ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า...

13
257 KKU Res. J. 2013; 18(2) KKU Res. J. 2013; 18(2): 257-269 http : //resjournal.kku.ac.th ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects of herbal products on fish immunity ชนกันต์ จิตมนัส 1 Chanagun Chitmanat 1 * 1 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแม่โจ*Correspondent author: [email protected] บทคัดย่อ ปัญหายาและสารเคมีตกค้างในผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้าเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้นักวิจัยและเกษตรกรหันมาใช้พืช สมุนไพรเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ในการป้องกันโรคสัตว์นํ้า จุดประสงค์ของบทความนี้เป็นการรวบรวมงานวิจัยด้านผล ของการใช้ผลิตภัณฑ์จากพืช 50 ชนิด ซึ่งมีสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น ไกลเซอไรซิน (glycyrrhizin) สารลิควิริติน (liquiritin) และกลาบริดิน (glabridin, GLAB) รวมทั้งสารออกฤทธิ์อื่น ๆ เช่น โพลีแซคคาไรด์ (polysaccharides) อัลคาลอยด์ (alkaloids) ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) แอนทราควิโนน (anthraquinone) นํ้ามันหอมระเหย (essential oil) ซาโปนิน (saponin) และสารอะซาไดแรคติน (azadirachtin) สารเหล่านี้มีสรรพคุณในการลดความเครียด เป็น สารต้านทานอนุมูลอิสระ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ป้องกันและรักษาโรคสัตว์นํ้า เราสามารถให้สารสกัดสมุนไพรโดย การผสมอาหาร แช่และฉีด อย่างไรก็ตามการให้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่มากเกินไปอาจจะส่งผลเสียต่อสัตว์นํ้าไดAbstract Antibiotic and chemical residues in fish products cause researchers and farmers to investigate the application of herbal products as alternatives for fish disease prevention and treatment. The purpose of this article is to review some of the available literature relating to the effects of fifty herbal products containing various active ingredients such as polysaccharides, alkaloids, flavonoids, anthraquinone, essential oils, saponin, and azadirachtin on aquatic animals. These herbal products are able to reduce stress, enhance antioxidant activities, improve immunity, and provide effective modes of fish disease prevention and treatment. Administration of these immunostimulants can be administered by feeding, immersion, and injection. However, an overdose, as with any medication/treatment, could lead to negative effects on aquatic animals. คำ�สำ�คัญ: สมุนไพร ภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน โรคสัตว์นํ้า Keywords: herb, fish immunity, immunostimulant, fish diseases

Transcript of ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า...

Page 1: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

257KKU Res. J. 2013; 18(2)

KKU Res. J. 2013; 18(2): 257-269http : //resjournal.kku.ac.th

ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้าEffects of herbal products on fish immunity

ชนกันต์ จิตมนัส1

Chanagun Chitmanat1*

1คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้*Correspondent author: [email protected]

บทคัดย่อ

ปญัหายาและสารเคมตีกคา้งในผลติภณัฑส์ตัวน์ํา้เปน็สาเหตสุาํคญัทีท่าํใหน้กัวจิยัและเกษตรกรหนัมาใชพ้ชื

สมนุไพรเพือ่เปน็ทางเลอืกใหมใ่นการปอ้งกนัโรคสตัวน์ํา้จดุประสงคข์องบทความนีเ้ปน็การรวบรวมงานวจิยัดา้นผล

ของการใช้ผลิตภัณฑ์จากพืช50ชนิดซึ่งมีสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพเช่นไกลเซอไรซิน(glycyrrhizin)สารลิควิริติน

(liquiritin)และกลาบริดิน(glabridin,GLAB)รวมทั้งสารออกฤทธิ์อื่นๆเช่นโพลีแซคคาไรด์(polysaccharides)

อัลคาลอยด์ (alkaloids)ฟลาโวนอยด์ (flavonoids)แอนทราควิโนน(anthraquinone)นํ้ามันหอมระเหย(essential

oil)ซาโปนิน(saponin)และสารอะซาไดแรคติน(azadirachtin)สารเหล่านี้มีสรรพคุณในการลดความเครียดเป็น

สารต้านทานอนุมูลอิสระช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันป้องกันและรักษาโรคสัตว์นํ้าเราสามารถให้สารสกัดสมุนไพรโดย

การผสมอาหารแช่และฉีดอย่างไรก็ตามการให้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่มากเกินไปอาจจะส่งผลเสียต่อสัตว์นํ้าได้

Abstract

Antibiotic and chemical residues infish products cause researchers and farmers to investigate the

applicationof herbal products as alternatives forfishdisease prevention and treatment.Thepurpose of this

article is to review someof the available literature relating to the effects offifty herbal products containing

variousactiveingredientssuchaspolysaccharides,alkaloids,flavonoids,anthraquinone,essentialoils,saponin,

andazadirachtinonaquaticanimals.Theseherbalproductsareabletoreducestress,enhanceantioxidantactivities,

improveimmunity,andprovideeffectivemodesoffishdiseasepreventionandtreatment.Administrationofthese

immunostimulantscanbeadministeredbyfeeding,immersion,andinjection.However,anoverdose,aswithany

medication/treatment,couldleadtonegativeeffectsonaquaticanimals.

คำ�สำ�คัญ: สมุนไพรภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้าสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคสัตว์นํ้า

Keywords: herb,fishimmunity,immunostimulant,fishdiseases

Page 2: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

258 KKU Res. J. 2013; 18(2)

1. บทนำ�

ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสัตว์นํ้าที่สําคัญ

ของโลกโดยผลผลติสตัวน์ํา้จากการเพาะเลีย้งมปีระมาณ

1.384ล้านตันและมูลค่าการส่งออกสินค้าสัตว์นํ้าสูงถึง

224,512ล้านบาทในปี2552(1)ปัจจุบันการผลิตสัตว์นํ้า

นอกจากมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ผลผลิตเพียงพอกับความ

ต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นแล้ว ยังต้องคํานึงถึง

คุณภาพของสัตว์นํ้าและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย

แม้ว่าจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่ดีทําให้ได้ผล

ผลติสตัวน์ํา้มคีณุภาพสงูขึน้และเปน็มติรตอ่สิง่แวดลอ้ม

อย่างไรก็ตามการขนส่งลูกพันธุ์จากแหล่งผลิตไปยังบ่อ

เลี้ยงการเคลื่อนย้ายระหว่างบ่อการคัดขนาดการที่สัตว์

นํ้าถูกนํามาเลี้ยงอย่างหนาแน่นเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อพื้นที่

การจัดการด้านอาหารและคุณภาพนํ้าที่ผิดพลาดล้วนมี

ผลทําให้ปลาเครียดมีภูมิคุ้มกันโรคลดตํ่าลง ง่ายต่อการ

ติดเชื้อและเกิดโรคระบาดอันนําไปสู่ความเสียหายทาง

เศรษฐกิจ โดยความเสียหายจากโรคสัตว์นํ้าของประเทศ

จนีสงูกวา่400ลา้นดอลลารส์หรฐัในปี2536สว่นอนิเดยี

ประมาณ17.6ลา้นดอลลารส์หรฐัในปี2537สาํหรบัไทย

มคีวามเสยีหายกวา่500ลา้นดอลลารส์หรฐัในปี2539(2)

มกีารใชส้ารเคมแีละยาปฏชิวีนะหลายชนดิในการควบคมุ

ป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อปรสิตแบคทีเรียและเชื้อรา

ยาปฏชิวีนะทีใ่ชก้นัมากในสตัวน์ํา้ไดแ้ก่อะมอ็กซซีลิลนิ

(amoxicillin)เอนโรฟอกซาซิน(enrofloxacin)และออก

ซเีททราซยัคลนิ(oxytetracycline)(3)สว่นยาปฏชิวีนะที่

นยิมใชใ้นฟารม์กุง้ประเทศไทยไดแ้ก่ฟลอูอโรควโินโลน

(fluoroquinolones)เตตรา้ซยัคลนิ(tetracyclines)และซลั

โฟนาไมด์(sulfonamides)(4)ฟาร์มปลานํ้าจืดมักนิยมใช้

กลุม่ยาซลัฟาเอนโรฟอกซาซนิและออกซเีททราซยัคลนิ

ซึ่งมีชื่อการค้าที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามหากมีการใช้

สารเคมีหรือยาปฏิชีวนะเหล่านี้เกินขนาดอาจทําให้สัตว์

นํ้าตายหรือส่งผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ เช่นส่งผล

เสียต่อการเจริญเติบโตและระบบภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า เกิด

การตกค้างในเนื้อสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อมปัญหามลพิษ

การพฒันาสายพนัธุจ์ลุนิทรยีท์ีด่ือ้ยาซึง่สามารถถา่ยทอด

สู่สัตว์นํ้าในแหล่งนํ้าธรรมชาติและเชื้อก่อโรคในมนุษย์

ส่งผลเสียต่อการส่งออก ความปลอดภัยของผู้บริโภค

การใช้ฟอร์มาลินจะทําให้ปริมาณออกซิเจนในนํ้าลด

ลงอย่างมากและยังส่งผลเสียต่อเหงือกปลา (5)Punitha

et al. (6) รายงานว่าการใช้ยาปฏิชีวนะไนโตรฟูราโซน

(nitrofurazone)ซํ้าๆจะทําให้เกิดแผลฝีบริเวณผิวหนัง

(ulcerative dermatitis)ปัจจุบันห้ามใช้ยาปฏิชีวนะนี้กับ

สัตว์นํ้าที่ใช้บริโภคแล้ว

แมว้า่จะมกีารวจิยัและพฒันาวคัซนีเพือ่ปอ้งกนั

โรคติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัสในสัตว์นํ้า แต่ข้อเสียของ

วัคซีนคือ ราคาแพง การใช้ยุ่งยาก มีความจําเพาะต่อ

เชื้อโรคและมักจะไม่ได้ผลสําหรับเชื้อที่อยู่ภายในเซลล์

(intracellularpathogen)(6)การทีม่เีชือ้โรคในสิง่แวดลอ้ม

หลากหลาย การพัฒนาวัคซีนต่อเชื้อโรคชนิดใดชนิด

เดียวจึงไม่เพียงพอการจัดการสุขภาพสัตว์นํ้าที่ดี การ

ใช้ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) และ

การใชส้ารจากพชืสมนุไพรกระตุน้ภมูคิุม้กนัในการเพาะ

เลีย้งสตัวน์ํา้นา่จะเปน็ทางเลอืกทีด่กีวา่การใชย้าและสาร

เคมีที่มีราคาแพง(7–9)เพราะสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันจาก

พืชสมุนไพรสามารถควบคุมโรคได้หลายหลายชนิดกว่า

ราคาเหมาะสมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจุดประสงค์

ของงานเขียนนี้เพื่อทบทวนเอกสารเกี่ยวกับการใช้สาร

สกดัจากพชืสมนุไพรในการกระตุน้ภมูคิุม้กนัสตัวน์ํา้ลด

ความเครียดและควบคุมโรคสัตว์นํ้า

2. ประโยชน์ของพืชสมุนไพรต่อก�ร

เพ�ะเลี้ยงสัตว์นำ้�

นักวิทยาศาสตร์จากหลายประเทศนําพืช

สมุนไพรทั้งแบบสดอบแห้งหรือสกัดด้วยตัวทําละลาย

ต่างๆกันมาทดลองเพื่อใช้ลดความเครียดต้านอนุมูล

อิสระกระตุ้นภูมิคุ้มกันป้องกันและรักษาโรคสัตว์นํ้า

โดยใช้ข้อมูลจากภูมิปัญญาที่เคยมีมาแต่บรรพบุรุษบาง

ชนิดได้มีการใช้ได้ผลดีต่อคนและสัตว์บกโดยไม่ส่งผล

ข้างเคียงจึงนํามาประยุกต์ใช้กับสัตว์นํ้าการใช้สมุนไพร

ในการควบคมุโรคปลาและกุง้ประสบผลสาํเรจ็อยา่งดใีน

เม็กซิโกอินเดียญี่ปุ่นและไทย(9–12)

Page 3: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

259KKU Res. J. 2013; 18(2)

2.1 สมุนไพรที่ใช้ลดคว�มเครียดในสัตว์นำ้�

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนําสมุนไพรมาใช้

ลดความเครียดในสัตว์นํ้ามีน้อยส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไป

ทีก่ารปอ้งกนัรกัษาโรคอาจจะเปน็เพราะตวับง่ชีเ้กีย่วกบั

ความเครียดของสัตว์นํ้าค่อนข้างไวต่อการเปลี่ยนแปลง

ทําให้ยากแก่การทดสอบนักวิจัยจึงมักจะตรวจสอบว่า

สมุนไพรใช้ได้ผลหรือไม่โดยการทดสอบความสามารถ

ในการทนตอ่การตดิเชือ้โรคระบาดจากการตรวจเอกสาร

พบวา่โกฐกา้นพรา้ว(Picrorhiza kurroa)มฤีทธิใ์นการลด

ความเครียดในกุ้ง (13) และกุ้งก้ามกรามที่ได้รับอาหาร

ผสมสารสกัดจากตั้วอึ้ง(Rheum officinale)0.1–0.2%

ชว่ยปอ้งกนัความเครยีดจากอณุหภมูทิีส่งูขึน้(14)ปญัหา

สําคัญของการเลี้ยงปลาคือปลามักจะเครียดจากการอยู่

ในนํ้าที่มีออกซิเจนตํ่านานๆซึ่งบางครั้งหากปลาทน

ไม่ได้อาจจะน็อคตายทั้งหมดบ่อหรือกระชัง การหาพืช

สมนุไพรทีช่ว่ยลดความเครยีดของสตัวน์ํา้ทีต่อ้งอาศยัอยู่

ในแหล่งนํ้าที่ปริมาณออกซิเจนตํ่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจ

2.2 สมุนไพรที่ใช้รักษ�โรคสัตว์นำ้�

มีการใช้สารสกัดจากพืชในการรักษาโรค

ระบาดปลา (EpizooticUlcerative Syndrome, EUS)

(15)ไวรสัทีเ่กดิโรคหดูปลา(lymphocystisdiseasevirus,

LDV)(16)หรอืโรคตดิเชือ้ปรสติอืน่ๆ เชน่โรคเหบ็ระฆงั

(17)โรคที่เกิดจากปลิงใสโรคเห็บปลาเป็นต้น(18–19)

กุง้เปน็สตัวเ์ศรษฐกจิทีถ่กูคกุคามโดยไวรสัหลายชนดิจน

ทาํใหต้อ้งมกีารลดความเสีย่งโดยการเปลีย่นจากการเลีย้ง

กุง้กลุาดาํเปน็กุง้ขาวแวนนาไมเพราะไมม่ยีาทีใ่ชร้กัษาโรค

ติดเชื้อไวรัสการคิดค้นหาสารจากธรรมชาติเพื่อกระตุ้น

ภมูคิุม้กนักุง้จงึเปน็สิง่จาํเปน็อาหารกุง้ผสมสารสกดัพญา

ยอจากเอธานอลช่วยป้องกันโรคหัวเหลือง (11)อาหาร

ผสมโกฐก้านพร้าวสารสกัดหญ้าแพรก (C. dactylon)

มะตูม (Aegle marmelos) บอระเพ็ด (T. cordifolia)

สารสกดัจากตาํแย(Aclypha indica)โสมอนิเดยี (Withania

Somnifera)และขิง (Z. officinalis)ลดการติดเชื้อไวรัส

ตัวแดงดวงขาวได้(20) สถาพรและคณะ(21)ทดลองใช้

หญา้ใตใ้บ(Phyllanthus urinaria)ในอตัรา10มก/มลผสม

กบัเชือ้ไวรสัตวัแดงดวงขาวแลว้นาํไปฉดีเขา้กลา้มเนือ้กุง้

กลุาดาํพบวา่กุง้มอีตัรารอดตาย100%แสดงวา่สมนุไพร

ดังกล่าวมีฤทธิ์ทําลายไวรัส

การใช้กระเทียมสดบดละเอียด 10กรัมคลุก

ผสมอาหารกุ้งชนิดเม็ด 1 กิโลกรัม ให้กุ้งวัยอ่อนที่ติด

พยาธิกรีการีนกินวันละ5มื้อติดต่อกันเป็นเวลา30วัน

พบวา่จาํนวนพยาธกิรกีารนีทีพ่บในตวักุง้ลดลงภายใน2

สัปดาห์และตรวจไม่พบหลังจากการรักษาไปได้30วัน

(22)อยา่งไรกต็ามงานทีข่ดัแยง้กบัคาํกลา่วของ รศ.น.สพ.

ดร.จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์ (23) ที่รายงานว่า การใช้

กระเทียมกล้วยนํ้าว้าดิบ เปลือกมังคุดสับปะรดผสม

อาหารให้กุ้งกินเพื่อรักษาโรคขี้ขาวส่วนใหญ่ไม่ประสบ

ความสําเร็จต้องจับกุ้งขายก่อนกําหนด

อัญชลีและจิราพร (24) รายงานว่าสารสกัด

เปลือกทับทิมใบหูกวางกระเทียมสดชาเขียวญี่ปุ่นและ

ใบชะพลู มีฤทธิ์และประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งเชื้อ

แบคทีเรียก่อโรคสําคัญในกุ้งก้ามกราม3ชนิดได้แก่เชื้อ

Aeromonas hydrophila,Vibrio parahaemolyticusและ

V. harveyi ในขณะที่มีความเป็นพิษต่อลูกกุ้งก้ามกราม

ระดับตํ่า สารสกัดจากใบมะกอกโอลีฟ(Olea europaea)

สามารถควบคมุแรปโดไวรสัในปลาแซลมอน(Salmonid

rhabdovirus) และไวรัสวีเอชเอส (VHSVหรือ viral

haemorrhagicsepticaemiavirus)(25)ใบฝรั่ง(Psidium

guajava) ช่วยในการควบคุมโรคติดเชื้อแบคทีเรีย

Aeromonas hydrophila(26)กะเพรา(Ocimum sanctum)

ชว่ยปอ้งกนัโรคตดิเชือ้แบคทเีรยีA. hydrophilaในปลานลิ

(Oreochromis mossambicus)(27)สารสกัดจากทับทิม

สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่Aeromonas

caviaeที่แยกจากปลาดุก (28) และเชื้อA. hydrophila

(29–30)

ความเข้มข้นตํ่าสุดของสารสกัดหยาบจากใบ

พลูและรากเปราะหอมที่มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของ

เชื้อราS. parasitica H2ได้สมบูรณ์มีค่าเท่ากับ500และ

125ไมโครกรมัตอ่มลิลลิติรตามลาํดบัสว่นสารสกดัจาก

เหง้าข่า ใบทองพันชั่งและใบเปราะหอมที่ความเข้มข้น

500ไมโครกรมัตอ่มลิลลิติรมผีลยบัยัง้การเตบิโตของเชือ้

รานี้ได้เล็กน้อยผลการทําลายเชื้อราS. parasitica H2พบ

ว่าสารสกัดจากใบพลู ใบทองพันชั่งและรากเปราะหอม

ออกฤทธิใ์นการทาํลายเชือ้รานีท้ีค่วามเขม้ขน้500,5,000

Page 4: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

260 KKU Res. J. 2013; 18(2)

และ50ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรตามลําดับส่วนสารสกัด

หยาบของเหง้าข่าและใบเปราะหอมที่ 5000 ไมโครกรัม

ตอ่มลิลลิติรไมส่ามารถทาํลายเชือ้รานีไ้ด้นอกจากนีค้วาม

เข้มข้นของสารสกัดหยาบและระยะเวลาที่เชื้อราสัมผัส

กับสารสกัดมีผลต่อการทําลายเชื้อรานี้ด้วย (31)จะเห็น

ได้ว่านักวิจัยแต่ละกลุ่มมีวิธีการเตรียมสารสกัดปริมาณ

การใช้ วิธีการตรวจสอบชนิดและปริมาณเชื้อก่อโรคที่

แตกต่างกันจึงน่าที่จะมีการสร้างมาตรฐานในการตรวจ

สอบประสิทธิภาพของพืชสมุนไพรในการป้องกันรักษา

โรคสัตว์นํ้าที่ยอมรับได้ระดับสากล

2.3 สมุนไพรที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน

การที่สัตว์นํ้ามีความแข็งแรงและมีภูมิคุ้มกัน

โรคสูงจะช่วยลดความเสี่ยงของการสูญเสียอันเนื่องมา

จากโรคระบาดสมนุไพรทีม่ฤีทธิก์ระตุน้ภมูคิุม้กนัแบบไม่

จาํเพาะในปลาไดแ้ก่สารสกดัจากกะเพรา(32–33)พนังู

(A. aspera)(34)มะแวง้(Solanum trilobatum)(35)สะเดา

(Azadirachta indica) (36)กระเทียม (Allium sativum)

(37–38)แพงพวย(Catharanthus roseus)(39)โรสแมรี

(Rosmarinus Officinale) (40) และกะเม็ง (Eclipta

alba) (41)สารสกัดจากโสมอินเดียหรือแอชวาแกนดา

(W. somnifera) และจันทน์เทศ (Myristica fragrans)

ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันในปลาเก๋า(Epinephelus tauvina)(42)

การเสริมสารสกัดหยาบจากฟ้าทะลายโจรในอาหารเม็ด

สาํเรจ็รปูเลีย้งปลากะพงขาวสามารถเพิม่จาํนวนเมด็เลอืด

แดงการทํางานของระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จําเพาะและ

ความต้านทานโรคจากเชื้อแบคทีเรียStreptococcus sp.

ได้ (43) สาหร่ายสไปรูลิน่ามีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันใน

ปลาทอง (44)ปลานิล (45)ปลากดอเมริกัน (channel

catfish)(46)และปลาแซลมอน(47)ขมิ้นชัน(Curcuma

longa)และกระเทยีมมสีว่นชว่ยกระตุน้เซลลเ์มด็เลอืดใน

การจบักนิสิง่แปลกปลอมในปลายีส่กเทศ(Labeo rohita)

(38)มกีารใชม้ะขามปอ้ม(Emblica officinalis)หญา้แพรก

(Cynodon dactylon)และใบเสนียด (Adathoda vasica)

ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันโรคและลดการติดเชื้อจุลินทรีย์ใน

ปลาทอง(Carassius auratus)(48)สารสกดัจากนํา้และเอ

ธานอลของสะเดากะเพราและขมิน้ชนัชว่ยเพิม่ภมูคิุม้กนั

และป้องกันโรคติดเชื้อแบคทีเรียA. hydrophila ใน

ปลาทอง(49)ขิงช่วยเพิ่มความสามารถในการจับกินเชื้อ

โรคในเซลล์ปลาเรนโบว์เทร้าต์(50)

มีการใช้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันโดยการผสม

อาหารและการฉีดเข้าสู่ตัวปลาเพื่อช่วยกระตุ้นการสร้าง

เม็ดเลือดขาวและภูมิคุ้มกันแบบไม่จําเพาะ เช่นการจับ

กินสิ่งแปลกปลอมหรือฟาโกไซโทซิส ไลโซไซม์ คอม

พลีเมนต์ เอนไซม์แอนติโปรเทียส (antiprotease) เอน

ไซม์ไมอีโลเปอร์ออกซิเดส (myeloperoxidase) อนุมูล

อิสระออกซิเจน (reactive oxygen species) อนุพันธ์

ไนโตรเจนที่ว่องไว(reactivenitrogenspecies)ปฏิกิริยา

ซปุเปอรอ์อกไซดแ์อนไอออน(respiratoryburstactivity)

สารไนตริกออกไซด์ (nitric oxide) เอนไซม์ฟีนอลออก

ซิเดส (phenoloxidase) เอนไซม์กลูตาไทโอน เปอร์ออก

ซิเดส (glutathione peroxidase) และมีการศึกษาพบว่า

สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันเหล่านี้ยังมีส่วนช่วยเสริมสร้าง

ภมูคิุม้กนัแบบจาํเพาะดว้ยโดยวดัจากแอนตบิอดไีตเตอร์

สารทําลายแบคทีเรีย ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มของซีรั่ม

(hemagglutination)ที่มีความจําเพาะต่อเชื้อโรคต่างๆ

ของสัตว์นํ้า(5)

ไลโซไซม์ เป็นสารที่ เกี่ ยวข้องกับระบบ

ภมูคิุม้กนัแบบไมจ่าํเพาะซึง่พบวา่ปลานลิทีไ่ดร้บัอาหาร

ผสมสมุนไพรจีนแอสทรากาลัส(astragalus)0.1–0.5%

ช่วยเพิ่มการทํางานของไลโซไซม์(51)ปลาคาร์พที่ได้รับ

อาหารผสมแอสทราลากัส0.5%และเห็ดหลินจือ0.5%

จะมภีมูคิุม้กนัโรคทีส่งูขึน้(52)อยา่งไรกต็ามเหด็หลนิจอื

มีราคาสูงอาจจะไม่เหมาะสมที่จะนํามาใช้การจับกินสิ่ง

แปลกปลอมและกิจกรรมไลโซไซม์ในซีรั่มของปลาทอง

เพิ่มสูงขึ้นเมื่อได้รับอาหารผสมสมุนไพร4ชนิดคือโกศ

นํ้าเต้า(R. officinale)ฟ้าทะลายโจร(A. paniculata)ปัง

ลั้งกิง (I. indigotica)และสายนํ้าผึ้ง (L. japonica) (53)

สมุนไพรจีนโบราณผสมทําให้ไลโซไซม์ของปลาไนเพิ่ม

สูงขึ้นเช่นกัน(54)

2.4 สมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้�นอนุมูลอิสระ

อนมุลูอสิระทีเ่กดิขึน้ภายในรา่งกายและสารพษิ

จะเปน็พษิตอ่เซลลแ์ละทาํใหเ้ซลลต์ายได้ดงันัน้จงึจาํเปน็

ต้องเสริมวิตามินหรือแร่ธาตุต่างๆ เพื่อต้านอนุมูลอิสระ

สมุนไพรบางชนิดเป็นแหล่งสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น

Page 5: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

261KKU Res. J. 2013; 18(2)

สารสกดัสมนุไพรจนีฮอ้ซิง่โอว(Polygonum multiflorum)

(55) ปลายี่สกเทศที่ได้รับอาหารผสมหญ้าพันงูขาว

(Achyranthes aspera)จะมกีารสรา้งอนมุลูอสิระซปุเปอร์

ออกไซดแ์อนไอออน(superoxideanionproduction)และ

สารต้านทานแบคทีเรียในนํ้าเลือดเพิ่มสูงขึ้น(56)

นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์จากพืชยังช่วยบรรเทา

ความเครียดช่วยให้เจริญอาหารเร่งการเจริญเติบโตเร่ง

การเจริญพันธุ์ การใช้โด่ไม่รู้ล้ม (Elephantopus scaber)

และฮอ้สะพายควาย(Thailentadopsis tenuis)ผสมอาหาร

ในอัตราส่วน40กรัมต่ออาหาร1กิโลกรัมช่วยเร่งการ

เจรญิเตบิโตของปลานลิ(57)วญิญแูละคณะ(58)ทดลอง

ใช้รางจืดเพื่อลดพิษจากยาปราบศัตรูพืชในปลาตะเพียน

ขาวแต่ผลที่ได้ยังไม่ชัดเจนแม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข

จะรณรงคใ์หใ้ชร้างจดืขบัสารพษิยาฆา่แมลงในเกษตรกร

กลุ่มเสี่ยง

3. ตัวย�สำ�คัญที่ได้จ�กพืชสมุนไพร

พืชสมุนไพรมีสารสําคัญหรือสารที่มีฤทธิ์ทาง

ชีวภาพเช่นไกลเซอไรซิน(glycyrrhizin)สารลิควิริติน

(liquiritin)และกลาบรดินิ(glabridin,GLAB)รวมทัง้สาร

ออกฤทธิอ์ืน่ๆ เชน่โพลแีซคคาไรด์(polysaccharides)อลั

คาลอยด์(alkaloids)ฟลาโวนอยด์(flavonoids)แอนทรา

ควโินน(anthraquinone)นํา้มนัหอมระเหย(essentialoil)

ซาโปนนิ(saponin)และสารอะซาไดแรคตนิ(azadirachtin)

(59) ซึ่งสารสําคัญเหล่านี้มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันใน

หนู ไก่และเซลล์ของคน (60)สารสําคัญที่สกัดจากพืช

จะกระตุ้นการทํางานภูมิคุ้มกันแบบไม่จําเพาะและอาจ

จะยับยั้งการเพิ่มจํานวนของไวรัสในเซลล์ (13) ไกลเซอ

ไรซินมีฤทธิ์ป้องกันการอักเสบและสารต้านทานมะเร็ง

(61)ปลาหางเหลือง(yellowtail)ที่ได้รับอาหารผสมไกล

เซอไรซนิ50mg/kgจะมกีารทาํงานของคอมพลเีมนตท์ีด่ี

ขึน้และชว่ยตา้นทานการตดิเชือ้แบคทเีรยีStreptococcus

(62)นอกจากนีไ้กลเซอไรซนิชว่ยในการเพิม่เมด็เลอืดขาว

ในปลาเรนโบว์เทร้าต์(63)

สารกลุม่อะซาไดแรคตนิ(azadirachtin)ทีส่กดั

จากสะเดา (27, 49)มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันในสัตว์นํ้า

ปลานิลที่ได้รับสารอะซาไดแรคตินจากเม็ดสะเดา (A.

indica)มีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีขึ้น (64)ปลาหางเหลืองที่ได้

รบัอาหารผสมซาโปนนิ(Saponin)จากตน้สบู่(soapbark,

Quillaja saponin) จะมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีขึ้น (65)ปลา

เทร้ าต์ที่ ได้ รับอาหารผสมสารสกัดคาร์วาครอล

(carvacrol) และไธมอล (thymol) ที่ได้จากพืชซึ่งเป็น

ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเอกชนจะมีการเจริญเติบโตและมี

การผลิตสารต้านทานอนุมูลอิสระที่สูงขึ้น(66)

4. วิธีก�รใช้ส�รสกัดจ�กพืชสมุนไพร

มีการทดลองใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อ

กระตุ้นภูมิคุ้มกันหลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการฉีด

การแช่ การให้กินทั้งแบบผ่านอาหารมีชีวิตและผสมลง

ในอาหารการใช้สมุนไพรผสมอาหารเป็นวิธีที่ใช้ได้จริง

เชิงปฏิบัติ เนื่องจากไม่ทําให้ปลาเครียดและสามารถให้

กับปลาทุกขนาดใช้กับสัตว์นํ้าจํานวนมากๆในเวลาอัน

สั้นอย่างไรก็ตามนักวิจัยหลายท่านชี้ว่าการให้สารจาก

พืชสมุนไพรโดยการฉีดจะให้ผลที่ดีกว่าการให้โดยวิธี

ผสมอาหาร(46,67–68)เนื่องจากสัตว์นํ้าจะได้รับสาร

สําคัญและสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้ดีกว่า

ปลานิลที่ได้รับสารสกัดบอระเพ็ด 6 – 60มก/นํ้าหนัก

ปลา1ก.ก.จะมีภูมิคุ้มกันแบบไม่จําเพาะสูงขึ้นและมีภูมิ

ตา้นทานโรคตดิเชือ้แบคทเีรยีA. hydrophila(69)แตก่าร

ฉดีนัน้จะตอ้งใชแ้รงงานจาํนวนมากมกัทาํใหป้ลาเครยีด

และไม่เหมาะสมสําหรับปลาที่มีขนาดเล็กกว่า 15กรัม

ส่วนการจุ่มหรือแช่อาจจะเหมาะสมสําหรับปลาขนาด

เล็กปลาทองแช่ในนํ้าสะเดากระเทียมกะเพราและขมิ้น

ช่วยป้องกันโรคติดเชื้อแบคทีเรียได้ (49, 70) ในขณะที่

ปลาไนที่จุ่มในสารสกัดสะเดาจะมีความสามารถในการ

ต้านทานต่อเชื้อแบคทีเรียA. hydrophila (71)ปลายี่สก

เทศที่ได้รับอาหารผสมสารสกัดจากดอกแพงพวย (C.

roseus) จะมีภูมิคุ้มกันโรคสูงขึ้น (72)ปลาหางเหลือง

ที่ได้กินอาหารผสมสารสกัดจากQuillaja saponin มี

ภูมิคุ้มกันโรคที่สูงขึ้นเช่นกัน (65)Abutbul et al. (73)

ให้อาหารผสมโรสแมรี เพื่อรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย

Streptococcus ในปลานลิ(Oreochromissp.)ปลานลิทีไ่ด้

Page 6: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

262 KKU Res. J. 2013; 18(2)

รับอาหารผสมนํ้ามันสกัดจากต้นกุยช่าย(Chinesechive

oil)800มลิลกิรมัตอ่กโิลกรมัจะมกีารตายจากการตดิเชือ้

แบคทเีรยีFlavobacterium columnaraeตํา่กวา่ปลาทีไ่มไ่ด้

รบัอาหารผสมนํา้มนัสกดัดงักลา่ว(26)ปลาเทรา้ตท์ีไ่ดร้บั

อาหารผสมขงิผสมตาํแยและกาฝากจะมคีวามสามารถใน

การทาํลายสิง่แปลกปลอมดขีึน้รวมทัง้เพิม่การสรา้งสาร

ต้านอนุมูลอิสระ(50)Immanuelet al.(74)กล่าวว่ากุ้ง

แชบ๊วย (Penaeus indicus)ที่ได้กินอาหารผสมสารสกัด

จากสาหร่ายทะเลจะมีความสามารถในการป้องกันการ

ติดเชื้อแบคทีเรียVibrio parahaemolyticus กุ้งขาวที่ได้

รับอาหารเสริมนํ้ามันกระเทียม 5%จะมีภูมิคุ้มกันที่สูง

ขึน้และมคีวามตา้นทานตอ่เชือ้แบคทเีรยีV. alginolyticus

(37)อาร์ทีเมียผสมสารสกัดจากมะแว้ง (S. trilobatum)

โสม (Withania somnifera) และฟ้าทะลายโจรช่วยลด

การติดเชื้อแบคทีเรียวิบริโอ (75) อย่างไรก็ตามการให้

อาหารผสมพืชสมุนไพรเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโดยการ

ผสมอาหารสารสาํคญัอาจถกูทาํลายโดยกรดและนํา้ยอ่ย

ในระบบทางเดินอาหารได้

มปีจัจยัหลายอยา่งทีม่ผีลตอ่การทาํงานของพชื

สมุนไพรที่มีต่อสัตว์นํ้าเช่นระยะเวลาในการให้ปริมาณ

ที่ให้ วิธีการที่ให้ สภาพร่างกายและความแข็งแรงของ

สตัวน์ํา้ในเวลานัน้อายขุองสตัวน์ํา้สภาพแวดลอ้มทีส่ตัว์

นํา้อาศยัอยู่ดงันัน้การใชส้ารกระตุน้ภมูคิุม้กนัอยา่งเดยีว

ก็คงไม่ทําให้สัตว์นํ้าปลอดภัยจากการเกิดโรคระบาดได้

100% เกษตรกรควรเอาใจใส่ถึงสวัสดิภาพสัตว์นํ้าด้วย

(76)นอกจากนี้การสรา้งสารชวีภาพของพชือาจผนัแปร

ได้ตามแหล่งพืชอายุต้นพืชฤดูกาลและสิ่งแวดล้อมจึง

ควรมีการหาตัวบ่งชี้เกี่ยวกับสารสําคัญที่ชัดเจน

5. คว�มเข้มข้นและระยะเวล�ของก�ร

ใช้พืชสมุนไพร

มักมีคําถามอยู่เสมอว่า ควรจะใช้สารเหล่านี้

ปริมาณเท่าไหร่ใช้นานเท่าใดและจะเริ่มใช้เมื่อไหร่ถึงจะ

ป้องกันโรคสัตว์นํ้าได้ ตารางที่ 1 แสดงถึงปริมาณของ

สมุนไพรที่มีการใช้กับสัตว์นํ้าหลากหลายชนิดในความ

เข้มข้นและระยะเวลาที่แตกต่างกันHarikrishnanetal.

(5)แนะนาํวา่ควรมกีารใชส้ารสกดัจากพชืผสมอาหารใน

อัตราส่วน0.1%–10%นาน14–70วันอย่างไรก็ตาม

หากมีการใช้ในปริมาณมากเกินไปและนานเกินไปอาจ

ทําให้ประสิทธิภาพของสารสกัดเหล่านี้ลดลงได้ ระยะ

เวลาในการใช้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันจะเกี่ยวข้องกับระยะ

เวลาในการเลี้ยงการเจริญเติบโตและความเสี่ยงต่อการ

เป็นโรคKimetal.(77)รายงานว่าปลาที่ได้รับอาหาร

ผสมว่านหางจระเข้ 0.5%มีอัตราการตายน้อยกว่าปลา

ที่ได้รับอาหารผสมว่านหางจระเข้ 0.1%และอาหารชุด

ควบคุมแต่มีนักวิจัยหลายท่านที่ให้ความเห็นแตกต่างว่า

ปริมาณของสารที่ให้ไม่ได้สัมพันธ์กับผลที่เกิดขึ้น และ

บางครั้งกลับพบว่าหากมีการใช้ปริมาณมากๆจะมีผล

ยับยั้งการทํางานของภูมิคุ้มกัน(78–79)จากที่รวบรวม

เอกสารมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่า มีการใช้สมุนไพรชนิด

เดียวบ้างผสมกันหลายชนิดบ้างจึงมักเกิดคําถามจากผู้

ใช้ประโยชน์เสมอว่า ในทางปฏิบัตินั้นควรจะทําอย่างไร

ซึ่งเป็นงานวิจัยที่จะต้องดําเนินการต่อไปโดยเฉพาะการ

ทดลองใช้ในพื้นที่จริง

Page 7: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

263KKU Res. J. 2013; 18(2)

Tab

le 1

.Herbalimmunostim

ulantsappliedthroughimmersion,oral,orinjectionforinnateandadaptiveimmunityinaquaticorganismsagainstdiseases

Her

bsC

once

ntra

tions

A

dm.

Exp

osur

eFi

shW

eigh

t (g)

Path

ogen

Ref

eren

ces

R. o

ffici

nale

0.05

%,0.1%

,

0.2%

,0.4%

Diet

10w

M. r

osen

berg

ii1.07

Liuetal.(14)

P. g

rana

tum

5,50,500mg

i.p

8w

P. o

livac

eus

547

LDVvirus

Harikrishnanetal.(16)

T. c

atap

a800ppm

immersion

indefinite

O. n

ilotic

us3.62

Tric

hodi

na sp

.Chitmanatetal.(17)

A. t

uber

osum

200,400

,60

0,

800mg/kg

Diet

2w

O. n

ilotic

us10

F. c

olum

nare

RattanachaikunsoponandPhumkhachorn

(26)

A. s

ativ

um0.1,0.5,1.0%

Diet

70d

L. ro

hita

10A

. hyd

roph

ila

Sahuetal.(38)

R. o

ffici

nale

0.05

%,0.1%

,

0.2%

,0.4%

Diet

10w

M. r

osen

berg

ii1.07

Xieetal.(40)

E. a

lba

0.01,0.1,1%

Diet

3w

O. m

ossa

mbi

cus

50A

. hyd

roph

ilaChristybapitaetal.(41)

A. a

sper

a0.01,0.1,0.5%

Diet

4w

L. ro

hita

3

A. h

ydro

phila

Raoetal.(56)

O. s

anct

um10%

i.p

28d

O. n

ilotic

us25

A. h

ydro

phila

Logambaletal.(64)

T. o

rdifo

lia6,60,600mg/kg

bodyweight

i.p

4d

O. m

ossa

mbi

cus

50A

. hyd

roph

ilaAlexanderetal.(69)

R. o

ffici

nalis

Ratio

Diet

NA

Ore

ochr

omissp

7S.

inia

eAbutbuletal.(73)

A. v

era

0.1,0.5%

Diet

4w

schlegeli

25V

. alg

inol

ytic

us

Kimetal.(77)

NA:N

otavailable,i.p.:Intraperitonealinjection,w:W

eek,d:D

ays

Page 8: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

264 KKU Res. J. 2013; 18(2)

6. บทสรุป

สาเหตุเบื้องต้นที่ก่อให้โรคระบาดสัตว์นํ้า คือ

ความแปรปรวนของสิ่งแวดล้อม การจัดการเลี้ยงที่ไม่

ดี คุณภาพนํ้าและอาหารไม่เหมาะสมจึงจําเป็นอย่างยิ่ง

ต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีการเลี้ยงให้เหมาะสมเพื่อให้

สัตว์นํ้าแข็งแรงโตเร็วคุณภาพดีการใช้สารสกัดจากพืช

สมนุไพรนา่จะเปน็ทางเลอืกในการแกไ้ขปญัหาการใชย้า

ปฏิชีวนะและสารเคมีซึ่งไม่เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค

มีรายงานวิจัยหลายชิ้นที่ชี้ชัดว่าพืชสมุนไพรซึ่งมีฤทธิ์

กระตุ้นภูมิคุ้มกันหาได้ง่ายในท้องถิ่นและราคาไม่แพง

สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันทั้งแบบจําเพาะและไม่จําเพาะ

ของสัตว์นํ้า มีสรรพคุณควบคุมเชื้อโรคที่กว้างขวาง

ช่วยลดความเครียดของสัตว์นํ้าจากสภาวะแวดล้อมที่ไม่

เหมาะสมรวมทั้งเร่งการเจริญเติบโตและช่วยให้สัตว์นํ้า

กินอาหารได้มากขึ้น แม้ว่ากลไกในการทํางานของสาร

เหล่านี้ยังไม่ชัดเจน อย่างไรก็ตามต้องมีการศึกษาวิจัย

พฒันาสารกระตุน้ภมูคิุม้กนัจากพชืสมนุไพรเพือ่ควบคมุ

โรคระบาดในสตัวน์ํา้โดยไมก่อ่ใหเ้กดิผลขา้งเคยีงตอ่สตัว์

นํ้าก่อนนําไปใช้ในระดับฟาร์มเลี้ยงอย่างจริงจัง

7. เอกส�รอ้�งอิง

(1) InformationTechnologyCenter,Department

of Fisheries, Ministry of Agriculture and

Cooperatives. FisheriesStatistics ofThailand;

2009.No.9/2011.Thai.

(2) HillBJ. 2012. InternationalTrade in Farmed

FishandShellfish:theImpactofDiseaseSpread.

Available from:www.agriculture.de/acms1/

conf6/ws9fish.htm

(3) AgnewW,BarnesAC.Streptococcus iniae:an

aquaticpathogenofglobalveterinarysignificance

andachallengingcandidateforreliablevaccination.

Vet.Microbiol.2007;122:1–15.

(4) GraslundS,HolmstromK,WahlstromA.Afield

surveyofchemicalsandbiologicalproductsused

in shrimp farming.MarinePollutionBulletin

2003;46:81–90.

(5) Harikrishnan R, Balasundaram C, HeoM.

Impactofplantproductsoninnateandadaptive

immunesystemofculturedfinfishandshellfish.

Aquaculture.2011;317:1–15.

(6) PunithaSMJ,BabuMM,SivaramV,Shankar

VS,DhasSA,MaheshTC,ImmanuelG,Citarasu

T. Immunostimulating influence of herbal

biomedicines on nonspecific immunity in

GrouperEpinephelus tauvina juvenile against

Vibrio harveyi infection.Aquacult. Int. 2008;

16:511–23.

(7) Sakai M. Current research statue of fish

immunostimulant. Aquaculture 1999; 172:

63–92.

(8) RobertsenB.Modulation of the non-specific

defenceoffishbystructurallyconservedmicrobial

polymers. Fish Shellfish Immunol. 1999; 9:

269–90.

(9) RaaJ,RorstadG,EngstadRE,RobertsonB,The

useofimmunostimulantstoincreaseresistance

ofaquaticorganismstomicrobialinfections.In:

Shariff,M.,Subasinghe,R.P.,Arthur,J.R.(Eds.),

Disease inAsianAquaculture.Proceedingsof

the First Symposium onDiseases in Asian

Aquaculture.AsianFisheriesSociety,Philippines;

1992.pp.39–50.

(10) Auro de Ocampo A, Jimenez EM. Herbal

medicines in the treatment of fish diseases in

Mexico.Vet.Mex.1993;24:291–95.

(11) DeyRK,ChandraS.Preliminarystudiestoraise

diseaseresistantseed(fry)ofIndianmajorcarp

Catla catla(Ham.)throughherbaltreatmentof

spawn.FishChimes1995;14:23–5.

(12) DirekbusarakomS,HerunsaleeA,Yoshimizu

M,EzuraY.AntiviralactivityofseveralThai

Page 9: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

265KKU Res. J. 2013; 18(2)

traditionalherbextractsagainstfishpathogenic

viruses.FishPathol.1996:31:209–13.

(13) Citarasu T. Herbal biomedicines: a new

opportunityforaquacultureindustry.Aquacult.

Int.2010;18:403–14.

(14) LiuB,XieJ,GeX,XuP,WangA,HeY,etal.

Effects of anthraquinone extract fromRheum

officinaleBailonthegrowthperformanceand

physiological responses ofMacrobrachium

rosenbergiiunderhightemperaturestress.Fish

ShellfishImmunol.2010;29(1):49–57.

(15) CampbellRE,Lilley JH,RichardsRH. 1998.

Theuseofnaturalproductsinthetreatmentof

EUS(EpizooticUlcerativeSyndrome).In:Kane,

A.S.,Poynton,S.L. (Eds.),Proceedingsof the

International SymposiumonAquaticAnimal

Health.Baltimore,USA.

(16) HarikrishnanR,HeoJ,BalasundaramC,Kim

MC,KimSJ,HanYJ. et al.Effect ofPunica

granatum solvent extracts on immune system

anddiseaseresistanceinParalichthys olivaceus

againstlymphocystisdiseasevirus(LDV).Fish

ShellfishImmunol.2010;29:668–73.

(17) ChitmanatC,TongdonmuanK,NunsongW.The

useofcrudeextractsfromtraditionalmedicinal

plants to eliminateTrichodina sp. in tilapia

(Oreochromis n i lo t i cus ) f inge r l ings .

SongklanakarinJ.Sci.Technol.,2005,27(Suppl.

1):359–64.

(18) HarikrishnanR,BalasundaramC,KimMC,

Kim JS,HanYJ,HeoMS.Effect of amixed

herb-enricheddietontheinnateimmuneresponse

anddiseaseresistanceofParalichthys olivaceus

againstPhilasterides dicentrarchi infection. J.

Aquat.AnimalHealth2010;22:235–43.

(19) DeyRK.On the use of herbalmaterials for

managing diseases and health conditions of

fish during sustainable aquaculture practices.

1997.Abstract,NationalWorkshoponFishand

Shel l f ish Heal th Management . CIFA,

Bhubaneswar,India.

(20) Citarasu T, SivaramV, Immanuel G, Rout

N,MuruganV. Influence of selected Indian

immunostimulant herbs against white spot

syndromevirus(WSSV)infectioninblacktiger

shrimp,Penaeus monodon with reference to

haematological,biochemicalandimmunological

changes. Fish Shellfish Immunol. 2006; 21:

372–84.

(21) DirekbusarakomS,OnthongK,Rungdomneasdwong

S,ChoutikarnN.Virucidal activity of some

Thaitraditionalherbsagainstsystemicexternal

mesodermalbaculovirusintigershrimp(Penaeus

monodon).Theproceedingsof 35thKasetsart

UniversityAnnualconference;1996Feb3–5;

Bangkok,Thailand.

(22) ChutchawanchaipanW,ThavornyutikarnM,

Kasornchandra J.Application of garlic paste

againstgregarineinfectioninblacktigershrimp,

Penaeus monodon. CoastalAquaticAnimal

HealthResearchInstitue.Availablefrom:http://

www.shrimpcenter.com.

(23) Tangtrongpiros J. White Stool Disease.

Division of Research Development and

Promotion, Chulalongkorn University.

Availablefrom:http://www.research.chula.ac.th/

rs_news/2553/N0010_03.html

(24) Tummarongkongsatid A, Rojtinnakorn J.

Effective of Thai herbs extracts to inhibit

bacterialpathogens inGiant freshwaterprawn

(Macrobrachium rosenbergii).J.Fish.Tech.Res.

2007;1(2):192–200.Thai.

(25) MicolV,CaturlaN, Perez-Fons L,MasV.,

Perez L, Estepa A. The olive leaf extract

Page 10: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

266 KKU Res. J. 2013; 18(2)

exhibitsantiviralactivityagainstviralhaemorrhagic

septicaemiarhabdovirus(VHSV).AntiviralRes.

2005;66:129–36.

(26) Rattanachaikunsopon P, Phumkhachorn P.

Potential of Chinese chive oil as a natural

antimicrobial for controllingFlavobacterium

columnare infectioninNiletilapiaOreochromis

niloticus. FisheriesScience2009; 75(6): 1431

–37.

(27) LogambalSM,MichaelRD.Immunostimulatory

effect of Azadirachtin in Oreochromis

mossambicus(Peters).IndianJ.Exp.Biol.2000;

38:1092–96.

(28) Siri S, Wadbua P, Wongphathanakul W,

KitancharoenN,ChantaranothaiP.Antibacterial

andPhytochemicalStudiesof20ThaiMedicinal

Plants against Catfish-Infectious Bacteria,

Aeromonas caviae. KKU Sci. J. 2008: 36

(Supplement):1–10.

(29) Wiriyaumpaiwong P, Petjul K. Effect of

TraditionallyMedicalPlantstoInhibitAquatic

AnimalBacteria.ResearchReport.Rajamangala

UniversityofTechnologyIsanKalasinCampus.

42p.Thai.

(30) WadbuaP.Anti-bacterial activity of 41Thai

medicinalplantextractsagainstinfectious-catfish

Bacteria,Aeromonas caviae andAeromonas

sobria.MasterofScienceThesisinBiochemisty,

GraduateSchool,KhonKaenUniversity.Thai.

(31) UdomkusonsriP,TrongvanichnamK,LimpokaM,

KlangkaewN,KusucharitN.InvitroEfficacyof

theAntifungalActivityofSomeThaiMedicinal-

Plants on thePathogenicFungus,Saprolegnia

parasiticaH2,inFish.[Internet].2012[updated

2010Jul10;cited2012Sep7].Availablefrom:

http://www.lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4503027.

pdf

(32) Logambal SM,Venkatalakshmi S,Michael

RD. Immunostimulatory effect of leaf extract

ofOcimum sanctum Linn. inOreochromis

mossambicus (Peters). Hydrobiologia 2000;

430:113–20.

(33) VenkatalakshmiS,MichaelRD.Immunostimulation

by leaf extract ofOcimum sanctum Linn. in

Oreochromis mossambicus (Peters). J.Aquac.

Trop.2001;16:1–10.

(34) RaoYV,ChakrabartiR.Stimulationofimmunity

inIndianmajorcarpCatla catlawithherbalfeed

ingredients.FishShellfishImmunol.2005;18:

327–34.

(35) DivyagnaneswariM,ChristybapitaD,Michael

RD.Enhancementofnonspecificimmunityand

diseaseresistanceinOreochromis mossambicus

bySolanum trilobatum leaf fractions. Fish

ShellfishImmunol.2007;23:249–59.

(36) DasBK,Mukherjee SC, SahuBB,Murjani

G.Neem (Azadirachta indica) extract as an

antibacterial agent against fish pathogenic

bacteria.IndianJExpBiol.1999;37(11):1097

–100.

(37) Thawonsuwan, J. Efficacy ofOilMacerated

Garlic Extract on Immune Responses and

Diseases Resistance in White Shrimp

(Litopeneaus vannamei Boone).Availablefrom:

http://wwwhttp://www.aquathai.org/index.php.

(38) SahuS,DasBK,MishraBK,PradhanJ,Sarangi

N.EffectofAllium sativumontheimmunityand

survivalofLabeo rohitainfectedwithAeromonas

hydrophila.J.Appl.Ichthyol.2007;23:80–86.

(39) NguyenTTT,MukherjeeSC,PaniPK.Studies

ontheimmunostimulatoryeffectofcertainplant

extracts onfish.Abstracts:AH-13,TheSixth

IndianFisheriesForum,Mumbai, India,2002.

p.153.

Page 11: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

267KKU Res. J. 2013; 18(2)

(40) XieJ,LiuB,ZhouQ,SuY,HeY,PanL,etal.

Effectsof anthraquinoneextract from rhubarb

Rheum officinaleBail on the crowding stress

responseandgrowthofcommoncarpCyprinus

carpio.Aquaculture2008;281:5–11.

(41) ChristybapitaD,DivyagnaneswariM,Dinakaran

MR.Oral administration ofEclipta alba leaf

aqueous extract enhances the non-specific

immune responses and disease resistance of

Oreochromis mossambicus. Fish Shellfish

Immunol.2007;23:840–52.

(42) SivaramV,BabuMM,CitarasuT,ImmanuelG,

MurugadassS,MarianMP.Growthandimmune

responseofjuvenilegreasygroupers(Epinephelus

tauvina) fedwith herbal antibacterial active

principle supplemented diets againstVibrio

harveyi infections. Aquaculture 2004; 237:

9–20.

(43) RoongkamnertwongsaJ,Roongkamnertwongsa

S.2012.EffectsofCrudeExtractAndrographis

paniculata on Blood Component, Immune

systemandDiseaseResistanceinSeabass(Lates

calcariferBloch,1790)Available from:http://

www.aquathai.org/web/images/ArticleImage/

2010/20101015/00819.pdf

(44) Kumprom T, Promya J,Meng-UmphanK,

WhangchaiN,ChitmanatC.EffectsofSpirulina

platensis andCladophora sp. on Immunity

StimulatingCapacityandColorImprovementof

Goldfish(Carassius auratus).KKUResJ.2011;

16(6):612–21.

(45) ParkKH,JeongHD.Enhancedresistanceagainst

Edwardsiella tardainfectionintilapiaOreochromis

niloticus by administration of protein-bound

polysaccharhide.Aquaculture 1996; 141: 135

–43.

(46) Duncan PL, Klesius PH. Effect of feeding

Spirulinaonspecificandnonspecificimmune

response of channel cat fish. J.Aquat.Anim.

Health1996;8:308–13.

(47) GildbergA,BøgwaldGAJ,JohansenA,Stenberg

E.Isolationofacidpeptidefractionsfromafish

proteinhydrolysatewithstrongstimulatoryeffect

onAtlanticSalmon(Salmo salar)headkidney

leucocytes.Comp.Biochem.Physiol.B.1996;

114:97–101.

(48) MinomolM.Culture ofGold fishCarassius

auratus using medicinal plants having

immunostimulantcharacteristics.2005.M.Phil

Dissertation,MSUniversity,India.

(49) HarikrishnanR,BalasundaramC,KimM,Kim

J,HanY,HeoM.Innateimmuneresponseand

disease resistance inCarassius auratus by

triherbal solvent extracts. Fish Shellfish

Immunol.2009;27(3):508–15.

(50) Dugenci SK, Arda N, Candan A. Some

medicinalplantsasimmunostimulantforfish.J.

Ethnopharmacol.2003;88:99–106.

(51) YinG,JeneyG,RaczT,XuP,JunX,JeneyZ.

Effectof twoChineseherbs (Astragalus radix

andScutellariaradix)onnon-specific immune

response of tilapia,Oreochromis niloticus.

Aquaculture2006;253:39–47.

(52) YinG,ArdoL,ThompsonKD,AdamsA,Jeney

Z,JeneyG.Chineseherbs(Astragalus radixand

Ganoderma lucidum)enhanceimmuneresponse

ofcarp,Cyprinus carpio,andprotectionagainst

Aeromonas hydrophila.FishShellfishImmunol.

2009;26:140–45.

(53) ChenX,WuZ,Yin J, Li L. Effects of four

species of herbs on immune function of

Carassius auratus gibelio. J. Fish. Sci.China

2003;10:36–40.Chinese.

Page 12: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

268 KKU Res. J. 2013; 18(2)

(54) JianJ,WuZ.InfluencesoftraditionalChinese

medicineonnon-specificimmunityofJiancarp

(Cyprinus carpio).FishShellfishImmunol.2004;

16:185–91.

(55) ChiuPY,MakDH,PoonMK,KoKM.Invivo

antioxidantactionofalignanenrichedextractof

Schisandrafruitandananthraquinone-containing

extractofPolygonumrootincomparisonwith

schisandrinBandemodin.PlantaMed.2002;

68:951–56.

(56) RaoYV,DasBK,JyotyrmayeeP,Chakrabarti

R.EffectofAchyranthes asperaontheimmunity

and survival ofLabeo rohita infectedwith

Aeromonas hydrophila.FishShellfishImmunol.

2006;20:263–73.

(57) KaewtapeeW.Useofherbsassupplementaryfed

forgrowthenhancerintilapia.RajabhatChiang

MaiResearchJournal2011;12:121–30.

(58) BoonprasertW,Chaibu P, Promya J,Meng-

UmphanK,ChitmanatC.EffectsofBabbler’s

Bill leaf (Thunbergia laurifolia Linn) crude

extract on Glutathione S- transferase and

Acetylcholinesterase enzymes in SilverBarb

(Barbonymus gonionotus)exposedtoparaquat.

JournalofFisheriesTechnologyResearch2011;

5:87–96.

(59) CinatlJ,MorgensternB,BauerG,ChandraP,

RabenauH,DoerrHW.Glycyrrhizin,anactive

componentofliquoriceroots,andreplicationof

SARSassociatedcoronavirus.Lancet2003;361:

2045–46.

(60) L in ZB, Zhang HN. Ant i - tumor and

immunoregulatory activities of Ganoderma

lucidum and its possiblemechanisms.Acta

Pharmacol.Sin.2004;25:1387–95.

(61) ZhangYH,YoshidaT,IsobeK,RahmanSM,

NagaseF,DingL,NakashimaI.Modulationby

glycyrrhizinofthecell-surfaceexpressionofH-2

class1antigensonmurinetumorcelllinesand

normalcellpopulations.Immunology1990;70:

405–410.

(62) EdahiroT,HamoguchiM,KusdaR.Effectof

glycryrrhizine against streptococcal infection

ofyoungyellowtail.Seriola quinqueradiata(in

Japanese).Suisanzoshoku1990;38:239–43.

(63) KimKJ, JangSI,MarsdenMJ,SecombesCJ,

ChoiMS,KimYG,etal.Effectofglycyrrhizinon

rainbowtroutOncorhynchus mykissleukocyte

responses.J.KoreanSoc.Microbiol.1998;33:

263–71.

(64) LogambalSM,MichaelRD.Azadirachtin–An

immunostimulantinOreochromis mossambicus

(Peters).1997.Abstract,Nationalworkshopon

fish and shellfish healthmanagement.CIFA,

Bhubaneswar,India.

(65) NinomiyaM, Hatta H, FujikiM, KimM,

YamamotoTR.Enhancement of chemotactic

activity of yellowtail (Seriola quinqueradiata)

leucocytes by oral administration ofQuillaja

saponin.FishShellfishImmunol.1995;5:325

–27.

(66) Giannenas I, Triantafillou E, Stavrakakis S,

MargaroniM,Mavridis S, Steiner T, et al.

Assessment of dietary supplementationwith

carvacrol or thymol containing feed additives

on performance, intestinal microbiota and

antioxidantstatusofrainbowtrout(Oncorhynchus

mykiss)Aquaculture,InPress.

(67) AinsworthAJ.β-glucan inhibitable zymosanreceptor on channel catfish neutrophils.Vet.

Immunol.Immunopathol.1994;41:141–52.

(68) YoshidaT,KrugerR, InglisV.Augmentation

of non-specific protection inAfrican catfish,

Clarias gariepinus(Burchell),bythelong-term

Page 13: ผลของผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรต่อภูมิคุ้มกันสัตว์นํ้า Effects ...resjournal.kku.ac.th/abstract/18_2_6.pdf ·

269KKU Res. J. 2013; 18(2)

oraladministrationofimmunostimulants.J.Fish

Dis.1995;18:195–98.

(69) AlexanderCP,KirubakaranCJW,MichaelRD.

Water soluble fractionofTinospora cordifolia

leaves enhanced the non-specific immune

mechanismsanddiseaseresistanceinOreochromis

mossambicus Fish Shellfish Immunol. 2010;

29(5):765–72.

(70) HarikrishnanR,BalasundaramC.Invitroandin

vivoStudiesoftheuseofsomemedicinalherbals

againstthepathogenAeromonas hydrophilain

goldfish.J.Aquat.Anim.Health2008;20:165

–76.

(71) HarikrishnanP,NishaRM,BalasundaramC.

Hematological andbiochemical parameters in

commoncarp,Cyprinus carpio,followingherbal

treatment forAeromonas hydrophila infection.

Aquaculture2003;222:41–50.

(72) ThuyNTT,MukherjeeSC,PrasadPK.Studies

on the immnostimulatory effect of certain of

certain plant extracts onfish. 2002.The sixth

IndianFisheriesForum,Mumbai,India.

(73) Abutbul S, Golan-GoldhirshA, Brazani O,

ZilbergD.UseofRosmarinus officinalis as a

treatmentagainstStreptococcus iniaeintilapia

(Oreochromissp.).Aquaculture2004;238:97–

105.

(74) ImmanuelG,VincyBaiVC, PalavesamA,

MarianPM.Effect of butanolic extracts from

terrestrialherbsandseaweedson thesurvival,

growthandpathogen(Vibrio parahaemolyticus)

load on shrimpPenaeus indicus juveniles.

Aquaculture2004;236:53–65.

(75) CitarasuT,RamalingamVK,RajaJeyaSekar

R, BabuMM,MarianM. Influence of the

antibacterial herbs, Solanum trilobatum,

Andrographis paniculataandPsoralea corylifolia

on the survival, growth and bacterial load of

Penaeus monodonpostlarvae.Aquac.Int.2003;

11:583–95.

(76) ChitmanatC.FishWelfare.NaresuanUniversity

Journal2010;18(2):106–111.Thai.

(77) KimKH,HwangYJ,Bai SC.Resistance to

Vibrio alginolyticus in juvenile rockfish

(Sebastes schlegeli)feddietscontainingdifferent

dosesofaloe.Aquaculture1999;180:13–21.

(78) RobertsenB, EhgstadRE, Jørgensen JB. In:

Stolen,J.S.,Fletcher,T.C.(Eds.),β-glucanasimmunostimulants infish.Modulators ofFish

ImmuneResponse, 1. SOSPublications, Fair

Haven,NJ,1994.pp.83–99.

(79) KajitaY, SakaiM,Atsuta S,KobayashiM.

The immunomodulatory effects of levamisole

on rainbow trout,Oncorhynchus mykiss. Fish

Pathol.1990;25:93–8.