ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR ·...

78
ระบบจําลองการใชเครื ่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR นายรุ งโรจน พงษโสภณ นายวริศ คุมพงษ นายอาชวิทย ทองคํา ปริญญานิพนธนี ้เปนสวนหนึ ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ปการศึกษา 2551

Transcript of ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR ·...

Page 1: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

ระบบจําลองการใชเคร่ืองมือ

EQUIPMENT SIMULATOR

นายรุงโรจน พงษโสภณ

นายวริศ คุมพงษ

นายอาชวิทย ทองคํา

ปริญญานิพนธนีเ้ปนสวนหน่ึงของการศกึษาตามหลกัสตูรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยบูรพา

ปการศกึษา 2551

Page 2: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

EQUIPMENT SIMULATOR

RUNGROJ PONGSOPON

WARIS KOOMPONG

ARCHAVIT TONGKAM

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENT

FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING

DEPARTMENT OF ELECTRICAL ENGINEERING

BURAPHA UNIVERSITY 2008

Page 3: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

ปรญิญานิพนธ ระบบจําลองการใชเครื่องมือ

โดย นายรุงโรจน พงษโสภณ

นายวริศ คุมพงษ

นายอาชวิทย ทองคํา

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยวิรุฬห ศรีบริรักษ

จํานวนหนา 66 หนา

ปการศึกษา 2551

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา อนุมั ติปริญญานิพนธนี้เปน

สวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา

...................................................ประธานกรรมการสอบปริญญานิพนธ

(อาจารยบัณฑร จิตตสุภาพ)

...................................................กรรมการสอบปริญญานิพนธ

(ผศ.ดร.ณยศ คุรุกิจโกศล)

...................................................กรรมการสอบปริญญานิพนธ

(อาจารยธราธร บุญศร)ี

...................................................อาจารยท่ีปรึกษาปริญญานิพนธ

(อาจารยวิรุฬห ศรีบริรักษ)

...................................................หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

(ผศ.ดร.ณยศ คุรุกิจโกศล)

Page 4: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

ii

บทคัดยอ

ระบบจําลองการใชเครื่องมือ (Equipment Simulator) จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาระบบการฝกสอน

พนักงานของบริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี่ (2008) จํากัด มหาชน ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากเปน

สื่อการสอนท่ีมีภาพ เสียง วีดีโอ ดวยแลว โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ สามมิตินี้ยังมีความสามารถ

โตตอบกับผูใชงานได เพื่อใหพนักงานมีความเขาใจในตําแหนง HGA Setting กอนเขาปฏิบัติงานจริง

ระบบจําลองการการใชเครื่องมือประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ 1. การรับอินพุตจากผูใชงาน,

2. การเก็บขอมูลของผูใชงาน และ3. การตรวจสอบการชนกันของวัตถุ

จากผลการทดลองท่ีได โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือสามารถ จําลองการทํางานและ แสดงผล

ในรูปแบบสามมิติได ทํางานโตตอบกับผูใชงานได เก็บบันทึกการใช โปรแกรมของผูใชงานได รวมไปถึง

ผูใชโปรแกรม จําลองการใชเครื่องมือ มีความสนใจใน การเรียนรูและปฏิบัติ มีความเขาใจ การทํางานใน

ขั้นตอนตางๆ ไดดี

คําสําคัญ: HGA, ระบบจําลองสามมิติ

Page 5: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

iii

Abstract

In this project, we proposed the Equipment simulator to improve the skill for the

technicians working for the HGA setting department in Union Technology (2008) Public

Company Limited (THAILAND). Assembling the part of the hard drive, technicians should

practice and get the background knowledge first. Especially, the HGA (Head-Gimbal Assembly)

As Head Writing / reading the media is the disc or platform used to record various information

hardisk drive .It consists of Arm Carriage by personnel.

The Equipment simulator mainly consists of 3 parts i.e.1. The taking input from an user.

2. The collecting data of an user and 3. The fight check of the material.

Result of equipment simulator can model the worker; it can show in three dimension

formats, Interactive an user, collects data of an user, the officer interested in learning, practice

and understanding in step of work.

Keywords: HGA, 3D Simulator

Page 6: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

iv

กิตติกรรมประกาศ

ปริญญานิพนธ ฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปได ดวยความชวยเหลืออยางดียิ่งจาก อาจารย วิรุฬห ศรี

บริรักษ อาจารยท่ีปรึกษาปริญญานิพนธ ท่ีไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็นตางๆ ในการวิจัยมาโดยตลอด

ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ ทุกทานท่ีกรุณาใหคําแน ะนําท่ีเปนประโยชน ตลอดจน

คณาจารย และบุคลากรทุกทานท่ีไมไดกลาวนามไว ณ ท่ีนี้

คณะผูวิจัยขอขอบคุณภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา ท่ีไดเอ้ือเฟอสถานท่ีทําการทดลอง เครื่องมือและ

อุปกรณในการทําปริญญานิพนธ อีกท้ังขอขอบคุณ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร และ

ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติท่ีสนับสนุนทุนวิจัยในครั้งนี ้

Page 7: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ………………………………………………………………………..……………………… ii

Abstract……………………………………………………………………………..…………………. iii

กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………..………………… iv

สารบัญ……………………………………………………………………………..………………….. v

สารบัญรูป……………………………………...…………………………………………..………….. vii

สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………..……… ix

รายการสัญลักษณและคํายอ……………………………………………………………………..…… x

บทท่ี 1 บทนาํ………………………………………………………………………………...……….. 1

1.1 หลักการและเหตุผล………………………………………………………………………. 1

1.2 วัตถุประสงค…………………………………………………………………………….... 2

1.3 ขอบเขตของการทําโครงงาน…………………………………………………………..... 2

1.4 แผนการดําเนินงาน...…………………………………………………………................ 2

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ...…………………………………………………………...... 5

บทท่ี 2 ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ……………………………………………………………….. 6

2.1 ทฤษฎีท่ีเก่ียวของ…………………………………………………………...………..….. 6

2.1.1 ความหมายของระบบจาํลอง……………......................................................... 6

2.1.2 คอมพิวเตอรกราฟก………………………………………………….…………... 6

2.1.3 กราฟก 3 มิติ………………………………………………………….…………... 7

2.1.4 มุมมองของเกม……………………………………………………………………. 8

2.1.5 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมจําลองเสมือนจริง…………………………………... 8

2.1.6 สวนประกอบหลัก ในการสรางโปรแกรม………………………………………… 9

2.1.7 การศึกษาเก่ียวกับเทคโนโลย…ี………………………………………………….. 10

2.1.8 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุ………………………………………………… 12

2.1.9 การสรางแบบสอบถาม……………………………………………………………. 15

2.2 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ………………………….…………………………………...………. 16

2.2.1 งานวิจัยเรื่อง “เครื่องจําลองเครื่องจักรท่ีใชในการตรวจสอบหัวอานฮารดดิสก”... 16

2.2.2 งานวิจัยเรื่อง “เกมภารกิจลดภาวะโลกรอน” …………………………………….. 17

บทท่ี 3 หลักการ แนวคิด และการออกแบบโครงงาน……………………………..……………........ 18

Page 8: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

vi

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.1 หลักการและแนวคิด…………………………………………………..………………..... 18

3.2 การออกแบบโครงงาน…………………………………...………………………………. 19

3.2.1 การออกแบบขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ................ 21

3.2.2 การออกแบบเมนูตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…………………... 22

3.2.3 การออกแบบสวนรับอินพุตจากผูใชงาน…………………………………………. 24

3.2.4 การออกแบบสวนการจัดเก็บขอมูลของผูใชงาน…………………………………. 26

3.2.5 การออกแบบการตรวจสอบการชนกันของวัตถุ………………………………….. 26

3.2.6 การออกแบบสวนของแบบสอบถาม 29

บทท่ี 4 การทดลองและผลการทดลอง………………………….………………..…………………… 31

4.1 การทดลองสรางเมนูหลักของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ……………….……….. 31

4.2 การทดลองสรางสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…….……… 32

4.3 การทดลองสวนรับอินพุตจากผูใชงาน…………………………………………………... 36

4.4 การทดลองสวนการจัดเก็บขอมูลของผูใชงาน…………………………………………... 40

4.5 การทดลองสวนการตรวจสอบการชนกันของวัตถุ……………………………………… 42

บทท่ี 5 สรุปผลโครงงานและขอเสนอแนะ……………………………………………………………. 45

5.1 สรุปผลโครงงาน…………………..………………………………..…………………….. 45

5.2 ปญหาท่ีพบในการทําโครงงาน…………………...……………………………………… 47

5.3 ขอเสนอแนะ…………………...…………………………………………………………. 47

เอกสารอางอิง………………………………………………………………………………………..... 48

ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………… 49

ภาคผนวก ก คุณสมบัติของโปรแกรม DarkBASIC………………………………………… 50

ภาคผนวก ข แบบสอบถามโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ............................................. 53

ภาคผนวก ค คูมือการติดต้ังและการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ .......................... 55

ประวัติผูทําโครงงาน…………………………………………………………………………………… 66

Page 9: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

สารบัญรูป

รูปที่ หนา

2.1 ตัวอยางกราฟกสามมิติ………………………………………………….…………………….. 7

2.2 สวนตางๆ ของโปรแกรม DarkBASIC ………………………………………………………. 10

2.3 สวนตางๆ ของโปรแกรม 3Ds MAX ………………….……………………………………... 11

2.4 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1……………………….................................... 12

2.5 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1 ตอ…………………………………………….. 13

2.6 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 2………………………………………………… 14

3.1 สวนตางๆ ของโครงงานในภาพรวม…………………….……………………………………. 20

3.2 ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…………………………………….. 21

3.3 การออกแบบเมนูตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือในภาพรวม………………….. 22

3.4 สวนรับอินพุตของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ………………………………………….. 24

3.5 ตัวอยางปุมกดบนคียบอรดท่ีใชในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ………………………… 24

3.6 ตัวอยางคําสั่ง The INPUT Command.…………………...……………………………...…. 25

3.7 การเคลื่อนยายตําแหนงของเมาส……………………………………………………...……... 25

3.8 ฐานขอมูลพนักงาน…………….....…………………………………………………………… 26

3.9 Flow chart การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1………………………………….... 27

3.10 Flow chart การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 2…………………………………… 28

4.1 เมนูหลักโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ……………………………………..………….….. 31

4.2 หนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage...... 33

4.3 หนาตางทดสอบการหยิบจับชิ้นงาน……………………………………….…....................... 33

4.4 หนาตางทดสอบประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage………………. 34

4.5 หนาตางแนะนําอุปกรณ………………………………………............................................. 34

4.6 หนาตางขอควรปฏิบัติ………………………………………………………………………… 35

4.7 หนาตางวิธีใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ……………………………………………… 35

4.8 หนาตางผูจัดทําโครงงาน……………………………………………………………………… 36

4.9 แสดงการรับคาจากเมาส………………………………………………………………………. 37

4.10 การใชเมาสเคลื่อนยายชิ้นงานมาพิกัดท่ี 1…………………………………………………… 38

4.11 การใชเมาสเคลื่อนยายชิ้นงานมาพิกัดท่ี 2…………………………………………………… 38

4.12 การใชคียบอรดเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแบบท่ี 1………………………………………… 39

4.13 ใชคียบอรดเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแบบท่ี 2……………………………………………... 39

4.14 หนาตางลอกอินเขาทดสอบประกอบชิ้นงาน…………………………………………………. 40

Page 10: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

viii

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา

4.15 หนาตางแสดงการบันทึกขอมูลในดานทดสอบหยิบจับชิ้นงาน……………………………... 41

4.16 หนาตางแสดงการบันทึกขอมูลในดานทดสอบประกอบชิน้งาน……………………………. 41

4.17 ขอมูลท่ีถูกบันทึกอยูในรูปแบบ .txt ไฟล………………………………………………….…. 42

4.18 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุ……………………………………………………………. 43

4.19 การตรวจสอบการชนกันของชิ้นงาน………………………………………………………… 43

5.1 กราฟแสดงการประเมินแบบสอบถามการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…………….. 46

ค.1 ตัวติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…………………………………………………… 55

ค.2 หนาตาง Welcome…………………………………………………………………………… 55

ค.3 หนาตาง License Agreement………………………………………………………………. 56

ค.4 หนาตาง Serial Number…………………………………………………………................. 56

ค.5 หนาตางขอมูล User Information…………………………………………………………… 57

ค.6 หนาตาง Installation Folder………………………………………………………………… 57

ค.7 หนาตาง Shortcut Folder……………………………………………………………………. 58

ค.8 หนาตาง Ready to Install…………………………………………………………………… 58

ค.9 หนาตาง Installing Equipment Simulator………………………………………………….. 59

ค.10 หนาตาง Ready to Install…………………………………………………………………… 59

ค.11 ตัวรันโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ………………………………………………………. 60

ค.12 เมนูหลักของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ………………………………………………. 60

ค.13 หนาตาง Login……………………………………………………………………………….. 61

ค.14 หนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage…. 61

ค.15 หนาตางทดสอบการหยิบจับชิ้นงาน…………………………………………………………. 62

ค.16 หนาตางทดสอบประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage…………....... 62

ค.17 หนาตางแนะนําอุปกรณ……………………………………………………………………… 63

ค.18 หนาตางขอควรปฏิบัติ………………………………………………………………………... 63

ค.19 หนาตางวิธีใชโปรแกรม………………………………………………………………………. 64

ค.20 หนาตางผูจัดทํา………………………………………………………………………………. 64

Page 11: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1.1 แผนการดําเนินงาน 4

3.1 หัวขอการเก็บขอมูลความคิดเห็นท่ีมีตอการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ………… 30

5.1 ตารางแสดงการประเมินแบบสอบถามการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ…………… 46

ก.1 File Formats Supported For DarkBASIC………………………………………………... 54

Page 12: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

x

รายการสญัลกัษณและคาํยอ

สัญลกัษณ หนวย คาํอธิบาย

HSA - ชุดประกอบหัวอานและเขียนขอมูล (Head Stack Assembly)

HGA - หัวอานและเขียนขอมูล (Head-Gimbal Assembly)

dpi - จํานวนจุดสีในพื้นท่ีหนึ่งตารางนิ้ว (Dot per inch)

ppi - จํานวนพิกเซลในพื้นท่ีหนึ่งตารางนิ้ว (Pixels per inch)

PNG - เปนรูปแบบของไฟลภาพชนิดหนึ่ง (Portable network graphics)

txt - เปนรูปแบบของไฟลขอมูลชนิดหนึ่ง (Text file)

Page 13: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

บทที่ 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากปจจุบันไ ดมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีตางๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางดาน

คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีทางดานการสื่อสา ร สงผลใหเกิดการนําเทคโนโลยีตา งๆ เหลานี้เขามา

ประยุกตใชในการศึกษา เพื่อการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและคุ ณภาพมากขึ้น เปนการพัฒนาทรัพยากร

มนุษย เพื่อรองรบัการพัฒนาและสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางสังคม การใชเทคโนโลยีสื่อ

การเรียนรูท่ีมีการโตตอบกับผูใชงานหรือท่ีรูจักกันวาโปรแกรมจําลองเสมือนจริง (virtual reality

Simulator) นับเปนวิถีทางหนึ่งในการเพิ่มปร ะสิทธิภาพการเรียนการสอน โดยการใชวิวัฒนาการของ

เทคโนโลยี เนนการศึกษาดวยตนเอง ผูศึกษาจะไดศึกษาตามความสนใจของผูศึกษา โดยเนื้อหาของ

บทเรียนประกอบดวย ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ขอความ และเสียง จะถูกสงไปใหผูเรียนโดยผานหนา

จอคอมพิวเตอร โดยผูเรียนสามารถติดตอและโตตอบกับโปรแกรมจําลองเสมือนจริง ซึ่งเปนโปรแกรมท่ีมี

สวนของเนื้อหาซึ่งเก่ียวของกับตําแหนงงานนั้นๆ และอีกสวน หนึ่ง เปนสวนของการฝกทดสอบการ

ประกอบชิ้นงานกับการเขาไปปฏิบัติงานจริง โดยสามารถศึกษาไดทุกท่ีทุกเวลา ในปจจุบันเทคโนโลยีได

เขามามีบทบาทสําคัญกับชีวิตประจําวันเปนอยางมากไมวาจะเปนภาครัฐหรือเอกชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ระบบการเรียนการสอนนั้นจะเห็นไดวาระบบการเรียนการสอนไดมีการพัฒนาไปมาก ไมวาจะเปน

หนวยงานใดๆ ไดมีการพัฒนาและนําระบบการเรียนการสอนรูปแบบใหมเขามาชวยฝกสอนเพื่อพัฒนา

องคกรของตนอยูเสมอ

บริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี่ (2008 ) จํากัด มหาชน ทําการผลิตเปนผลิตภัณฑประเภท

อิเลคทรอนิกส ฮารดดิสกไดรฟ (Hard Disk Drive) สงตอใหบริษัท ฮิตาชิ (Hitachi) อีกทีหนึ่งและใน

ขณะเดียวกัน บริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี่ (2008 ) จํากัด มหาชนไดมอบหมายให คณะ ผูวิจัย ศึกษา

สายการผลิตท่ีทําการประกอบหัวอานของฮารดดิสก ในสวนของแผนก HSA ซึ่งสายการผลิตนี้มีตําแหนง

ท่ีสําคัญมากมาย แตทางคณะผูวิจัยไดเลือกตําแหนงท่ีสําคัญท่ีสุด คือตําแหนง HGA Setting ซึ่งตําแหนง

นี้เปนตําแหนงท่ีทํา หนาท่ีประกอบ HGA/Dummy เขากับตัว Carriage บนเครื่ องประกอบหัว HGA

(HGA Setting) ซึ่งตําแหนงนี้เปนตําแหนงท่ี มีความละเอียดคอนขางมาก จะใชพนักงานเปนผูประกอบ

ท้ังหมด ดั้งนั้นจึงตองใชทักษะ และความชํานาญสูงมากในการผลิต ไมเชนนั้นจะเกิด ความเสียหายตอ

ชิ้นงานและสง ผลกระทบตอทางองคกรเปนอยางมาก เชน ความเสี ยหายตอชิ้นงาน เสียเวลา และเสีย

รายไดท่ีทางองคกรจะไดรับ

ดังนั้นจึงคิดท่ีแกไขปญหาดังกลาวโดยเนนการพัฒนาระบบการฝกสอน (Training) ซึ่งเดิมที

ระบบการฝกสอนนั้นจะใหพนักงานใหมศึกษาขอมูลจาก PowerPoint และเอกสารคูมือ ทางคณะผูวิจัยจึง

Page 14: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

2

คิดสรางตนแบบโปรแกร มจําลองการผลิตในสวนของตําแหนง HGA Setting เพื่อใหพนักงานใหมท่ียัง

ขาดประสบการณ ไดเรียนรูวิธีการประกอบหัวอานฮารดดิสก วามีหลักการใดบาง ควรเริ่มตนอยางไร

และขอหามท่ีอาจจะทําใหเกิดความเสียหายได ท่ีสําคัญโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้มีการ แสดงผล

ในรูปแบบสามมิติ มีเสียง สามารถโตตอบกับผูใชงานไดและอีกเหตุผลท่ีคิดทําโปรเจคระบบจําลองการใช

เครื่องมือ (Equipment Simulator) เพราะหากจะตองฝกพนักงานใหมเมื่อไหร ก็จะตองหยุดการผลิตนั้น

ไปเลยเพราะวาตองนําพนักงานใหมมานั่งท่ีตําแหนง งานจริง แลวก็ใหทดลองงานท่ีหนางานจริง ซึ่ง

บริษัทก็จะเสียงบประมาณไปในสวนนี้คอนขางมาก

1.2 วัตถุประสงค

1.2.1 เพื่อสรางระบบจําลองการใชเครื่องมือดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

1.2.2 เพื่อสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือท่ีแสดงผลสามมิติ

1.2.3 เพื่อศึกษาการทํางานในตําแหนง HGA Setting ท่ีเลือกมาออกแบบจําลองการทํางาน

1.2.4 เพื่อใหพนักงานมีความเขาใจในตําแหนง HGA Setting กอนเขาปฏิบัติงาน

1.3 ขอบเขตของการทาํโครงงาน

1.3.1 สรางระบบจําลองการใชเครื่องมือดวยโปรแกรม DarkBASIC

1.3.2 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมีการแสดงผลในรูปแบบสามมิติ

1.3.3 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือทํางานบนระบบปฏิบัติการ Windows XP

1.3.4 เพื่อพัฒนาระบบการฝกสอนใหสามารถโตตอบกับผูใชงานได

1.3.5 เพื่อศึกษาการทํางานในตําแหนง HGA Setting ท่ีเลือกมาออกแบบจําลองการทํางาน

1.3.6 มีการเก็บบันทึกขอมูลพนักงานเมื่อจบการทดสอบ

1.4 แผนการดาํเนินงาน

แผนการดาํเนินงานประกอบดวยข้ันตอนดงัน้ี

1.4.1 คนหาขอมูลและจัดเตรียมอุปกรณ

1. รวบรวมขอมูลท่ีไดจากการฝกงาน

2. เสนอหัวขอโครงงาน

3. วางแผนขั้นตอนการทํางานและศึกษาความเปนไปได

4. ศึกษาขอมูลเก่ียวกับการเขียนโปรแกรมและเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของ

Page 15: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

3

5. หาโปรแกรมชวยสรางระบบจําลองการใชเครื่องมือ

6. ศึกษาและทดลองใชโปรแกรมชวยสรางระบบจําลองการใชเครื่องมือ

1.4.2 การออกแบบและการสราง

1. ออกแบบโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

2. เขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

1.4.3 การทดสอบและแกไข

1. ทดสอบการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

2. ปรับปรุงและแกไขขอผิดพลาดท่ีพบจากการทดสอบการทํางานของโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือ

3. ทดสอบและติดต้ังใชงานจริง

1.4.4 จัดทํารายงานและเผยแพรผลงาน

1. สรุปขั้นตอนการทําโครงงาน

2. จัดทําเอกสารรายงานประกอบโครงงาน

3. จัดทําเอกสารคูมือการใชงาน

4. สรปุผลโครงงาน

5. รายงานผลการดําเนินการของโครงงาน

6. นําเสนอผลงานตามหนวยงานท่ีเก่ียวของ

Page 16: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

ตารางท่ี 1.1 แผนการดําเนินงาน

เดือน มิถุนายน กรกฎาคม สงิหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม

1 2 3 1 1 2 3 4 1 1 1 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1.4.1

1.4.2

1.4.3

1.4.4

สัปดาหท่ี

4

ขั้นตอนท่ี

Page 17: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

5

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. อํานวยความสะดวกใหกับผูฝกสอน (Trainer) ใชชวยฝกสอน (Training) การใชเครื่องมือ

ณ ตําแหนงงาน

2. พนักงานสามารถศึกษาเรียนรูดวยตนเองได

3. ชวยใหพนักงานไดฝกทักษะ รูจัก และเขาใจกระบวนการ ณ ตําแหนงงานไดงายขึ้น

4. ชวยใหพนักงานรูถึงผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้น หากทํางานไมเปนไปตามขอกําหนด

5. เพื่อลดคาใชจายและความเสียหายของชิ้นงานจริงในการฝกสอน

6. สามารถรองรับจํานวนพนักงานท่ีเขาฝกสอนไดมากขึ้น

7. สามารถนําขอมูลท่ีเก็บบันทึกการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมาศึกษาและพัฒนา

ตอไปได

8. เพื่อเปนตนแบบในการนําโปรแกรมจําลองเครื่องมือไปพัฒนาตอไป

Page 18: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

บทที่ 2

ทฤษฎแีละงานวิจัยที่เก่ียวของ

2.1 ทฤษฏีที่เกี่ยวของ

2.1.1 ความหมายของระบบจาํลอง

การจําลอง (Simulation) คือการนําเสนอหรือการจําลองลักษณะของระบบอ่ืนๆ ตลอดชวงเวลา

ท่ีสนใจ ซึ่งในกรณีท่ีกลาวถึง Computer simulation จะหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร ท่ีจําลองการ

ทํางานของระบบท่ีสนใจ [5] ในขณะเดียวกันระบบจําลองการใชเครื่องมือ (Equipment Simulator) คือ

การนําเสนอหรือการจําลอง การทํางานการประกอบหัวอานฮารดดิสกนั่นเอง ซึ่ง โปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมือนี้ประกอบดวยสวนของการเรียนรูขอมูลในสวนของตําแหนง HGA Setting แสดงผลในรูปแบบ

สองมิติ มีการอธิบายการใชอุปกรณ เครื่องมือ ขอปฏิบัติ ขอควรระวังไวอยางครบถวน และสวนของการ

จําลองการทดสอบประกอบหัวอานฮารดดิสกแสดงผลในรูปแบบสามมิติ

2.1.2 คอมพวิเตอรกราฟก

คอมพิวเตอรกราฟก หมายถึง การสราง การตกแตงแกไข หรื อการจัดการเก่ียวกับรูปภาพ โดย

ใชเครื่องคอมพิวเตอรในการจัดการ ยกตัวอยางเชน การตกแตงแกไขภาพคนแกใหมีวัยเด็กขึ้น การสราง

ภาพตามจินตนาการ และการใชภาพกราฟกในการนําเสนอขอมูลตางๆ เพื่อใหสามารถสื่อความหมายได

ตรงตามท่ีผูสื่อสาร ตองการและนาสนใจยิ่งขึ้นด วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เปนตน เราสามารถจําแนก

ภาพกราฟกออกเปน 2 ประเภทคือ [3]

1. กราฟกแบบ 2 มิติ คือ ภาพท่ีแสดงออกมาในแนวแกน เกม

2. กราฟกแบบ 3 มิติ คือ ภาพท่ีแสดงออกมาในแนวแกน x (ความกวาง ) แกน y (ความยาว)

และแกน z (ความลึกหรือความสูง ) เปนภาพกราฟกท่ีใ ชโปรแกรมสรางภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เชน

โปรแกรม 3Ds MAX เปนตน

สําหรับงานวิจัยนี้โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมีการแสดงผลในรูปแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ซึ่ง

การเลือกแสดงผลนี้จะเลือกใหตรงกับเนื้อหาและสวนตางๆ ตามความเหมาะสม

Page 19: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

7

2.1.3 กราฟก 3 มิติ

กราฟก 3 มิติเปนการสรางวัตถุสามมิติท่ีเลียนแบบสภาวะจริง โดยจํากัดการแสดงผลอยูแคชอง

มองท่ีเปนกรอบของจอภาพ ผูสรางสรรคจําเปนตองอาศัยประสบการณจริงเขามามีสวนชวยอยางยิ่งใน

การคิดพิจารณาเง่ือนไข เพื่อการจําลองสภาวะตางๆ ใหเหมือนจริง สําหรับรูปทรง 3 มิติ จําเป นตอง

เลือกดานของวัตถุใหถูกดาน ซึ่งมีมุมมองท้ังหมด 4 ดาน คือ ดานหนา (Front view), ดานหลัง

(Back view), ดานบน (Plan view) และดานขาง (Side view) [3]

รูปท่ี 2.1 ตัวอยางกราฟกสามมิติ

คอมพิวเตอรก ราฟก 3 มิติ ยังเก่ียวของไปถึงคุณลั กษณะผิวหนา (Surface attributes) ซึ่งเปน

ลกัษณะท่ีแสดงถึงผิวหนาหรือเปลือกนอกของวัตถุ ใ นการจัดการเก่ียวกับผิวหนาวัตถุเปนเรื่องท่ีมีความ

ซับซอนไมยิ่งหยอนไปกวาการสรางรูปทรง 3 มิติ สีของกราฟก 3 มิติเปนคุณสมบัติของวัตถุท่ีมนุษยรับรู

ไดงายและรวดเร็ว คุณภาพการแสดงผลของสีเปนสิ่ง ท่ีสําคัญมากสําหรับงานคอมพิวเตอร กราฟก 3 มิติ

เนื่องจากลักษณะของพื้นผิววัตถุ บรรยากาศ แสงเงา เหลานี้ลวนแสดงออกมาเปนคุณสมบัติของสีท้ังสิ้น

โดยท่ัวไปพื้นผิว (Texture) เปนคุณสมบัติของผิวหนาท่ีอยูบนตัววัตถุ ซึ่งมีความแตกตางกันทางกายภาพ

ตามธรรมชาติแลวมนุษยสามารถรับรูถึงพื้นผิวไดจากการสัมผัสซึ่งถือเปนประสบการณของแตละบุคคล

Page 20: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

8

ขั้นตอนการสรางงาน 3 มิติ สามารถอธิบายไดดังนี้

ขั้นท่ี 1 สเก็ตซภาพและเขียน Storyboard

ขั้นท่ี 2 สรางโมเดล (Modeling)

ขั้นท่ี 3 ใสพื้นผิวและลวดลาย (Material & Texturing)

ขั้นท่ี 4 สรางการเคลื่อนไหว (Animation)

ขั้นท่ี 5 สรางฉาก แสงเงา มุมกลอง (Lights & Cameras)

ขั้นท่ี 6 ใสเอ็ฟเฟกตและตกแตงชิ้นงาน (Effects)

ขั้นท่ี 7 ประมวลผลงานและนําไปตัดตอ (Rendering & Compositing)

2.1.4 มุมมองของเกม

มุมมองของ เกม (Game View) คือ มุมมองท่ีใชถายทอดภาพของ เกมสูสายตาของผู เลนโดย

มุมมองตางๆ ท่ีนิยมนํามาใชเพื่อถายทอดภาพสูสายตาของผูใชงานมีหลายรูปแบบ ดังนี้ [3]

1. First Person เปนมุมมองท่ีนิยมนําไปใชกับเกมประเภท Shooting โดยจะใชวิธีถายทอดภาพ

จากสายตาของตัวละครท่ีผูเลนควบคุมหรือบุคคลท่ีหนึ่ง ซึ่งการใช โปรแกรมประเภท Flash เพื่อพัฒนา

เกมท่ีใชมุมมองแบบบุคคลท่ีหนึ่ง เปนเรื่องยากมากเพราะตองใชการเขียนโปรแกรมแบบ 3 มิติขั้นสูง

ตัวอยางของเกมท่ีใชมุมมองแบบ First Person คือ Half-Life และ Quake

2. Isometric เปนมุมมองแบบ 3 มิติท่ีนิยมนําไปใชกันอยางแพรหลายเพราะสามารถสรางเกม

แบบ 3 มิติไดโดย ไมตองใชเทคนิคการเขียนโปรแกรมแบบ 3 มิติขั้นสูง ตัวอยางของเกมท่ีใชมุมมอง

แบบ Isometric คือ Diablo

3. Side เปนมุมมองท่ีนิยมใชในการพัฒนาเกมแบบ 2 มิติ โดยจะถายทอดภาพจากสายตาของ

บุคคลท่ีสาม โดยใชมุมมองทางดานขาง ตัวอยางของเกมท่ีใชมุมมองแบบ Side คือ Mario

4. Top Down มุมมองแบบ Top Down เปนการถายทอดภาพจากดานบนหรืออาจเรียกมุมมอง

แบบนี้วา "Bird Eye View" นิยมใชกับเกมแบบ 2 มิติท่ีมีรูปแบบงายๆ ตัวอยางของเกมท่ี ใชมุมมองแบบ

Top Down คือ Pac Man

สําหรับงานวิจัยนี้โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมีการแสดงผลในมุมมองตางๆ หลายมุมมอง

และครอบคลมุท้ัง 4 มุมมองดังท่ีกลาวมาเบื้องตน

2.1.5 ข้ันตอนการพฒันาโปรแกรมจาํลองเสมือนจริง

ในโปรแกรมประเภทโปร แกรม จําลองเสมือน หลายๆ โปรแกรม จะมีสิ่งท่ีเรียกวา “Program

Loop” ซึ่งในลูปของโปรแกรมนี้จะมีคําสั่งตางๆ ในการรับขอมูลเขามาจากผู ใชงานจากนั้นจะประมวลผล

และแสดงขอมูลท่ีไดออกไปในระหวางการใชงานโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมลูปจะมี 3 โปรเซสอยูขางในและ

อีก 2 โปรเซสท่ีอยูขางนอก จะมีรายละเอียดดังนี้ [1]

Page 21: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

9

1. Starting the Program เปนสวนเริ่มตนของ โปรแกรมเมื่อเขามาถึง ในสวนนี้จะประกอบไป

ดวยภาพท่ีเปนตัวบอกเรื่องราวของ โปรแกรมและเมนูท่ีจะเขาไปสู โปรแกรมในโหมดตางๆ หรอืตองการ

ปรับต้ังคาตางๆ เชน ความดัง-เบา ของเสียงดนตรีในโปรแกรม, ขนาดการแสดงผล เปนตน

2. Player Input ในสวนนี้จะรับการกระทําจากผู ใชงานเขามาเพื่อนําไปประมวลผลซึ่งขอมูลท่ี

เขามาจะไปเปลี่ยนแปลงสวนของ Program Internals

3. Updating Program Internals ในสวนของ Program Internals จะเปนหัวใจสําคัญของ

โปรแกรมประเภทนี้ เพราะวาทุกๆ การกระทําท่ีเขามาจาก ผูใชงาน , การแสดงทาทางตางๆ ของสวน

ตางๆ ในโปรแกรม, เง่ือนไขในการแพ-ชนะของโปรแกรมจะถูกกระทําท่ี process นี้

4. Displaying the Screen ทําการแสดงผลภาพกราฟกตางๆ ขึ้นไปบนหนาจอคอมพวิเตอร ซึ่ง

ภาพเหลานี้จะนําขอมูลท่ีไดจากการประมวลผลของ Program Internals มาเปนตัวกําหนดตําแหนงตางๆ

ของมัน

5. Ending the Program เมื่อผูใชงานเขาใชโปรแกรมจบตองมีการบอกบางอยางเชน The End,

Program over, Good Bye เปนตน

จากการศึกษาทฤษฎีของการพัฒนาโปรแกรมทําใหงานวิจัยนี้ โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมี

การพัฒนาและสรางตามระบบและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมในเบื้องตน

2.1.6 สวนประกอบหลกั ในการสรางโปรแกรม

ในโปรแกรมประเภทโปรแกรมจําลองเสมือนหลายๆ โปรแกรมจะมีสิ่งท่ีเรียกวา “Program loop”

ซึ่งใน program loop นี้จะมีคําสั่งตางๆ ในการรับขอมูลเขามาจากผู ใชงานจากนั้นจะประมวลผลและ

แสดงขอมลูท่ีไดออกไปในระหวางการ ใชงานโปรแกรม program loop จะมี 3 processes อยูขางในและ

อีก 2 processes ท่ีอยูขางนอก จะมีรายละเอียดดังนี้ [2]

1. Program engine architecture สวนนี่คือ engine ของเกมเปนโครงสรางพื้นฐานในการเขียน

โปรแกรมเกม ทําใหผูพัฒนาเกมนําไปสรางตอเปนเกมไดอยางรวดเร็ว ซึ่งสามารถโหลดมาจาก Internet

และใชไดฟรีหรือไปซื้อผาน Internet หรือถามีความชํานาญในการเขียนโปรแกรมและอยากเริ่มทําเกม

เองท้ังหมดไมอยากใช engine ท่ีเขียนมาเราก็สามารถเขียนขึ้นเองได ซึ่งไมวาจะเขียนโคดเองห รือวาจะ

ใช engine ท่ีหามานั้นตองรูพื้นฐานพอสมควรในเรื่อง Data Structures, Object-Oriented

Programming, Algorithm ฯลฯ

2. Artificial Intelligence (AI) เปนสวนท่ีสําคัญกับเกม เนื่องจากจะตองออกแบบให Program

คิดใหไดทางเลือกท่ีดีท่ีสุดเชน การ ใหคอมพิ วเตอรตอบสนองกับผูเลนเกมใหไดดีท่ีสุด ซึ่งจุดนี้เปน

จุดสําคัญท่ีทําใหเกมสนุกเลยก็วาได

3. Sound engine ในสวนนี้จะมุงเนนไปท่ีการเขียนโคดยังไงใหสามารถอานเสียงเพลงและเลน

เพลงหยุดเพลงไดซึ่ง ในสวนของ sound engine นี้สามารถหาโหลดใน Internet ไดแตการจะใชหรือเขา

API เหลานั้นเปนก็คงตองเขียนโคดเปนพอสมควร

Page 22: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

10

2.1.7 การศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยี

1. DarkBASIC เปนเครื่องมือท่ีใชในการเขียนเกมตัวหนึ่ง และสามารถนําไปสรางโปรแกรม

อ่ืนๆ อีกมากมาย DarkBASIC มีความสามารถสูงในการใชสรางวัตถุแบบสามมิติและวัต ถุสองมิติ

เหมาะสมสําหรับผูท่ีเริ่มตนในการเขียนเกมสามมิติรองรับ DirectX 9.0c และเกมประเภทท่ีใชเมาส

(Mouse) ในการเลนเปนหลัก การทํางานของมันจะทําบนวินโดวสโหมดและเรียนรูการใชงานไดรวดเร็ว

ดวยเมนูการทํางานท่ีเขาใจงาย ลักษณะคําสั่งของ DarkBASIC จะคลายกับภาษา BASIC มากไมวาจะ

เปน Turbo Basic , QBasic , GwBasic , Visual Basic ฯลฯ ซึงเปนภาษาท่ีใชควบคุม Microsoft

DirectX ท่ีจัดการเก่ียวกับ ภาพสามมิติท่ีเปนบิตแมป , เสียง , ดนตรีประกอบ และ ภาพเคลื่อนไหวผล

การศึกษาพบวา เนื่องจาก DarkBASIC ไดถูกคิดคนขึ้นเพื่อ ใชสําหรับการเขียนโดยเฉพาะ จึงมี

ความสามารถในการจัดการเก่ียวกับการสรางเกมอยางครอบคลุมและไดผล ไมวาจะเปนการจัดการไฟล

เบื้องตน, ภาพ 2 มิติ,วัตถุ 3 มิติ, เสียง และการสรางพื้นผิวตางๆ ประกอบกับท้ังมีตัวอยางทุกคําสั่งทําให

งายตอการเขาใจ และครอบคลุมจนกระท่ั งสามารถเขียนเกม ไดอยางมีประสิทธิภาพกวาการเขียน

โปรแกรมโดยใชภาษาหลัก ๆ ท่ัวไป [1]

รูปท่ี 2.2 สวนตางๆ ของโปรแกรม DarkBASIC

ซึ่งในการเขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้ไดใช DarkBASIC มาชวยสรางโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือ

หมายเหตุ

สําหรับคุณสมบัติตางๆ ของโปรแกรม DarkBASIC ไดแสดงไวท่ีภาคผนวก ก

หนาตาง Menu

หนาตาง Compile Menu

หนาตาง Project panel

หนาตาง

Project Summary

หนาตาง View Code

Page 23: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

11

2. 3D Studio MAX เปนโปรแกรมท่ีชวยในการสรางโมเดลสามมิ ติตางๆ และสามารถชวยใน

การสรางเอฟเฟคตางๆ ภายในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ได รวมท้ังการสรางการเคลื่อนไหวของ

โมเดลดวย โดยในตัวของโ ปรแกรมมีฟงชันตางๆในการออกแบบวัตถุ จัดวัตถุใหมีรูปทรงตางๆ รวมท้ัง

สามารถสรางลวดลายๆตางๆ ลงบนวัตถุไดและสามารถนําภาพ Bitmap ตางๆ มาใชในการตกแตงวัตถุ

ใหสมจริงขึ้นดวย สนับสนุน ไฟลนามสกุล JPG, GIF, PNG, TIF, TGA และสามารถนําวัตถุสามมิติ ท่ี

สรางจากโปรแกรมอ่ืนมาแกไขไดดวย สนับสนุน ไฟลนามสกุล 3DS, AI, DXF, OBJ [3]

ภาพท่ี 2.3 สวนตางๆ ของโปรแกรม 3Ds MAX

3. Adobe Photoshop [3] คือโปรแกรมประยุกตท่ีมีความสามารถในการจัดการแกไขและตกแตง

รูปภาพ (photo editing and retouching) แบบแรสเตอร ผลิตโ ดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส ซึ่งผลิต

โปรแกรมดานการพิมพอีกหลายตัวท่ีไดรับความนิยม เชน Illustrator และ Pagemaker โปรแกรมโฟโตช

อปเปนโปรแกรมท่ีมีความสามารถในการจัดการไฟลขอมูลรูปภาพท่ีมีประสิทธิภาพ การทํางานกับ

ไฟลขอมูลรูปภาพของโฟโตชอปนั้น สวนใหญจะทํางานกับไฟลขอมูลรูปภาพท่ีจัดเก็บขอมูลรูปภาพแบบ

Raster โฟโตชอปสามารถใชในการตกแตงภาพเล็กนอย เชน ลบตาแดง, ลบรอยแตกของภาพ, ปรับแกสี

, เพิ่มสีและแสง หรือการใสเอฟเฟกตใหกับรูป เชน ทําภาพสีซีเปย, การทําภาพโมเซค, การสรางภาพพา

โนรามาจากภาพหลายภาพตอกัน นอกจากนี้ยั งใชไดในการตัดตอภาพ และการซอนฉากหลังเขากับ

ภาพโฟโตชอปสามารถทํางานกับระบบสี RGB, CMYK, Lab และ Grayscale และสามารถ นํามา

ประยุกตในการออกแบบสวนแสดงผลของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

Page 24: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

12

Cx#

Cy#

Cz#

Body

diffheight

15

Cx#,Cy#-h-15

2.1.8 การตรวจสอบการชนกนัของวตัถุ

การตรวจสอบการ ชนกันของวัตถุใชความรูวิ ชาฟสิกสขั้นพื้นฐาน [3] ท่ีภายในเกมทุกเกม หรอื

โปรแกรมบางโปรแกรมจะตองมี โดยเฉพาะเกม 3 มิติดวยแลวยิ่งมีความสําคัญมาก ตัวละครภายในเกม

จะตองไมเดินทะลุกําแพงถาไมไดสั่ง ซึ่งใน โปรแกรม DarkBASIC สามารถทําการตรวจสอบการ ชนกัน

ของวตัถุ 3 มิติได สําหรับวิธีการตรวจสอบการชนกันของวตัถุอธิบายไดดังรูปดานลาง

สวนที่ 1

รูปท่ี 2.4 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1

จากรูปท่ี 2.4 คือ การเริ่มตนการทํางานในสวนของการขึ้นและลงของวัตถุเมื่อเจอ slope

Intersect object เหมือน Laser ตรวจสอบการชนของ object

Cx#,Cy#,Cz# คือ จดุศูนยกลางของ Body วตัถุ

Diffheight การตรวจสอบการชน object จุดเริ่มตนไปถึงจุด intersect

h คือ head ของวตัถุ

Curvevalue (ตําแหนงเปาหมาย,คาปจจุบัน,step Value)

Page 25: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

13

Diffheight#

Diffheight-h

Destination value

Cy#-(diffheight-h) h

h

Destination

Cy#+(h-diffheight)

1

2

รูปท่ี 2.5 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1 ตอ

รูปดานบนซายหมายเลข 1 เปนรูปท่ีวัตถุเริ่มเคลื่อนท่ีขึ้น slope

รูปดานบนขวาหมายเลข 2 เปนรูปท่ีวัตถุเคลื่อนท่ีลง slope

Page 26: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

14

new x

new z

x,z

Intersect = 0

เขาเทาไหร

ออกเทานั้น

Intersect <>0

Pushx#

Pushz#

Radius#-intersect#

1

2

3

สวนที่ 2

รูปท่ี 2.6 การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 2

จากรูปท่ี 2.6 ในสวนท่ี 2 นี้ คือสวนท่ีแสดงถึงการชนกันเมื่อมีการกีดขวางของวัตถุหรือกําแพง

หมายเลข 1 ในสวนท่ี 2 นี้ คือระยะต้ังแตพิกัด x,y เดิม ไปจนถึง x,y ใหม

หมายเลข 2 ในสวนท่ี 2 นี้ คือรูปท่ีบอกวาวัตถุยังไมชนเขากําสิ่งกีดขวาง (Intersect = 0)

Page 27: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

15

หมายเลข 3 ในสวนท่ี 2 นี้ คือวัตถุท่ีชนเขากับสิ่งกีดขวางและเมื่อวัตถุชนเขากับสิ่งกีดขวางโดยมีรัศม ี

(Radius#) รอบวัตถุซึ่งทําหนาท่ีคลายกับ Laser เปนตัวตรวจจับการชนของวัตถุแลววัตถุจะสะทอนกลับ

ออกมาดวยความเร็วมากจึงทําใหเหมือนกับวาวัตถุไมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวางได (Intersect <> 0)

2.1.9 การสรางแบบสอบถาม [4]

เครื่องมือท่ีใชกันท่ัวไปในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยเชิงสํารวจมี 2 แบบ คือ

แบบสอบถาม เปนแบบท่ีใชสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลจากผูใหขอมูลโดยท่ีผูเก็บรวบรวมขอมูลไมไดทํา

การสัมภาษณหรือเก็บรวบรวมขอมูลโดยตรงจากผูใหขอมูล และแบบสําร วจเปนแบบท่ีใชสําหรับเก็บ

รวบรวมขอมูลจากผูใหขอมูลโดยตรง แตละแบบตางก็มีขอดีและขอเสียแตกตางกันไป แตแบบสอบถาม

จะสามารถนําไปใชไดท้ังการสงไปใหผูตอบขอถามตอบเองโดยไมตองสัมภาษณและการสัมภาษณจาก

ผูใหขอมูลโดยตรง สําหรับขอมูลในแบบสอบถามและแบบสํารวจอาจจะประกอบดวยขอมูลประเภทความ

จริง ขอมูลประเภทความคิดเห็น หรือขอมูลประเภทเหตุผลประกอบความคิดเห็น ปญหาสําคัญท่ีสุดใน

การสรางแบบสอบถามก็คือ ขาดขอมูลท่ีจําเปนตองนํามาใชในการวิเคราะห หรือไดขอมูลซึ่งมากเกิน

ความจําเปนท่ีจะนํามาใช

การสรางแบบสอบถามจะตองดํา เนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ พิจารณาวัตถุประสงคของการ

วิเคราะหหรือการวิจัยแตละขอ เลือกวิธีวิเคราะหขอมูลท่ีเหมาะสมซึ่งจะนํามาใชตอบวัตถุประสงคของการ

วิเคราะหหรือการวิจัยแตละขอ กําหนดขอมูลท่ีจําเปนตองนํามาใชในการวิเคราะหดวยวิธีท่ีเลือกไว

ตรวจสอบวาข อมูลท่ีจําเปนตองนํามาใชในการวิเคราะหมีบุคคลใดหรือหนวยงานใดเก็บรวบรวมไวแลว

บางและมีขอมูลอะไรบางท่ีจะตองเก็บรวบรวมเอง และรางแบบสอบถามขอมูลท่ีจะตองเก็บรวบรวมเอง

สําหรับสวนประกอบของแบบสอบถามโดยท่ัวไปมี 3 สวนคือ ลักษณะสําคัญของผูตอบหรือหนวยงานซึ่ง

เปนผูใหขอมูลท่ีจะนํามาใชในการวิเคราะห ขอมูลท่ีจะตองเก็บรวบรวมมาใชในการวิเคราะหเอง และ

ขอมูลอ่ืนๆ ท่ีสามารถนํามาใชประโยชนในการวิเคราะหวิจัยได สวนคําถามในแบบสอบถามมี 2 ประเภท

คือ คําถามปลายเปด เปนคําถามท่ียอมใหผูใหขอมูลตอบไดอยางเปนอิสระไมว าจะเปนการตอบโดยมีผู

สัมภาษณโดยตรงหรือตอบโดยไมมีผูสัมภาษณโดยตรงหรือตอบทางโทรศัพท และคําถามปลายปด เปน

คําถามท่ีไมยอมใหผูใหขอมูลตอบไดอยางอิสระ กลาวคือ ผูเก็บรวบรวมขอมูลเปนผูกําหนดคําตอบให

ผูใหขอมูลเลือกตอบท่ีสอดคลองกับความจริงหรือความคิดเห็ นของผูใหขอมูล แตคําตอบท่ีผูใหขอมูล

เลือกตอบนี้จะตองครอบคลุมทุกๆ คําตอบท่ีเปนไปไดของคําถามนั้นๆ ซึ่งตางก็มีขอดีและขอเสียแตกตาง

กันไป

Page 28: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

16

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.2.1 งานวิจัยเร่ือง “เคร่ืองจําลองเคร่ืองจักรที่ใชในการตรวจสอบหัวอานฮารดดิสก ”

นายยุทธนา ภูมามอบ , นายอุเทน คําพุฒน , นายไพโรจน จําปานอย , นายสุรชัย สินธชัย .

มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550

โครงงานเครื่องจําลองเครื่องจักรท่ีใชในการตรว จสอบหัวอานฮารดดิสก เปนการพัฒนาเพื่อ

สนับสนุนระบบการฝกสอนพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟ โดยเปนโครงงานหนึ่งใน

โครงการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟ ตั้งแตป 2549 ซึ่งไดรับการสนับสนุนทุน

วิจัยจากศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอม พิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค ) ท่ีเปนการประสานความ

รวมมือระหวาง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา กับ บริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี จํากัด

โครงงานเครื่องจําลองเครื่องจักรท่ีใชในการตรวจสอบหัวอานฮารดดิสก ถูกออกแบบและพัฒนา

เพือ่ตอบสนองระบบการฝกสอนพนกังา นใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการลดระยะเวลาในการฝกสอน

พนักงานกอนเขาสูกระบวนการผลิตจริง และ ทําใหระบบการผลิตมีความตอเนื่อง โดยไมตองหยุด

กระบวนการผลิต ในการจําลองเครื่องจักรครั้งนี้ไดเลือกจําลองการทํางานของเครื่อง Quasi Tester ซึ่ง

เปนเครื่องจักรท่ีใชสําหรับตรวจสอบคาพารามิเตอรตางๆ ของหัวอานฮารดดิสก

โครงงานนี้ออกเปน 3 สวนหลัก คือ สวนแรกเปนสวนของโปรแกรมหลักท่ีใชในการสอนและการ

ทดสอบการใชงานเครื่องจักร ซึ่งพัฒนาจากโปรแกรมวิชวลเบสิก สตูดิโอ สวนท่ีสองเปนสวนประเมิน

ความสามารถของพนักงาน เพื่อใหผูท่ี รับผิดชอบฝกสอนพนักงานสามารถตรวจสอบพัฒนาการเรียนรู

ของพนักงานจากผลการใชโปรแกรมทดสอบ และ การทําขอสอบวัดความรู ซึ่งจะบันทึกไวในฐานขอมูล

ของพนักงาน สวนท่ีสามเปนวงจรท่ีใชควบคุมเครื่องจักร โดยติดตอกับคอมพิวเตอรผานพอรตอนุกรม

(RS232) ซึ่งวงจรนี้สามารถควบคุมกลไกตางๆ ของเครื่องจักรไดเหมือนกับเครื่องจักรท่ีใชทดสอบจริง

สําหรับงานวิจัยนี้เปนงานวิจัยของรุนพี่ถือไดวาเปนตนแบบของโครงงานโปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมือก็วาได งานวิจัยเรื่อง “เครื่องจําลองเครื่องจักรท่ีใชในการตรวจสอบหัวอานฮารดดิสก” นี้ถือได

วาเปนโครงงานท่ีทําออกมาไดคอนขางสมบูรณและดูดีทีเดียว เปนการทําเครื่องจกัรจําลองเครื่องจักรท่ี

เปนของจริงอีกทีหนึ่ง เพื่อใหพนักงานใหมทดลองใชงานกอนลงไปปฏิบัติงานจริง และจุดเดนของ

งานวิจัยนี้ก็เห็นจะเปนความสมจริงของเครื่องจักรจําลอง แตจุดดอยก็ตรงท่ีตองนําเอาเครื่องจักรตัวจริง

มาประยุกตใชงานท่ีสําคัญยังรองรับการใชงานกับพนักงานไดนอยอยู ทางกลุมโครงงานโปรแกรมจําลอง

การใชเครื่องมือจึงนําเอาขอบกพรองตรงนี้มาพัฒนาตอ โดยจะพัฒนารูปแบบของการสอน และการสราง

ระบบจําลองใหเปนระบบจําลองท่ีมีการ Software ลวนๆ เนนการสรางระบบจําลองในรูปแบบโปรแกรม

จําลองสามมิติ ท่ีสามารถรองรับจํานวนพนักงานไดมาก

Page 29: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

17

2.2.2 งานวิจัยเร่ือง “เกมภารกิจลดภาวะโลกรอน ” นายวศิน ภิรมย . จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2545

ในปจจุบันตลาดซอฟแวรเกมในประเทศไทย ความนิยมเลนเกมก็เพิ่มขึ้น เกมถูกพัฒน าเพื่อ

สรางความสนุกสนาน เพลิดเพลินใหแกผูเลน แตก็มีเกมอีกหลายจําพวกถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหความ

สนุกสนาน และแฝงเรื่องของการพัฒนาหรือสรางเสริมทักษะดานตางๆ ใหแกผูเลนดวยเหมือนกัน

ผูจัดทําจึงพัฒนาเกมภารกิจลดภาวะโลกรอน (The Mission to decrease Global warming) ขึ้น

เพื่อตองการปลูกฝงและสอดแทรกความรูแกเยาวชน โดยเฉพาะในเรื่องของการใสใจตอสิ่งแวดลอม ซึ่ง

ถือเปนเรื่องท่ีสําคัญและไมควรมองขาม โดยในปจจุบันสิ่งแวดลอมถูกทําลายลงทรัพยากรตางๆท่ีมีอยาง

จํากัดถูกนําไปใชอยางฟุมเฟอย สงผลใหเกิดความผิดปกติตา งๆขึ้นบนโลก และท่ีกําลังเปนปญหาท่ี

สําคัญตอนนี้คือทําใหอุณหภูมิของโลกเราเพิ่มขึ้นจนนําไปสูภาวะโลกรอนในท่ีสุด

โครงงานนี้มีเปาหมายท่ีจะสรางเกมสามมิติ ท่ีใหความรูเรื่อง การใชพลังงานอยางคุมคาเพื่อลด

ภาวะโลกรอนไดโดยมีภารกิจดวยกัน 4 ภารกิจ สูผานดานเพื่อพิชิตภาวะโลกรอนโดยตองมกีารออกแบบ

ในสวนของการเก็บสิ่งของ สวนของการใหคะแนน

สําหรับงานวิจัยนี้เปนงานวิจัยท่ีใชโปรแกรม DarkBASIC มาใชชวยสรางเกมสามมิติ มีการ

ออกแบบและมีการสรางเกมท่ีมีสวนของการใหคะแนนและเก็บบันทึกการเลนเกม ท่ีทางผูวิจัยเลือกศึกษา

งานวิจัยนี้เพราะเปนงานวิจัยท่ีนาสนใจบางสวนมีความคลายคลงึกับงานวิจัยโปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมือ ซึ่งถือไดวางานวิจัย “เกมภารกิจลดภาวะโลกรอน” มีสวนชวยใหผูจัดทําวิจัยมีมุมมองและมี

ความเขาใจการนําขอมูลมาประยุกตสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือไดพอสมควร

Page 30: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

บทที่ 3

หลกัการ แนวคดิ และการออกแบบโครงงาน

3.1 หลักการและแนวคิด

จากงานวิจัยท่ีเก่ียวของพบวาในปจจุบันระบบสื่อการเรียนการสอน ไดพัฒนาออกมาในหลาย

รูปแบบ เชน ในรูปแบบขอความ ในรูปแบบรูปภาพ ในรูปแบบเสียง ในรูปแบบวีดีโอ ในรูปแบบแอนนิ -

เมชั่น 3 มิติ หรือในรู ปแบบโปรแกรมจําลองเสมือนจริง เปนตน ท่ีสําคัญสื่อการเรียนการสอนโดยสวน

ใหญจะพัฒนาออกมาในรูปแบบโปรแกรมจําลองเสมือนจริง เพราะนอกจากผูใชงานจะอาน ฟง หรือ ดู

อยางเดียว แตสามารถมีการกระทําโตตอบกับโปรแกรมได นอกเหนือจากนั้น ในชวงแรกผูใชงานอาจไม

จําเปนตองไป ทดสอบกับเครื่องมือ อุปกรณ หรือวัตถุจริง ซึ่งเปนการสูญเสียงบประมาณ หรืออุบัติเหตุ

ตางๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นได ท่ีสําคัญยังสามารถพยากรณไดวาจะเกิดอะไรขึ้นในลําดับตอไป และมีการเก็บ

บันทึกไวเปนขอมูลทางสถิติไดอีกดวย ตัวอยางผลงานท่ีเปนลักษณะในรูปแบบโปรแกรม จําลองเสมือน

จริง เชน โป รแกรมจําลองการขับรถของนักแขงรถ , โปรแกรมจําลองการขับเรือของกองทัพเรือ ,

โปรแกรมจําลองการบินเสมือนจริง , โปรแกรมจําลองการยิงของทหาร , โปรแกรมจําลองการผาตัดของ

นักเรียนแพทย, โปรแกรมจําลองการทดลองทางวิทยาศาสตร , เกมจําลองการเลนกีฬาตางๆ เปนตน ซึ่ง

ตัวอยางสื่อเหลานี้ทําใหเราเห็นความสําคัญของระบบการเรียนการสอนวาในอนาคตระบบสื่อเหลานี้จะ

เขามาแทนท่ีสื่อในรูปแบบตางๆ ซึ่งขอมูลท่ีกลาวมาในเบื้องตน เปนเหตุจูงใจ ท่ีทําใหทางผูวิจัยคิดท่ีจะ

ออกแบบและสรางตนแบบของระบบจําลองการใชเครื่องมือขึ้นมา

ซึ่งหลกัการ ทํางานของระบบจาํลองการใชเครือ่งมอื ตําแหนง HGA Setting อธบิายได คือ

โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือตําแหนง HGA Setting จะถูกนําไปใช กับฝาย Training โดยท่ีโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือ จะไปชวยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ การฝกสอนพนักงาน ใหพนักงานสามารถ

เรียนรู และใช โปรแกรม จําลองการใชเครื่องมือ ซึ่งจะ จําลองเหตุการณการทํางานในสวนของตําแหนง

HGA setting ในแผนก HSA กอนปฏิบัติงานจริง โดยหลักการทํางานของโปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมือแบง ออกเปนสองสวน ใหญๆ ไดแก สวนแรก เปนสวนของการศึกษาขอมูลตางๆ ในตําแหนง

HGA Setting สวนนี้จะทําใหพนักงานเขาใจการทํางาน รูจักอุปกรณ ขอควรปฏิบัติและขอหามตางๆ

กอนจะไปสวนท่ีสองของโปรแกรมซึ่งสวนนี้จะเปนสวนของการทดสอบ การประกอบชิ้นงาน ซึ่งกอนเริ่ม

การประกอบชิ้นงานจะมีการแนะนําขั้นตอนการประกอบชิ้นงานกอน ถัดมาเปนสวนของการทดสอบกา ร

ประกอบหัวอานฮารดดิสก

Page 31: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

19

3.2 การออกแบบโครงงาน

3.2.1 การออกแบบโครงงานในภาพรวม

การออกแบบโครงงานในภาพรวม สามารถอธิบายใหเขาใจภาพรวมของโครงงาน โดยท่ีเนื้อหา

หลักของโครงงานจะเปนการออกแบบและสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ในหัวขอนี้จะชี้ใหเห็นถึง

การออกแบบและหลักการเขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ซึ่งลําดับการเขียนโปรแกรม 7 ขั้นตอน

คือ

1. ต้ังเปาหมายและวางขอบเขตของการเขียนโปรแกรมใหชัดเจน

เปาหมายหรือวัตถุประสงคตองทําใหเราสามารถกําหนดขอบเขตไดอยางเปนรูปธรรม โดยใน

ขั้นตอนนี้เริ่มตนเราจะตองกําหนดกลุมเปาหมายของผูใชมากอน วาจะทําใหใครใช วัตถุประสงคในการใช

เพื่ออะไร ชวงอายุเทาไหร เมื่อไดกลุมเปาหมายท่ีตองการแลว ถัดมาจะตองคิดหารูปแบบ เมื่อไดรูปแบบ

เปาหมาย และขอบเขตท่ีชัดเจนแลว ก็ใหเขาไปทําในสวนของการออกแบบซึ่งอยูในขั้นตอนถัดไป

ซึ่งในท่ีนี้กลุมเปาหมายท่ีใชโปรแกรมเปนกลุมพนักงาน ท่ีมีการศึกษาตํ่า ระดับประถมศึกษาขึ้น

ไป ดังนั้นในสวนของการแสดงผล ขอความตางๆ ถาเปนภาษาอังกฤษจะมีภาษาไทยกํากับอยูดวย

2. ออกแบบเนื้อเรื่อง วิธีการใชงานใหไดตามเปาหมาย และขอบเขตท่ีต้ังไว

ตองมี การออกแบบเนื้อเรื่อง อุปกรณ วิธีการใช ดนตรี และเสียงประกอบตางๆใหไดตาม

เปาหมายและขอบเขตท่ีไดต้ังไว

ขั้นตอนการออกแบบเนื้อเรื่อง และอุปกรณนั้นมีความสําคัญมากในอันดับตนๆ เพราะถาไดเนื้อ

เรื่องและอุปกรณท่ีดีผูใชก็จะรูสึกคลอยตาม และมีอารมณรวมไปกับโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ในสวนของวิธีการใช คือการออกแบบวิธีการใชของผูใชนั้น เชนการควบคุมคียบอรด และเมาส

ท่ีมีผลตอมุมมองของผูใช เปนอยางไร ผูใชจะตองพบกับอุปสรรคอะไรบาง และจะสามารถผานไปได

อยางไร ซึ่งผูออกแบบจะตองคิดใหละเอียดและค รอบคลุมความเปนไปไดของเหตุการณท่ีจะเกิดขึ้นใน

โปรแกรมท้ังหมด

การออกแบบเสียง ผูออกแบบจะทราบไดก็ตอเมื่อมีเนื้อเรื่องและอุปกรณแลว เพราะไดเนื้อเรื่อง

และอุปกรณ จะทําใหคาดเดาลักษณะของเสียงเพลง เสียงพากย และเสียง Sound effect ไดตาม

เหตุการณท่ีเกิดขึ้นในโปรแกรม

3. สํารวจความตองการ

ในสวนของการสํารวจในท่ีนี้ตองมีการปรึกษากับทางดานบริษัทวางตองการโปรแกรม

นี้จริงหรือไม และถาตองการจะตองการโปรแกรมประเภทไหน

4. เขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ตามเนื้อเรื่อง และวิธีการใชดังท่ีไดออกแบบไว

เลือกเครื่อง มือท่ีเหมะสมจะมาชวยเขียน โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ เพื่อใหสอดคลองกับ

ขอกําหนดและความตองการตางๆ และลงมือเขียนโปรแกรมตามแผนท่ีวางไว

Page 32: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

20

5. ทดสอบความถูกตองของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือท่ีไดเขียนขึ้น

ซึ่งขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนการทดสอบความถูกตองของโปรแกรม (Debug & Testing)

ทดสอบและตรวจสอบการทํางานใหเปนไปตามขอกําหนด และความถูกตองของขอความและสวน

แสดงผลของโปรแกรม

6. ติดตอบริษัทท่ีตองการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

เมื่อสรางโปรแกรมออกมาสําเร็จแลว ถัดจากนี้คือการนําไปใหบริษัทท่ีเปนผูตองการใชโปรแกรม

และใหมีการนําพนักงานมาทดสอบตัวโปรแกรมจริงๆและมีการกรอกแบบสอบถาม

7. ศึกษาผลกระทบท่ีมีตอบริษทัและผลตอบสนองของผูใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

การออกแบบสวนตางๆ ของโครงงานในภาพรวม ประกอบดวยกัน 6 สวนดังรูปท่ี 3.1

รูปท่ี 3.1 สวนตางๆ ของโครงงานในภาพรวม

ออกแบบเมนตูางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

ออกแบบสวนรบัอินพตุของผูใชงาน

ออกแบบสวนจัดเก็บขอมูลจากผูใชงาน

ออกแบบการตรวจสอบการชนกันของวัตถุ

ออกแบบสวนของแบบสอบถาม

ออกแบบขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

Page 33: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

21

3.2.2 การออกแบบข้ันตอนการทาํงานของโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ นั้นแสดงดังรูป 3.2 โดยท่ีการทํางานจะ

เริ่มจากเมื่อมีการสั่ง รันโปรแกรมโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือจะทํางานอัตโนมัติ โดยมีการโหลดไต

เต้ิลขึ้นมากอนประมาณ 15 วินาที ซึ่งสวนนี้สามารถกดปุม Enter ท่ีคียบอรด เพื่อขามไปได ตอจากนั้น

จะเขาสูโหมดของเมนูซึ่งประกอบดวยกัน 6 เมนูไดแก เมนู “เริ่มโปรแกรม ”, เมนู “แนะนําอุปกรณ ”, เมนู

“ขอควรปฏิบัติ”, เมนู “วิธีใชโปรแกรม”, เมนู “ผูจัดทํา” และเมนู “ออกจากโปรแกรม” ในสวนเมนูหลักนี้จะ

มีเสียงอธิบายวาแตละเมนูยอยนั้นมีการทํางานเปนอยางไรบาง เมื่อมีการคลิกเขาสูเมนู “เริ่มโปรแกรม ”

โปรแกรมจะแสดงหนาตาง ใหมีการกรอกหมาย เลขประจําตัวของพนักงานกอน เขาฝกทดสอบ ประกอบ

ชิ้นงาน หลังจากท่ีทําการทดสอบเสร็จจะมีการบันทึกขอมูลการใชงานไวดวย

รูปท่ี 3.2 ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

Page 34: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

22

3.2.3 การออกแบบเมนูตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

การออกแบบเมนูตางๆ ของ โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมื อในภาพรวม สามารถอธบิายสวน

ตางๆ ของเมนู รวมถึงการทํางานของเมนโูปรแกรมจําลองการใชงานเครื่องมือดังรูปท่ี 3.3

รูปท่ี 3.3 การออกแบบเมนูตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอืในภาพรวม

เมนูหลัก

การใช HGA Tray 21 หัวขอ

การทาํงานทีไ่มเปนไปตามขอกําหนด 29 ลักษณะ

ลักษณะงานเสีย 4 ลักษณะ

ขอควรปฏิบัติ

Part ที่ใช ณ ตําแหนงงาน 4 Part

อุปกรณ ณ ตําแหนงงาน 17 อุปกรณ

แนะนาํอุปกรณ

Video แนะนํา

ผูจัดทํา ออกจากโปรแกรม

แนะนาํการควบคุมโปรแกรม ดวย Keyboard และ Mouse

วธิใีชโปรแกรม

เร่ิมโปรแกรม

Login

แนะนาํข้ันตอนการประกอบ HGA หรือ Head Dummy เขากับ Arm Carriage

ทดสอบการหยิบจบัช้ินงาน

ทดสอบประกอบ HGA หรือ Head Dummy เขากับ Arm Carriage

Save & Exit

Page 35: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

23

ซึ่งหนาท่ีและการทํางานของเมนูโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือตําแหนง HGA Setting อธบิาย

ไดดังนี้

1. เมนู “เริ่มโปรแกรม ” การออกแบบสวนนี้จะ ประกอบดวยกัน 3 สวนใหญๆ คือสวนแรกเปน

สวนของการแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage ซงึแสดงผล

ในรูปแบบแอนนิเมชันสามมิติ มีเสียงบรรยายการทํางานแตละขั้นตอนไวอยางละเอียด สวนถัดมาคือสวน

ท่ีสองนี้เปนสวนของการทดลองการใชเมาสและคียบอรดหยิบจับเคลื่อนยายชิ้นงานไปยังตําแหนงท่ี

กําหนด และสวนสุดทายเปนสวนของการทดสอบประกอบ หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage

2. เมนู “แนะนําอุปกรณ ” การออกแบบในสวนนี้จะ แสดงผลใ นรูปแบบ 2 มิติ โดยมีเนื้อหาท่ี

ประกอบดวย Part ท่ีใช ณ ตําแหนงงาน 4 Part และอุปกรณ ณ ตําแหนงงาน 17 อุปกรณ

3. เมนู “ขอควรปฏิบัติ ” การออกแบบในสวนนี้จะ แสดงผลในรูปแบบ 2 มิติ โดยมีเนื้อหาท่ี

ประกอบดวย การใช HGA Tray ท้ังหมด 21 หัวขอ การทํางานท่ีไมเปนไ ปตามขอกําหนด 29 ลักษณะ

และลักษณะงานเสีย 4 ลกัษณะ

4. เมนู “วิธีใชโปรแกรม ” การออกแบบในสวนนี้จะ แสดงผลในรูปแบบ 2 มิติ โดยมีเนื้อหาท่ี

ประกอบดวย การแนะนําการใชคียบอรดและเมาส ควบคุมโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ไดแก W =

เลื่อนไปขางหนา, S = เลื่อนถอยหลัง, A = เลื่อนไปขางซาย, D = เลื่อนไปขางขวา, ลกูศร***** ขึ้น = เงย

หนาขึ้น, ลง = กมหนาลง, ซาย = หมุนไปทางซาย , ขวา = หมนุไปทางขวา , คลกิเมาสซายคาง = หยิบ

จับวัตถุ และคลกิเมาสขวาคาง = หมุนวัตถุ

5. เมนู “ผูจัดทํา” การออกแบบในสวนนี้จะ แสดงผลในรูปแบบวีดีโอโดยมีเนื้อหาท่ีประกอบดวย

แนะผูจัดทําโป รแกรม 3 คนไดแก นายรุงโรจน พงษโสภณ 48051660 , นายวริศ คุมพงษ 48051752 ,

และนายอาชวิทย ทองคํา 50556941 อาจารยท่ีปรึกษาโครงงานคือ อาจารย วิรุฬห ศรีบริรักษ หนวยงาน

ท่ีสนับสนุน ไดแก ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิ ศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลับบูรพา , บริษัท ยูเนี่ย

นเทคโนโลยี่ (2008 ) จํากัด มหาชน , และ ศูนยเทคโนโลยีอิ เล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

(NECTEC)

6. เมนู “ออกจากโปรแกรม” เปนสวนของการเลือกเพื่อออกจากโปรแกรม

Page 36: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

24

3.2.4 การออกแบบสวนรับอินพตุจากผูใชงาน

การรับคาและขอมูลของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ จากผูใชงาน จะใชคียบอรดและเมาส

ซึ่งอุปกรณสองชิ้นนี้ เปรียบเสมือนมือของมนุษย ซึ่งชวยในการ ควบคุมโปรแกรม รวมไปถึงการหยับ จับ

วัตถุ และ การเคลื่อนยายวัตถุไปยังตําแหนงท่ีตองการ ซึ่งในโป รแกรมจําลองการใชเ ครื่องมือ นี้จะใช

คียบอรดและเมาสเปนตัวควบคุมการประกอบ Arm Carriage เขากับ HGA Setting Fixture

รูปท่ี 3.4 สวนรับอินพุตของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

สวนรับอินพุตจากผูใชงานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้แบงออกเปน 2 สวนคือ

สวนท่ี 1 การรับขอมูลจาก คียบอรด จากการศึกษาการออกแบบในสวนของการรับขอมูลจาก

คียบอรดนั้น DarkBASIC เปนโปรแกรมท่ีมีคุณสมบัติ Keyboard Commands ซึ่งถือเปนคุณสมบัติพิเศษ

ท่ีสามารถเขียนโปรแกรมรับคําสั่งหรือควบคุม โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือผาน คียบอรดไดงายขึ้น

สําหรับโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้มีการรับคาจากคียบอรดซึ่งมีการรับคาจากปุมเหลานี้ไดแก

กดปุม W ท่ีคียบอรด = เลื่อนไปขางหนา, กดปุม S ท่ีคียบอรด = เลื่อนถอยหลัง , กดปุม A ท่ีคียบอรด =

เลื่อนไปขางซาย, กดปุม D ท่ีคียบอรด = เลื่อนไปขางขวา , ลูกศรขึ้น = เงยหนาขึ้น, ลกูศรลง = กมหนา

ลง, ลกูศรซาย = หมุนไปทางซาย, ลกูศรขวา = หมนุไปทางขวา

รูปท่ี 3.5 ตัวอยางปุมกดบนคียบอรดท่ีใชในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ในคุณสมบัติ Keyboard Commands ของโปรแกรม DarkBASIC ท่ีนํามาใชในการรับคาจาก

การกดปุม W, S, A และ D บนคียบอรดคือ Reading Text Input ซึ่งมีคําสั่ง The INPUT Command ซึ่ง

สามารถอธิบายการนําคําสั่ง The INPUT Command ไปใชงานไดดังรูปท่ี 3.6

W

A S D

Keyboard + Mouse

Equipment Simulator

Input

Page 37: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

25

รูปท่ี 3.6 ตัวอยางคําสั่ง The INPUT Command

ในคุณสมบัติ Keyboard Commands ของโปรแกรม DarkBASIC ท่ีนํามาใชในการรับคาจาก

การกดปุมลูกศรขึ้น, ลูกศรลง, ลูกศรซาย และลกูศรขวาบนคียบอรดคือ Reading Special Keys ซึ่งมี

คําสั่ง The UPKEY() Command, The DOWNKEY() Command, The LEFTKEY() Command และ

The RIGHTKEY() Command

สวนท่ี 2 การรับขอมูลจาก เมาส จากการศึกษาการออกแบบในสวนของการรับขอมูลจากเมาส

นั้น DarkBASIC เปนโปรแกรมท่ีมีคุณสมบัติ Mouse Commands ซึ่งถือเปนคุณสมบัติพิเศษท่ีสามารถ

เขียนโปรแกรมรับคําสั่งหรือควบคุมโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือผาน เมาส ไดงายขึ้น สําหรับ

โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ นี้มีการรับคาจากคียบอรดซึ่งมีการรับคาจากปุมเหลานี้ไดแก คลกิเมาส

ซายคาง = หยิบจับวัตถุ และคลกิเมาสขวาคาง = หมุนวัตถุ นอกจากการทํางานดังกลาวของการคลิก

เมาสแลวการเขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือยังตองอาศัยคุณสมบัติ Mouse Commands ทุกๆ

คําสั่งเลยทีเดียว

ในหัวขอ Mouse Commands นั้นยังประกอบไปดวยสวนประกอบท่ีสําคัญดังนี้

- The HIDE MOUSE Command คือการซอนเมาสทําใหไมสามารถมองเห็นเมาสได

- The SHOW MOUSE Command คือการแสดงเมาสทําใหสามารถมองเห็นเมาสได

- Mouse Position คือคําสั่งในการเคลื่อนยายเมาสขึ้น, ลง, ซาย และขวา

- Mouse Buttons คือคําสั่งในการคลิกเมาส ไมวาจะคลิกเมาสซายหรือคลิกเมาสขวา

- The Mouse Handler คือคําสั่งในการคลิกเมาสเพื่อเคลื่อนยายวัตถุ

รูปท่ี 3.7 การเคลื่อนยายตําแหนงของเมาส

INPUT string$ , variable$

Page 38: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

26

3.2.5 การออกแบบสวนการจัดเก็บขอมูลของผูใชงาน

ในระบบฐานขอมูลของโปรแกรมจําลองการใชเครื่อง มือ จะมีการเก็บขอมูลของพนักงาน โดยจะ

ทําการเก็บหมายเลขประจําตัวของพนักงานท่ีมาใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ และตําแหนงการใช

งาน ณ เวลานั้น เมื่อผูใชงานเลือก “บันทึกขอมูล” โดยขอมูลท่ีเก็บบันทึกจะอยูในรูปของ Text ไฟลดังรูป

ท่ี 3.8

รูปท่ี 3.8 ฐานขอมูลพนักงาน

3.2.6 การออกแบบการตรวจสอบการชนกนัของวตัถุ

ในการออกแบบการตรวจสอบการชนของวัตถุในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือแบงออกเปน 2

สวนคือ สวนท่ี 1 คือสวนเริ่มตนของการกําหนดจุดตางๆ รวมไปถึงการเริ่มการตรวจสอบการชนของวตัถุ

ดวย และสวนท่ี 2 คือสวนท่ีแสดงถึงการชนกันเมื่อมีการกีดขวางของวัตถุหรือกําแพง

Save File

ตาํแหนงการใชงาน เลขประจําตัวพนักงาน

Page 39: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

27

Start

cx# =object position x(OjID_Body)

cy# =object position y(OjID_Body)

cz# =object position z(OjID_Body)

diffheight# =intersect object(OjID_Map,cx#,cy#,cz#,cx#,cy#-h-15,cz#)

if diffheight# = 0

up slope

else:if diffheight# < h and

(h-diffheight#)<= limit_h

if ≠ 0

gravity# = gravity#+5.25

if gravity# > h

then gravity# = h

position object OjID_Body,cx#,cy#-gravity#,cz#

down slope

else:if diffheight# > h

position object

OjID_Body,cx#,Curvevalue

(cy#+(h-diffheight#),cy#,3),cz#

position object

OjID_Body,cx#,Curvevalue

(cy#-(diffheight#-h),cy#,3),cz#

End

สวนที่ 1

รูปท่ี 3.9 Flow chart การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 1

Page 40: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

28

Start

direction=8

directionwidth=360/direction

next i

for i=0 to direction-1

newx#=newxvalue(cx#,i*directionwidth,radius#)

newz#=newzvalue(cz#,i*directionwidth,radius#)

intersect#=intersect object(OjID_Map,cx#,cy#,cz#,newx#,cy#,newz#)

End

cx# = object position x(OjID_Body)

cy# = object position y(OjID_Body)

cz# = object position z(OjID_Body)

if intersect#<>0.0

pushx#=newxvalue(cx#,wrapvalue((i*directionwidth)+180),radius#-intersect#)

pushz#=newzvalue(cz#,wrapvalue((i*directionwidth)+180),radius#-intersect#)

position object OjID_Body,pushx#,cy#,pushz#

cx# = object position x(OjID_Body)

cz# = object position z(OjID_Body)

สวนที่ 2

รูปท่ี 3.10 Flow chart การตรวจสอบการชนกันของวัตถุในสวนท่ี 2

Page 41: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

29

3.2.6 การออกแบบสวนของแบบสอบถาม

งานวิจัยนี้ไดจัดทําแบบสอบถามเพื่อใชสอบถามความคิดเห็นและความตองการของกลุมผูใชงาน

จริง โดยทําการ สรางแบบสอบถามขึ้นมา โดยมีการกําหนดวัตถุประสงค และต้ังประเด็น แบงหัวขอของ

แบบสอบถามไวดังนี้

รูปท่ี 3.11 รูปแบบหัวขอของแบบสอบถาม

สวนท่ี 1 ถามเพื่อเก็บขอมูลท่ัวไปของผูใชงาน สําหรับหัวขอการเก็บ ขอมูลท่ัวไปของผูใชงาน ท่ี

กําหนดไวคอื เพศ , อายุ , ระดับการศึกษา , ตําแหนงงาน , สถานภาพสมรส และระยะเวลาท้ังหมดท่ี

ทํางานอยูในหนวยงานนี ้

ความคิดเห็นของผูใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

เก็บขอมูลท่ัวไปของผูใชงาน

Page 42: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

30

สวนท่ี 2 ถามความคิดเห็นของผูใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ สําหรับหัวขอการเก็บขอมูล

ความคิดเห็นท่ีมีตอการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือแสดงดังตารางท่ี 3.1

ตารางท่ี 3.1 หัวขอการเก็บขอมูลความคิดเห็นท่ีมีตอการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ขอ หัวขอ

1 สวนของตัวโปรแกรมหลัก

1.1 รูปแบบและลักษณะของโปรแกรมนาสนใจ

1.2 คําศัพทและขอความตางๆ ของโปรแกรมเขาใจงาย

1.3 โปรแกรมใชงานงาย

1.4 สามารถเรียนรู และเขาใจจากโปรแกรมไดด ี

1.5 สามารถจดจําขั้นตอนการประกอบตางๆได

2 สวนของเสียงบรรยายและดนตรีประกอบ

2.1 เสียงบรรยายชัดเจนและเหมาะสม

2.2 ดนตรีประกอบชัดเจนและเหมาะสม

3 สวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรม

3.1 พื้นหลังของโปรแกรมเหมาะสม

3.2 ตัวอักษรอานงาย

3.3 ขนาดของตัวอักษรเหมาะสม

3.4 สีของตัวอักษรเหมาะสม

4 สวนของความพึงพอใจท่ีมีตอโปรแกรม

4.1 สมควรนําโปรแกรมนี้มาใชงานจริง

4.2 เปนตนแบบของระบบการสอนรูปแบบใหมท่ีดี

หมายเหตุ

สาํหรบัตัวอยางของแบบสอบถามรูปแบบสมบูรณไดแสดงไวท่ีภาคผนวก ข

Page 43: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

บทที่ 4

การทดลองและผลการทดลอง

4.1 การทดลองสรางเมนูหลกัของโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

วัตถุประสงค

- เพื่อสรางเมนูหลกัของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

วธิกีารทดลอง

- ออกแบบเมนูหลกัของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

- ใชโปรแกรม Adobe Photoshop สรางเมนูหลักของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

ภาพจากการทดลอง

จากการทดลองสรางเมนูหลักโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือแสดงผลดังรูปท่ี 4.1

รูปท่ี 4.1 เมนูหลักโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

Page 44: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

32

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสรางเมนูหลักโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ เมนูหลักโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ประกอบดวย 6 เมนู คือ เมนู “เริ่มโปรแกรม ” เปนสวนหลักของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ซึ่งเปน

การจําลองประกอบหัวอานฮารดดิสก, เมนู “แนะนําอุปกรณ” เปนสวนท่ีแนะนําอุปกรณตางๆ ในตําแหนง

HGA Setting, เมนู “ขอควรปฏิบัติ ” เปนสวนท่ีบอกถึงขอปฏิบัติ ขอหามตางๆ , เมนู “วิธีใชโปรแกรม ”

เปนสวนท่ีแนะนําการใชคียบอรดและเมาส ควบคุมโปรแกรม , เมนู “ผูจัดทํา” เปนสวนแนะนําใหรูจักกับ

ผูจัดทําโปรแกรม และเมนู “ออกจากโปรแกรม” ความละเอียดของภาพเมนูหลักท่ีนําไปใชสรางโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือมีขนาด 800 X 600 pixels, 72 ppi ชนิดไฟล .PNG

4.2 การทดลองสรางสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

วัตถุประสงค

- เพื่อสรางสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

วธิกีารทดลอง

- ออกแบบสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมอื

- ใชโปรแกรม Adobe Photoshop สรางสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมือ

ภาพจากการทดลอง

จากการทดลองสรางสวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรมจําลองการใชเครือ่งมอืไดผลการทดลอง

ดังนี้

Page 45: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

33

รูปท่ี 4.2 หนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage

รูปท่ี 4.3 หนาตางทดสอบการหยิบจับชิ้นงาน

Page 46: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

34

รูปท่ี 4.4 หนาตางทดสอบประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage

รูปท่ี 4.5 หนาตางแนะนําอุปกรณ

Page 47: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

35

รูปท่ี 4.6 หนาตางขอควรปฏิบัติ

รูปท่ี 4.7 หนาตางวิธีใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

Page 48: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

36

รูปท่ี 4.8 หนาตางผูจัดทําโครงงาน

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสราง สวนแสดงผลตางๆ ของ โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ แสดงใหเห็นดัง

ภาพจากการทดลอง ความละเอียดของภาพ หนาตางและ เมนูในสวนตางๆ ท่ีนําไปใชสรางโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือมีขนาด 800 X 600 pixels, 72 ppi ชนิดไฟล .PNG

4.3 การทดลองสวนรับอินพตุจากผูใชงาน

วัตถปุระสงค

- เพื่อทดสอบการรับขอมูลหรือควบคุมโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ จากผูใชงานดวย

คียบอรดและเมาส

วธิกีารทดลอง

- ศึกษาคําสั่งการเขียนโปรแกรมรับคาจากคียบอรดและเมาส

- เขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือใหรับคาคียบอรดและเมาส

Page 49: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

37

ภาพจากการทดลอง

จากการทดลองเขียนโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือใหสามารถรับคาจากคียบอรดและเมาสได

แสดงผลดงันี้

- การรับคาและการเคลื่อนยายตําแหนงเมาส

รูปท่ี 4.9 แสดงการรับคาจากเมาส

จากรูปท่ี 4.9 แสดงใหเห็นวาโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือสามารถ รับคาจากเมาส ได โดยท่ี

ภาพดังกลาวแสดงใหเห็นถึงการเคลื่อนยายตําแหนงเมาส ไปยังพิกัดตางๆ รวมไปถึง การแสดงขอความ

ในเมนูหลักท่ีเดนชัดขึ้นเมื่อเมาสเคลื่อนท่ีมายัง พิกัด ท่ีกําหนดไว และยังสามารถคลิกเมาสซายเพื่อ

เปลี่ยนไปยังหนาตางถัดไปตอจากเมนูเหลานี้ได

Page 50: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

38

- การใชเมาสเคลื่อนยายชิ้นงานไปยังตําแหนงพิกัดตางๆ

รูปท่ี 4.10 การใชเมาสเคลื่อนยายชิ้นงานมาพิกัดท่ี 1

รูปท่ี 4.11 การใชเมาสเคลื่อนยายชิ้นงานมาพิกัดท่ี 2

จากรูปท่ี 4.10 และ 4.11 แสดงใหเห็นวาโปรแกรมจําลองการใชเค รื่องมือสามารถ ใชเมาส

เคลื่อนยาย หยิบจับชิ้นงานหรือวัตถุใดๆ ไปยังตําแหนงพิกัดตางๆ ตามความตองการของผู ใชงานได ซึ่ง

การเคลื่อนยาย หยิบจับชิ้นงานหรือวัตถุนั้นทําไดโดยคลิกเมาสซายบนชิ้นงานหรือวัตถุคางไวแลว

เคลื่อนยายเมาสไปยังตําแหนงพิกัดท่ีตองการ และสําหรับการคลิกเมาสขวาเปนการหมุนชิ้นงานหรือวัตถุ

Page 51: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

39

- การใชคียบอรดเปลี่ยนตําแหนงและมุมมองการแสดงผล

รูปท่ี 4.12 การใชคียบอรดเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแบบท่ี 1

รูปท่ี 4.13 การใชคียบอรดเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแบบท่ี 2

จากรูปท่ี 4.12 และ 4.13 แสดงใหเห็นวาโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือสามารถ เปลี่ยน

ตําแหนงมมุมองการแสดงผลได เพื่อสะดวกตอการใชงานและความชัดเจนในการใชโปรแกรมจําลองการ

ใชเครื่องมือในการหยิบจับเคลื่อนยายชิ้นงานหรือวัตถุตางๆ

Page 52: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

40

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสวนรับอินพุตจากผูใชงานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้สามารถรับ คา

และขอมูล ไมวาจะเปนจากคียบอรดและเมาส โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือก็สามารถตอบสนองได

เปนไปตามความตองการของผูใชงานตามท่ีออกแบบไว

4.4 การทดลองสวนการจัดเก็บขอมูลของผูใชงาน

วัตถุประสงค

- เพื่อสรางฐานขอมูลเก็บบันทึกการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือของผูใชงาน

วธิกีารทดลอง

- ออกแบบสวนจัดเก็บขอมูลการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือของผูใชงาน

- ใชโปรแกรม DarkBASIC สรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมื อท่ีมีสวนจัดเก็บขอมูล

ดวย

ภาพจากการทดลอง

จากการทดลอง สรางฐานขอมูลเก็บบันทึกการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือของผูใชงาน

แสดงผลดงันี ้

รูปท่ี 4.14 หนาตางลอกอินเขาทดสอบประกอบชิ้นงาน

Page 53: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

41

รูปท่ี 4.15 หนาตางแสดงการบันทึกขอมูลในดานทดสอบหยิบจับชิ้นงาน

รูปท่ี 4.16 หนาตางแสดงการบันทึกขอมูลในดานทดสอบประกอบชิ้นงาน

Page 54: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

42

รูปท่ี 4.17 ขอมูลท่ีถูกบันทึกอยูในรูปแบบ .txt ไฟล

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสวนการจัดเก็บขอมูลของผูใชงานของโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้สามารถ

จัดเก็บขอมูลการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือได ซึ่งขอมูลท่ีถูกจัดเก็บ ไดแก หมายเลขประจําตัว

ของพนกังาน และ ตําแหนงการใชงาน ณ เวลานั้น ขอมูลการใชงานจะถูกจัดเก็บเมื่อผูใชงานเลือก

“บันทึกขอมูล” โดยขอมูลท่ีเก็บบันทึกจะอยูในรปูของ Text ไฟลดังรูปท่ี 4.17

4.5 การทดลองสวนการตรวจสอบการชนกนัของวตัถุ

วัตถุประสงค

- เพื่อการสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือใหมีความสามารถรับรู และตรวจสอบการ

ชนกันของชิ้นงานได

วธิกีารทดลอง

- ออกแบบสวนการตรวจสอบการชนกันของชิ้นงานในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

- ใชโปรแกรม DarkBASIC สรางสวนตรวจสอบการชนกันของชิ้นงานตามท่ีออกแบบไว

Page 55: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

43

ภาพจากการทดลอง

จากการทดลอ งสรางสวนของการตรวจสอบการชนกันของชิ้นงาน ในโปรแกรมจําลองการใช

เครือ่งมอื แสดงผลดงันี้

รูปท่ี 4.18 การตรวจสอบการชนกันของวตัถุ

จากรูปท่ี 4.18 เปนดานของการทดลองหยิบจับชิ้นงานนี้จะเปนดานทดสอบการใชคียบอรดและ

เมาสหยิบจับเคลื่อนยายวัตถุทรงสี่เหลี่ยม 4 สีนี้เคลื่อนยา ยจากอีกฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่ง และตอง

เคลื่อนยายไปใหตรงกับบล็อกสีท่ีกําหนดไวดวย ถาไมตรงกับสีท่ี กําหนดจะมีการสงเสียงเตือน สําหรับ

ดานนี้ผูใชงานจะตองฝกใชคียบอรดและเมาสจับวัตถุเคลื่อนยายไปยังอีกฝงหนึ่งใหได

รูปท่ี 4.19 การตรวจสอบการชนกันของชิ้นงาน

Page 56: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

44

จากรูปท่ี 4.19 เปนดานของการทดลอง ประกอบชิ้นงาน ท่ีเสมือน กับการประกอบ HGA หรอื

Head Dummy เขากับ Arm Carriage ดานนี้จะเปนดานทดสอบการใชคียบอรดและเมาสหยิบจับ ชิ้นงาน

ท่ีกําหนดไวไปประกอบตามขั้นตอนท่ีเรียนรูมา

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสวน ของการตรวจสอบการชนกันของวัตถุ ในโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือนี้

สามารถสรางสวนต รวจสอบการชนกันของวัตถุ หรือชิ้นงานได โดยท่ีโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

สามารถตรวจสอบการชนของชิ้นงานไดและยังมีการแสดงเสียงหรือขอความขึ้นเตือนในกรณีท่ีวัต ถุหรอื

ชิ้นงานเกิดการชนกันไมเปนไปตามขอกําหนด

Page 57: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

บทที่ 5

สรุปผลโครงงานและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลโครงงาน

จากการศึกษาและทดลอง การสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ โดยเลือกสร างโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือ ตําแหนง HGA Setting ตําแหนงนี้ทําหนาท่ีประกอบ HGA หรอื Head Dummy

เขากับ Arm Carriage จากการทดลองสวนตางๆ ท่ีนํามาประกอบสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

นั้นก็สําเร็จตามวัตถุประสงค สามารถสรปุผลของโครงงานท้ังหมดไดดงันี้

5.1.1 สามารถสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือท่ีแสดงผลในรูปแบบสามมิติได

5.1.2 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ สามารถทํางานบนระบบ ทํางานบนระบบปฏิบัติการ

Windows XP ท่ีติดต้ัง DirectX 8.0 ขึ้นไปได

5.1.3 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ สามารถโตตอบกับผูใชงาน ไดตามคําสั่งท่ีผู ใชงานปอนเขา

มาผานทางคียบอรดและเมาส

5.1.4 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือสามารถเก็บบันทึกขอมูลท่ีเปนหมายเลขประจําตัวของ

ผูใชงาน และตําแหนงการใชงาน ณ เวลานั้นเมื่อผูใชงานเลือก “บันทึกขอมูล” ขอมูลท่ีเก็บบันทึกจะอยูใน

รปูของ Text ไฟล

5.1.5 เมื่อมีวัตถุต้ังแต 2 ชิ้นขึ้นไปมาสัมผัสกัน ในสวนของโปรแกรมสามารถตรวจสอบการชนกัน

ของวตัถุได มีการแสดงเสียงหรือมีขอความเตือนเมื่อมีการสัมผัสกันของวัตถุท่ีไมตองการใหสัมผัสกัน

5.1.6 แอนิเมชั่น ตางๆ ท่ีสรางขึ้นมาประกอบรวมกับโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ สามารถ

ทํางานราบรื่น เชน แอนิเมชั่น ท่ีสอนประกอบชิ้นงาน สามารถแสดงผลทีละ ขั้นตอน ของการประกอบ

ชิ้นงานไดหรือจะใหแสดงผลแบบตอเนื่องกันนั้นก็สามารทําได

นอกจากการทดลองในสวนตางๆ ตาม ท่ีออกแบบและกําหนดไวแลว ยังมีการจัดทํา

แบบสอบถามการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ซึ่งไดนําแบบสอบถามตามท่ีออกแบบไว นําไปใช

สอบถามพนักงานบริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี่ (2008) จํากัด มหาชน จํานวน 40 คน จากการสอบถามดวย

แบบสอบถามแสดง ผลดังรูปท่ี 5.1 และรายละเอียดการเลือกตอบแบบสอบถามคิดเปนเปอรเซ็นตดัง

ตารางท่ี 5.1

หมายเหตุ

สําหรับแบบสอบถามรูปแบบสมบูรณ ไดแสดงไวท่ีภาคผนวก ข

Page 58: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

46

รูปท่ี 5.1 กราฟแสดงการประเมินแบบสอบถามการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ตาราง 5.1 ตารางแสดงการประเมินแบบสอบถามการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

ระดับความพึงพอใจ

ขอ หัวขอ จํานวนคน-เปอรเซ็นต (%)

มากท่ีสุด สูง ปานกลาง ตํ่า ตํ่ามาก

1 สวนของตัวโปรแกรมหลัก

1.1 รูปแบบและลักษณะของโปรแกรมนาสนใจ 87.5 12.5 - - -

1.2 คําศัพทและขอความตางๆ ของโปรแกรมเขาใจงาย 85 10 5 - -

1.3 โปรแกรมใชงานงาย 75 22.5 2.5 - -

1.4 สามารถเรียนรู และเขาใจจากโปรแกรมไดด ี 95 5 - - -

1.5 สามารถจดจําขั้นตอนการประกอบตางๆได 80 20 - - -

2 สวนของเสียงบรรยายและดนตรีประกอบ

2.1 เสียงบรรยายชัดเจนและเหมาะสม 72.5 25 2.5 - -

2.2 ดนตรีประกอบชัดเจนและเหมาะสม 82.5 12.5 5 - -

3 สวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรม

3.1 พื้นหลังของโปรแกรมเหมาะสม 75 25 - - -

3.2 ตัวอักษรอานงาย 62.5 37.5 - - -

3.3 ขนาดของตัวอักษรเหมาะสม 70 25 5 - -

3.4 สีของตัวอักษรเหมาะสม 80 20 - - -

4 สวนของความพึงพอใจท่ีมีตอโปรแกรม

4.1 สมควรนําโปรแกรมนี้มาใชงานจริง 100 - - - -

4.2 เปนตนแบบของระบบการสอนรูปแบบใหมท่ีดี 95 5 - - -

Page 59: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

47

5.2 ปญหาที่พบในการทําโครงงาน

5.2.1 คูมือและเอกสารวิธีการใชโปรแกรม DarkBASIC มีนอย ทําใหการนําโปรแกรม DarkBASIC

มาใชสรางโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมีการติดขัดในสวนของการเขียนโปรแกรม

5.2.2 การเขียนโปรแกรม จําลองการใชเครื่องมือ ใหไดผลเปนไปตามท่ีตองการ ตองใชเวลาในการ

ตรวจสอบ ทดลอง แกไข และพัฒนาคําสั่ง เพื่อขจัดปญหาขอผิดพลาด

5.2.3 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ มีขอจํากัดของการใชงานในสวนของการหยิบจับชิ้นงานมา

ประกอบกันซึ่งทําไดคอนขางยาก ตองใชทักษะความชํานาญในการควบคุมคียบอรดและเมาสสูง

5.2.4 โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือมีขอจํากัดในบางสวนท่ีทํางานชา เพราะตองเสียเวลาในการ

โหลดขอมูลท่ีมีขนาดใหญขึ้นมาแสดงผลมาก

5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ในการพัฒนา โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ควรขอคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญในเรื่องของ

ภาษาหรือโปรแกรมท่ีใชในการเขียนโปรแกรมโดยตรง

5.3.2 ในการพัฒนาโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือใหมีความเสมือจริงมากยิ่งขึ้นควรมีอุปกรณรับ

ขอมูลท่ีดีกวาเมาสและคียบอรด

5.3.3 ในการศึกษาและพัฒนาโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นถา

สามารถสรางโปรแกรมท่ีสามารถทํางานแบบออนไลนได รวมท้ังการศึกษาขอมูลตางๆ ทําแบบทดสอบ

ดผูลการทดสอบ หรือแสดงขอมูลตางๆ แบบออนไลนไดดวยยิ่งดีมาก

5.3.4 ในการนํา โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ไปใชงานจริง ควรคํานึงถึงกลุมผูใชงาน และ

ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอรท่ีจะนําโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือไปติดต้ังดวย

5.3.5 ควรสรางภาพสามมิติท่ีมี Polygon นอยท่ีสุด

5.3.6 ลดขนาดไฟลตางๆ ท่ีไมจําเปนในโปรแกรมลงเพื่อการประมวลผลท่ีเร็วขึ้น

Page 60: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

48

เอกสารอางอิง

[1] 1J.S. Harbour, J.R. Smith, T. Watanabe, Beginner's Guide to DarkBASIC Game

Programming, Ohio: Premier Press, 2003.

[2] A. Stewart, Hands On DarkBASIC Pro Volume 1, United States: Digital Skills, 2004.

[3] วศิน ภิรมย, แนวทางการออกแบบและพัฒนาเกมสสามมิติ , กรงุเทพฯ : สมาคมพัฒนาเกมสไทย ,

2546.

[4] สรชัย พิศาลบุตร และปรีชา อัศวเดชานุกร , การสรางและประมวลผลขอมูลจากแบบสอบถาม ,

กรงุเทพฯ: จูนพับลิชชิ่ง, 2549.

[5] พิชญา ตัณฑัยย 1

http://fivedots.coe.psu.ac.th/~pichaya/pdss/pdss02Intro.doc [สงิหาคม 2551].

, “หลักการทํางานพื้นฐานของระบบ Simulation,” fivedots.coe.psu.ac.th,

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2550. [Online]. แหลงท่ีมา:

Page 61: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

ภาคผนวก

Page 62: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

50

ภาคผนวก ก

คณุสมบัตขิองโปรแกรม DarkBASIC

โปรแกรม DarkBASIC เปนโปรแกรมหนึ่งท่ีมีคุณสมบัติท่ีสูงมากๆ ท่ีสําคัญ ยังมี แพคเกจ

อเนกประสงคใหเลือกใชมากมายและรองรับไฟลขอมูลไดหลากหลายรูปแบบ

คุณสมบัติท่ัวๆ ไปของโปรแกรม DarkBASIC

• All programs made with DarkBASIC Professional are License and Royalty Free

• Save your programs as stand-alone EXE files

• 6 2D Image Formats Supported

• 5 3D Object File Formats Supported

• Includes an electronic Manual

• Over 1000 game orientated commands

• Windows based Integrated Development Environment (IDE)

• Brand new Compiler produces 100% Machine Code

• Encrypt and Compress your EXE files

• Expandable - write your own DLLs with the free SDK

• Binary Space Partioning (BSP) Support

• Potential Visibility Set (PVS)

• Nodetree Optimisation

• Bump Mapping

• Light Mapping

• Environment Mapping

• Sphere Mapping

• Cubic Mapping

• Multi-texturing

• Bone Based Animations

• Pixel and Vertex Shaders

• Cartoon Shading

• Rainbow Rendering

• Code your own Shaders

• Vector and Matrix Manipulation

• Real Time Shadows

• True Reflections

Page 63: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

51

• Lights (Omni, Spot, Directional)

• Matrices and Terrains

• Particle System

• Extremely fast 2D Sprites

• Polygon Collision and Response

• Create Multi-player Games (Lan and Internet)

• Fully Windows XP compliant

• Integrated Debugger

• Breakpoints, Step-Thru Mode and Variable Tracking

• 3D Studio and Direct X Object Support

• Sprite support including flipping, scaling and collision

• Set and control sounds in 3D space

• Load, Play and Loop Music files

• Load, Play and control Video Animations or DVD Streams

• Control 3D Fog depth, distance and colour

• Full Object Rotation control

• Control Object Limbs (direction, angle, rotation, size)

• Create and Delete Object Meshes

• Global or Object based automatic 3D Collision Detection

• Automatic Camera and Camera to Object Orientation Commands

• Create, Position and Colour Lights

• Build, Texture and Map Matrix Landscapes

• System Test Commands let you check for compatibility

รูปแบบไฟลขอมูลตางๆ ท่ีโปรแกรม DarkBASIC รองรบั

ตารางท่ี ก.1 File Formats Supported For DarkBASIC

File Format Name Load Save

2D Image – BMP BMP Yes Yes

2D Image - Device Independant Bitmap DIB Yes Yes

2D Image - Portable Network Graphics PNG Yes

2D Image – JPEG JPG Yes Yes

2D Image - DirectDraw Surface DDS Yes Yes

2D Image – Targa TGA Yes

Page 64: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

52

3D Object - 3D Studio 3DS Yes

3D Object – DirectX X Yes Yes

3D Object – MDL MDL Yes

3D Object - MD2 MD2 Yes

3D Object - MD3 MD3 Yes

BSP World Support Quake 2 Yes

BSP World Support Quake 3 Yes

BSP World Support Half Life Yes

Sound - Wave File WAV Yes Yes

Sound - Windows Media Audio WMA Yes

Sound - Windows Media Audio AIFF Yes

Sound - Windows Media Audio AU Yes

Sound - Windows Media Audio SND Yes

Sound - Mpeg Layer 3 MP3 Yes

Music - MIDI playback MIDI Yes

Music - CD Audio Tracks CD-Audio Yes

Animation AVI Yes

Animation MPEG Yes

Animation - From DVD DVD* Yes

Animation Indeo Yes

Animation Cinepak Yes

Page 65: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

53

ภาคผนวก ข

แบบสอบถามโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ (Equipment Simulator)

แบบสอบถาม

การใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ (Equipment Simulator)

1. ขอมูลท่ัวไปของบคุลากร

กรุณาเขียนเครื่องหมาย ลงใน ( ) หนาขอความท่ีตรงกับลักษณะของตัวทานเอง

1.1 เพศ

( ) ชาย ( ) หญิง

1.2 อายุ

( ) ต้ังแต 20 ปลงมา ( ) 21-30 ป

( ) 31-40 ป ( ) 41-50 ป

( ) 51-60 ป

1.3 ระดับการศึกษา

( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมตน

( ) มัธยมปลาย ( ) ปริญญาตร ี

( ) ปริญญาโท ( ) สูงกวาปริญญาโท

1.4 ตําแหนงงาน

( ) พนักงาน ( ) ผูบริหารระดับลาง

( ) ผูบริหารระดับกลาง ( ) ผูบริหารระดับสูง

( ) ตําแหนงอ่ืน ๆ (ระบ)ุ ____________

1.5 สถานภาพสมรส

( ) โสด ( ) สมรส

( ) อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ____________

1.6 ระยะเวลาท้ังหมดท่ีทํางานอยูในหนวยงานนี้

( ) 1-2 ป ( ) 3-4 ป

( ) 5-6 ป ( ) 7-9 ป

( ) ต้ังแต 10 ปขึ้นไป

Page 66: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

54

2. ความคิดเห็นท่ีมีตอการใชโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ (Equipment Simulator)

กรุณาเขียนเครื่องหมาย ลงในชองระดับความพึงพอใจท่ีมีตอการใชโปรแกรมจําลองการใช

เครื่องมอื (Equipment Simulator)

ระดับความพึงพอใจ

ขอ หัวขอ 5 4 3 2 1

มากท่ีสุด สูง ปานกลาง ตํ่า ตํ่ามาก

1 สวนของตัวโปรแกรมหลัก

1.1 รูปแบบและลักษณะของโปรแกรมนาสนใจ

1.2 คําศัพทและขอความตางๆ ของโปรแกรมเขาใจงาย

1.3 โปรแกรมใชงานงาย

1.4 สามารถเรียนรู และเขาใจจากโปรแกรมไดด ี

1.5 สามารถจดจําขั้นตอนการประกอบตางๆได

2 สวนของเสียงบรรยายและดนตรีประกอบ

2.1 เสียงบรรยายชัดเจนและเหมาะสม

2.2 ดนตรีประกอบชัดเจนและเหมาะสม

3 สวนแสดงผลตางๆ ของโปรแกรม

3.1 พื้นหลังของโปรแกรมเหมาะสม

3.2 ตัวอักษรอานงาย

3.3 ขนาดของตัวอักษรเหมาะสม

3.4 สีของตัวอักษรเหมาะสม

4 สวนของความพึงพอใจท่ีมีตอโปรแกรม

4.1 สมควรนําโปรแกรมนี้มาใชงานจริง

4.2 เปนตนแบบของระบบการสอนรูปแบบใหมท่ีดี

ขอเสนอแนะ

............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

Page 67: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

55

ภาคผนวก ค

คูมือการติดต้ังและการใชโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ (Equipment Simulator)

ข้ันตอนการติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

1. หลงัจากท่ีติดตอขอรับโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือจากผูจัดทําวิจัยหรือหนวยงานท่ี

เก่ียวของแลว จะสังเกตเห็นตัวติดต้ังโปรแกรมชื่อ “setup.exe” จากนั้น Double Click ท่ีไฟล setup.exe

ดังรูปท่ี ค.1

รูปท่ี ค.1 ตัวติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

2. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง Welcome แสดงการตอนรับเพื่อติดต้ัง

โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ใหกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.2

รูปท่ี ค.2 หนาตาง Welcome

Double Click

Click ปุม Next

Page 68: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

56

Click ปุม Next

3. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง License Agreement ใหเรายอมรับ

ขอตกลงการติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือใหเลือก I agree … จากนั้นกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.3

รูปท่ี ค.3 หนาตาง License Agreement

4. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตางใหใส Serial Number ใหเรา Copy Serial

Number ท่ีอยูในไฟล “Serial Number.txt” มาวางในชองวาง จากนั้นกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.4

รูปท่ี ค.4 หนาตาง Serial Number

Copy Serial Number มาวางใน

Click ปุม Next

เลือก I agree ...

Page 69: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

57

Click ปุม Next

Click ปุม Next

5. หลงัจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง User Information ใหเราใสขอมูล

ผูใชงานโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือท่ีตองการลงในชองวาง จากนั้นกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.5

รูปท่ี ค.5 หนาตางขอมูล User Information

6. หลังจากท่ีระบบการติดต้ังโปรแกรมแสดงหนาตาง Installation Folder เลือกตําแหนงท่ี

ติดต้ัง ใหเรากดท่ีปุม Change เพื่อเปลี่ยนตําแหนงท่ีติดต้ังหากตองการเปลี่ยน จากนั้นกดปุม Next ดัง

รูปท่ี ค.6

รูปท่ี ค.6 หนาตาง Installation Folder

Page 70: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

58

Click ปุม Next

Click ปุม Next

7. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง Shortcut Folder ใหเราเปลี่ยน

ขอมูลหากตองการเปลี่ยน จากนั้นกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.7

รูปท่ี ค.7 หนาตาง Shortcut Folder

8. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง Ready to Install แสดงขอมูลท่ีเราเลือก

กําหนดไวกอนหนานี้ ใหเราตรวจสอบความถูกตอง จากนั้นกดปุม Next ดังรูปท่ี ค.8

รูปท่ี ค.8 หนาตาง Ready to Install

Page 71: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

59

Click ปุม

Click ปุม Cancel

9. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง Installing Equipment Simulator ใหเรา

รอการติดต้ังจนเสร็จ หากตองการยกเลิกการติดต้ังกดปุม Cancel ดังรูปท่ี ค.9

รูปท่ี ค.9 หนาตาง Installing Equipment Simulator

10. หลังจากท่ีระบบการติดตั้งโปรแกรมแสดงหนาตาง Installation Successful แสดงวา

ขั้นตอนการติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือเสร็จสมบูรณ จากนั้นกดปุม Finish เพื่อออกสูหนาจอ

ปกติ ดังรูปท่ี ค.10

รูปท่ี ค.10 หนาตาง Ready to Install

Page 72: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

60

ข้ันตอนการใชงานโปรแกรมจําลองการใชเคร่ืองมือ

1. หลงัจากท่ีติดต้ังโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือเสร็จสมบูรณแลว จากนั้นใหไปท่ี ปุม Start

ตอจากนั้นไปท่ี All Programs และไปท่ี Equipment Simulator เลือกท่ี Equipment Simulator เพื่อเขาสู

โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ดังรูปท่ี ค.11

รูปท่ี ค.11 ตัวรันโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ

2. หลังจากสั่งรันโปรแกรมแลว จะมีการโหลดเขาสูโปรแกรมและเขาสูเมนูหลักของโปรแกรม

จําลองการใชเครื่องมือ ซึ่งประกอบดวย 6 เมนูใหเราเลือกเมนูท่ีตองการเขาใชงาน ดังรูปท่ี ค.12

รูปท่ี ค.12 เมนูหลักของโปรแกรมจําลองการใชเครือ่งมอื

Page 73: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

61

3. โดยท่ีเมนู ”เริ่มโปรแกรม” หลงัจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะพบกับหนาตาง Login ใหทาํการ

กรอกหมายเลขประจําตัวของพนักงาน แลวระบบจะเขาสูส วนของแนะนําขั้ นตอนการประกอบ ชิ้นงาน

ตอไปดังรูปท่ี ค.13

รูปท่ี ค.13 หนาตาง Login

4. หลงัจากหนาตาง Login แลวจะเขาสูหนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head

Dummy เขากับ Arm Carriage แสดงดังรูปท่ี ค.14

รูปท่ี ค.14 หนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage

Page 74: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

62

5. หลงัจากหนาตางแนะนําขั้นตอนการประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm

Carriage แลวจะเขาสูหนาตางทดสอบการหยิบจับชิ้นงาน แสดงดังรูปท่ี ค.15

รูปท่ี ค.15 หนาตางทดสอบการหยิบจับชิน้งาน

6. จากหนาตางทดสอบการหยิบจับ แลวจะเขาสูหนาตางประกอบ HGA หรอื Head Dummy

เขากับ Arm Carriage แสดงดังรูปท่ี ค.16

รูปท่ี ค.16 หนาตางทดสอบประกอบ HGA หรอื Head Dummy เขากับ Arm Carriage

Page 75: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

63

7. โดยท่ีเมนู ”แนะนําอุปกรณ” หลังจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะพบกับหนาตางการแนะนําอุปกรณ

ท่ีสําคัญในตําแหนง HGA Setting ซึ่งประกอบดวย Part ท่ีใช ณ ตําแหนงงาน 4 Part และอุปกรณ ณ

ตําแหนงงาน 17 อุปกรณ ดังรูปท่ี ค.17

รูปท่ี ค.17 หนาตางแนะนําอุปกรณ

8. โดยท่ีเมนู ”ขอควรปฏิบัติ” หลังจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะพบกับหนาตางขอควรปฏิบัติ ซึ่ง

หนาตางนี้จะประกอบไปดวย การใช HGA Tray 21 หัวขอ, การทํางานท่ีไมเปนไปตามขอกําหนด 29

ลกัษณะ และลักษณะงานเสีย 4 ลกัษณะ เปนขอควรปฏิบัติท่ีสําคัญๆ ในตําแหนง HGA Setting

ดังรูปท่ี ค.18

รูปท่ี ค.18 หนาตางขอควรปฏบิตั ิ

Page 76: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

64

9. โดยท่ีเมนู ”วิธีใชโปรแกรม” หลังจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะพบกับหนาตางวิธีใชโปรแกรมซึ่ง

หนาตางนี้จะแสดงวิธีใชคียบอรดและเมาสควบคุม โปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ ดังรูปท่ี ค.19

รูปท่ี ค.19 หนาตางวิธีใชโปรแกรม

10. โดยท่ีเมนู ”ผูจัดทํา” หลังจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะพบกับหนาตางเมนูผูจัดทําซึ่งหนาตางนี้จะ

แนะนําผูจัดทําโปรแกรมจําลองการใชเครื่องมือ และผูสนับสนุนโครงงาน ดังรูปท่ี ค.20

รูปท่ี ค.20 หนาตางผูจัดทํา

Page 77: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

65

11. และเมนู ”ออกจากโปรแกรม” หลังจากท่ีคลิกเขาไปแลวจะเปนการสั่งปดโปรแกรมจําลอง

การใชเครื่องมือ แลวออกสูหนาจอปกติ

Page 78: ระบบจําลองการใช เครื่องมือ EQUIPMENT SIMULATOR · ii บทคัดย อ ระบบจําลองการใช เครื่องมือ

66

ประวัตผิูทาํโครงงาน

นายรุงโรจน พงษโสภณ ปจจุบันศึกษา ณ คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

มหาวิทยาลัยบูรพา จบการศึกษามัธยมปท่ี 6 จากโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

มีความสนใจ ทางดานคอมพิวเตอรและการสื่อสารโทรคมนาคม

นายวริศ คุมพงษ ปจจุบันศึกษา ณ คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

มหาวิทยาลัยบูรพา จบการศึกษามัธยมปท่ี 6 จากโรงเรียนชลบุรี “สุขบท” จังหวัดชลบุรี มีความสนใจ

ทางดานคอมพวิเตอร การสื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลย ี

นายอาชวิทย ทองคํา ปจจุบันศึกษา ณ คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

มหาวิทยาลัยบูรพา และทํางานอยูท่ี บริษัท ยูเนี่ยนเทคโนโลยี่ (2008) จํากัด มหาชน จบการศึกษาระดับ

ปวส. (ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ) จากวิทยาลัยเทคนิคชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีความสนใจทางดาน

อิเล็กทรอนิกส กลไกเครื่องจักรกลตางๆ และเทคโนโลย ี