Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ

9
GNR : Episode IIII พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ สุรพล ศรีบุญทรง บทความนีเปนตอนจบของขอเขียนชุดเทคโนโลยีจีเอ็นอารของผูเขียนที่ไดดําเนินมา 2 ตอนแลว คือ GNR : Episode I "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" และ GNR : Episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร ภัยแฝง เรน" ซึ่งเนนไปที่การถายทอดความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นหลังจากไดอานบทความ "Why the future doen't need us," ของอัจฉริยะดานคอมพิวเตอร "บิลล จอย" ที่ตีพิมพอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายน 2000 โดยบิลล จอย ได ชี้ใหเห็นถึงอันตรายแฝงเรนของเทคโนโลยีสมัยใหม 3 ชนิดอันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณ เทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และหุนยนตศาสตร (R: Robotics) ในความเห็นของบิลล จอย แมวาเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่ 21 ทั้งสามอยาง (GNR) นี้จะนํามาซึ่งการพัฒนาอยางกาวกระโดดใหกับวงการ วิทยาศาสตรโลก แตหากไมไดวางแผนการพัฒนาไวใหรอบคอบแลว ก็อาจจะ นําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของตัวมนุษยเองไดดวยเชนกัน แถมจะเปนการ ทําลายลางที่เกิดอยางรวดเร็ว รุนแรง และกวางขวาง กวาอาวุธมหาประลัยแหงยุค ศตวรรษ 20 อันไดแก อาวุธนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และอาวุธเคมี (NBC) เพราะ ในขณะที่การสรางอาวุธมหาประลัย NBC นั้นเกิดขึ้นไดเฉพาะในองคกรขนาดใหญ ที่จะตองไดรับการสนับสนุนเรื่องทุน วัตถุดิบ เทคโนโลยี และแรงงานจํานวนมาก จากรัฐ การสรางอาวุธมหาประลัย GNR กลับเกิดขึ้นในหองทดลองไหนๆ ก็ได เนื่องจากไมตองอาศัยทรัพยากรพิเศษอะไร อาศัยแตความรู และวัตถุดิบงายๆ มา ประกอบกัน (Knowledge-based technology) เสร็จแลว เจาตัวผลผลิตที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีจีเอ็นอารก็จะสามารถ เพิ่มปริมาณของตนขึ้นไปไดเอง (self-replicate) จนมีปริมาณมากพอ หรือมีฤทธิ์ทําลายลางรุนแรงพอที่จะทําใหมนุษย ตองสูญพันธุไปไดในทึ่สุด อยางไรก็ตาม ความรายกาจที่วานี้ไมจําเปนที่จะตองเกิดขึ้นจริงๆ มันเปนสิ่งที่สามารถปองกันไดหาก มนุษยจะไดวางแผนปองกันและรับมือไวแตเนิ่นๆ และนั่นแหละคือวัตถุประสงคในการเขียนบทความ "Why the future doesn't need us" ของบิลล จอย เขาตองการเตือนเพื่อนนักวิทยาศาสตรดวยกันใหตระหนักถึงผลรายที่อาจจะ เกิดขึ้นจากความพยายามเปนเลิศทางวิชาการโดยลืมนึกไปถึงผลกระทบอื่นๆ ที่อาจจะติดตามมา เตือนใหลองยอนกลับไป ทบทวนอดีตวาความอหังการจากสิ่งที่เรียกวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไดเคยสรางหายนะ และภัย คุกคามอะไรไวใหกับโลกมนุษยบาง และ จะดีกวาไหม หากนักวิทยาศาสตรทั้งหลายจะนําเอาความเฉลียวมาใช ประกอบการคนควาประดิษฐเทคโนโลยีใหมๆ แทนที่จะเปนแคการใชความฉลาดอยางเดียว ที่สําคัญ บิลล จอย ยังไดชี้นําไวในบทความของเขาดวยวา "พุทธศาสนา" อาจจะเปนหนทางหนึ่งในการ ปองกันมนุษยจากการถูกทําลายลางดวยเทคโนโลยี โดยเขาไดกลาวอางถึงแนวความคิดของทานทไลลามะ องคพระ ประมุขแหงพุทธศาสนานิกายวัชรยานของธิเบตไวดวยในชวงทายๆ ของบทความ ซึ่งผูเขียนอยากจะนํามาขยายตอใน บทความนีดวยเห็นวาพุทธศาสนานี่แหละคือ "ทางออกของปญหา" อยางแทจริง ไมใชแคเพียง "อาจจะเปนทางออก" เชน ที่บิลล จอย ไดเสนอไว เพราะพุทธศาสนานั้นมุงเนนใหมนุษยศึกษา (สิกขา) ปญหาทุกอยางบนโลกอยางรอบดานและ

Transcript of Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ

GNR : Episode IIII

พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ สุรพล ศรีบุญทรง

บทความน้ี เปนตอนจบของขอเขียนชุดเทคโนโลยีจีเอ็นอารของผูเขียนที่ไดดําเนินมา 2 ตอนแลว คือ

GNR : Episode I "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" และ GNR : Episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร ภัยแฝง

เรน" ซ่ึงเนนไปที่การถายทอดความวิตกกังวลที่เกิดข้ึนหลังจากไดอานบทความ "Why the future doen't need us,"

ของอัจฉริยะดานคอมพิวเตอร "บิลล จอย" ที่ตีพิมพอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายน 2000 โดยบิลล จอย ได

ช้ีใหเห็นถึงอันตรายแฝงเรนของเทคโนโลยีสมัยใหม 3 ชนิดอันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณ

เทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และหุนยนตศาสตร (R: Robotics)

ในความเห็นของบิลล จอย แมวาเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่ 21

ทั้งสามอยาง (GNR) นี้จะนํามาซ่ึงการพัฒนาอยางกาวกระโดดใหกับวงการ

วิทยาศาสตรโลก แตหากไมไดวางแผนการพัฒนาไวใหรอบคอบแลว ก็อาจจะ

นําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของตัวมนุษยเองไดดวยเชนกัน แถมจะเปนการ

ทําลายลางที่เกิดอยางรวดเร็ว รุนแรง และกวางขวาง กวาอาวุธมหาประลัยแหงยุค

ศตวรรษ 20 อันไดแก อาวุธนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และอาวุธเคมี (NBC) เพราะ

ในขณะที่การสรางอาวุธมหาประลัย NBC น้ันเกิดขึ้นไดเฉพาะในองคกรขนาดใหญ

ที่จะตองไดรับการสนับสนุนเร่ืองทุน วัตถุดิบ เทคโนโลยี และแรงงานจํานวนมาก

จากรัฐ การสรางอาวุธมหาประลัย GNR กลับเกิดข้ึนในหองทดลองไหนๆ ก็ได

เน่ืองจากไมตองอาศัยทรัพยากรพิเศษอะไร อาศัยแตความรู และวัตถุดิบงายๆ มา

ประกอบกัน (Knowledge-based technology) เสร็จแลว เจาตัวผลผลิตที่เกิดข้ึนจากเทคโนโลยีจีเอ็นอารก็จะสามารถ

เพ่ิมปริมาณของตนขึ้นไปไดเอง (self-replicate) จนมีปริมาณมากพอ หรือมีฤทธ์ิทําลายลางรุนแรงพอที่จะทําใหมนุษย

ตองสูญพันธุไปไดในทึ่สุด

อยางไรก็ตาม ความรายกาจที่วาน้ีไมจําเปนที่จะตองเกิดขึ้นจริงๆ มันเปนสิ่งที่สามารถปองกันไดหาก

มนุษยจะไดวางแผนปองกันและรับมือไวแตเน่ินๆ และน่ันแหละคือวัตถุประสงคในการเขียนบทความ "Why the

future doesn't need us" ของบิลล จอย เขาตองการเตือนเพื่อนนักวิทยาศาสตรดวยกันใหตระหนักถึงผลรายที่อาจจะ

เกิดขึ้นจากความพยายามเปนเลิศทางวิชาการโดยลืมนึกไปถึงผลกระทบอื่นๆ ที่อาจจะติดตามมา เตือนใหลองยอนกลับไป

ทบทวนอดีตวาความอหังการจากสิ่งที่เรียกวาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไดเคยสรางหายนะ และภัย

คุกคามอะไรไวใหกับโลกมนุษยบาง และ จะดีกวาไหม หากนักวิทยาศาสตรทั้งหลายจะนําเอาความเฉลียวมาใช

ประกอบการคนควาประดิษฐเทคโนโลยีใหมๆ แทนที่จะเปนแคการใชความฉลาดอยางเดียว

ที่สําคัญ บิลล จอย ยังไดช้ีนําไวในบทความของเขาดวยวา "พุทธศาสนา" อาจจะเปนหนทางหนึ่งในการ

ปองกันมนุษยจากการถูกทําลายลางดวยเทคโนโลยี โดยเขาไดกลาวอางถึงแนวความคิดของทานทไลลามะ องคพระ

ประมุขแหงพุทธศาสนานิกายวัชรยานของธิเบตไวดวยในชวงทายๆ ของบทความ ซ่ึงผูเขียนอยากจะนํามาขยายตอใน

บทความน้ี ดวยเห็นวาพุทธศาสนาน่ีแหละคือ "ทางออกของปญหา" อยางแทจริง ไมใชแคเพียง "อาจจะเปนทางออก" เชน

ที่บิลล จอย ไดเสนอไว เพราะพุทธศาสนาน้ันมุงเนนใหมนุษยศึกษา (สิกขา) ปญหาทุกอยางบนโลกอยางรอบดานและ

สืบเน่ือง รวมทั้งยังชวยฉุดรั้งมนุษยโลกใหหันกลับมาพัฒนาจิตใจของตนเองใหเปน "พุทธะ"(ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน) แทนที่

จะมุงไปที่การใชเทคโนโลยีพัฒนาวัตถุแตเพียงดานเดียว

กรรมของสังคม

ในบทความเทคโนโลยีจีเอ็น

อารตอนที่แลว ผูเขียนไดเลาถึงความสับสนใน

จิตใจของทีมงานนักฟสิกสสหรัฐฯ ที่ชวยกัน

พัฒนาระเบิดนิวเคลียรในชวงสงครามโลกคร้ังที่

สอง เพ่ือชี้ใหเห็นวาการคนพบองคความรูใหม

เร่ืองทฤษฎีสัมพันธภาพของอัจฉริยะอัลเบิรต

ไอนสไตน น้ันไดนําไปสูการประดิษฐอาวุธมหา

ประลัยซึ่งคุกคามจิตใจของมนุษยชาติมาเกือบ

ศตวรรษไดอยางไร ทั้งยังช้ีใหเห็นวาการระดม

สมองของอัจฉริยะหลายๆ คน (Brainstrorm) เพื่อคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีน้ันมิไดเปนหลักประกันวาผลลัพธุที่ไดจะ

เปนสิ่งดีงามและถูกตองเสมอไป เพราะบางคร้ังพฤติกรรมกลุมหรือการชี้นําจากผูนําที่ไรสติเพียงคนเดียวก็อาจจะฉุดลาก

ใหคนฉลาดคนอ่ืนๆ ตองพลอยทําตามไปดวยแมวาจะมีความเห็นแยง

ดังที่ไดมีการเปดเผยจากผูรวมงานพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของออพเพนไฮมเมอรซึ่งปรากฏออกมาใน

ภายหลังวา มีความเห็นขัดแยงกันต้ังแตตอนเริ่มตนพัฒนาอาวุธนิวเคลียรใหมๆ และฝายนาซีเยอรมันไดพายแพแก

สัมพันธมิตรในภาคพื้นทวีปยุโรปไปแลวตั้งแตวัน V-E day จึงมีหลายคนเสนอใหยุติการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร แตความใฝ

รูแบบนักวิทยาศาตรบวกกับสภาพงานวิจัยที่ใกลเห็นผลทําใหหัวหนาทีมพยายามผลักดันใหงานพัฒนาอาวุธดําเนินตอไป

จนเกิดเปนโครงการทรีนิต้ีขึ้นในที่สุด หลังจากน้ัน ก็ยังมีความขัดแยงอีกครั้งเมื่อจะนําเอาระเบิดที่พัฒนาไดไปทิ้งที่เมืองฮิ

โรชิมา เพราะมีหลายคนเสนอวาแคเพียงสาธิตใหญี่ปุนดูสมรรถนะทําลายลางของระเบิดนิวเคลียรก็นาจะพอแลว แต

ความตายของทหารอเมริกันในเหตุการณที่ญี่ปุนโจมตีเพิรลฮาเบอรอาจจะทําใหสหรัฐฯ ตองการเห็นเลือดจึงนําไปสูการ

คราชีวิตผูคนเปนแสนที่ฮิโรชิมา และนางาซากิในอีกสามวันถัดมา ความเหลวไหลอยางบัดซบครั้งน้ันอยูที่การทิ้งระเบิด

นางาซากิซึ่งแทบจะไมมีความจําเปน และเหตุผลใดๆ มารองรับการกระทําอันโหดรายทารุณที่วาน้ีเลย นับเปนความขี้

ขลาดของนักวิจัยชุดนี้ที่ไมมีใครสักคนจะลุกขึ้นมาแสดงจุดยืนวา "อยาทํา"

ความข้ีขลาดที่วาน้ีไดถายทอดผานมายังผูบริหารและนักวิทยาศาตรที่ใกลชิดอํานาจของสหรัฐอเมริกาใน

ระยะตอมา ดังจะเห็นไดจากประวัติการทดลองอาวุธนิวเคลียรของสหรัฐฯ ที่ดําเนินมาอยางตอเนื่องหลังจากน้ัน

จนกระทั่งรัฐบาลกรุงวอชิงตันเร่ิมพึงพอใจในขีดความสามารถดานขีปนาวุธที่อาจจะทําลายโลกไปคร่ึงใบของตนไดแลวนั่น

แหละจึงไดหยุดการทดลอง แลวหันกลับมาตําหนิดาวาประเทศอ่ืนๆ ที่เจริญรอยตามพวกตนแทน ไมวาจะเปนเรื่องการ

ทดลองอาวุธนิวเคลียรของรัสเซีย ฝร่ังเศส จีน อินเดีย หรือปากีสถาน ฯลฯ แตผลกรรม*จากการปลอยให

นักวิทยาศาสตรไมกี่คนเที่ยวพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมาโดยปราศจากการวางแผน และทิศทาง ไดตามสนองผูคนทั่วทั้ง

โลกใหตองหวาดระแวงกับหายนะนิวเคลียรมาโดยตลอดนับจากน้ัน จนขนาดอดีตประธานาธิบดีเรแกนตองเข็นนโยบาย

ผลาญเงินที่ชื่อวา "โครงการสตารวอร" ที่มีวัตถุประสงคเพ่ือปกปองนานฟาสหรัฐฯ จากขีปนาวุธนิวเคลียรออกมา ซึ่ง

ตอมาก็ไดพิสูจนใหเห็นวาเปน "โครงการผลาญเงินที่ไรประโยชนอยางแทจริง" ไปเม่ือเร็วๆ นี้เองในปลายยุคสมัยของบิลล

คลินตัน

ถึงตรงน้ี อยากจะต้ังขอสังเกตุวา ผูคนมักจะตีความเรื่องบาปกรรมในทางพุทธศาสนากันอยางผิดๆ ใน

เรื่อง "กรรมมุนา วัตตตีโลโก ที่วา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม หรือ กรรมใดใครกอ กรรมก็จะตอบสนองกับผูน้ัน" ทํา

ใหหลายคนนึกแคนใจวา ทําไมคนบางคนทําช่ัวมาสารพัดสารพันแตก็ไมเคยถูกกรรมตามสนอง ในขณะที่ คนทําดีมา

ตลอดชีวิตกลับถูกกระหน่ําซ้ําเติมจากมรสุมชีวิตที่รุนแรง จนทําใหหลายคนตีความไปวาเปนผลจากบาปรรมที่ทํามาแต

ชาติปางกอน แลวเลยตองไปเสียเงินเสียทองใหกับผูที่อวดอางวาสามารถตัดรอนกรรมเวรในอดีตชาติได เรื่องน้ีทานเจา

คุณธรรมปฎก (ป.อ. ประยุตต ปยุตโต) อธิบายวากรรมน้ันไมใชเร่ืองเฉพาะตัวบุคคลแตอยางเดียว แตอาจจะเปนกรรม

ของสวนรวมคือสังคมและชุมชนไดดวย เพราะเมื่อเราปลอยใหสังคมหรือชุมชนดําเนินไปอยางผิดพลาดงมงาย เราที่เปน

สวนหน่ึงของสังคมก็ยอมจะตองพลอยไดรับผลกรรมไปกับสังคมดวย

แตนับวายังดีที่มนุษยรูจักเรียนรู

จากความผิดพลาดในอดีตไดบาง จึงสงผลให

โครงการพัฒนามหันตภัยรุนถัดมาอยางอาวุธ

ชีวภาพ และอาวุธเคมี เริ่มมีการจํากัดและควบคุม

ไดดีย่ิงขึ้น (ดีย่ิงขึ้นกวาที่เลวรายมาก และ

ปราศจากการควบคุม ไมไดหมายความดีจริงๆ

เพราะยังมีขาวเรื่องการแอบใชอาวุธประเภทนี้

กระเซ็นกระสายมาเปนระยะๆ ) มีการจัดประชุม

ใหญและกําหนดเงื่อนไขการจํากัดและควบคุม

อาวุธรวมกันระดับนานาชาติอยางชัดเจนในป ค.ศ. 1972 (BWC : Biological Weapons Convention) และป ค.ศ.

1993 (CWC : Chemical Weapons Convention) แลวก็ยังมีความพยายามจํากัดปริมาณอาวุธนิวเคลียรที่มีอยูเดิม

ระหวางสหรัฐ/รัสเซียดวยขอตกลงที่มีเปาหมายเพื่อการทําลายขีปนาวุธทิ้งไปจนกระทั่งเหลือ 100 ลูก ซึ่งเทียบเทากับ

ศักยภาพการทําลายลางที่โลกเคยเผชิญมาในชวงสงครามโลกคร้ังที่สอง

GNR นากลัวกวา BNC เยอะ

จากที่กลาวผานมา จะเห็นไดวาเทคโนโลยี BNC (ชีวภาพ เคมี และนิวเคลียร) น้ันแมจะดูนากลัว แตก็

ไมใชวาจะไมสามารถควบคุมไดเอาเสียเลย เพราะถึงอยางไรมันก็ยังถูกจํากัดการใชอยูเฉพาะในแวดวงทหาร (military

purpose) หากจะมีการประยุกตไปทางดานการคาในเชิงพานิชย (Commercial purpose) บางก็มักจะเปนเทคโนโลยีที่มี

รูปแบบแตกตางกันอยางชัดเจน เชน นิวเคลียรที่ใชเพ่ืองานวิจัยคนควา งานอุตสาหกรรม งานสาธารณสุข และงาน

การทหารน้ันจะมีลักษณะแตกตางกันออกไปอยางสิ้นเชิง

นอกจากน้ัน เทคโนโลยี BNC ยังมีอัตราการเติบโตเพ่ิมปริมาณอยางคอยเปนคอยไป เพราะผลการวิจัย

คนควาเร่ืองพวกน้ีจะถูกปกปดไวเปนความลับขั้นสุดยอดในหมูผูผลิตเทคโนโลยี กวาจะหลุดรอดออกมาใหฝายตรงขามได

ระแคะระคายก็ตองกินเวลาสักระยะหน่ึง ในขณะที่ประเทศซึ่งไมไดเปนผูผลิตเทคโนโลยี BNC แตเปนผูซื้อเทคโนโลยีนั้นก็

จะรักษาความลับไวไดยากย่ิงขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเราน้ันแมจะไมเคยมีขาวเร่ืองอาวุธ BNC แตกวา

กองทัพไทยจะซ้ือเครื่องบินขับไลสักฝูงก็พูดกันแลวพูดกันอีก แถมยังไปซ้ือของเกาที่เพ่ือนฝูงไปลองกันมาจนรูหมดแลววา

ทําอะไรได/ทําอะไรไมไดบาง ฉนั้น แตละประเทศที่มีการครอบครองเทคโนโลยี BNC จึงนาพอจะรูไสรูพุงกันอยูในระดับ

หนึ่งวาฝายไหนมีสมรรถนะอยูเทาใดกันบาง การควบคุมอาวุธจึงไมใชเรื่องยากจนเกินไป (แตตองรอใหทั้งสองฝายพรอม

น่ังลงเพื่อเจรจาเสียกอน ซึ่งบางครั้งก็หมายถึงรบกันจนเจ็บตัวกันไปทั้งสองฝายแลว)

ผิดกับเทคโนโลยีจีเอ็นอารที่อาจจะประยุกตไปใชงานไดทุกประเภท ไมจํากัดวาจะเปนดานการทหาร

หรือในเชิงพานิชย เราแทบจะแยกความแตกตางไมไดเลยระหวางหองแล็บที่มีขีดสมรรถนะในการพัฒนาอาวุธทําลายลาง

สมรรถนะสูงกับ กับหองแล็บที่ผลิตงานวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต แถมผลวิจัยที่ไดจากหองแล็บสองประเภทน้ีก็พรอมที่

จะถูกถายทอดไปมาใหแกกัน หรือถูกเผยแพรออกไปสูสาธารณชนอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งโดยตั้งใจและไมต้ังใจ

เน่ืองจากปจจุบันนี้มีเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมครอบคลุมไปอยางกวางขวางทั่วโลกจนยากที่จะมีใครมากําหนด

ควบคุมวาวันน้ีมีบทความวิจัยถูกตีพิมพผานเว็บไซทไหนบาง หรือมีการสงอีเมลลระหวางนักวิจัยคนไหนบาง สงผลให

งานวิจัยเร่ืองการผลิตจุลชีพใหมชิ้นเดียวกันอาจถูกนําไประยุกตใชในทิศทางตรงขามกันไดอยางไมนาเชื่อ เชนถาแพทยผู

เสียสละและทุมเทนําไปใชผลิตยาหรือวัคซีนก็อาจจะชวยชีวิตเพื่อนมนุษยไดเปนจํานวนมาก แตถาเปนอัจฉริยะโรคจิต

นําไปใชผลิตเชื้อโรคก็อาจจะทําลายชีวิตมนุษยไดทีละมากๆ เชนกัน

ที่สําคัญ อัตราการเติบโตของเทคโนโลยีจีเอ็นอาร และเทคโนโลยีสมัยใหมอ่ืนๆ ตางลวนเปนไปในอัตรา

กาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเช่ียล) จนยากที่ความสามารถในรับรูทําความเขาใจของมนุษยแตละคนยากจะติดตามทันได

เพราะในขณะที่อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร สารสนเทศ พันธุวิศวกรรม จุณเทคโนโลยี และหุนยนตศาสตร กาวหนาข้ึน

หลายเทาตัวในแตละป มันสมองของมนุษยสมัยใหมกับมันสมองของ

มนุษยยุคพุทธกาลเมื่อกวาสองพันปที่แลวก็ดูเหมือนวาจะไมไดถูกพัฒนาให

แตกตางไปจากเดิมสักเทาใดเลย (ใครจะกลากลาวอางไดเต็มปากวาตนเอง

มีมันสมองที่เฉลียวฉลาดกวาพระพุทธเจา พระเยซู พระโมฮําหมัด ขงจื้อ

หรือ เลาจ้ือบาง)

จนอาจกลาวไดวา สภาพสังคมที่สับสนวุนวายในยุค

ปจจุบันน้ีเปนเพราะมนุษยไมรูจะรับมือกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถาโถมเขามา

อยูตลอดเวลาใหถูกตองและเหมาะสมไดอยางไร จนบางคร้ังก็นาสงสัยวา

มนุษยกําลังใชเทคโนโลยี หรือถูกเทคโนโลยีใชกันแน จริงอยู การพัฒนา

ดานวัตถุและเทคโนโลยีอาจจะทําใหชีวิตมนุษยมีความเปนอยูที่สะดวกสบาย และยืนยาวข้ึนกวาเดิม แตถามจริงๆ เถอะ

วามนุษยน้ันมีความสุขมากข้ึนหรือลดลงกวาเดิม หากมนุษยมีความสุขมากข้ึนทําไมจึงมีคนจนเข็ญใจอยูทั่วไปหมดทั้ง

แผนดิน แถมดูเหมือนชองวางระหวางคนจนกับคนรวยจะถูกถางออกไปจากเดิมมากข้ึนเร่ือยๆ ทั้งคนรวยที่เพียบพรอมไป

ดวยทรัพยศฤงคารเองก็ใชจะมีความสุข เพราะยังตองลําบากแสวงหาสิ่งกลอมตางๆ มาชวยทําใหชีวิตหมดสิ้นไปเปนวันๆ

ไมวาจะเปน เหลา บุหรี่ ยาอี ยามา ฯลฯ อีกทั้งอัตราการฆาตัวตายของประชากรในประเทศที่วากันวาพัฒนาแลวก็ยังเพ่ิม

สูงขึ้นไปเรื่อยๆ

ทางเดียวที่ บิลล จอย เห็นวาพอจะปกปองโลกจากการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมไปใชในทางที่ผิดก็คือ

การปลุกจิตสํานึกของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก ใหตระหนักถึงคุณคาทางคุณธรรมและจริยธรรมของมนุษยไวใหมาก

เพ่ือจะไดคอยกํากับสติเวลาที่มีการประดิษฐคิดคนหรือพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ขึ้นมา ไมใชคิดแตวาตนเองจะทําอะไรได

บาง ตองคิดวาควรทําหรือไมดวย นักวิทยาศาสตรอาจจะตองมีการปฏิญานตนในเรื่องจริยธรรมในลักษณะที่ชัดเจน

คลายๆ กับที่แพทยมีการรักษาจรรยาบรรณแพทย (Hippocratic oath) ทั้งควรจะหันมาแสวงหาคุณคาเดิมๆ ในชีวิตที่

บรรพบุรุษเคยคนพบและสั่งสอนไวในอดีต โดยเฉพาะในแงของปรัชญาและศาสนา เพราะในขณะที่ความรูในเชิง

เทคโนโลยีน้ันแคเพียงพนปก็ลาสมัย แตหัวใจของศาสนาน้ันยังคงทันสมัยอยูเสมอแมเวลาจะลวงมานับเปนพันๆ ป (พูด

แบบภาษาพระก็ตองวา ศาสนาที่ถูกตองน้ันเปน "อกาลิโก")

ราคาของความรู

การชี้ใหเห็นภัยแอบแฝงที่อาจจะเกิดตามมากับการพัฒนาเทคโนโลยีจีเอ็นอารนั้นมิไดหมายความวา บิลล

จอย จะปฏิเสธการศึกษาวิจัยเพ่ือใหไดมาซ่ึงองคความรูใหมทางวิทยาศาสตร เพราะเขายังคงเช่ือม่ันวาความใฝรูคือคุณคา

พ้ืนฐานของมนุษย ดังที่อริสโตเติ้ลไดเคยกลาวไววา "มนุษยทุกคนที่เกิดมาลวนมีความใฝรู (All men by nature desire

to know)" ซ่ึงผูเขียนอยากจะย้ําขอความดังกลาวอีกแรงดวยคําสอนของทานเจาคุณธรรมปฎก "ที่วามนุษยเปนสัตว

ประเสริฐนั้นเปนการอวดอางลอยๆ ไมเปนความจริง ที่ถูกจะพูดวามนุษยเปนสัตวประเสริฐเพราะมีการเรียนรูได หากไม

มีการเรียนรูมนุษยก็ไมไดประเสริฐไปกวาสัตวเดรัจฉนาอ่ืนๆ เลย"

เพราะมนุษยเมื่อแรกเกิดน้ันดอยกวาสัตวทุกประเภท ดวยไมสามารถปกปองตนเองไดเลยหากไปทิ้งไวที่

ไหนก็คงจะตาย ไมรูจักชวยตนเอง ไมสามารถหาอาหารกินเอง ตองอาศัยพอแมคอยฟูมฟกเอาใจใสใหการศึกษา สอนให

เดินและพูด สอนใหรูจักกับภาษา และการทํามาหากิน จนกระทั่งแนใจวาลูกหลานของตนเองสามารถเลี้ยงตัวได จึงปลอย

ใหออกไปสรางครอบครัวใหม กลายเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความเจริญกาวหนามากขึ้นกวาบรรพบุรุษของตนเอง โดยทั้งหมดที่

กลาวมานี้มิไดหมายความวาลูกหลานของมนุษยจะประเสริฐหรือฉลาดกวาบรรพบุรุษของตนเองจริงๆ แตเปนผลจาก

มรดกทางความรูหรือทุนทางสังคมที่ถูกถายทอดจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง ไมตองไปลองผิดลองถูกหรือประดิษฐคิดคน

ความรูใหมๆ ขึ้นมาดวยตนเอง

ซึ่งในเรื่องการศึกษาวิจัยใหไดมาซึ่งองคความรูใหมๆ นี้ก็มักจะเปนเร่ืองที่มีขอถกเถียงกันอยูในหมูของ

นักวิทยาศาสตรและนักการศึกษา น่ันคือ มักจะมีผูต้ังคําถามขึ้นมาเสมอถึงตนทุนที่ถูกใชไปเพ่ือการศึกษาหาความรูใหมๆ

โดยเฉพาะความรูที่เมื่อแรกน้ันยากจะประเมินถึงความคุมคา เชน โครงการอวกาศของนาซา โครงการกลองโทรทรรศน

ฮับเบิ้ล หรือการคนหาอนุภาคใหมๆ ดวยการสรางเครื่องยิงอนุภาคขนาดมโหฬารขึ้นมา ฯลฯ ซึ่งบางคร้ังหลังจากไดองค

ความรูใหมๆ ตรงกับความอยากรูอยากเห็นของผูวิจัยแลว ก็อาจจะตองหาทางวิจัยตอไปอีกวาจะนําเอาความรูใหมที่วาน้ัน

ไปใชประโยชนอะไรได ทําใหเกิดเปนความพยายามจําแนกระหวางงานวิจัยบริสุทธิ์ (pure research) ที่มุงไปที่การ

แสวงหาความรูใหมๆ โดยไมตองคํานึงถึงความคุมคา ในทํานองวารูเพ่ือรู กับงานวิจัยประยุกต (Applied research) ที่มุง

ไปที่การใชประโยชนจากองคความรูใหม

แตก็อีกน่ันแหละ บางครั้งก็ยากมากที่จะใหคําจํากัดความ

งานวิจัยบางอยางวาเปนงานวิจัยบริสุทธิ์ หรืองานวิจัยประยุกต คลายๆ กับที่เคย

ถกเถียงกันอยูในอดีตเกี่ยวกับเรื่องศิลปะ ในทํานองวาศิลปะที่ถูกตองควรจะเปน

ศิลปะเพ่ือศิลปะ ไมใชศิลปะเพ่ือการพาณิชย ศิลปะเพ่ือชีวิต หรือศิลปะเพ่ือมวลชน

ฯลฯ และงานศิลปะบางชิ้นก็อาจจะถูกจัดกลุมไปอยูในประเภทเพ่ือมวลชนทั้งๆ ที่เจาตัวผูผลิตช้ินานเองอาจจะไมไดคิด

มากถึงขนาดวางานของตนเองจะเปนศิลปะประเภทใดเสียดวยซํ้า ดังนั้น หากจะมาน่ังตีความกันเร่ืองความรูหรือศิลปะ

แลวก็คงไมจบลงงายๆ เพราะมีแตผูสรางงานเทานั้นจึงจะรูชัดวาตนเองมีเหตุผลเชนไรในการวิจัยหรือสรางงานแตละช้ิน

อยางไรก็ตาม แมวาบางครั้งผูริเริ่มศึกษาองคความรูใหมแตละอยางอาจจะมีเจตนาบริสุทธ์ิเพียงอยาง

เดียว แตเมื่อความรูอันเปนผลที่ไดจากการศึกษาน้ันปรากฏสูสายตาสาธารณชนแลว ความรูดังกลาวก็แทบจะพนไปจาก

การควบคุมของผูสรางความรูไปอยางเด็ดขาด คลายๆ กับกรณีของ อัลเบิรต ไอนสไตน ที่หลังจากเผยแพรแนวทฤษฎี

สัมพันธภาพออกสูสาธารณชนแลว ก็หมดอํานาจควบคุมทิศทางการพัฒนาองคความรูน้ีไปโดยปริยาย หากจะมีใครนําไป

พัฒนาเปนระเบิดนิวเคลียรสักก่ีรอยกี่พันลูก ไอนสไตน ก็ไมมีสิทธิ์จะไปหามได

ดังน้ัน ที่บิลล จอย กลาวเตือนเราเร่ืองการวางแผนควบคุมการใชความรูและเทคโนโลยีจีเอ็นอารจึง

ไมใชข้ันตอนหลังจากที่ความรูถูกเผยแพรออกไป แตจะตองเริ่มตั้งแตกระบวนการคนควาวิจัยอันเปนชวงเวลาที่ผูคิดคนยัง

มีโอกาสควบคุมและกําหนดทิศทางการพัฒนาความรูของตนไดอยู เปรียบเสมือนการเลี้ยงดูบุตรหลานของตน พอแมก็มี

หนาที่ตองอบรมเลี้ยงดูใหลูกหลานของตนเติบโตไปในทิศทางที่จะสรางความเจริญใหกับทั้งตนเองและสังคม ไมใชสราง

อัจฉริยะโรคจิตออกไปสูสังคม เพราะเม่ือลูกโตเปนผูใหญมีความคิดเปนของตนเองแลว พอแมก็คงหมดสิทธที่จะไปช้ีนําได

อีก และเม่ือน้ันแหละที่กรรมจากการไมทําหนาที่บุพการีใหดีก็จะตามมาสนองใหพอแมตองทนทุกขไปตลอดชวงชีวิตที่

เหลือ หรือถาเปรียบกลับไปเปนเร่ืองกรรมของสังคมเชนที่ที่ผูเขียนเคยกลาวไวขางตน นักวิทยาศาสตรที่ไมมีความ

รับผิดชอบและสังคมโดยรวมก็ตองทนทุกขจากภัยที่มาจากเทคโนโลยีใหมๆ ที่ถูกคิดคนข้ึนมาเชนกัน ไมวาจะเปน ภัยจาก

อาวุธนิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ อุบัติภัยทางธรรมชาติจากการที่สิ่งแวดลอมถูกทําลาย และลาสุด ที่อาจจะมาถึง

ในเร็ววันก็คือ การสูญสิ้นเผาพันธุมนุษยดวยผลผลิตจากเทคโนโลยีจีเอ็นอาร

ความฉลาดของเคร่ืองจักร

ความฉลาดของเครื่องจักรนับเปนอีกเรื่องหน่ึงที่มีผูวิตกกังวลกันมาก เพราะถาดูจากอัตราการพัฒนา

ประสิทธิภาพของอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรที่ดําเนินไปดวยความเร็วแบบกาวกระโดดเชนปจจุบันน้ี (กฏของมัวร)

หลายคนเช่ือวาไมเกินป ค.ศ. 2030 คอมพิวเตอรก็จะมีความฉลาดมากขึ้นลานเทา จนเกินระดับความฉลาดของมนุษยไป

ไกล เพราะมนุษยฉลาดเทาเดิม ในขณะที่เครื่องจักรฉลาดข้ึนปละกวาเทาตัว แตก็อีกนั่นแหละ ลําพังแคคําวา "ฉลาด" ก็

ดูจะเปนเรื่องที่วิเคราะหตีความไดคอนขางยากอยู เพราะไมมีจุดตัดที่ชัดเจนระหวางระบบคอมพิวเตอรที่ชาญฉลาดรูจัก

คิดคํานวนไดดวยตนเองกับระบบคอมพิวเตอรที่ไมฉลาดเพราะตองทํางานทุกอยางตามที่มนุษยไดโปรแกรมไว

ยกตัวอยางเชน ถาให

มนุษยคํานวนสมการทางคณิตศาสตรแขง

กับเคร่ืองคอมพิวเตอร เราคงจะบอกวา

เครื่องคอมพิวเตอรฉลาดหมดทุกเคร่ือง

เพราะสามารถคิดคํานวนโจทยยากๆ ได

เร็วกวา และถูกตองกวามนุษยทั้งๆ ที่

วิธีการคํานวนตางๆ นานาน้ันเปนสิ่งที่

โปรแกรมเมอรไดปอนเขาไป ไมใชอยูๆ

เคร่ืองคอมพิวเตอรจะเรียนรูและพัฒนา

วิธีการคํานวนของตนขึ้นมาเอง เหมือนอยางโปรแกรมวินโดวส 2000 ที่วาฉลาดขึ้นกวาวินโดวส 95 หรือ 98 เยอะน้ัน ก็

เปนผลจากที่วิศวกรคอมพิวเตอรของไมโครซอฟทปอนขอมูลคําสั่งใหมๆ เพ่ิมเติมเขาไปทั้งน้ัน ไมเคยเลยที่เราจะไดเห็น

โปรแกรมหลานี้รูจักเรียนรูพัฒนารูปแบบการทํางานใหมๆ ข้ึนมาดวยตัวของมันเอง

ดังน้ันในทางปฏิบัติ เมื่อพูดถึงความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) ของ

คอมพิวเตอร จึงมักจะใชเกณฑของอลัน เทอรริ่ง (Turing test) เปนตัวตัดสิน โดยเทอรร่ิงไดเสนอความคิดวาการวัด

ความฉลาดของหุนยนตหรือเครื่องจักรใหออกมาเปนตัวเลขชัดเจนเปรียบกันไดน้ันเปนเร่ืองยากแทบจะไมมีเปนไปไดจริง

ในการปฏิบัติ ควรจะใชวิธีทดสอบรวมๆ กันไป ในแงที่ใชมนุษยเปนผูสังเกตุการณ ดวยการใหผูสังเกตุนั่งอยูในหองที่ก้ัน

มานไวสองดาน ดานหนึ่งวางเครื่องคอมพิวเตอรไวสวนอีกดานหน่ึงเปนมนุษย จากน้ันใหผูสังเกตุสนทนาโตตอบกับคู

เจรจาหลังมานทั้งสองดาน (อาจจะใชวิธีคียคําถามผานคียบอรด) หากผูสังเกตุการณมากกวา 50 % ไมสามารถแยกแยะ

ไดวาหลังมานไหนเปนเคร่ืองคอมพิวเตอร ก็แสดงวาเคร่ืองคอมพิวเตอรเครื่องน้ันมีความฉลาดเทียม

นอกจากน้ัน ยังมีการจําแนกระบบปญญาประดิษฐตามลักษณะการใชงานออกเปนสองลักษณะ ลักษณะ

แรกน้ันหมายถึงระบบปญญาประดิษฐที่เขามาทํางานแทนที่การตัดสินใจของมนุษยเลย มีศัพทเฉพาะเรียกวา "Strong AI"

ยกตัวอยางเชน การสรางหุนยนตที่ทํางานเลียนแบบมนุษยไดจริงๆ หรือการสรางสิ่งชีวิตเสมือน (Virtual) ที่แมวาจะจับ

ตองเน้ือตัวไมไดเหมือนหุนยนต แตก็สามารถตอบโตกับมนุษยไดประหนึ่งวามีตัวตนจริงๆ ตลอดจนอาจจะวิ่งเพนพานไป

ในเครือขายการสื่อสารอยางอินเทอรเน็ตไดดวย สวนระบบปญญาประดิษฐลักษณะที่สองน้ันเรียกวา "Weak AI" ที่ไมได

ถูกออกแบบมาทดแทนการตัดสินใจของมนุษย แตจะชวยใหมนุษยสามารถทํางานที่สลับซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

เชน ระบบผูเช่ียวชาญดานการบินที่ชวยควบคุมกลไกหลายๆ สวนภายในระบบควบคุมเคร่ืองบิน (นักบินเปนผูสั่งงาน)

หรือระบบผูเช่ียวชาญดานการรักษาที่คอยเตือนแพทยใหทราบวาควรเสริมการรักษาอะไรใหกับผูปวยบาง (แคแนะนํา แต

จะทําหรือไมทําน้ันเปนวินิจฉัยของแพทย)

อยางไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับปญญาประดิษฐนั้นมักจะมองแตความชาญฉลาดและความสามารถใน

การเรียนรูของมนุษย โดยแทบไมใสใจวาสมองของมนุษยน้ันยังมีดานหน่ึงที่เรียกวาอารมณ (Emotion) ซึ่งควบคุมการ

กระทําอยู โดยผลที่เกิดขึ้นจากอารมณน้ันอาจจะเปนไปในดานดีหรือดานรายก็ได เพราะความผิดพลาดของมนุษย (To

err is human) นั้นสามารถจะเกิดข้ึนไดทั้งในขณะที่เจาตัวอารมณดีและอารมณราย ดังน้ัน การเรียนรูความฉลาดของ

มนุษยโดยไมพูดถึงอารมณก็ออกจะเปนเร่ืองที่ผิดพลาดอยู ยกตัวอยางเชน การทดสอบความฉลาดเทียมแบบ Turring

test น้ันก็มีขอแยงไดมากเมื่อคํานึงถึงเรื่องอารมณที่อาจจะเกิดขึ้นไดกับ

มนุษยที่ทําตนเปนผูทดสอบ (observer) หนามาน และมนุษยที่เปน

ตัวอยางของการทดสอบหลังมาน (control sample) เพราะมนุษยทุกคน

ยอมมีอารมณและอคติเปนที่ต้ัง หากคําตอบที่ไดรับถูกตองจนยากจะเช่ือได

วามาจากสมองของมนุษย ผูทดสอบยอมช้ีออกมาไดโดยงายวาฝงไหนของ

มานคือคอมพิวเตอร

ซึ่งหากจะทําใหแยกกันไมออกจริงๆ ระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย ผูทดสอบ Turring test ก็คงตอง

แกไขใหคอมพิวเตอรมีการตอบที่ผิดพลาดไปตามวิสัยมนุษยไดบาง แตก็คงจะไมตรงกับเปาหมายของการทดสอบนัก

เพราะการทดสอบน้ันตองการหาความฉลาดเทียม หรือปญญาประดิษฐ ไมใชทดสอบวาเหมือน/หรือไมเหมือนมนุษย ที่

อาจจะทําใหหลงทางไปไดไกล เพราะมนุษยนั้นมักจะตัดสินใจโดยอาศัยอารมณมากกวาความฉลาด ดังจะเห็นไดจากการ

ที่แพทยบางคนที่เขาใจถึงกลไกทางพยาธิวิทยาของเหลาและบุหร่ีดี ก็ยังคงบริโภคสิ่งเสพติดเหลาน้ีไดเปนปรกติ หรือพวก

วีรชนที่มีบทบาทเรียกรองความเปนธรรมใหกับสังคมน้ัน บางครั้งทั้งๆ ที่รูวาจะนําความตายมาสูตนเองก็ยังเดินหนาเขาสูช

ตากรรมดังกลาว ฯลฯ

นอกจากน้ัน หากนักวิทยาศาสตรมุงพัฒนาคอมพิวเตอรใหเหมือนมนุษยกันจริงๆ ก็อาจจะเปนการเรงให

โลกเราถูกทําลายลงไปไดรวดเร็วขึ้น เพราะเมื่อเราพิจารณาประวัติศาสตรของมนุษยชาติใหดี จะเห็นไดวามนุษยมีการ

ตัดสินใจที่ผิดพลาดจนนําไปสูการทําลายลางเผาพันธุของมนุษยเองอยูบอยๆ ไมวาจะเปนสงครามโลกทั้งสองครั้ง การลา

อาณานิคม การทําลายสิ่งแวดลอม การพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพในการทําลายสิ่งแวดลอมไดรุนแรงมาก

ข้ึน ฯลฯ ดังนั้น ทางที่ดีนักวิทยาศาตรควรจะวางแผนกําหนดทิศทางการพัฒนาดานปญญาประดิษฐไวใหถูกตองเสียแต

เน่ินๆ หาทางทําใหคอมพิวเตอรมีความชาญฉลาดที่จะไมนําไปสูความผิดพลาดเหมือนมนุษย (ฉลาดในการทําลายตัวเอง)

ประหน่ึงพอแมที่วางแผนอนาคตที่ดีใหกับบุตรหลานของตน

พุทธศาสตรตานกระแสวัตถุนิยม

จากที่ไดกลาวมาตั้งแตบทความเทคโนโลยีจีเอ็นอารตอนตน จะเห็นไดวาสิ่งที่เปนภัยคุกคามของ

มนุษยชาติจริงๆ น้ันมิใชตัวเทคโนโลยี แตเปนจิตใจของมนุษยเอง จิตใจที่ใฝแตดานวัตถุ มุงแสวงหาความรูทาง

วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมาเพ่ือการตอบสนองความตองการดานวัตถุของตัวมนุษยเองเปนหลัก จนบางครั้งลืมนึกไป

ถึงผลลัพธุที่จะติดตามมาในระยะยาว เชน ความกาวหนาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นเม่ือดูผิวเผินอาจจะดู

เหมือนเปนเรื่องดี เพราะทําใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูสะดวกสบาย มสขภพดข้ึน และมีอายุเฉลี่ยยืนยาวขึ้นอยางเห็นได

ชัด แตเม่ือมองลงไปใหลึกกลับจะพบวามนุษยมีความทุกขมากข้ึน จากสภาพที่ตองถูกกระตุนใหมีการบริโภควัตถุอยาง

เกินขีดพอดีจากสภาพสังคมรอบดาน

มนุษยบริโภคมากเสียจนกระทั่งไปรบกวนสภาพแวดลอมทางธรรมชาติเกิดเปนภัยพิบัติอยางเอลนิญโญ

และเอลนินาติดตามมา เทานั้นยังไมพอ ความตองการบริโภคของมนุษยมีมากเสียจนตองไปเบียดบังเอาจากเพ่ือนมนุษย

ดวยกันเอง ซ่ึงถาเบียดบังกันหนักๆ ก็อาจจะนําไปสูสงคราม และภัยคุกคามดานอาวุธ ในขณะที่การเบียดบังกันแบบ

เบาะๆ คอยเปนคอยไปก็จะกลายเปนลาอาณานิคมซึ่งคลี่คลายไปเปนการโจมตีคาเงิน การเขาครอบคลุมสภาพเศรษฐกิจ

ในประเทศหน่ึงโดยนักธุรกิจกลุมเล็กๆ จากอีกประเทศ มีการแยงชิงทรัพยากรจากคนหม่ืนลานคนทั่วโลกไปอยูในมือของ

คนที่มีสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจระดับสูงกวาเพียงไมถึงแสนคน มีคนเพียงไมกี่ลานที่ไดรับอนสงคจากความเจริญ

ทางดานวัตถุ ทําใหมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น แตมนุษยที่เหลืออีกนับเปนหมื่นลานทั่วโลกกลับตองเผชิญกับความทุกขยากจาก

การแบงสรรทรัพยากรที่ไมเปนธรรม และของเสียที่หลงเหลือจากการเรงกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม

ลาสุด แมวาโลกเราจะพัฒนาจากระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมที่ใชทรัพยากรทางธรรมชาติมากๆ มี

ของเสียเยอะๆ ไปสูระบบการผลิตที่มิตรกับธรรมชาติ หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน

(sustainable development) จนกระทั่งอุตสาหกรรมที่เนนในเร่ืองสารสนเทศและ

ความรูลวนๆ อยางอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร หรือธุรกิจอี-คอมเมิรซ ที่แทบจะไมไดมี

การนําเอาทรัพยากรจากธรรมชาติมาใชในกระบวนการผลิต หรือไมมีการระบายของ

เสียจากกระบวนการผลิตออกสูธรรมชาติเลยก็ตาม สภาพความเหลื่อมล้ําในสังคม

มนุษยก็ยังคงดํารงอยู เผลอๆ จะยิ่งมากขึ้นกวาเดิมเสียดวยซ้ํา เพราะชนชั้นลางของ

สังคมยังคงมีโอกาสเขาถึงความรู หรือสารสนเทศไดนอยกวาเชนเดิม

ที่หนักหนาสาหัสกวาน้ันก็คือ แมกระทั่งตัวนักวิทยาศาสตรหรือชนช้ัน

นําของสังคมที่มีโอกาสไดเขาถึงทรัพยากรสําคัญของโลกคือ "ความรูและสารสนเทศ" ได

มากกวาหรือรวดเร็วกวาผูคนกลุมอ่ืนๆ ก็ยังตองทนทุกขอยูกับกองกิเลศและความอยาก

ไดที่ไมสิ้นสุดของตนอยูดี เพราะทุกวันนี้มีขอมูลความรูใหมๆ เกิดข้ึนมากมายในอัตรา

เรวแบบกาวกระโดดเชนเดียวกับเทคโนโลยีสมัยใหมอ่ืนๆ สงผลใหโลกเรายิ่งสลับซับซอนยากทําความเขาใจมากยิ่งขึ้นไป

อีก เมื่อบวกกับระบบการศึกษาสมัยใหมที่มุงเนนใหมนุษยแตละคนมีความรูความชํานาญที่ลึกและจําเพาะดานลงไป

เรื่อยๆ มนุษยก็ยิ่งคับแคบและต้ืนเขินข้ึนเร่ือยๆ ดังจะสังเกตุไดจากวิธีการแกปญหาของมนุษยสมัยใหมที่มักจะมุง

แกปญหาเฉพาะหนาที่ตนเองเผชิญอยู เพียงเพื่อจะนํามาซึ่งปญหาใหมๆ ที่สลับซับซอนและแกยากขึ้นกวาเดิมไปเร่ือยๆ

(technofix)

ทางออกของมนุษยจึงไมใชการพยายามเรียนรูและกาวใหทันกับเทคโนโลยีสมัยใหมแตเพียงอยางเดียว

เพราะถึงจะกาวใหเร็วเพียงไหนก็คงไมทัน (อยาลืมวาเทคโนโลยีสมัยใหมทุกอยางพัฒนาไปในอัตรากาวกระโดด ในขณะที่

สมองมนุษยแทบจะไมตางไปจากสมองของมนุษยยุคพุทธกาลเลย) ทางออกที่ดีสําหรับมนุษย คือจะตองหันกลับมาศึกษา

ตนเอง กลับมาศึกษาถึงตัวตนและความเปนมนุษย เหมือนกับยุคที่พระสิทธัตถะพุทธเจา พระโมฮําหมัด พระเยชู เลาจ้ือ

ขงจื้อ อริสโตเติ้ล เดสการต ฯลฯ เคยศึกษา คนพบ และถายทอดใหกับสานุศิษยกันมากอนแลว โดยเฉพาะคําสอนของ

องคสมเด็จสัมมาสัมพุทธเจาดวยแลว ก็ย่ิงจะมีความเปนอกาลิโก และตอบคําถามในโลกสมัยใหมที่วุนวายสับสนไดเปน

อยางดี