Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น

16
File : gnr2.doc page : 1 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262 GNR : episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" ภัยแฝงเรน สุรพล ศรีบุญทรง ในนิตยสารไอทีซอฟทฉบับเดือนมิถุนายนที่ผานมา ผูเขียนไดนําเสนอบทความ GNR : Episode 1 "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" 1 โดยกลาวอางถึงแนวความคิดของ บิลล จอย อัจฉริยะคนหนึ่งของ วงการคอมพิวเตอร ที่ระบุวา เทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) นั้นอาจจะทําใหมวล มนุษยชาติตองสูญสิ้นเผาพันธุลงไปไดหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนา ไวใหดี โดยความกังวลใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีของบิลล จอย นี้ไดถูกบันทึกไวใน บทความชื่อ "Why the future dosen't need us" ของนิตยสารไวรดฉบับ เดือนเมษายนที่ผานมา 2 สิ่งที่ผูเขียนนําเอาเลาไวในไอทีซอฟทฉบับที่แลว สวนใหญจะมุงไปที่การปูพื้นใหทานผูอานรูจักกับ ตัวตนของบิลล จอย และเหตุการณที่กระตุนใหเขาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบดานลบที่อาจจะติดตามมากับ เทคโนโลยีสมัยใหม โดยเนนไปที่พัฒนาการดานคอมพิวเตอร และหุนยนตเปนหลัก ทั้งนี้ ตองเขาใจวาพื้นฐานความรู ดั้งเดิมของบิลล จอย ที่คลุกคลีอยูกับงานคอมพิวเตอรมาแทบจะตลอดชีวิตนั้นยอมจะทําใหเขามองทะลุเทคโนโลยี ประเภทนี้ไดมากกวาสาขาอื่น อยางไรก็ตาม นั่นก็ไมไดหมายความวาเขาจะออนดอยไปในภูมิความรูดานพันธุ วิศวกรรม และจุณเทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีจีเอ็นอารทั้งสามอยางนี้สามารถสอดประสานกันไดอยางลงตัวพอดี เชน เมื่อพัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีตามทฤษฎีของมัวรเริ่มประสบกับทางตัน เพราะไมสามารถจะลดระยะหางระหวาง ทรานซิสเตอรลงไปกวาเดิมไดอีก (ขณะนี้อยูที่ประมาณ 0.18 ไมครอน) ก็พอดีกับเทคโนโลยีเรื่องจุณเทคโนโลยีเขามา เปนทางออกใหกับปญหาดังกลาวไดอยางพอดิบพอดี ความนากลัว ของเทคโนโลยีแหงศตวรรษที21 อยางจีเอ็นอารนั้น อยู ตรงที่มันเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจาก ความรูลวนๆ (Knowledge- based) อาศัยทรัพยากรและ แรงงานมนุษยเขามาเกี่ยวของ นอยมาก จึงเปนสิ่งที่หองแล็ บดีๆ ที่ไหนในโลกก็สามารถ จะพัฒนาขึ้นไดเอง (ไม เหมือนกับมหันตภัยยุค ศตวรรษ 20 อยางนิวเคลียร อาวุธเคมี และอาวุธขีวภาพ

Transcript of Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น

File : gnr2.doc page : 1

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

GNR : episode II

"เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" ภัยแฝงเรน สุรพล ศรีบุญทรง

ในนิตยสารไอทีซอฟทฉบับเดือนมิถุนายนที่ผานมา ผูเขียนไดนําเสนอบทความ GNR : Episode 1

"2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" 1 โดยกลาวอางถึงแนวความคิดของ บิลล จอย อัจฉริยะคนหน่ึงของ

วงการคอมพิวเตอร ที่ระบุวา เทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก

พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N:

Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) น้ันอาจจะทําใหมวล

มนุษยชาติตองสูญสิ้นเผาพันธุลงไปไดหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนา

ไวใหดี โดยความกังวลใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีของบิลล จอย นี้ไดถูกบันทึกไวใน

บทความช่ือ "Why the future dosen't need us" ของนิตยสารไวรดฉบับ

เดือนเมษายนที่ผานมา 2

สิ่งที่ผูเขียนนําเอาเลาไวในไอทีซอฟทฉบับที่แลว สวนใหญจะมุงไปที่การปูพ้ืนใหทานผูอานรูจักกับ

ตัวตนของบิลล จอย และเหตุการณที่กระตุนใหเขาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบดานลบที่อาจจะติดตามมากับ

เทคโนโลยีสมัยใหม โดยเนนไปที่พัฒนาการดานคอมพิวเตอร และหุนยนตเปนหลัก ทั้งน้ี ตองเขาใจวาพ้ืนฐานความรู

ด้ังเดิมของบิลล จอย ที่คลุกคลีอยูกับงานคอมพิวเตอรมาแทบจะตลอดชีวิตน้ันยอมจะทําใหเขามองทะลุเทคโนโลยี

ประเภทน้ีไดมากกวาสาขาอ่ืน อยางไรก็ตาม นั่นก็ไมไดหมายความวาเขาจะออนดอยไปในภูมิความรูดานพันธุ

วิศวกรรม และจุณเทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีจีเอ็นอารทั้งสามอยางน้ีสามารถสอดประสานกันไดอยางลงตัวพอดี เชน

เม่ือพัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีตามทฤษฎีของมัวรเริ่มประสบกับทางตัน เพราะไมสามารถจะลดระยะหางระหวาง

ทรานซิสเตอรลงไปกวาเดิมไดอีก (ขณะนี้อยูที่ประมาณ 0.18 ไมครอน) ก็พอดีกับเทคโนโลยีเรื่องจุณเทคโนโลยีเขามา

เปนทางออกใหกับปญหาดังกลาวไดอยางพอดิบพอดี

ความนากลัว

ของเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่

21 อยางจีเอ็นอารน้ัน อยู

ตรงที่มันเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจาก

ความรูลวนๆ (Knowledge-

based) อาศัยทรัพยากรและ

แรงงานมนุษยเขามาเก่ียวของ

นอยมาก จึงเปนสิ่งที่หองแล็

บดีๆ ที่ไหนในโลกก็สามารถ

จะพัฒนาข้ึนไดเอง (ไม

เหมือนกับมหันตภัยยุค

ศตวรรษ 20 อยางนิวเคลียร

อาวุธเคมี และอาวุธขีวภาพ

File : gnr2.doc page : 2

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

ซ่ึงมีแตหนวยงานขนาดใหญของรัฐเทานั้นที่จะมีสิทธิครอบครอง) และเมื่อกระบวนการผลิตของเทคโนโลยีจีเอ็นอารได

ถูกดําเนินการไป ผลผลิตที่ไดก็ยังมีความสามารถในการผลิตเพ่ิมไดดวยตัวของมันเอง (Self-reproduction) ฉนั้น

หากมนุษยยังคงติดนิสัยการพัฒนาเพ่ือนําไปสูปญหาใหมๆ (technofix) เชนที่เกิดอยูทุกเม่ือเช่ือวันเชนน้ีแลวละก็

ความกังวลของของบิลล จอย ก็คงมีโอกาสปรากฏเปนจริงขึ้นมาไดในเร็วนี้ !!!!

(คําวา Technofix น้ีแปลเปนไทยแบบงายๆ นาจะเทียบไดกับคําวา "การแกปญหาแบบนักเทคโน"

ซ่ึงเปนคําที่ใชพูดประชดประชันประดานักเทคโนโลยีทั้งหลาย 3 ในทํานองวา พวกน้ีถนัดที่จะนําเอาเทคโนโลยี

สมัยใหมมาแกปญหาเพียงเพ่ือจะใหเกิดปญหาใหมที่หนักหนาสาหัสกวาเดิมขึ้นมาแทน เพราะนักเทคโนสวนใหญ

มักจะมีความรูลึกซ้ึงเฉพาะดาน (พูดใหชัดคือ รูลึกแตแคบ) จึงมองปญหาไดไมครอบคลุม มุงแตจะแกปญหาเฉพาะ

หนาที่เผชิญอยูโดยไมคํานึงถึงผลกระทบดานอ่ืนๆ (หรือคํานึงถึงบางก็ไมเขาใจ เพราะความรูที่คับแคบของตนเองไม

เอ้ือใหเขาใจ)

เชน ถาเดินสายไฟ สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุหลายรอยป พวกนักเทคโนก็พรอมจะตัดตนไม

ที่ขวางทางทิ้งเพ่ือประหยัดตนทุนในการเดินสายมากที่สุด โดยไมไดสนใจถึงผลกระทบอ่ืนๆ ที่จะติดตามมาไมวาจะ

เปนคุณคาของตนไมใหญในเชิงนิเวศวิทยา เชิงสังคม หรือเชิงวัฒนธรรม และหากมองใหไกลออกไปจากตัวอยางที่

ยกขึ้นมา เราก็จะเห็นวิธีการแกปญหาแบบนักเทคโนนี้อยูกลาดเกลื่อนทั่วเมืองไทย ไมวาจะเปนปญหาการสราง

โรงไฟฟา การสรางแหลงอุตสาหกรรม การสรางเขื่อน หรือการสรางถนน ฯลฯ)

ทัศนะใหมของนักคอมพิวเตอร

การไดมีโอกาส

เก่ียวของกับการออกแบบ

โครงสรางทางสถาปตยของไมโคร

โพรเซสรุนสําคัญๆ ของโลกมาโดย

ตลอด ไมวาจะเปน SPARC ,

picoJarva หรือ MAJC ทําใหบิลล

จอย มีความเช่ือถือศรัทธาตอกฏ

ของมัวรอยูคอนขางมาก เขายืนยันวาชวงหลายสิบที่ผานมานี้ อัตราการพัฒนาประสิทธิภาพของชิปไมโครโพรเซสเซอร

น้ันจะเปนไปในลักษณะกาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเช่ียล) ตรงตามการคาดการณของมัวรเสมอ จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ น้ี

เองที่กฏของมัวรเริ่มจะถูกต้ังขอสงสัยวาจะไมเปนความจริงอีกตอไป

เพราะเม่ือเราพัฒนาไมโครชิปขึ้นเรื่อยๆ ไดสักระยะ มันก็จะตองเผชิญกับขอจํากัดทางกายภาพบน

ตัวไมโครชิปซึ่งทําใหไมสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของตัวชิปขึ้นไปไดอีก ยกตัวอยางเชน การเพ่ิมประสิทธิภาพของไอซี

ดวยการเพิ่มจํานวนทรานซิสเตอร พรอมกับลดขนาดของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบนตัวชิปไอซีลงไปเร่ือยๆ นั้น สุดทายก็

ภายในเวลาไมเกิน 10 ป (ค.ศ. 2010) วงการอุตสาหกรรมไอซีก็จะตองเผขิญกับภาวะที่ไมสามารถลดขนาด

สายสัญญาณลงไปไดอีก เพราะถาลดขนาดสายสัญญาณใหเล็กลงไปถึงระดับหน่ึงความตานทานของสายสัญญาณก็จะ

สูงเกินกวาจะคงความถูกตองของตัวสัญญาณไวได

File : gnr2.doc page : 3

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

อยางไรก็ตาม ความกังวลของบรรดาวิศวกรไอซีทั้งหลายไดเริ่มคลี่คลายลงไป เม่ือวงการ

วิทยาศาสตรของโลกไดเริ่มรูจักกับเทคโนโลยีชนิดใหมที่เรียกวา "จุณเทคโนโลยี (Nanotechnology) " เพราะแนวคิด

หลักของจุณเทคโนโลยีนั้นคือการนําเอาอะตอมหรือโมเลกุลของสสารมาจัดวางเรียงกันใหเกิดเปนวัสดุสิ่งของหรือ

แมกระทั่งสิ่งมีชีวิตตามที่ผูผลิตตองการโดยมิตองกังวลกับผลผลิตเหลือใช หรือของเสียจากกระบวนการผลิตเลย เทียบ

ไดกับกระบวนการผลิตของคอมพิวเตอร ซึ่งถาเจาะลึกลงไปในผลผลิตทุกอยาง ไมวาจะเปนขอความ ภาพ เสียง หรือ

วิดีโอ ทุกอยางลวนมีที่มาจาก

สัญญาณบิท 0 และ 1 เทาน้ัน

ฉน้ัน หาก

ผูผลิตไอซีสามารถนําอะตอม

ของสสารมาจัดเรียงกันเพ่ือ

สรางชิปไอซีแตละตัวไดจริง

(หลายคนเรียกเทคโนโลยีไอซี

ลักษณะนี้วาเปน

"อิเล็กทรอนิกสระดับ

โมเลกุล" หรือ "Molecular

electronic") อุตสาหกรรม

ไอซีก็จะหมดกังวลกับปญหาขอจํากัดทางกายภาพของตัวไอซีไปไดอีกไมนอยกวา 30 ป น่ันคือ อัตราการพัฒนา

ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรและชิปไอซีก็จะดําเนินไปตามกฏของมัวรตอไปอีกจนถึงป ค.ศ. 2030 เปนอยางนอย

หรือถาเทียบเปนประสิทธิภาพความฉลาดของเครื่องคอมพิวเตอรที่มากข้ึน ก็อาจจะประมาณวาเคร่ืองคอมพิวเตอรใน

ป ค.ศ. 2030 ฉลาดกวาที่เปนอยูในขณะน้ีสักหน่ึงลานเทาตัว และน่ันก็จะทําใหยอนนกลับไปสูประเด็นที่อัจฉริยะโรค

จิต "เธ็ด คาซินสกี้" เคยคาดการณไววามนุษยที่ออนแออาจจะถูกแทนที่ดวยหุนยนตที่ชาญฉลาด เพราะไมสามารถเอา

ตัวรอดจากกฎเกณฑของวิวัฒนาการที่วา "มีแตผูที่แข็งแรงหรือฉลาดกวาเทาน้ัน จึงจะอยูรอดได"

ผลจากการลองประมาณการณคราวๆ พบวาหุนยนตและอุปกรณคอมพิวเตอรในยุคสมัยสามสิบป

ขางหนาจะมีความฉลาดขึ้นกวาเดิมถึงลานเทา ทําใหบิลล จอย ตองหวนกลับมาทบทวนผลงานในอดีตของตนอีกครั้ง

เขายอมรับวาที่ผานๆ มานั้น แมวาเขาจะมีผลงานคอมพิวเตอรที่สังคมยอมรับออกมามากมาย ทั้งที่อยูในรูป

ซอฟทแวรและฮารดแวร (รวมกอตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส, เขียนโปรแกรมบนยูนิกส ออกแบบโปรแกรมจาวา และ

จินิ ฯลฯ) แตเขาไมเคยมีความคิดในหัวสมองเลยวาเขากําลังประดิษฐเครื่องจักรที่มีความฉลาด (Inteligence) อยู

ในตัว สําหรับเขาแลว ประดิษฐกรรมเหลานั้นลวนเปราะบาง และไมมีอะไรที่อาจจะเรียกวาเปนความฉลาดไดเลย สิ่ง

ที่ฮารดแวรหรือซอฟทแวรเหลาน้ันทําได ลวนแลวแตเปนสิ่งที่มนุษยโปปรแกรมใหมันทําเทาน้ัน ไมใชสิ่งที่พวกมันจะ

รูจักคิดรูจักสรางไดเองเลย

ดวยพ้ืนฐานความคิดวา คอมพิวเตอรและหุนยนตน้ันถูกสรางขึ้นมาเพ่ือชวยอํานวยความสะดวกใหกับ

มนุษย ไมใชถูกสรางมาเพ่ือใหคิด หรือมีความฉลาด ทําใหในอดีตน้ัน บิลล จอย มีความสุขกับการสรางสรรผลงาน

ตางๆ นานาออกมา แตปจจุบัน เมื่อเขาเร่ิมตระหนักวาพัฒนาการดานคอมพิวเตอร (ซ่ึงบางสวนเปนผลงานของเขา

เอง) อาจจะนําไปสูจุดจบของมนุษยได ก็ทําใหเขาออกจะไมสบายใจเปนอยางมาก และเริ่มจะไมแนใจในคุณคาของ

File : gnr2.doc page : 4

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

ผลงานของตน เขาเริ่มสงสัยวามนุษยเราอาจจะตีคาความฉลาดของตัวเองไวสูงเกินไปหรือไม (Overestimate) และ

อาจจะเปนการดีกวาหากเราจะตริตรองอยางรอบคอบกอนที่จะเร่ิมคิดคนวิจัยอะไรตอไป ??

"จุณเทคโนโลย"ี ความฝนที่เปนจริง

บิลล จอย เลาวาตัวเขานั้นไดเร่ิมรูจักและประทับใจในความสําคัญของจุณเทคโนโลยีเปนครั้งแรก

เม่ือไดฟงปาฐกถาครั้งสําคัญเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องจุณเทคโนโลยีของนักฟสิกสระดับรางวัลโนเบล "ริชารด เฟยนแมน"

ในป ค.ศ. 1958 กอนที่เฟยนแมนจะตีพิมพเรื่องราวดังกลาวออกมาเปนหนังสือช่ือ "There's Plenty of Room at

the Bottom" ในระยะเวลาตอมา แตบุคคลสําคัญที่มีสวนในการผลักดันใหวงการวิทยาศาสตรทั้งโลกหันมาให

ความสําคัญกับจุณเทคโนโลยีเปนอยางมากเห็นจะไมมีใครเกิน อีริค เด็กซเลอร ซึ่งบรรยายไวอยางชวนฝนหวานวาจุณ

เทคโนโลยีจะนํามาซึ่งโลกแหงพระศรีอาริยไดอยางไรบางภายในหนังสือช่ือ

"Engine of Creation" 4

ตอจากน้ัน อีริค เด็กซเลอร ยังไดเขียนหนังสือออกมาอีกเลม

ช่ือวา "Unbounding the Future : The nanotechnology Revolution" 5

โดยไดบรรยายอนาคตที่สวยหรูของจุณเทคโนโลยีไวอยางนาสนใจ รวมทั้งมีการ

บัญญัติศัพทแสงใหมๆ ไวเพ่ือใชบรรยายถึงการทํางานของจุณเทคโนโลยีไวอยาง

มากมาย ยกตัวอยางเชนคําวา NanoGears หรือ Assemblers ที่หมายถึง

เครื่องจักรขนาดเล็กเพียงไมกี่โมเลกุล (บางทีก็มีคนเรียกวาเปนหุนยนตขนาดจ๋ิว)

ที่ถูกออกแบบมาใหทําหนาที่จัดเรียงอะตอมของสสารเพ่ือใหไดมาซึ่งวัสดุหรือ

ช้ินงานที่ไดรับการออกแบบไว และคําวา NanoComputer ที่หมายถึงคอมพิวเตอรที่ถูกสรางขึ้นจากสารเพียงไมก่ี

โมเลกุล

อีริค เด็กซเลอร ไดจินตนาการถึงประโยชนของ

เครื่องจักรกลขนาดเล็กเพียงไมก่ีโมเลกุลของเขาไววาจะนํามาซ่ึงการ

เปลี่ยนแปลงขนานใหญบนโลก เพราะเราอาจจะใชจุณเทคโนโลยี

ในการสรางเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพสูงแตมีราคา

ถูกมาก อาจจะใชจุณเทคโนโลยีในการรักษาโรคตั้งแตโรคงายๆ

สามัญอยางไขหวัดไปจนกระทั่งมะเร็งรายดวยการกระตุนที่ระบบ

ภูมิตานทานของรางกายโดยตรง อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิต

เครื่องจักรขนาดเล็ก (Ecosystem Protector) ออกไปกําจัดมลพิษชนิดตางๆ ในบรรยากาศเพ่ือใหไดธรรมชาติอัน

บริสุทธิ์กลับคืนมา อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิตเครื่องซูเปอรคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กแคฝามือ อาจจะทําใหยานทอง

อวกาศมีราคาถูกจนใครๆ ก็หาซื้อไวขับเลนไปมาได จนแมกระทั่งอาจจะนําเอาจุณเทคโนโลยีเขาไปประยุกตรวมกับ

พันธุวิศวกรรมเพ่ือจัดสรางสิ่งมีชีวิตที่ไดสูญพันธไปแลวกลับคืนมาสูโลกอีกคร้ัง ฯลฯ

(หมายเหตุ จินตนาการที่ลนเหลือเหลาน้ีมีกลาวไวในหนังสือ "Unbounding the Future : The

nanotechnology Revolution" และ "Engines of Creation" หากทานผูอานสนใจก็อาจจะโหลดมาอานไดฟรีๆ

ทางเว็บไซท http://www.foresight.org/UTF/UnboundLBW/ และเว็บไซท http://www.foresight.org/EOC/)

File : gnr2.doc page : 5

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

จินตนาการชวนฝนของ อีริค เด็กซเลอร นั้นไดสงผลใหมีนักวิทยาศาสตรหลายคนทยอยเขียน

เรื่องราวเกี่ยวกับจุณเทคโนโลยีติดตามมาอีกเปนจํานวนมาก รวมทั้งไดมีการจัดประชุมสัมนาวิชาการวาดวยเร่ืองจุณ

เทคโนโลยีกันเปนประจําทุกป ซึ่งตัวบิลล จอย เองก็เห็นวาการมีเทคโนโลยีใหมๆ เพ่ือรองรับการพัฒนาในอนาคตนั้น

เปนสิ่งที่ดี เพียงแตบางอยางน้ันอาจจะดูเหลือเชื่อเกินไปหนอย ตัวเขาเองเคยลองจินตนาการตามอีริค เด็กซเลอร ไป

เลนๆ วาถาเกิดแนวความคิดของจุณเทคโนโลยีเกิดเปนจริงขึ้นมาได บางทีเขาอาจจะลองตั้งโจทยเปนการบานสําหรับ

ตัวเองใหใชจุณเทคโนโลยีผลิตผีดิบแวมไพรข้ึนมาสักตัวหน่ึง แตอาจจะใหคะแนนพิเศษสําหรับการพัฒนายาแกพิษผี

ดูดเลือดเผื่อไวดวย

กระแสความสนใจเรื่องจุณเทคโนโลยีน้ันถูกบูมขึ้น จนกระทั่งตัว

บิลล จอย เองยังเคยถูกเชิญไปเปนองคปาฐกในที่ประชุม Nanotechnology

Conference กับเขาดวย ในการประชุมครั้งแรกเม่ือเดือนตุลาคม ป ค.ศ. 1989

ในการปาฐกถาคร้ังนั้นเขาไดเอยปากเตือนบรรดาผูฟงไฟแรงไววา "พวกเรา

(นักวิทยาศาสตร) ไมควรจะคิดแคการประดิษฐคิดคนผลงานใหมๆแตเพียงอยาง

เดียว แตจะตองตระหนักในประเด็นเร่ืองจริยธรรมและความถูกตองที่ตัวผลงาน

จะนํามาดวย" 6

หลังจากการเขารวมการประชุมใหญจุณเทคโนโลยีครั้งนั้นเขาได

สนทนาแลกเปลี่ยนความเห็นกับนักฟสิกสช้ันนําหลายคน ซ่ึงตางเห็นพองตองกันวา

แนวความคิดเร่ืองจุณเทคโนโลยีน้ันนาจะไมเวิรก หรือถาเวิรกก็ตองอีกนานหลาย

ป ทําใหตัวเขาแทบจะลืมเร่ืองจุณเทคโนโลยีไปเสียสนิท เพราะตองยายที่ทํางาน

ไปอยูรัฐโคโลราโดเพื่อทุมเทใหกับการพัฒนาซอฟทแวรบนอินเทอรเน็ต (ซึ่งก็คือโปรแกรม Java และ Jini น่ันเอง)

บิลล จอย ตองหันกลับมาใหความสนใจกับจุณเทคโนโลยีใหมในกลางปที่แลว เม่ือไดรับทราบจาก

บรอส ฮาสลาเชอร วาปจจุบันน้ีวงการจุณเทคโนโลยีสามารถผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสระดับโมเลกุล (Moecular

electronics) ไดแลว และสงผลใหเขาตองรีบกลับไปรื้อหนังสือ "Engines of Creation" ของอีริค เด็กซเลอรมาอาน

ทวนอีกครั้งหลังจากปลอยทิ้งไปเกือบ 10 ป โดยเฉพาะในบทที่วาดวย "อันตรายและความหวัง (Dangers & Hopes)"

ซ่ึงเขาจดจําไดเพียงนอยนิด คลับคลายคลับคลาวาเคยมีการกลาวเตือนถึงกรณีที่ "เคร่ืองจักรแหงการสรางสรร

(Engines of Creation)" จะกลับกลายมาเปน "เครื่องจักรแหงการทําลาย "Engines of Destruction)" ไวบาง

เหมือนกัน

อยางไรก็ดี เม่ือ บิลล จอย นําหนังสือ "The Engines of Creation" กลับมาอานทวนอีกครั้ง เขา

กลับพบวามีการคาดการณถึงภยันตรายของจุณเทคโนโลยีไวนอยมาก โดยเด็กซเลอร ไดเคยบรรยายไววาผลจากการ

นําจุณเทคโนโลยีมาใชน้ันมาจะนํามาซึ่งเหตุการณที่ :-

"ตนไมมีใบตามธรรมชาติไมสามารถแขงขันกับเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มนุษยสรางขึ้น ทําใหโลก

ของเราตองถูกปกคลุมไปดวยบรรดาตนไมเทียมอันมีใบที่กินไมได แบคทีเรียที่ยอยสลายสสารไดทุกประเภทอาจจะ

คุกคามใหแบคทีเรียตามธรรมชาติตองลดนอยถอยจํานวนลงไป ในที่สุด เจาพวกแบคทีเรียสังเคราะหพวกนี้ก็อาจจะ

แพรขยายออกไปดั่งไฟลามทุง และสงผลใหชั้นบรรยากาศที่เอื้อตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตบนโลก (Biosphere) ถูก

ยอยสลายลงเปนผุยผงไดภายในชวงเวลาไมก่ีวัน บรรดาตัวอันตรายขนาดจ๋ิวที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Dangerous

replicators) อาจจะเพิ่มจํานวน และความรายกาจขึ้นไดอยางนาใจหาย (โดยเฉพาะเม่ือเราไมไดเตรียมการณรองรับ

File : gnr2.doc page : 6

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

ปญหาไวกอน) อันจะนํามาซึ่งปญหาสารพันเชนเดียวกับที่เราเคยตองประสบกันมากอนในความพยายามควบคุมไวรัส

กอโรค และแมลงศัตรูพืช

สําหรับบรรดาผูเชี่ยวชาญดานจุณเทคโนโลยีแลว เรามักจะเรียกปญหาทํานองน้ีรวมๆ กันไปวาเปน

"gray goo problem" ซ่ึงมิไดหมายความวาตัวปญหาที่วานี้จะตองมีลักษณะอันไมนาพิศมัย (gray) หรือเหยอะๆ

(gooey) อยางชื่อของมัน แตหมายความวาบรรดาพวกกอปญหาที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Uncontrolled replicator)

เหลานี้ควรจะถูกกําจัดออกไป เนื่องจากตัวของมันน้ันมีคุณคานอยมาก จนไมอาจแมแตจะเทียบกับตนหญาวัชชพืชใน

สวน จริงอยู พวกมันอาจจะเหนือกวาสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ ในเชิงวิวัฒนาการ แตน่ันก็มิไดหมายความวาจะทําใหมันมีคุณคา

สูงตามไปดวย

ปญหาเร่ือง Gray goo problem น้ันมีสวนดีตรงที่มันชวยใหเราไดตระหนักวา ไมควรจะปลอยใหมี

อุบัติเหตุอันจะนําไปสูการเพ่ิมปริมาณของตัวปญหาเหลาน้ีเกิดขึ้น"

กลาวโดยรวมๆ แลว ปญหาที่มีการพูดถึงในหนังสือของอีริค เด็กซเลอร สวนใหญดูจะเนนไปในเรื่อง

ปญหาในเชิงเทคนิคและเชิงกฏหมายที่อาจจะมีติดตามมามากกวา ซึ่งก็เปนเหตุผลสําคัญใหเด็กซเลอรไดกอต้ัง

สถาบันฟอรไซทขึ้นมาเพ่ือใหคําปรึกษา และเตรียมพรอมกับปญหาเชิงเทคนิค และเชิงกฏหมายที่จะติดตามมากับจุณ

เทคโนโลยี โดยเฉพาะปญหาในสวนของจุณอิเล็กทรอนิกส (Nano Electronics) ซ่ึงถือวาเปนสาขาสําคัญของจุณ

เทคโนโลยี (เพราะมันอาจจะสรางผลกําไรจากการลงทุนไดอยางมหาศาล จึงนาจะเปนสาขาที่มีอัตราการเติบโตสูง

ที่สุดในบรรดาจินตนาการทั้งหลายทั้งปวงที่

เด็กซเลอรไดเคยพรรณาไว)

โลกควรจะมีแตพืชเพ่ือการบริโภค ?

ถัดจากเรื่องชวนวิตกกังวล

เก่ียวกับ คอมพิวเตอร หุนยนต และนาโน

เทคโนโลยี บิลล จอย ก็หันมาต้ังขอสังเกตุ

เก่ียวกับภัยแฝงเรนเรื่องพันธุวิศวกรรมตอ

โดยเฉพาะเรื่องพืชพรรณธัญญาหารดัดแปลง

สารพันธุกรรม (GMOs) ที่ไดจากเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม เขามีความเห็นวาเราควรจะไดทําความเขาใจเก่ียวกับ

ผลกระทบที่เกิดจากพัฒนาการดานพฤกษศาสตรกันใหถองแทเสียกอน และไดยกเอางานเขียนช่ือ "A Tale of Two

Botanies" ของอมอรี และ ฮันเตอร ลาแวง 7 มาประกอบการอธิบายถึงผลกระทบดานลบที่อาจจะเกิดขึ้นจาก

เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม

สิ่งที่ไดรับการเนนยํ้าอยูเสมอในบทความของลาแวง คือ ความคิดที่วา โลกเราที่เปนอยูทุกวันน้ี

ไดรับการหลอหลอมมาอยางคอยเปนคอยไป การที่จะมีหรือไมมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดลวนเปนผลมาจากการคัดเลือก และ

ทดสอบอยางพิถีพิถันจากธรรมชาติ มนุษยจึงไมควรจะใชความรูที่มีแตความฉลาด (อาจไมมีความเฉลียว) เขาไป

ดัดแปลงแกไขมันตามอําเภอใจ อีกอยาง เราตองไมลืมวาสิ่งมีชีวิตที่เรียกวาพืชน้ีมีปรากฏบนพื้นโลกมากอนการ

กําเนิดของมนุษยนับเปนลานๆ ป ดังที่นักวิทยาศาสตรหลายๆ สํานักไดประมาณการกันวามีพืชพรรณบนพ้ืนพิภพมา

นานราวๆ พันแปดรอยลานปแลว

File : gnr2.doc page : 7

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

โดยบรรดาพืชพรรณที่มีอยูบนผืนโลกน้ีลวนคอยๆ วิวัฒนาการ และคอยๆ ปรับตัวตนของมันให

สอดคลองกับกฏเกณฑตามธรรมชาติที่วา "ผูแข็งแรงที่สุด มีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดดี

ที่สุดเทาน้ัน จึงจะอยูรอดได" จนทายที่สุด รูปลักษณของพืชพรรณตางๆ ที่เราเห็นกันอยูในทุกวันนี้ตางลวนเปนผลมา

จากความสามารถในการปรับตัวดังกลาวดวยกันทั้งสิ้น นั่นคือ จะตองมีความทนทรหดพอสมควร ไมงั้นคงไมสามารถ

รอดพนจากวิกฤตการณสารพัดมาได ไมวาจะเปน ภาวะน้ําทวมโลก การพุงชนของอุกกาบาต แผนดินไหว ภูเขาไฟ

ระเบิด การเพ่ิมข้ึนหรือลดลงอยางผิดปรกติของสัตวกินพืช และสัตวที่พืชจะใชเปนพาหะในการสืบพันธุ ฯลฯ

อยางไรก็ตาม แมวาพืชจะสามารถเอาตัวรอดจากวิกฤตใหญๆ ของโลกมาไดโดยตลอด แตมันกลับไม

สามารถปรับตัวใหอยูรอดจากการคุกคามของสิ่งมีชีวิตที่เรียกวามนุษยได ทั้งๆ ที่ เมื่อสืบยอนประวัติความสัมพันธุ

ระหวางมนุษยกับพืชลึกลงไปในอดีต ไลยอนไปเรื่อยจากศาสตรที่เรียกกันวาพันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม

เทคโนโลยีชีวภาพ ทฤษฏีพันธุกรรมของบาทหลวงแมนเดล ทฤษฏีวิวัฒนาการของดารวินและลามารค การศึกษาวิชา

พฤกษศาสตรเพ่ือแจกแจงคุณลักษณะของพืชพรรณตางๆ จนไปสุดที่การกสิกรรม อันเปนจุดต้ังตนของการเปลี่ยน

พฤติกรรมของมนุษยจากการอยูในถํ้าและไลลาหา

เน้ือสัตวมาบริโภค กลายเปนการทําไรไถนาและปลูก

เรือนอยู นับไปนับมาก็เพ่ิงไดระยะเวลาราวๆ หน่ึงหม่ืนป

เทาน้ันเอง

ผลพวงที่เกิดขึ้นจากพัฒนาการดาน

การเกษตรของมนุษยแคหน่ึงหมื่นปที่วาน้ี กลับสรางการ

เปลี่ยนแปลงใหกับพืชพรรณบนโลกที่ผานวิวัฒนาการมา

นานานับลานปไดอยางมหาศาล พรรณพืชจํานวนมากมายตองสูญพันธุลงไปเพราะการคุกคามของสังคมมนุษยทั้งโดย

เจตนา และความสัพเพรา มนุษยไดเขาไปบงการและกําหนดคุณคาของพรรณพืชเสียใหมตามแตรสนิยมและความ

ตองการบริโภคของตนเอง โดยแทบไมเคยไดใสใจเลยวาธรรมชาติมีเหตุผลเชนไรในการกําหนดใหพืชชนิดหน่ึงมีมาก

ชนิดหนึ่งมีนอย หรือพืชแตละชนิดควรจะปรากฏอยูบนตําแหนงใดของพ้ืนผิวโลก ฯลฯ กวาที่มนุษยจะเริ่มตระหนักถึง

ความสําคัญของระบบนิเวศนวิทยา และความหลากหลายทางชีวภาพก็ออกจะเริ่มจะสายไปเสียแลว

"อัตตา" ในการพัฒนาทางชีวภาพ

แนวความคิดเดิมๆ ที่มนุษยใชเปนจุดเริ่มตนในการศึกษาพฤกษศาสตรนั้นดูจะมุงเนนไปที่การพัฒนา

พันธุพืชที่ใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากกวาจะเปนไปเพ่ือการศึกษาหาความรูจากมัน ซึ่งเม่ือใชหลักเกณฑเรื่อง

ความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจมาจับเสียเชนน้ีแลว การพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ ก็จึงเปนไปเพ่ือการตอบสนองวัตถุประสงค

ดังกลาวเสียหมด เวลาคัดเลือกพันธุพืชก็ไมไดมองวามันเหมาะสม (fittess) กับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากแคไหน

แตจะมองเพียงวามันใหผลผลิตที่อุดมสมบูรณ (fattess) พอจะทํากําไรไดมากนอยขนาดไหน และเม่ือความคิดที่

มองเห็นแตเงินตราและวัตถุเปนเปาหมายของการพัฒนาหนักขอข้ึน เทคโนโลยีการเกษตรก็เลยขามจากจุดที่ตองการ

พืชซ่ึงใหผลผลิตมากพอเลี้ยงประชากรทั้งโลก ไปถึงข้ันที่จะพัฒนาพืชซ่ึงสามารถจดสิทธิบัตร และปองกันการละเมิด

ลิขสิทธิ์ได (Patentable)

File : gnr2.doc page : 8

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

จนทายที่สุด ก็ยากจะคาดการณไดวาความเห็นแกไดและความฉลาดแกมโกงของมนุษยจะนําพา

อนาคตของพืชพรรณตางๆ ไปยังจุดใดกันแน จะเหลือพืชแคไมก่ีสายพันธุเทาที่ความรูอันนอยนิดของมนุษยจะเช่ือวา

มันเหมาะกับการบริโภค หรือจะเหลือแคพันธุพืชที่องคกรธุรกิจขนาดใหญสามารถครอบครองลิขสิทธิในการผลิตเพ่ือ

จําหนายไดเทาน้ัน (ตรงนี้มีขอสังเกตุวา มนุษยเรามักจะใหความสําคัญกับสัตวและสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวได มากกวาพืช

ดังจะเห็นไดจากการที่ผูคนสวนใหญมักรูจักสัตวสารพัดสารเพ แต

กลับไมรูจักชื่อไมพรรณตางๆ ที่ตนเดินผานหรืออาศัยประโยชนอยู

ทุกว่ีทุกวัน)

ความหย่ิงทระนงในความรู ในเทคโนโลยีของ

มนุษย ทําใหมนุษยละเลยความจริงทางธรรมชาติไปอยางหน่ึงวา

สิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุตามธรรมชาตินั้นตางลวนผานการเค่ียวกรํา

และคัดสรรมาอยางตอเน่ืองยาวนานนับพันๆ ป ไดรับการทดสอบ

ครั้งแลวครั้งเลา กวาจะเหลือปรากฏใหเห็นอยูในภาพลักษณเชนในปจจุบัน ตรงกันขามกับพืชพรรณที่ถูกตัดตอ

ดัดแปลงสายพันธภายในหองทดลอง ซ่ึงมักจะใชเวลาทดสอบกันสั้นๆ เพียงไมก่ีเดือน และก็ไมใชการทดสอบที่เปนไป

ตามสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ แตเปนสภาพแวดลอมที่ถูกกําหนดไวโดยมนุษย ฉนั้นจึงเปนเรื่องยากมากที่มนุษย

จะยืนยันวาผลผลิตพืชที่ไดจากตัดตอพันธุกรรม (GMOs) ของตนจะไมสรางผลกระทบใดๆ ใหกับสิ่งแวดลอมทาง

ธรรมชาติ และคงไมมีใครรับประกันไดวาการปลูกฝาย หรือถ่ัวเหลืองที่ผานการดัดแปลงสารพันธุกรรมน้ันจะไมนําไปสู

การสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตบางอยางที่อาศัยประโยชนจากพืชสองประเภทที่วาน้ี

ความเช่ือมั่นที่ออกจะสูงเกินเหตุในเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมของบรรดานักวิทยาศาสตร ผนวกกับ

ความกระหายในความสําเร็จดานการเงินของนักอุตสาหกรรม ไดนําไปสูการประดิษฐสิ่งมีชีวิตชนิดใหมๆ ขึ้นมาเปน

จํานวนมากมายมหาศาลภายในชวงระยะเวลาแคไมกี่ป หลังจากคําวา โคลนน่ิง และ จีเอ็มโอ ไดอุบัติขึ้นมาบนโลก

องคกร USDA ไดมีการอนุมัติใหมีการเผยแพรธัญญพืชตัดตอสารพันธุกรรมไปแลวไมตํ่ากวา 50 ประเภท ในขณะที่ยัง

มีโครงการวิจัยเก่ียวกับพืชตัดตอสารพันธุกรรมอีกกวา 4,500 โครงการของสหรัฐฯ อยูระหวางข้ันตอนการเตรียมจด

ทะเบียนสิทธิบัตร เพ่ือนําออกเผยแพรสูสังคมเกษตรตอไป

การแขงขันกันพัฒนาสิ่งมีชีวิตชนิดฝนธรรมชาติตางๆ นานาออกมาของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก

ทําใหเปนเรื่องนากังวลวาจะมีสิ่งมีชีวิตที่พิสดารและอาจจะสรางผลกระทบในเชิงลบกับสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติประเภท

อ่ืนๆ หลุดออกมาเพนพานบางหรือไม เพราะเม่ือนักวิจัยพากันเรงรัดกระบวนการทํางานของตนเพียงเพื่อจะไดช่ือวา

ทําไดกอนใครในโลก ก็อาจจะหลงละเลยประเด็นผิดพลาดเล็กๆ นอยๆ ที่เกิดขึ้น แตน่ันยังถือเปนการมองโลกในแงที่

ดีมาก เพราะตองไมลืมวาจิตใจมนุษยอันหยาบหนาและเต็มไปดวยกิเลสน้ันยากที่จะหยั่งได ดังจะเห็นไดจาก

ประวัติศาสตรซึ่งสอนเรามาโดยตลอดวา อัจฉริยะโรคจิตน้ันมีกําเนิดขึ้นมาทุกยุคทุกสมัย และมันคงเปน

โศกนาฏกรรมอันใหญหลวง หากมีอัจฉริยะโรคจิตเลือกใชวิธีเผยแพรเช้ือโรคตัดตอสารพันธุกรรมเพ่ือทําลายลางชีวิต

ของเพ่ือนมนุษยดวยกันเอง แทนที่จะเปนแคการกระจายไวรัสคอมพิวเตอร การวางระเบิดสถานที่สาธารณะ หรือการ

ปลอยแกสพิษในสถานีรถไฟใตดิน ฯลฯ อยางเราไดเคยหวาดผวากันมาแลวในอดีต

File : gnr2.doc page : 9

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

พันธวิุศวกรรม หรือ การตัดปะยีนส

ปจจุบันน้ี วากันวากวาครึ่งหน่ึงของถ่ัวเหลืองที่บริโภคกันอยูทั่วโลกเปนถั่วเหลืองที่ผานการตัดตอสาร

พันธุกรรม ในขณะที่สัดสวนของขาวโพดตัดตอสารพันธุกรรมอาจจะมีนอยกวาเล็กนอย คือมีอยูแคราวๆ 30 % ของ

ผลผลิตขาวโพดทั่วโลก จึงมีความเปนไปไดวาทานผูอานอาจจะไดเคยลิ้มรสอาหารแฟรงเกนสไตนเหลาน้ีกันไปบางแลว

โดยไมรูตัว เพราะพืชพรรณที่ถูกดัดแปลงสารพันธุกรรมเหลาน้ีมักจะมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย พอใหมีลิขสิทธิ์

ที่ไมซํ้าซอนกับของคนอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็จะตองใหมีรูปลักษณไมตางไปจากสภาพของพืชพรรณธัญญาหารปรกติที่

ชาวบานชาวชองเขาคุนเคยกัน ซ่ึงก็เปนเหตุผลใหรัฐบาลประเทศกลุมยุโรปออกมารณรงคใหมีการติดฉลากแจงเตือน

ใหผูบริโภคทราบวาผลิตภัณฑอาหารที่จําหนายอยูแต

ละชนิดนั้นมีสวนผสมที่ไดจากการตัดตอสาร

พันธุกรรมบางหรือไม (บางคนมองวา การกําหนดให

ติดฉลาก GMOs เปนอีกรูปแบบหน่ึงของการกีดกัน

ทางการคา)

เทคโนโลยีการผลิตพันธุพืชโดย

อาศัยการดัดแปลงสารพันธุกรรมไดกอใหเกิดการ

แตกแยกทางความคิดครั้งสําคัญในหมู

นักวิทยาศาสตร มีทั้งกลุมที่ตอตานและกลุม

สนับสนุน กลุมสนับสนุนพืชดัดแปลงสารพันธุกรรม

มักจะอางเหตุผลวามันชวยตอบสนองความตองการดานอาหารของโลกที่ยังคงมีประชากรนับเปนลานๆ คนตองอยูใน

สภาวะทุพโภชนาการ และยังมีผูคนในอีกหลายๆ ประเทศที่ตองอยูในสภาพแรนแคนขาดแคลนซ่ึงอาหารจะบริโภค

การออกแบบพืชพรรณใหมีผลผลิตมากๆ และทนตอสภาพแวดลอม/หรือศัตรูพืชนาจะเขามาตอบสนองความตองการ

ของโลกไดเปนอยางดี

ในขณะที่กลุมตอตานก็มีเหตุผลที่นาสนใจไมนอยไปกวากัน โดยระบุวาสาเหตุของการขาดแคลน

อาหารในโลกน้ีสวนใหญไมไดเปนผลมาจากการผลิตอาหารไดไมพอ แตมักจะเปนผลมาจากการกระจายทรัพยากรที่ไม

เหมาะสมมากกวา เพราะยังคงมีประชากรบางประเทศบริโภคอยางหรูหราฟุมเฟอย กินทิ้งกินขวาง ยกตัวอยางเชน

ประเทศสหรัฐอเมริกาน้ันมีการบริโภคทรัพยากรไปมากถึง 20 % ของอัตราการบริโภคทั่วทั้งโลก อีกทั้งเปาหมายของ

การพัฒนาผลิตภัณฑจีเอ็มโอทั้งหลายนั้นดูจะมุงไปที่ความม่ังค่ังดานการเงินของผูผลิตมากกวาจะใหความสําคัญกับ

ปากทองของคนยากคนจน ดังจะสังเกตุไดจากการพยายามทําใหสินคาพืชพรรณจีเอ็มโอของตนมีสภาพที่ไมเหมาะจะ

นําไปผลิตซํ้า เพ่ือกันการละเมิดลิขสิทธิ และบังคับใหเกษตรกรตองซ้ือหาพันธุพืชจากบริษัทเจาของลิขสิทธ์ิแตเพียง

อยางเดียว

ที่ราย คือ กลุมนักวิจัยที่พัฒนาชีวิตกลายพันธุเหลาน้ีอาจจะสนุกสนานเพลิดเพลินกับจินตนาการ

ของตนจนคอนขางจะเกินเลยไปมากเม่ือเทียบกับการผสมขามพันธุ หรือการกลายพันธุทางธรรมชาติ มีการเที่ยวเอา

สารพันธุกรรมจากสัตวไปใสในพืช จากในพืชไปใสในแบคทีเรีย เพียงเพราะอยากจะไดสิ่งมีชีวิตพันธุใหมที่คุณสมบัติ

ตามความตองการของตนเทาน้ัน เชนเอายีนสทนอากาศหนาวของปลาไปใสใหกับตนสตรอเบอรรี่ โดยการเอายีนสของ

File : gnr2.doc page : 10

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

สิ่งมีชีวิตชนิดหน่ึงไปเที่ยวปะเขากับโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งน้ัน ผูวิจัยแทบไมเคยศึกษาทําความเขาใจเลย

วายีนสแตละอยางภายในโครโมโซมนั้นมีความสัมพันธุอยางไรระหวางกันบาง

นอกจากน้ัน หากจะตีความกันจริงๆ แลว การเรียกเทคนิคการตัดตอยีนสดังกลาววา Genetic

Engineering หรือ พันธุวิศวกรรม น้ันออกจะเปนการเรียกชื่อที่คลาดเคลื่อนไปมิใชนอย เพราะสิ่งที่ถูกยายไปมานั้น

แทจริงแลวเปนแคยีนส (Gene) ไมใชพันธุกรรม (Genetics) ในขณะที่การใชคําวาวิศวกรรม (Engineering) น้ันควร

จะหมายถึงศาสตรที่ผานการศึกษาถึงกลไกตางๆ จนทะลุปรุโปรง กอนที่จะเร่ิมตัดสินใจออกแบบกระบวนการดัดแปลง

สารพันธุกรรมเพ่ือใหเปนไปตามประสงค ไมใชแคอยากไดยีนสตัวไหนก็ไปตัดมาปะใสในโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกตัว

หน่ึง ที่มันเปนแคงานตัดๆ ปะๆ (patchwork) เหมือนงานชางบัดกรีมากกวาที่จะเปนงานของวิศวกร

และเนื่องจากการตัดตอยีนสสวนใหญนั้นแทบจะ

ไมไดมีการศึกษาถึงความสัมพันธุระหวางยีนสแตละตัว ผลลบที่ไม

เดนชัดอันสืบเนื่องมาจากการวางยีนสใหมเขาไปผิดที่ผิดทางจึงไม

คอยจะไดรับความสนใจ และผลรายในระยะยาวก็อาจจะไป

ปรากฏหลังจากการทดลองเกิดข้ึนไปแลวนานนับเปนปๆ ตามแต

วาสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงยีนสน้ันจะมีชวงอายุยืนยาวมากนอยขนาด

ไหน หรือบางครั้งหากไมออกฤทธ์ิในชวงอายุของมัน ก็ใหสงสัยวา

จะไปออกฤทธิ์ในชั่วลูกชั่วหลาน ซ่ึงบางครั้งก็นานจนสายเกินที่จะแกไขเยียวยาภัยแอบแฝงเหลาน้ีไปแลวก็เปนได

ยกตัวอยางเชน ยีนสที่ทนตอยาฆาวัชพืชที่เติมเขาไปในตนฝาย ดวยเจตนาเพ่ือใหสามารถปลูกไวในแปลงที่มีการฉีดยา

ฆาวัชชพืชไวไดน้ัน หากถูกผสมขามพันธุไปสูวัชชพืชบางประเภท มันก็อาจจะทําใหเกิดการแพรระบาดของวัชชพืช

ด้ือยาติดตามมาอยางมหาศาล

ศึกษาอดีตเพ่ือย้ําเตือนปจจุบัน

ดวยเรื่องราวเทคโนโลยีสมัยใหมที่ทั้งชวนใหหลงไหลและชวนใหวิตกกังวลเหลานี้ ทําใหบิลล จอย อด

ยอนนึกไปในอดีตสมัยเมื่อเขายังเปนเด็กๆ ไมได เขาเลาวาคุณยาของเขาน้ันแมวาจะดําเนินอาชีพเปนพยาบาลมาต้ังแต

กอนยุคสงครามโลก แตก็มีนิสัยปฏิเสธการใชยาปฏิชีวนะอยางพรํ่าเพรื่อโดยไมจําเปนมาโดยตลอด เพราะเธอเช่ือวา

มันจะนําผลเสียมาสูสุขภาพของผูใชยา เธอจะอนุโลมใหมีการใชยาปฏิชีวนะกับลูกหลานในบานไดก็ตอเม่ือเห็นวา

จําเปนจริงๆ เทาน้ัน

ทั้งนี้ มิไดหมายความวาเธอจะเปนพวกตอตานความทันสมัย เพราะตลอดชวงอายุการทําอาชีพ

พยาบาลเกือบ 70 ป ของเธอน้ันไดสัมผัสและรับรูถึงนวัตกรรมใหมๆ มาโดยตลอด นอกจากน้ัน ตัวคุณปูของเขาซ่ึง

ปวยเปนโรคเบาหวานก็ไดรับประโยชนมหาศาลจากความกาวหนาทางวิทยาการแพทยสมัยใหม แตดวยความหนัก

แนนและรอบคอบแบบคนยุคเกา ทําใหคุณยาของบิลล จอย มักจะบนใหฟงอยูเสมอวา คนรุนใหมนั้นหยิ่งยโสใน

ความรู และความฉลาดของตน ทํานองวาเที่ยวไปประดิษฐโนน สรางน้ี แถมบางทียังเที่ยวไปดัดแปลงอะไรตอมิอะไร

ทั้งที่เวลาเคร่ืองไมเคร่ืองมือเหลาน้ันเกิดขัดของขึ้นมาก็แกกันจนเหงื่อตก อีกทั้งถาจะวาไปแลวแคจะจัดการบริหาร

ตัวเอง หรือทําความเขาใจกับตัวเองใหถองแท มนุษยก็ยังไมสามารถจะทําไดดีเลย

File : gnr2.doc page : 11

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

เพิ่งจะมาตอนน้ีเองที่ บิลล จอย ไดเริ่มตระหนักวา แทที่จริงแลว ตัวคุณยาของเขาน้ันชางมีความ

เขาใจในธรรมชาติ และเขาใจถึงบทบาทอันเหมาะสมของมนุษยซ่ึงควรจะมีตอธรรมชาติ (the nature of the order

of life) เปนอยางดี เธอรูวาเราควรจะใหความเคารพตอธรรมชาติ และไมควรจะอวดรูเที่ยวไปเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ

ตามอําเภอใจ เพราะผลงานที่เกิดจากการประดิษฐของมนุษยนั้นสวนใหญลวนเปราะบาง (fragility) และประสิทธิภาพ

ตํ่า มนุษยเราควรจะเตือนตัวเองดวยการศึกษาอดีตอันผิดพลาดจากความอวดรูอวดเกงของมนุษย อยางที่เห็นไดชัด

ที่สุดเห็นจะเปนเร่ืองของการพัฒนาระเบิดนิวเคลียร (Atomic Bomb) แลวสงผลใหมนุษยเราตองแขงขันกันพัฒนา

และสะสมอาวุธกันขนานใหญ เพียงเพ่ือจะไดมาซ่ึงฝนรายที่คอยหลอนหลอกเรามาตลอดทั้งศตวรรษ

ระเบิดนิวเคลียรลูกแรกน้ันถูกพัฒนาข้ึน

โดยอัจฉริยะดานฟสิกส เจ รอเบิรต ออพเพนไฮมมเมอร ซ่ึง

ไมเคยไดมีความสนใจเรื่องราวการเมืองมากอนเลยในชีวิต

จนกระทั่งถูกคุกคามจากอาณาจักรไรซที่สามของรัฐบาลนา

ซี จนตองระหกระเหินมาอาศัยชายคาของสหรัฐที่เมือง

ลอส อลาโมส เปนที่หลบตาย และดวยความกลัววาหาก

ฮิตเลอรมีระเบิดนิวเคลียรไวในครอบครองจะเทากับพยัคฆ

ติดปก ทําใหเขาระดมสติปญญาทั้งหมดที่มีอยู ไมวาจะเปน

ความรูในเชิงฟสิกส หรือความเปนผูนําที่เช่ียวชาญในการชักจูงใจคน โหมเรงพัฒนาลูกระเบิดมหาประลัยของโลก

ออกมาจนสําเร็จไดภายในชั่วระยะเวลาที่สั้นมาก

เปนเรื่องนาคิดวา หากไมมีสถานการณสงครามโลกมาบีบบังคับ อัจริยะดานฟสิกสคนน้ีจะสามารถ

คิดคนและพัฒนาอาวุธทําลายโลกชนิดนี้ออกมาไดเร็วขนาดนี้หรือเปลา ? แตที่นาคิดมากยิ่งข้ึนไปอีกก็คือ หลังจากที่

อาณาจักรไรซที่สามพายแพแกสัมพันธมิตรในวันเผด็จศึก (V-E day) ซึ่งก็เทากับภาวะคุกคามที่มีตอจิตใจของออพเพน

ไฮมมและทีมงานวิจัยไดถูกถอดถอนออกไปแลว ทําไมทีมงานนักวิทยาศาสตรชุดน้ียังคงขมักเขมนกับการผลิตลูก

ระเบิดมหาประลัยชนิดน้ีกันตอไป มีเรื่องเลากันวามีนักฟสิกสบางคนในทีมเสนอใหหยุดโครงการลง แตตัวหัวหนาทีม

คือ ออพเพนไฮมมเมอร เสนอวาควรจะดําเนินการวิจัยตอ โดยใหเหตุผลวาฝายสหประชาชาติควรจะไดมีความรูเรื่อง

ระเบิดนิวเคลียรกาวหนามกวาฝายตรงขาม

นอกจากน้ัน ในฐานะที่ไดดําเนินการทดลองมาจนใกลจะไดเห็นผลงานออกมาเปนรูปรางแลว ทีม

งานวิจัยของออพเพนไฮมเมอรจึงไดดําเนินการทดลองตอไปจนสามารถนําไประเบิดนิวเคลียรไปทดลองประสิทธิภาพได

เปนครั้งแรกภายใตชื่อโครงการทรีนิตี้ (Trinity) โดยโครงการทรีนิตี้เกือบจะไมมีโอกาสไดเกิดเม่ือ เอ็ดเวิรด เทลเลอร

ทดลองคํานวนดูผลลัพธุของระเบิดไวลวงหนาไดผลวามันอาจจะสงผลใหบรรยากาศของโลกบางสวนถูกทําลายลง และ

จะกอใหเกิดผลเสียอยางมหาศาลลจนไมคุมกับการทดลอง แตตอมาเม่ือทีมงานลองคํานวนซํ้าอีกครั้ง กลับปรากฏวา

โอกาสที่ระเบิดนิวเคลียรจะมีผลกระทบตอโลกน้ันถูกลดลงไปเหลือแคสามในลานเทาน้ัน (เทลเลอรระบุวาเขาสามารถ

กําจัดการจุดระเบิดในบรรยากาศลงไปไดจนหมด) อยางไรก็ตามเพ่ือความปลอดภัยของประชาชน ออพเพนไฮมมได

เสนอใหรัฐบาลอพยพเคลื่อนยายประชาชนออกจากทางตะวันตกเฉียงใตของรัฐนิวเม็กซิโก กอนที่จะไดดําเนินการ

ทดลอง

File : gnr2.doc page : 12

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

หลังจากการทดลองระเบิดนิวเคลียรที่ทรีนิตี้ไดเพียงหนึ่งเดือน รัฐบาลสหรัฐฯ ก็ตกลงใจจะใชระเบิด

นิวเคลียรกับญี่ปุนที่เมือง ฮิโรชิมา และนางาซากิ ทั้งๆ ที่มีนักวิจัย

บางคนเสนอใหแคสาธิตประสิทธิภาพความรุนแรงของระเบิดใหกับ

ญี่ปุนก็นาจะเพียงพอที่ขูใหญี่ปุนหยุดย้ังการบุกยึดครองเอเชีย และ

แปซิฟคลงไปไดแลว (ในระยะหลังๆ มีผูวิเคราะหไปไกลถึงขนาด

ระบุวา หากไมมีการทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ โลกเราคง

ไมตองหวาผวากับการแขงขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียรเชนทุกวันน้ี)

แตขอเสนอใหสาธิตระเบิดนิวเคลียรแกญี่ปุนดังกลาวก็ไมเปนผล

เพราะความแคนเคืองที่มีตอเหตุการณโจมตีฐานทัพเพิรล ฮาเบอรที่เพ่ิงเกิดข้ึนสดๆ รอนๆ ยังคงระอุอยูในใจของ

พลเมืองสหรัฐฯ ในขณะน้ัน

ความเสียหายและจํานวนคนตายที่ฐานทัพเพิรล ฮารเบอร ทําใหรัฐบาลกรุงวอชิงตันตองหาทางทํา

อะไรสักอยางเพ่ือตอบสนองความตองการของผูลงคะแนนเสียงของตน เมื่อบวกกับเหตุผลอีกขอวาสหรัฐฯ ตองการจะ

หยุดสงครามและความเสียหายที่เผชิญอยูใหเร็วที่สุดเทาที่จะเร็วได ก็ทําใหลูกระเบิดนิวเคลียรถูกนําไปทิ้งที่เมืองฮิโรชิ

มา แตคําถามที่ยังมีตอไปอีกก็คือ ทําไมหลังจากฆาพลเมืองตาดําๆ ของญี่ปุนไปนับหม่ืนที่ฮิโรชิมาแลว ทําไมสหรัฐฯ

ยังตองฆาเพ่ิมที่นางาซากิอีก คําถามน้ีดูเหมือนจะไมมีคําตอบ แตจากคําใหการในภายหลังของนักฟสิกสชื่อ ฟรีแมน

ไดสัน หนึ่งในทีมงานสรางอาวุธมหาประลัยสองลูกน้ีที่ระบุวา "เหตุผลที่ระเบิดถูกทิ้งลงไปน้ันเปนเพียงเพราะวาไมมีใคร

มีความกลา หรือมองการณไกลเพียงพอที่จะบอกไดวา "อยา""

(การที่รัฐบาลสหรัฐฯ ตองหาทางทําอะไรสักอยางหน่ึงเพ่ือผอนคลายความกดดันจากสื่อมวลชนและ

ประชาชนในเร่ืองปญหาการเมืองภายในประเทศน้ี ผูเขียนอยากจะแนะนําใหทานผูอานลองหาเชา/ยืมวิดีโอเร่ือง

"Wag the Dog" ที่สองสุดยอดดารา โรเบิรต เดอนีโร กับ ดัสติน ฮอฟแมน เลนประชันกันไวเม่ือราวๆ สี่ปที่แลวมา

ดู ก็จะเขาใจถึงตรรกกะที่วานี้ไดเปนอยางดี)

ความทรนงของนักฟสิกส ?

เปนเรื่องนาสนใจอยางย่ิงวา การทิ้งระเบิดปรมาณูเมืองฮิโรชิมาในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 น้ัน ไดสราง

ความตื่นตะลึงกับบรรดานักฟสิกสที่รวมผลิตอาวุธมหาประลัยดังกลาวเปนอยางมาก ความรูสึกแรกคือความภูมิใจที่

โครงการซ่ึงเพียรพยายามทํามานานสามารถทํางานไดผลจริง แตตอมากลับกลายเปนความสลดหดหูเม่ือตระหนักวามี

ประชาชนพลเมืองจํานวนมากตองถูกสังเวยใหกับความสําเร็จดังกลาว พวกเขาตกลงกันวาไมควรจะมีการทิ้งระเบิด

นิวเคลียรอีก แตหลังจากน้ันเพียงสามวัน ระเบิดปรมาณูอีกลูกก็ถูกทิ้งลงที่เมืองนางาซากิโดยไมมีใครใหคําอธิบายวา

ทําไมถึงเกิดเหตุการณเชนน้ีขึ้นได

กวาจะมีการเปดปากพูดถึงเหตุผลในการทิ้งระเบิดลูกที่สองอีกครั้งก็ลวงไปเดือนพฤศจิกายน 1945

หรืออีกสามเดือนตอมา โดยตัวออพเพนไฮมมเมอรซ่ึงเปนหัวหนาโครงการวิจัยนิวเคลียรเปนผูออกมาพูดเอง เพียงแต

การแถลงครั้งน้ันไมไดระบุชัดลงไปถึงเหตุผลที่นําไปสูการตัดสินใจทิ้งระเบิดลูกที่สอง เขาเพียงแตอางถึงทัศนะอันเปน

อุดมการณแหงวิทยาศาสตร (Scientific Attitudes) วา "คุณไมมีทางจะเปนนักวิทยาศาสตรได หากคุณไมศรัทธาใน

คุณคาของความรูแหงโลก ดวยพลังซึ่งไดรับจากความศรัทธานั้นก็คือคุณคาภายในแหงความเปนมนุษย ที่คุณใชมัน

File : gnr2.doc page : 13

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

สําหรับการเผยแผความรูใหกระจายออกไป และคุณพรอมเต็มใจยอมรับกับผลลัพธที่มันจะนํามา" เมื่อแถลงการณ

เสร็จตัวออพเพนไฮมมเมอรก็กลับไปทํางานวิจัยนิวเคลียรของตนตอไป (ไมรูวามีคําพูดวาเสียใจแตไมขอโทษดวยหรือ

เปลา ?)

จนกระทั่งอีก 2 ปใหหลังน่ันแหละ ที่ออพเพนไฮมมเมอรเริ่มจะพูดจาในลักษณะที่มีความเปนมนุษย

มากขึ้น ไมใชพูดเหมือนเครื่องจักรวิทยาศาสตรเชนที่ผานๆ มา โดยระบุวา "ดวยสามัญสํานึกระดับพ้ืนๆ บางอยาง ซ่ึง

ไมไดถูกกลบเกลื่อนไปดวยการพูดจาวาราย ไมมีการตลกเลนลิ้น หรือไมมีการกลาวอางอะไรใหเกินเลยความจริง พวก

นักฟสิกส (อยางเรา) น้ันตางลวนตระหนักดีวาอะไร

คือความบาป และความตระหนักดังกลาวนั้นก็ไม

เคยจะถูกหลงลืมไป"

แตคําพูดเชนน้ันคงจะชวยอะไรโลก

มนุษยไมไดมาก เพราะในปถัดมา สาธารณรัฐโซเวีย

ตรัสเซียก็เร่ิมประสบความสําเร็จกับการพัฒนาอาวุธ

นิวเคลียรบาง และเมื่อถึงป ค.ศ. 1955 ทั้งสองยักษ

ใหญคือ สหรัฐฯ และโซเวียตฯ ตางก็พรอมจะ

ทดสอบอาวุธชนิดใหมที่เรียกวาระเบิดไฮโดรเจน

มหันตภัยลูกยอมๆ ที่สะดวกพรอมสําหรับบการขน

ไปทิ้งที่ไหนก็ไดตามอัธยาศัย และนับแตบัดน้ันเปน

ตนมาโลกเราก็ไมเคยหยุดอกสั่นขวัญหายกับอาวุธ

มหาประลัยชนิดนี้อีกเลย

โลกมาเขาใจถึงความรูสึกของทีมงานวิจัยอาวุธสังหารไดดีข้ึนในอีก 20 ปใหหลัง เม่ือ ฟรีแมน ไดสัน

ซ่ึงเปนหน่ึงในทีมวิจัยทรีนิตี้ไดตีพิมพหนังสือช่ือ "The Day After Trinity" ออกมา โดยสรุปวาทัศนะความเช่ือแบบ

นักวิทยาศาสตร (scientific attitudes) น่ันแหละคือสวนผสมสําคัญที่ทําใหอาวุธนิวเคลียรถูกกอกําเนิดข้ึน เขากลาวา

"โดยความรูสึกของตัวผมเองน้ัน ความกระจางของอาวุธนิวเคลียรน้ันชางเยายวนเหลือเกินเมื่อคุณมองมันดวยสายตา

ของนักวิทยาศาสตร ลองจินตนาการดูวาคุณมีพลังงานอันมหาศาลอยูในมือ พลังงานที่อาจจะปลดปลอยใหกับกลุม

ดาว พลังที่เพ่ิมอํานาจการตอรอง พลังงานที่จะสรางสิ่งมหัศจรรย พลังงานที่อาจจะเหวี่ยงภูผาหนักเปนลานๆ ตันขึ้น

ไปบนอากาศ มันเปนสิ่งที่สรางภาพหลอนเร่ืองอํานาจไรขีดจํากัดใหแกผูคน ซึ่งถามองในอีกแงหนึ่งมันคือที่มาของ

ปญหานานับประการที่มนุษยโลกเรากําลังเผชิญอยูในขณะน้ี มันคือสิ่งที่คุณอาจจะเรียกมันวาความยโสจาก

เทคโนโลยี (Technical Arrogance) ซ่ึงเขาครอบงํา

ผูคนในขณะที่เร่ิมรูวาจะทําอะไรกับความคิดของตัวเองได

บาง"8

นับถอยหลังสูวันพิพากษา

ดวยความตระหนักในการคุกคามจากภัย

นิวเคลียร ทําใหกองบรรณาธิการวารสาร The Bulletin

File : gnr2.doc page : 14

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

of Atomic Scientists ไดแสดงภาพนาฬิกาที่นับถอยหลังสูวันโลกาวินาศ (Doomsday Clock) ไวบนหนาปกวารสาร

ของตนมาตั้งแตป ค.ศ. 1947 นับจากวันน้ันจนถึงวันน้ี (53 ป) เข็มนาฬิกาโลกาวินาศถูกขยับเดินไปทั้งหมด 16 ครั้ง

ตามจํานวนเหตุการณเผชิญหนาระหวางมหาอํานาจนิวเคลียรซ่ึงสัมพัทธกับอันตรายที่มนุษยชาติตองเผชิญ ปจจุบัน

ตัวเข็มนาฬิกาถูกปรับใหเลื่อนเขาใกลตัวเลข 12 นาฬิกาที่ถือกันวาเปนเวลาโลกาวินาศเขาไปเรื่อยๆ (เข็มขยับเดินครั้ง

ลาสุดในป ค.ศ. 1998 เม่ือมีภาวะขัดแยงเรื่องดินแดนแคชเมียรระหวางอินเดียและปากีสถาน)

อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงตอหายนะโลกที่วาน้ีพิจารณาจากภาวะคุกคามดานนิวเคลียรเทาน้ัน ยัง

ไมไดนําเอาภาวะคุกคามอ่ืนๆ อยางเร่ืองอุกาบาตชนโลก (อมาเก็ดดอน) หรือโรคระบาดสายพันธุใหมเขามาเก่ียวของ

ดวย หากคิดเอาเร่ืองราวหลายๆ อยางเขามารวมเขาดวยกัน มันก็นาใจหายวามนุษยเราชางใชความรูในทางทําลาย

ตนเองไดอยางมหัศจรรยจนไมนาเช่ือ ทําใหหลายคนเริ่มกังวลสงสัยและเร่ิมต้ังปญหาใหกับตนเองวามีความเปนไปได

มากนอยแคไหนที่มนุษยจะทําใหเผาพันธุของตัวเองตองสูญสิ้นลง คําตอบเร่ืองน้ีดูวาจะเปนเรื่องยาก แตก็มีบางคนเคย

ลองคิดคํานวนเลนๆ มาแลว เชน นักปรัชญาที่มองโลกในแงรายมากๆ อยาง จอห เลสลี่ย ถึงกับออกมาระบุวามนุษยมี

โอกาสสูญพันธุไดมากกวา 30 %

พอไดยินอยางน้ีเขา พวกวิตกจริตก็เริ่มจะออกมาเรียกรองใหมีการแสวงหาโลกใหมในแกแล็กซ่ีอื่น

ซ่ึงก็อาจมีทางเปนไปได แตมันคงตองใชเวลานานกวา 5 พันลานปละม้ัง หากพิจารณาจากความหางไกลระหวาง

ดวงดาวในแกแล็กซี่ และวิธีการที่จะถูกใชเพ่ือการอพยพมนุษยขามแกแล็กซ่ี เพราะวิธีการที่พอจะเปนไปไดคือ การใช

ทอขนสง von Neuman probes ซ่ึงมีการตอขนาดความยาวของมันออกไปไดเองอยางอัตโนมัติระหวางการขนสงขาม

ดวงดาวอยางที่นักคณิตศาสตรฮังการเรี่ยนชื่อ ฝอน นิวแมน ไดเคยเสนอไวต้ังแตเมื่อหาสิบที่แลว

อยางไรก็ดี วิธีการขนยายผูคนขามแกแล็กซ่ีนั้นอาจจะไมทันการณ เพราะเคยมีผูคํานวนไววาแกแล็ก

ซ่ีที่เราอยูน้ีจะถูกชนโดยแกแล็กซ่ีแอนโดรมีดาภายในระยะเวลา 3 พันลานป และถึงจะอพยพยายผูคนขามแกแล็กซีได

ก็มิไดมีหลักประกันใดๆ วาปญหาที่เกิดจากพวกคนกันเองจะไมตามไปคุกคามใหเกิดภาวะเสี่ยงตอการสูญพันธของ

มนุษยขึ้นอีก บางคนถึงงกับเสนอใใหมีการคัดสรรผูคนที่จะมีสิทธิอพยพหนีตายในทํานองคลายๆ กับการคัดสรร

สิ่งมีชีวิตเพ่ือลงเรือโนอาหตามที่เคยมีระบุไวในตํานานนํ้าทวมโลก แตน่ันก็จะทําใหเกิดคําถามติดตามมามากมายวา

จะใชเกณฑอะไรในการคัดคน และจะแนใจไดอยางไรวาคนที่ถูก

คัดไปน้ันดี ในขณะที่กลุมที่ถูกปลอยรอความตายไวบนโลกน้ันไม

ดี และถาเกิดมีพวกหน่ึงหนีไปแลว พวกที่อยูเกิดสามารถอพยพ

ยายตามไปไดในภายหลังจะเกิดอะไรขึ้น .. ????

เม่ือหนทางในการอพยพขามแกแล็กซ่ีเปนเรื่อง

ไกลเกินจริง มนุษยที่มีความกลัวในมหันตภัยนิวเคลียรบางกลุม

ก็เร่ิมมองหาหนทางปกปองตนเองดวยการปลูกสรางบานใน

อุโมงคที่ลึกลงไปใตดิน หุมตะก่ัวเพ่ือกันรังสี ในขณะที่พวกที่มีอํานาจวาสนาไดเขาสูวังวนของการเมืองก็หาทางผัน

งบประมาณของรัฐไปใชเพื่อปกปองตนเองจากความกลัวดังกลาว ดังจะเห็นไดจากโครงการสตารวอรของรัฐบาลเร

แกนที่ฝนเฟองวาจะสรางกลไกเหมือนเกราะ (shield) ปกคลุมทองฟาของสหรัฐฯ ไวเพ่ือปองกันการโจมตีดวยจรวด

นิวเคลียรจากรัสเซียในกรณีที่ไมมีการคาดการณไวลวงหนา โครงการดังกลาวนั้นฝนเฟองจนแมกระทั่งนักเขียนนิยาย

วิทยาศาสตรเอกของโลกอยางอาเธอร ซี คลาก ยังอดจะออกมาวิจารณ ไมได

File : gnr2.doc page : 15

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

คลาคตั้งขอสังเกตุวา "ขนาดโครงการปองกันนานฟาขนาดยอมที่ครอบคลุมพ้ืนที่ไดเพียงบางสวน

และสามารถปองกันจรวดนําวิถีไดไมถึง 100 % ยังสิ้นเปลืองงบประมาณอยางมหาศาลแลว หากคาดหวังที่จะพัฒนา

โครงการใหญโตขนาดครอบคลุมนานฟาสหรัฐฯ ทั้งประเทศคงเปนไดแคเร่ืองเหลวไหล นายหลุย อัลวาเรซ อาจจะ

เปนนักฟสิกสเชิงปฏิบัติการที่ยิ่งใหญที่สุดในศตวรรษ แตดวยความเชื่อม่ันที่เขามีกับแผนการอันไรสาระเชนน้ี ก็สรุป

ไดเพียงอยางเดียววา เขานาจะเปน "นายคนฉลาดล้ํา ที่ไมมีสามัญสํานึกเอาเสีย""9

กอนจะแสดงความเห็นตอไปวา "โดยสวนตัวผมแลว มาตรการปองกันจรวดนําวิถีแบบครบถวน

สมบูรณคงเปนสิ่งที่สามารถกระทําไดจริงภายในศตวรรษน้ี แตดวยความรุดหนาทางเทคโนโลยีที่เรากําลังแขงกันสราง

อยูในขณะน้ี เม่ือถึงเวลาที่โครงการปองกันจรวดนําวิถีประสบความเร็จ อันตรายจากจรวดนิวเคลียรก็อาจจะกลายเปน

เร่ืองเล็กกระจ๋ิวหริวเม่ือเทียบกับมหันตภัยชนิดที่อ่ืนๆ ทันสมัยกวามาก" ซึ่งแมวา อาเธอร ซี คลาก จะไมไดบอกอะไร

คือมหันตภัยที่ทันสมัยกวานิวเคลียร และทําใหภยันตรายจากนิวเคลียรกลายเปนเร่ืองจอย แตผูอานก็คงมีคําตอบกัน

อยูในใจอยูแลววาคือ "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" น่ันเอง

พุทธศาสตรคือคําตอบ

โครงการสรางเครือขายปองกันตนเอง

(Shields) จากหายนะนิวเคลียรน้ีสะทอนใหเห็นความออนแอ

ภายในจิตใจของมนุษยไดเปนอยางดี มันเตือนใหเราเห็นวาแท

ที่จริงแลวมนุษยเองก็ยังสับสนกับคุณคาของความฉลาดและ

ความรูของตนอยู และความวิตกกังวลที่วานี้จะดํารงอยูใน

จิตใจของมนุษยอยูเสมอไมมีทางลดนอยถอยลงไปได แถมจะ

ย่ิงเพิ่มพูนขึ้นตามความฉลาดและการมีพัฒนาการทาง

เทคโนโลยีมากข้ึนของมนุษย เพราะตอไปในอนาคตเราก็คง

ตองคิดคนหาเครือขายมาปองกันตนเอง (shields) จาก

ผลผลิตที่ไดจากจุณเทคโนโลยี จากผลผลิตพันธุวิศวกรรม

และผลผลิตจากหุนยนตศาสตรกันตอไป

คําถามที่มีอยูในขณะน้ีจึงมีอยูวา ทําอยางไร

เราจึงจะหยุดย้ังความกลัวของมนุษยชาติลงได จะดีกวาไหม

หากเราจะใชวิธีการจํากัดการเติบโตของความรู จํากัดการ

เติบโตของเทคโนโลยี ไมใหมันกาวรุดหนารวดเร็วมากเกินไป คําตอบ คือ คงไมดีแน เพราะ "โดยธรรมชาติแลว

มนุษยทุกคนตางลวนมีความปรารถนาที่จะไดเรียนรู" และถามนุษยไมมีความสนใจจะเรียนรู มนุษยก็คงจะไมแตกตาง

ไปจากสัตวโลก หรือสิ่งมีชีวิตประเภทอ่ืนๆ เพียงแตในความปรารถนาแหงการเรียนรูน้ัน มนุษยควรที่จะรูจัก

ประมาณตน ไมอหังการกับพลังแหงความรูที่ตนมีอยู และจะตองศึกษาเรียนรูโลกทั้งในอดีตและปจจุบันอยางลึกซ้ึง

เพราะดวยความอหังการในความรูและทัศนะแหงนักวิทยาศาสตร ทําใหผูคนพากันหันไปศึกษาแต

วิทยาศาสตรและความรูภายนอก จนหลงลืมที่จะศึกษาจิตใจที่อยูภายในของตนเอง ตางพากันมองวาโลกพระศรีอาริย

(Utopia) นั้นคือโลกที่มนุษยอายุยืนจนแทบจะเปนอมตะเพราะสามารถผาตัดเปลี่ยนอวัยวะที่เสื่อมชํารุดออกไปเพ่ือใส

File : gnr2.doc page : 16

สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, Bill Joy, Wired 0, May00, 238 -262

อวัยวะเทียมเขามาแทนที่ หรือสามารถถายโอนจิตใจไปจัดเก็บไวหนวยความจําเพื่อถายโอนไปสูรางใหม เม่ือรางเดิม

ทรุดโทรม มีอุปกรณอํานวยความสะดวก และใหความบันเทิงสารพัดตามแตบรรดาเทคโนโลยีใหมๆ จะจัดหามาใหได

หรือมีอาหารการกินอุดมสมบูรณจากการคัดเลือก/ตัดตอพันธุกรรมของปศุสัตวและธัญญพืช ฯลฯ โดยลืมมองสภาพที่

ปรากฏเปนจริงอยูโดยทั่วไปของปญหาที่สังคมโลกกําลังเผชิญอยู ปญหาที่กําเนิดขึ้นจากความรูและเทคโนโลยี

บิลล จอย ไดเสนอทางออกของปญหาไวในบทความ "Why the future doesn't need us" ของตน

โดยระบุวามันอาจจะดีกวา หากเราเปลี่ยนมุมมองเร่ืองโลกพระศรีอาริย (Utopia) เสียใหม ลองดูจากหนังสือ "Ethics

for the New Millenium" ของทานทไลลามะ ที่นําเสนอใหมนุษยพยายามดํารงชีวิตดวยการมอบความรักและ

ความเห็นอกเห็นใจใหแกเพื่อนมนุษย ชวยกันพัฒนาสังคมที่ตระหนักถึงคุณคาความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกัน

เพ่ือที่ตัวผูปฏิบัติเองจะไดเรียนรูวาอะไรกันแนทีทําใหมนุษยมีความสุข แทนที่จะหลงผิดวาความกาวหนาในทางวัตถุ

หรือพลังแหงความรูทางวิทยาศาสตรน้ันคือสิ่งที่จะนํามาซึ่งความสุข (สําหรับผูอานในเมืองไทยนาจะหาหนังสือของ

ทานทไลลามะอานไดยาก ทางที่ดีใหลองอานงานเขียนของทานพุทธาส หรือเจาคุณธรรมปฎก (ป.อ. ประยุตต ประ

ยุตโต) ดูบางก็คงจะใหความสุขไดไมตางกัน)

หมายเหตุ ถาทานผูอานยังไมเบื่อ คราวหนาผูเขียนก็อยากจะนําเสนอเร่ืองของเทคโนโลยีจีเอ็นอาร

ตอไป โดยจะนําเสนอในตอน GNR: episode III "พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ"

เอกสารอางอิง 1. สุรพล ศรีบุญทรง “GNR : Episode 1 "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย"” IT Soft Vol 8, No 99, 155 - 164

2. Bill Joy “Why the future doesn’t need us.” WIRED, APRIL 2000, 238 – 262

3. Stewart Brand “Unbounding the Future : the Nanotechnology Revolution , Forward” http://www.foresight.org/UTF/Unbound_LBW/foreward.html

4. Eric Drexler “Engines of Creation : The Coming Era of Nanotechnology ” http://www.foresight.org/EOC/

5. Eric Drexler “Unbounding the Future : the Nanotechnology Revolution ” http://www.foresight.org/UTF/Unbound_LBW/

6. Crandall, B.C. and James Lewis “Nanotechnology: Research and Perspectives”, MIT Press, 1992 : 269

7. Amory B. Lovins and L. Hunter Lovins “A Tale of Two Botanies” .” WIRED, APRIL 2000, 247

8. Else, Jon “The Day After Trinity :; J. Robert Oppenheimer and The Atomic Bomb” http://www.pyramiddirect.com

9. Clarke, Arthur C. “President, Experts, and Asteroids” Science , June 5, 1998