Course syllabus ca222 (2 2557)

6
COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2 (ปการศึกษาที2/2557) | 1 แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus) นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2 CA 222 Printed Media Design 2 หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะ/สาขาวิชา คณะศิลปศาสตร สาขาวิชานิเทศศาสตรบูรณาการ มหาวิทยาลัยแมโจ วิชาบังคับกอน นศ 221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1 ประเภทของรายวิชา วิชาเอกบังคับ จํานวนหนวยกิต 3 (2-2-1) ภาคการศึกษา/ปการศึกษา 2/2557 อาจารยผูสอน อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ คําอธิบายวิชา การออกแบบสื่อสิ่งพิมพดวยระบบดิจิทัล โดยมุงเนนที่แนวคิดการสรางสรรค องคประกอบทางศิลปะ เพื่อผลิตงาน สื่อสิ่งพิมพในรูปแบบตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงคของรายวิชา เพื่อใหผูเรียนสามารถ 1. ใชโปรแกรมการออกแบบดวยเครื่องคอมพิวเตอร สําหรับงานสิ่งพิมพไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. จัดทําสื่อสิ่งพิมพ โดยเนนแนวคิดสรางสรรค และถายทอดไปยังกลุมเปาหมายได ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน การบรรยายเพื่อสรางความรูความเขาใจในการกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพผานการปฏิบัติจริง ฝกปฏิบัติการออกแบบ สิ่งพิมพ นิตยสาร หนังสือพิมพ และสิ่งพิมพดิจิทัลในรูปแบบออนไลน โดยนําเสนอผลงานรายบุคคลและรายกลุม เพื่อให สามารถเขาใจและอธิบายกระบวนการผลิตผลงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

description

แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus) นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 2

Transcript of Course syllabus ca222 (2 2557)

Page 1: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 1

แผนการสอนรายวิชา(Course Syllabus)

นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2 CA 222 Printed Media Design 2

หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต

คณะ/สาขาวิชา คณะศิลปศาสตร สาขาวิชานิเทศศาสตรบูรณาการ

มหาวิทยาลัยแมโจ

วิชาบังคับกอน นศ 221 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1

ประเภทของรายวิชา วิชาเอกบังคับ

จํานวนหนวยกิต 3 (2-2-1)

ภาคการศึกษา/ปการศึกษา 2/2557

อาจารยผูสอน อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ

คําอธิบายวิชา

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพดวยระบบดิจิทัล โดยมุงเนนท่ีแนวคิดการสรางสรรค องคประกอบทางศิลปะ เพ่ือผลิตงาน

สื่อสิ่งพิมพในรูปแบบตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงคของรายวิชา

เพ่ือใหผูเรียนสามารถ

1. ใชโปรแกรมการออกแบบดวยเครื่องคอมพิวเตอร สําหรับงานสิ่งพิมพไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. จัดทําสื่อสิ่งพิมพ โดยเนนแนวคิดสรางสรรค และถายทอดไปยังกลุมเปาหมายได

ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน

การบรรยายเพ่ือสรางความรูความเขาใจในการกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพผานการปฏิบัติจริง ฝกปฏิบัติการออกแบบ

สิ่งพิมพ นิตยสาร หนังสือพิมพ และสิ่งพิมพดิจิทัลในรูปแบบออนไลน โดยนําเสนอผลงานรายบุคคลและรายกลุม เพ่ือให

สามารถเขาใจและอธิบายกระบวนการผลิตผลงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

Page 2: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 2

ปฏิทินการศึกษา วิชา นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2

สัปดาหท่ี หัวขอ/รายละเอียด

1

- ปฐมนิเทศ/แนะนําวิธีการเรียนการสอนและขอตกลงรวมกันในรายวิชา

- ศึกษาความรูเก่ียวกับการผลิตสิ่งพิมพ

- ทบทวนการออกแบบสําหรับสื่อสิ่งพิมพ

- จิตวิทยาในการออกแบบ

- ลักษณะของงานพาณิชยศิลปในงานนิเทศศิลป

2

แนวคิดเก่ียวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

- ภาพถายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลักษณ

- ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพเชิงวารสารศาสตร

- หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร

- แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson

- การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร

3

การเตรียมตนฉบับสื่อสิ่งพิมพ

- ความสําคัญของตนฉบับและการเตรียมตนฉบับ

- แนวคิดเก่ียวกับการเขียนเชิงวารสารศาสตร

- การบรรณาธิกรเนื้อหาสําหรับสื่อสิ่งพิมพ

- การบรรณาธิกรภาพสําหรับสื่อสิ่งพิมพ

- การสั่งตัวพิมพและการพิสูจนอักษร

- การสื่อขาว จริยธรรม และความรับผิดชอบทางวิชาชีพ

- กฎหมายสื่อสิ่งพิมพตามพระราช บัญญัติจดแจงการพิมพ พ.ศ.2550

4

กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

- ข้ันตอนในการวางแผนการผลิต

- การประมาณราคาสิ่งพิมพ

- บุคลากรในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

- การเลือกใชกระดาษและระบบการ พิมพ

- เทคโนโลยีสารสนเทศในการผลิตสื่อสิ่งพิมพรวมสมัย

- กระบวนการวางแผนกอนการผลิต(Prepress)

- กระบวนการในข้ันตอนการผลิต (Press)

- กระบวนการในข้ันตอนหลังการพิมพ (Afterpress)

Page 3: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 3

สัปดาหท่ี หัวขอ/รายละเอียด

5

การออกแบบและผลิตสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส หนังสือดิจิทัล และการจัดการออนไลน (e-book online)

- ความหมายและความสําคัญของการออกแบบจัดหนา

- องคประกอบ และรูปแบบของหนังสือ

- สวนประกอบของหนังสือ สวนตนเลม สวนเนื้อเรื่อง และสวนทายเลม

- หลักการออกแบบและจัดหนาหนังสือ

- หลักการออกแบบสื่อ DTP และ e-book

- ระบบกริดสําหรับการออกแบบ

6 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส หนังสือดิจิทัล และการจัดการออนไลน

(e-book online)

- การประยุกตใชงานโปรแกรม iBook Author สําหรับระบบปฏิบัติการ iOS

- การจัดการสื่อผสม

- การจัดการอารตเวิรก

- การจัดการออนไลน

- เทคนิคการจัดการปญหา อุปสรรคในการผลิตสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส และหนังสือดิจิทัล

7 นําเสนองานสื่อสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส หนังสือดิจิทัล และการจัดการออนไลน (e-book online)

ท่ีผลิตฉบับสมบูรณรายบุคคล / ประเมินผลการผลิตสิ่งพิมพของนักศึกษา

8 สอบกลางภาคเรียน**

9 การบริหารการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

- การบริหารจัดการท่ัวไป

- การบริหารนโยบายการผลิต

- การจัดการกองบรรณาธิการ

- การสรางแบรนดสําหรับสื่อสิ่งพิมพ

- การควบคุมคุณภาพการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

10 การออกแบบและผลิตหนังสือพิมพ

- แนวคิดการออกแบบรูปเลมหนังสือพิมพ

- การจําแนกประเภทหนังสือพิมพ

- องคประกอบและรูปแบบของหนังสือพิมพ

- ทฤษฎีการออกแบบหนาหนังสือพิมพ

- คําศัพทในการออกแบบหนาหนังสือพิมพ

- การจัดหนาแบบเดิม(Traditional)

- การจัดหนาแบบใหม(Contemporary)

- การออกแบบจัดหนาหนึ่ง หนาใน และหนาโฆษณาของหนังสือพิมพ

Page 4: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 4

สัปดาหท่ี หัวขอ/รายละเอียด

11 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/นิตยสาร) ดวยโปรแกรม

สําเร็จรูปเพ่ืองานวารสารสนเทศ

- การจัดการอารตเวิรก

- การจัดการสื่อผสม

- ปญหาในการผลิตหนังสือพิมพ/นิตยสาร

12 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/นิตยสาร) ดวยโปรแกรม

สําเร็จรูปเพ่ืองานวารสารสนเทศ

- การประยุกตใชงานโปรแกรม Photoshop, Illustrator, InDesign ข้ันสูง

13 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/นิตยสาร) ดวยโปรแกรม

สําเร็จรูปเพ่ืองานวารสารสนเทศ

- การประยุกตใชงานโปรแกรม Photoshop, Illustrator, InDesign ข้ันสูง

14 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/นิตยสาร) ดวยโปรแกรม

สําเร็จรูปเพ่ืองานวารสารสนเทศ

- อุปสรรคในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ

- เทคนิคการจัดการปญหา

15 นําเสนอผลงานปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/นิตยสาร)

ฉบับสมบูรณรายกลุม / ประเมินผลการผลิตสิ่งพิมพของนักศึกษา

16 สอบปลายภาคเรียน***

หมายเหตุ **ชวงวันสอบกลางภาค ระหวางวันท่ี 2 มี.ค. 2557 ถึงวันท่ี 8 มี.ค. 2557 ***ชวงวันสอบปลายภาค ระหวางวันท่ี 4 พ.ค. 2557 ถึงวันท่ี 17 พ.ค. 2557

หากมีการเปลี่ยนแปลงวันสอบ จะแจงใหทราบกอนลวงหนา

เกณฑการประเมินผล

ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรียน คาระดับคะแนน คารอยละ

A

B+

B

C+

C

D+

D

F

ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

ดีพอใช

พอใช

ออน

ออนมาก

ตก

4.0

3.5

3.0

2.5

2.0

1.5

1.00

0.0

80-100

75-79

70-74

65-69

60-64

50-59

50-54

0-49

Page 5: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 5

การประเมินผล

คิดจากคะแนนรวมตลอดภาคการศึกษาท้ังสิ้น 100% แบงเปนสัดสวน ดังนี้

กิจกรรม

ท่ี วิธีการประเมินผล

สัปดาหท่ี

ประเมินผล

สัดสวนของการ

ประเมินผล

1 การเขาชั้นเรียน ความตั้งใจ ความรับผิดชอบและการมีสวนรวม ตลอดภาค

การศึกษา 10 %

2 งานมอบหมาย, การวิเคราะหกรณีศึกษา, การทดสอบยอย,

การนําเสนอรายงาน ท้ังรายบุคคลและรายกลุม

ตลอดภาค

การศึกษา 10 %

3 การผลิตผลงานเพ่ือประเมินผล (Semi-Final Project)

- การผลิตสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส หนังสือดิจิทัลและการจัดการ

ออนไลน (e-book online) (รายบุคคล)

7 20 %

4 การผลิตผลงานเพ่ือประเมินผล (Final Project)

- การออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพตามหัวขอสนใจ (หนังสือพิมพ/

นิตยสาร) ดวยโปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ืองานวารสารสนเทศ (รายกลุม)

15

30 %

5 สอบกลางภาค 8 15 %

6 สอบปลายภาค 16 15 %

หนังสือและเอกสารคนควาประกอบการเรียนการสอน

กฤษณ ทองเลิศ. 2554. การถายภาพเชิงวารสารศาสตร : แนวคิด เทคนิค การวิเคราะห. กรุงเทพมหานคร :

อินทนิล.

จินตวีร คลายสังข. 2555. Desktop Publishing สู e-book เพ่ือสงเสริมการใฝรูของผูเรียนรูยุคดิจิทัล.

กรุงเทพมหานคร : วี. พริ้นท (1991) จํากัด.

จุฑามาศ มโนสิทธิกุล. 2554. สรางงานส่ือส่ิงพิมพแบบฉบับมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร : เน็ทดีไซน พับลิชชิ่ง จํากัด.

จันทนา ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหนาสิ่งพิมพ. นนทบุรี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ดรุณี หิรัญรักษ . 2543. การจัดการธุรกิจหนังสือพิมพ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอกพิมพไทย จํากัด.

ธารทิพย เสรินทวัฒน. 2550. ทัศนศิลปการออกแบบพาณิชยศิลป. กรุงเทพมหานคร : หลักไทชางพิมพ.

นิพัทธ ไพบูลยพรพงศ. 2551. การจัดการสีเพ่ืองานกราฟก. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น จํากัด(มหาชน).

ปาพจน หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟกดีไซน . นนทบุรี : บริษัท ไอดีซี พรีเมียร

จํากัด.

ปราณี สุรสิทธิ์. 2549. การเขียนสรางสรรคเชิงวารสารศาสตร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแสงดาว จํากัด.

ปราโมทย แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป. กรุงเทพมหานคร : วี.เจ. พริ้นติ้ง.

Page 6: Course syllabus ca222 (2 2557)

COURSE SYLLABUS นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2 (ปการศึกษาที่ 2/2557) | 6

มนัญญา เหลืองดิลก, วีณา ลิ้มรวมทรัพย. 2556. Quick & Easy สรางสรรคหนังสือดิจิตอลดวย iBook Author.

กรุงเทพมหานคร : พิมพดี จํากัด.

มาลี บุญศิริพันธ. 2550. วารสารศาสตรเบ้ืองตนปรัชญาและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วิรุณ ตั้งเจริญ. 2545. ออกแบบกราฟค. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน.

ศูนยศึกษากฎหมายและนโยบายสื่อมวลชน. 2556. คูมือการสอนวิชากฎหมายส่ือมวลชนและวิชาจริยธรรม

ส่ือมวลชน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท จรัลสนิทวงศการพิมพ จํากัด.

สกนธ ภูงามดี. 2547. พ้ืนฐานการออกแบบกราฟค. กรุงเทพมหานคร : บุคพอยท จํากัด.

สดศรี เผาอินจันทร. 2543. การออกแบบหนาหนังสือพิมพ. นครราชสีมา : โคราชพริ้นติ้ง.

สมเกียรติ ตั้งนโม. 2536. ทฤษฎีสี. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส.

สิริทิพย ขันสุวรรณ. 2539. การหนังสือพิมพเบ้ืองตน. กรุงเทพมหานคร : ยงพลเทรดดิ้ง.

สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. 2546. การผลิตส่ือส่ิงพิมพ. กรุงเทพมหานคร : ศูนยหนังสือสวนสุนันทา.

สุโขทัยธรรมา ธิราช, มหาวิทยาลัย. 2552. การผลิตส่ือส่ิงพิมพ . กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โสรชัย นันทวัชรวิบูลย . 2545. สูเสนทางกราฟกดีไซเนอร. กรุงเทพมหานคร : พิมพดี จํากัด.

อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบส่ิงพิมพ. กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร.

Debbie Millman; Rodrigo Corral Design (Firm). 2012). Brand Bible : The complete guide to

building, designing, and sustaining brands. Beverly, Mass : Rockport Publishers.

Harrower, Tim. 2002. The Newspaper Designer’s Handbook. Boston ; London : McGraw-Hill.

Kristina Nickel. 2011. Ready to Print : Handbook for Media Designers. Berlin : Gestalter.

Meredith Davis. 2012. Graphic Design Theory. London : Thames & Hudson.

Rob Carter, Ben Day and Philip Meggs. 2012. Typographic Design : Forum and Communication.

New Jersey, USA : John Wiley & Sons, Inc.

แหลงคนควาอ่ืน ๆ

1. เอกสาร หนังสือ ขาวสาร หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสารตาง ๆ ท้ังภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

2. ตําราเก่ียวกับการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ จากหองสมุดกลางมหาวิทยาลัยแมโจ หองสมุดกลาง

มหาวิทยาลัยเชียงใหม หองสมุดเฉพาะดานการออกแบบ และหองสมุดอ่ืนๆ

3. การสืบคนทางอินเทอรเน็ต เครือขายสังคมออนไลน เว็บไซตตางๆ

4. สื่อทุกประเภท รวมถึงกิจกรรมและบุคคลท่ีนาสนใจ ตามเนื้อหาท่ีกําหนดในการสอน