อาจจะมีเจตนาแงดี แต

เม่ือผลงานเหลาน้ีพนออกจากการควบคุมของผูพัฒนาคนแรก ไปสูผูพัฒนาคนที่สอง ที่สาม .... ตัวผลงานก็เร่ิมจะ

ใหญโตจนเกิดขีดความสามารถของผูสรางเทคโนโลยีคนแรกๆ จะจํากัดขอบเขตการใชประโยชนจากมันได สุดทาย

เราจึงไดเห็นคนญี่ปุนที่โอกินาวา และนางาซากิ ตองตายไปนับเปนแสนคน โดยที่อัลเบิรต ไอนสไตน เจาของทฤษฎี

สัมพันธภาพนึกไมถึง และในขณะที่ ออพเพนไฮเมอรหัวหนาทีมวิจัยแมนฮัตตันก็ขี้ขลาดเกินกวาจะหยุดย้ังโครงการ

สรางระเบิดนิวเคลียรลงเสียตั้งแตตอนที่สัมพันธมิตรมีชัยชนะเหนือนาซีในยุโรป

ตรงน้ีแหละ ที่เคน โกลดเบิรก ใชสนับสนุนแนวคิดของเขาที่วา "เม่ือใดที่ผูสรางสูญเสีย

ความสามารถในการควบคุมผลงาน นั่นคือ จุดเริ่มตนการพัฒนาของตัวผลงานเอง (The event wherein the

creator loses control of the creature is a necessary step toward the development of the

creature)" เชน กรณีของอาดัม และอีฟน้ัน จุดที่มนษุยเริ่มไมเชื่อฟงพระเจาคือจุดเร่ิมตนของวิวัฒนาการมนุษย

ในขณะที่จุดซึ่งนักวิทยาศาสตรในทีมวิจัยแมนฮัตตันเริ่มไมสามารถบอกยกเลิกงานวิจัยของตนเองได ก็เปนจุดเริ่มตน

ของวิวัฒนาการอาวุธนิวเคลียรเชนเดียวกัน

แนวความคิดของ เคน โกลดเบิรก น้ีนับวานาสนใจมากเม่ือนํามาประกอบกับการพิจารณาเรื่อง

วิวัฒนาการของหุนยนต เพราะถาหากนักวิทยาศาสตรสรางหุนยนตที่สามารถสืบพันธุดวยตนเองขึ้นมาได โดยไม

วางแผนควบคุมใหดีใหรอบคอบ มันก็อาจจะนํามาซ่ึงปญหาอันหนักหนวงแสนสาหัสไดในอนาคตเมื่อหุนยนตเริ่มรูจัก

ปฏิเสธการควบคุมจากผูสราง เชน นักวิทยาศาสตรที่พัฒนาหุนยนตสํารวจทองทะเลลึกหรือหุนยนตสํารวจอวกาศ ที่

ตองอยูภายใตบรรยากาศที่มนุษยไมสามารถจะดํารงชีพอยูได อาจจะอยากทําใหหุนยนตของตนสามารถสืบพันธและ

เพ่ิมปริมาณไดเอง เพ่ือเปนประโยชนตอการสํารวจ แตถาหากการเพ่ิมปริมาณนั้นเกินขีดความควบคุม เกิดมีหุนยนต

ตัวเล็กตัวนอยกลาดเกลื่อนไปทั่วทองสมุทรก็คงจะเปนมหันตภัยอยางใหญหลวงของโลก เพราะไปรบกวนระบบนิเวศน

ใตทองนํ้า

ดังนั้น นักวิทยาศาสตรทุกคนที่เก่ียวของการสรางสรรประดิษฐกรรมใหมๆ จึงควรตองระมัดระวัง

ผลงานของตนไมใหกอปญหาติดตามมา โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นจากการแกปญหา หรือที่เรียกวา "Technofix" ซ่ึง

เปนศัพทที่ถูกบัญญัติขึ้นมาใชประชดประชันวิธีการแกปญหาที่ผูแกมีความรูเฉพาะเพียงดานใดดานหนึ่ง ทําใหเมื่อแก

ประเด็นปญหาหน่ึงไปแลว กลับกลายไปเปนปญหาใหมที่ใหญโตหนักหนวงขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชน นักเทคโนที่ไมมี

ความรูดานชีววิทยา หรือสังคมศาสตร มีแตความรูเรื่องวิศวกรรม และการคํานวนตนทุนกอสราง เมื่อเดินสายไฟ

สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุพันปขวางทางอยูก็อาจจะตัดสินใจตัดโคนไมลงดวยเห็นวาเปนวิธีการเดินสายที่

ถูกตองที่สุด ประหยัดที่สุด โดยไมรูเลยวาตนไมดังกลาวนั้นมีคุณคามากเพียงใดในแงของชีววิทยา ระบบนิเวศน หรือ

คุณคาในทางจิตใจของผูคนในชุมชน

หรือในกรณีนักสรางเขื่อนก็อาจจะเปน Technofix ได

เชนเดียวกัน คือผูสรางเขื่อนอาจจะมองแตในแงของความคุมคาของ

ปริมาณกระแสไฟ การเก็บกักน้ําไวในหนาแลงเพ่ือเพ่ิมผลผลิตทาง

การเกษตรเชิงทุนนิยม แตลืมประเมินคาของปาไมอันอุดมสมบูรณที่เสีย

ไป ระบบนิเวศนที่แปรปรวน โรคภัยไขเจ็บชนิดใหมๆ ที่อาจจะติดตาม

มา ฯลฯ สําหรับวิธีการแกปญหาที่ถูกตองน้ัน ผูเขียนอยากจะยกคํา

สอนของพระธรรมปฎก ที่ทานไดเคยสอนไววา ชาวพุทธจะตองมอง

ปญหาใหเปน คือจะตองมองใหรูซึ้งซึ่งสาเหตุ มองอยางครอบคลุม และ

สืบเน่ือง (Dynamic & Continuous) ไมมองอะไรเพียงดานเดียว หรือมองเสมือนวาทุกอยางหยุดนิ่งอยูกับที่

เอกสารอางอิง

1. Tom Howard "Mating Robots" Personal Computing World, September 2000, 158

2. Rodney Brooks Artificial Life : From robot dreams to Reality Nature 406, 945 - 947 August 2000

3. Hod Lipson and Jordan B. Pollack Automati and manufacture of robotic lifeforms Nature 406, 974 - 978

August 2000

4. Sci/Tech Biological computer born (http://news.bbc.co.uk/hi/english/sci/tech/newsid358000/358822.stm)

5. KhepOnTheWeb (http://diwww.epfl.ch/lami/robots/K-Family/KOTW/khepera.html)

6. NASA Space Telerobotics Program "Cool Robot Of The Week" (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html)

7. DEMO : Dynmical & Evolutionary Machine Organization (http://www.demo.cs.brandeis.edu/pr/robotics.html

8. สุรพล ศรีบุญทรง GNR: episode I, II, II “2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย” “เทคโนโลยีจีเอ็นอาร, ภัยแฝง

เรน” “พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ” นิตยสารไอทีซอฟท ปที่ 9 ฉบับที่ 99,, 100, และ 102