การถ่ายโอนภารกิจ การบริหาร...

2
การถ่ายโอนภารกิจ การบริหารจัดการทรัพยากรแร่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ขั้นตอนการดำเนินงานแก้ไขปัญหา รายงานตามรอบระยะเวลา 1. เดือนมกราคม 4. เดือนสิงหาคม 2. เดือนเมษายน 5. เดือนตุลาคม 3. เดือนกรกฎาคม 6. เดือนธันวาคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฝ่ายอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่(กพร.) สำนักบริหารสิ่งแวดล้อม กพร. สำนักอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต ฝ่ายอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดและอบต.หรือเทศบาล บันทึกการ ตรวจสอบร่วม ประสานงานและ ตรวจสอบร่วม แจ้งผล สั่งการ แจ้งผล การแก้ไข แจ้งผลการ สั่งการ กรณีไม่ปฏิบัติตาม มาตรการ และมี ผลกระทบระดับ ปานกลางขึ้นไป โดยให้ระบุรายละเอียด พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ให้ กับ ใครที่สามารถเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ได้บ้าง ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติแร่ มีดังนี1.ในส่วนเทศบาลตำบลและเทศบาลเมืองได้แก่ - นายกเทศมนตรี - ปลัดเทศบาล - ผู้อำนวยการสำนักหรือกองการสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม 2.ในส่วนองค์การบริหารส่วนตำบลได้แก่ - นายกองค์การบริหารส่วนตำบล - ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล - ผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม

Transcript of การถ่ายโอนภารกิจ การบริหาร...

Page 1: การถ่ายโอนภารกิจ การบริหาร ...envi-mining.dpim.go.th/news/ac1-t1306207427.pdf · 2011. 5. 24. · 1.3 การดำเนินงานโครงการป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่ง

การถ่ายโอนภารกิจ การบริหารจัดการทรัพยากรแร่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)

ขั้นตอนการดำเนินงานแก้ ไขปัญหา

รายงานตามรอบระยะเวลา 1.เดือนมกราคม 4.เดือนสิงหาคม2.เดือนเมษายน 5.เดือนตุลาคม3.เดือนกรกฎาคม 6.เดือนธันวาคม

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ฝ่ายอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.)

สำนักบริหารสิ่งแวดล้อม

กพร.

สำนักอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต

ฝ่ายอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด และ อบต. หรือเทศบาล

บันทึกการตรวจสอบร่วม

ประสานงานและตรวจสอบร่วม

แจ้งผล สั่งการ

แจ้งผลการแก้ไข

แจ้งผลการสั่งการ

กรณีไม่ปฏิบัติตามมาตรการและมีผลกระทบระดับปานกลางขึ้นไป

โดยให้ระบุรายละเอียดพื้นที่ที่ ได้รับผลกระทบ

ให้ กับ

ใครที่สามารถเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ได้บ้าง

ผู้ที่ ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติแร่มีดังนี้

1. ในส่วนเทศบาลตำบล และเทศบาลเมือง ได้แก ่ - นายกเทศมนตรี - ปลัดเทศบาล - ผู้อำนวยการสำนักหรือกองการสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม

2. ในส่วนองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก ่ - นายกองค์การบริหารส่วนตำบล - ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล - ผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม

Page 2: การถ่ายโอนภารกิจ การบริหาร ...envi-mining.dpim.go.th/news/ac1-t1306207427.pdf · 2011. 5. 24. · 1.3 การดำเนินงานโครงการป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่ง

ภารกิจที่ 2การดำเนินการตามกฎหมายมีขอบเขตการถ่ายโอน

2เรื่องคือ

2.1 การมีส่วนร่วมให้ความเห็นในการพิจารณาอนุญาต

การดำเนินงานของ อปท. จะปฏิบัติตามคู่มือวิธีการปฏิบัติงานของ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่องการให้ความเห็นในการพิจารณา

อนุญาตประทานบัตรเหมืองแร่ พ.ศ. 2545 ทั้งนี้กำหนดให้ทำเฉพาะ

คำขอประทานบัตรใหม่ สำหรับผลการพิจารณาให้จัดส่งพร้อม

รายงานการประชุมให้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดภายใน45วัน

2.2 การให้ความเห็น/คำแนะนำ และการรายงานข้อเท็จ

จริงต่อผู้มีอำนาจตามกฎหมาย การดำเนินงานของ อปท. จะปฏิบัติ

ตามคู่มือวิธีการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่องการ

ให้ความเห็น/คำแนะนำ และการรายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหา

การร้องเรียนจากการทำเหมืองแร่พ.ศ.2545โดยให้ส่งแบบรายงาน

การตรวจสอบเบื้องต้นให้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดทราบด่วน

แต่หากสามารถแก้ไขได้ให้ดำเนินการแก้ไขและรายงานผลการแก้ไข

ให้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดทราบ

ทั้งนี้การปฏิบัติงานตามข้อ1.1และ2.2อปท.จะต้องได้รับ

การแต่งตั้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นพนักงาน

เจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติแร่ เพื่อให้สามารถเข้าไปตรวจสอบ

ในพื้นที่ประทานบัตรได้

ในปีพ.ศ. 2546 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

ได้ดำเนินการถ่ายโอนภารกิจด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ

ทำเหมืองแร่ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กำหนดไว้ใน

แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหาร

จัดการทรัพยากรแร่และกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) หมายถึง องค์การ

บริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลตำบลหรือเทศบาลเมือง

การถ่ายโอนภารกิจให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ภารกิจที่ถ่ายโอนมี 2 ภารกิจ

ภารกิจที่ 1 การติดตามและตรวจสอบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

และมลพิษในการประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510

มีขอบเขตการถ่ายโอน3เรื่องคือ

1.1 การตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไข

ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการดำเนินงานของอปท.จะปฏิบัติตามคู่มือ

วิธีการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่องการตรวจสอบ

การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม

ในการทำเหมืองแร่พ.ศ.2545และให้อปท.ส่งรายงานให้สำนักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัดภายใน 15 วันหลังจากวันที่ ได้ดำเนินการ

ตรวจสอบกำหนดให้รายงานผล3ครั้ง/ปีภายในวันที่30 เมษายน,

30 สิงหาคม และ 30 ธันวาคม

1.2 การติดตามเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม การดำเนิน

งานของ อปท. จะปฏิบัติตามคู่มือวิธีการปฏิบัติงานขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่องการติดตามเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ในการทำเหมืองแร่ พ.ศ. 2545 และให้ อปท. ส่งรายงาน 2 เรื่อง

ประกอบด้วย รายงานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์

ที่ดินโดยรอบประทานบัตร1ครั้ง/ปีส่งรายงานภายในวันที่ 15 ม.ค.

และรายงานการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม 4 ครั้ง/ปี กำหนดให้

รายงานภายในวันที่ 15 เมษายน, 15 กรกฎาคม, 15 ตุลาคม และ

15 มกราคม

1.3 การดำเนินงานโครงการป้องกันแก้ ไขปัญหาสิ่ง

แวดล้อม และโครงการฟื้นฟูพื้นที่ทำเหมืองแร่ องค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นสามารถดำเนินการโดยตั้งงบประมาณเพื่อดำเนินโครงการได้

เอง ทั้งนี้ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่จะเป็นผู้ ให้

คำปรึกษา

แบบรายงาน เดือน

ม.ค. เม.ย. ก.ค. ส.ค. ต.ค. ธ.ค.

การตรวจสอบ มาตรการป้องกัน

วันที่ 30 วันที่

30 วันที่ 30

การเฝ้าระวัง คุณภาพ สวล.

วันที่ 15

วันที่ 15

วันที่ 15 วันที่

15

การเปลี่ยนแปลง สภาพการใช้ที่ดิน

วันที่ 15

ตารางกำหนดการส่งรายงาน