รายงานสืบเนื่อง¸„รุ...1 รายงานส บเน อง...

666

Transcript of รายงานสืบเนื่อง¸„รุ...1 รายงานส บเน อง...

  • 1

    รายงานสืบเน่ือง การประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ (Conference Proceedings)

    ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2: 2559 (National Academic Conference on Education: NACE 2016)

  • 2

    2

  • 3

    คํานํา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง มีความภูมิใจและยินดีเป็นอย่างย่ิงที่ได้มีส่วนร่วมในการสรรค์สร้างสังคมให้เป็นสังคมอุดมปัญญา ด้วยการจัดโครงการ “การนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย 2559” ในครั้งน้ี อันถือเป็นการจัดประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยครั้งที่สองของคณะครุศาสตร์ และเป็นการจัดงานในระดับชาติเป็นครั้งแรก ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากบุคลากรทางการศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ และนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ดังปรากฏเป็นผลงานวิจัยในเล่มที่ท่านถืออยู่ขณะนี้ การดําเนินงานจะประสบความสําเร็จมิได้ หากปราศจากความร่วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงในความร่วมมือของทุกฝ่าย ทั้งในส่วนผู้จัดและผู้เข้าร่วมงาน ที่ได้เสียสละกําลังกาย กําลังใจ ความคิด เวลา และทรัพยากรต่างๆ เพ่ือการส่งเสริมพัฒนาการศึกษาของชาติ ด้วยความตระหนักในความสําคัญของการวิจัย และร่วมเป็นส่วนหน่ึงของการสรรค์สร้างสังคมให้เป็นสังคมอุดมปัญญา อันเป็นจุดหมายปลายทางของการจัดการศึกษาที่ทุกภาคส่วนต่างมุ่งหวัง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ประมวลบทความวิจัยที่สืบเน่ืองจากการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย 2559 เล่มนี้ จะเป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาความก้าวหน้าในองค์ความรู้ทางการศึกษา รวมทั้งเป็นประโยชน์แก่การศึกษาของผู้ที่สนใจและสังคมส่วนรวมได้ตามสมควรสืบไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    2

    3

  • 4

    4

  • 5

    สารจากอธิการบดี มหาวทิยาลัยราชภัฏลาํปาง

    การศึกษาเป็นหัวใจของชาติ เป็นการสร้างและพัฒนาคนเพ่ืออนาคตของประเทศ คํากล่าวข้างต้นสะท้อนถึงความสําคัญของการศึกษาต่อการพัฒนาชาติ แต่ในปัจจุบันภาพรวมของการศึกษาไทยยังเป็นปัญหามาก เมื่อพิจารณาจากภาพสะท้อนคุณภาพของเด็กไทย ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นเร่งด่วน ที่ต้องมีการปฏิรูปการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนอย่างย่ังยืน การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนจึงจําเป็นต้องให้ความสําคัญกับการจัดการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยบุคคลที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนมากที่สุดคือ ครู ด้วยเหตุนี้ สิ่งที่สําคัญที่สุดที่ครูต้องพัฒนา คือ ปรับและพัฒนานวัตกรรมด้านวิธีการสอนของตนให้มีคุณภาพ ยึดการพัฒนาผู้เรียนเป็นหลัก และใช้เวลาในการสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างมีคุณค่าและเกิดคุณภาพต่อตัวผู้เรียน การที่คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ร่วมกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และคณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ ร่วมกันจัดประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2 ในระหว่างวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2559 โดยมีจุดเน้นในส่วนของการวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษา และมีการเรียนเชิญวิทยากรจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) มาร่วมแบ่งปันแนวคิดและแนวทางในการพัฒนาโครงการวิจัยจากผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในระดับชาติ นับเป็นเรื่องที่ดีมีคุณค่าต่อการพัฒนาระบบการศึกษาของท้องถ่ินและสังคมเป็นอย่างยิ่ง การจัดประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติในครั้งนี้ จะเป็นเวทีในการนําเสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และงานสร้างสรรค์ของบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษาในท้องถ่ิน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าทุกท่านที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม จะร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนําประสบการณ์ที่ดีไปใช้ในการพัฒนางานด้านการศึกษาและก่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษาระหว่างนักวิชาการในมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาต่อไป

    (รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ สายธนู) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    4

    5

  • 6

    สารจากคณบดีคณะครุศาสตร ์มหาวทิยาลัยราชภัฏลาํปาง

    คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลิตและพัฒนาครูมอือาชีพ สร้างสรรค์งานวิจัยและพัฒนาบริการวิชาการทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น โดยมีพันธกิจด้านการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ทางการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการและการใช้ประโยชน์ของท้องถ่ิน โดยการบูรณาการงานวิจัยเข้ากับการเรียนการสอนและ/หรือการบริการวิชาการ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาทั้งในด้านงานวิจัย และงานวิชาการ คณะครุศาสตร์ได้ก่อต้ังมาพร้อมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎลําปางมาจนถึงบัดน้ีเป็นเวลา 45 ปี ซึ่งได้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและครูมืออาชีพให้แก่ท้องถิ่นและสังคมมาตลอดระยะเวลาดังกล่าว ดังน้ัน เพ่ือเป็นการนําเสนอและเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษาที่เป็นเครือข่ายการผลิตและพัฒนาครูในท้องถ่ินและพ้ืนที่ใกล้เคียง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ร่วมกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และคณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ จึงได้จัดประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2 ในระหว่างวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2559เพ่ือให้เป็นเวทีในการนําเสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และงานสร้างสรรค์ ซึ่งจะทําให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และความร่วมมือทางด้านการศึกษาของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในท้องถิ่น การจัดประชุมในครั้งนี้จะช่วยกระตุ้นในครูและนักศึกษาครูในท้องถิ่นและพ้ืนที่ใกล้เคียงเกิดแรงบันดาลใจ เกิดความภาคภูมิใจในวิชาชีพ ตระหนักและเห็นความสําคัญในการผลิตและเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ หรือผลงานสร้างสรรค์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในอนาคต ซึ่งนอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ วิชาชีพ ของครูและบุคลากรทางการศึกษา และยังส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง นําไปสู่ความสําเร็จในการปฏิรูปการเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 อย่างงดงาม “45 ปี คณะครุศาสตร์ สร้างคุณประโยชน์ทางการศึกษา เพ่ิมคุณค่าทางวิชาการ พัฒนาผลงานวิจัย สู่การใช้นวัตกรรม” (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล) คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    6

  • 7

    ผู้จัดทํารวมบทความวิจยัจากการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจยั ครั้งท่ี 2: 2559

    ระหว่างวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    ที่ปรึกษา

    รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ สายธนู อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักด์ิ สมุทธารักษ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพนันท์ สุขสมบูรณ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรักษ์ ชัยเสนา รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์จําลอง คําบุญชู รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริเยศ สิทธิสรวง รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    เจ้าของ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง กองบรรณาธิการ

    1. ศาสตราจารย์ ดร.สําเริง บุญเรืองรัตน์ 2. ศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน ์ 3. ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข 5. รองศาสตราจารย์ ดร.วารีรัตน์ แก้วอุไร 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร์ เด่ียววิไล 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย สุขจิตต์ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ เอ่ียมอดุลย์ 13. อาจารย์ ดร.ปรารถนา โกวิทยางกูร 14. อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ รัตนศิริณิชกลุ 15. อาจารย์ ดร.ณัฐพล แจ้งอักษร

    6

    สารจากคณบดีคณะครุศาสตร ์มหาวทิยาลัยราชภัฏลาํปาง

    คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลิตและพัฒนาครูมอือาชีพ สร้างสรรค์งานวิจัยและพัฒนาบริการวิชาการทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น โดยมีพันธกิจด้านการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ทางการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการและการใช้ประโยชน์ของท้องถิ่น โดยการบูรณาการงานวิจัยเข้ากับการเรียนการสอนและ/หรือการบริการวิชาการ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาทั้งในด้านงานวิจัย และงานวิชาการ คณะครุศาสตร์ได้ก่อต้ังมาพร้อมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎลําปางมาจนถึงบัดน้ีเป็นเวลา 45 ปี ซึ่งได้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและครูมืออาชีพให้แก่ท้องถิ่นและสังคมมาตลอดระยะเวลาดังกล่าว ดังน้ัน เพ่ือเป็นการนําเสนอและเผยแพร่ผลงานของคณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษาที่เป็นเครือข่ายการผลิตและพัฒนาครูในท้องถ่ินและพื้นที่ใกล้เคียง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ร่วมกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และคณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ จึงได้จัดประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2 ในระหว่างวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2559เพ่ือให้เป็นเวทีในการนําเสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และงานสร้างสรรค์ ซึ่งจะทําให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และความร่วมมือทางด้านการศึกษาของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในท้องถิ่น การจัดประชุมในครั้งนี้จะช่วยกระตุ้นในครูและนักศึกษาครูในท้องถิ่นและพ้ืนที่ใกล้เคียงเกิดแรงบันดาลใจ เกิดความภาคภูมิใจในวิชาชีพ ตระหนักและเห็นความสําคัญในการผลิตและเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ หรือผลงานสร้างสรรค์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในอนาคต ซึ่งนอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ วิชาชีพ ของครูและบุคลากรทางการศึกษา และยังส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง นําไปสู่ความสําเร็จในการปฏิรูปการเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 อย่างงดงาม “45 ปี คณะครุศาสตร์ สร้างคุณประโยชน์ทางการศึกษา เพ่ิมคุณค่าทางวิชาการ พัฒนาผลงานวิจัย สู่การใช้นวัตกรรม” (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล) คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

    7

  • 8

    ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ 1. นางสาวอัญชนา ศรีวรรณบุตร 2. นางสาวพวงรัตน์ คมคง สํานักงานกองบรรณาธิการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 119 หมู่ 9 ถ.ลําปาง-แม่ทะ ต.ชมพู อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52100 โทรศัพท์ 054-241303 มือถือ 083-5807665 โทรสาร 054-316748 อีเมล: [email protected] เว็บไซต์ www.edulpru.com หมายเหตุ ทัศนะ แนวคิด และรูปแบบการนําเสนอบทความในเอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมน้ี เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่ละคน

    8

  • 9

    คณะกรรมการพิจารณาบทความวิจยั (Peer Reviewers) การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2: 2559

    1. ศาสตราจารย์ ดร.สําเริง บุญเรืองรัตน์ 2. ศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ 3. ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข 5. รองศาสตราจารย์ ดร.วารีรัตน์ แก้วอุไร 6. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ 7. รองศาสตราจารย์ ดร.นิรัช สุดสังข์ 8. รองศาสตราจารย์ทรงศักด์ิ ปรางวัฒนากูล 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมิตรา ด่านพาณิชย์ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ วัฒนชัย 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ วัฒนาธร 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิรินารถ วัฒนกุล 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร สังเขป 14. อาจารย์ ดร.สุรพล บัวพิมพ์ 15. อาจารย์ ดร.อภิดา รุณวาทย์ 16. อาจารย์ ดร.ธวัชชัย สหพงษ์ 17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา เหล่มตระกูล 18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร ์ เด่ียววิไล 19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย สุขจิตต์ 20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ พรหมขนัธ์ 21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว 22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ 23. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก 24. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ เอ่ียมอดุลย์ 25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิรินารถ วัฒนกุล 26. ผู้ช่วยศาสตาจารย์มณฑา เขียวสอาด 27. อาจารย์ ดร.ดุษฎี สีตลวรางค์ 28. อาจารย์ ดร.เจือจันทร์ วงศ์พลกานันท ์29. อาจารย์ ดร.สมชาย บุญศิริเภสัช 30. อาจารย์ ดร.ปรารถนา โกวิทยางกูร 31. อาจารย์ ดร.สุธิดา พลชํานิ 32. อาจารย์ ดร.สุธิษณา โตธนายานนท์ 33. อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ รัตนศิริณิชกุล 34. อาจารย์ ดร.ดวงพร อุ่นจิตต์

    8

    ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ 1. นางสาวอัญชนา ศรีวรรณบุตร 2. นางสาวพวงรัตน์ คมคง สํานักงานกองบรรณาธิการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 119 หมู่ 9 ถ.ลําปาง-แม่ทะ ต.ชมพู อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52100 โทรศัพท์ 054-241303 มือถือ 083-5807665 โทรสาร 054-316748 อีเมล: [email protected] เว็บไซต์ www.edulpru.com หมายเหตุ ทัศนะ แนวคิด และรูปแบบการนําเสนอบทความในเอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมน้ี เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่ละคน

    9

  • 10

    35. อาจารย์ ดร.ปริญญภาษ สีทอง 36. อาจารย์ ดร.ณัฐพล แจ้งอักษร

    รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒวิพากษ์การนําเสนอบทความวิจัย การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2: 2559

    1. รองศาสตราจารย์ ดร.นิรัช สุดสังข์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.วารีรัตน์ แก้วอุไร 4. รองศาสตราจารย์ทรงศักด์ิ ปรางวัฒนากูล 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ วัฒนชัย 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย สุขจิตต์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร ์ เด่ียววิไล 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ พรหมขนัธ์ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ เอ่ียมอดุลย์ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร สังเขป 14. อาจารย์ ดร.สุรพล บัวพิมพ์ 15. อาจารย์ ดร.อภิดา รุณวาทย์ 16. อาจารย์ ดร.ปรารถนา โกวิทยางกูร 17. อาจารย์ ดร.ดุษฎี สีตลวรางค์ 18. อาจารย์ ดร.เจือจันทร์ วงศ์พลกานันท ์19. อาจารย์ ดร.สมชาย บุญศิริเภสัช 20. อาจารย์ ดร.สุธิดา พลชํานิ 21. อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ รัตนศิริณชิกุล 22. อาจารย์ ดร.ดวงพร อุ่นจิตต์ 23. อาจารย์ ดร.ปริญญภาษ สทีอง 24. อาจารย์ ดร.ณัฐพล แจ้งอักษร

    10

  • 11

    สารบญั คํานาํ ............................................................................................................................................................... 3 สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ............................................................................................ 5 สารจากคณบดีคณะครศุาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ......................................................................... 6 ผู้จัดทํารวมบทความวิจัยจากการประชุมวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ   ครุศาสตรวิ์จัย ครั้งที่ 2: 2559 ................................................................................................................ 7 คณะกรรมการพิจารณาบทความวิจัย (Peer Reviewers) ......................................................................... 9 รายชื่อผู้ทรงคณุวุฒวิพากษก์ารนําเสนอบทความวิจัย ............................................................................... 10  

    การบริหารการศึกษา  การบริหารสถานศึกษาสงักัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 

    เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย กัญจน์รัตน์ สินธุรัตน์ ................................................................................................................ 19 

    การบริหารงานนเิทศภายในของสถานศึกษา สังกัดสาํนกังาน เขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 โดย กิตติภณ สุพรรณกลาง และคณะ ............................................................................................. 30 

    การบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาตามทัศนะของผูบ้ริหารและครู สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ีโดย ณัฐนภา ทองเอีย ...................................................................................................................... 41 

    การบริหารงานอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเอกชนจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดมูลนิธิแห่งสภาครสิตจักรในประเทศไทย โดย นฤมล สายะบุตร และคณะ ...................................................................................................... 53 

    แนวทางพฒันาการดําเนนิงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนบ้านบึงหล่ม อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร โดย นิษากรณ์ เหล่าเขตกิจ .............................................................................................................. 63 

    แนวทางการดาํเนนิงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดย ปภัสรา โพธ์ิอ่อง ....................................................................................................................... 77 

    การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดย เพชรประภาร์ ชุมสาย .............................................................................................................. 89 

    การดําเนินงานจัดทําแผนกลยุทธข์องโรงเรียน สังกัดสาํนักงานเขตพืน้ที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 โดย วสันต์ ทองเงิน.......................................................................................................................... 99 

    10

    35. อาจารย์ ดร.ปริญญภาษ สีทอง 36. อาจารย์ ดร.ณัฐพล แจ้งอักษร

    รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒวิพากษ์การนําเสนอบทความวิจัย การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 2: 2559

    1. รองศาสตราจารย์ ดร.นิรัช สุดสังข์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.วารีรัตน์ แก้วอุไร 4. รองศาสตราจารย์ทรงศักด์ิ ปรางวัฒนากูล 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ วัฒนชัย 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย สุขจิตต์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร ์ เด่ียววิไล 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ พรหมขนัธ์ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนีย์ เอ่ียมอดุลย์ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร สังเขป 14. อาจารย์ ดร.สุรพล บัวพิมพ์ 15. อาจารย์ ดร.อภิดา รุณวาทย์ 16. อาจารย์ ดร.ปรารถนา โกวิทยางกูร 17. อาจารย์ ดร.ดุษฎี สีตลวรางค์ 18. อาจารย์ ดร.เจือจันทร์ วงศ์พลกานันท ์19. อาจารย์ ดร.สมชาย บุญศิริเภสัช 20. อาจารย์ ดร.สุธิดา พลชํานิ 21. อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ รัตนศิริณชิกุล 22. อาจารย์ ดร.ดวงพร อุ่นจิตต์ 23. อาจารย์ ดร.ปริญญภาษ สทีอง 24. อาจารย์ ดร.ณัฐพล แจ้งอักษร

    11

  • 12

    การศึกษาความต้องการในการรับบริการทางการศึกษาสาํหรับนักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง โดย ศิริพรรณ กาจกําแหง และคณะ............................................................................................. 111 

    แนวทางพฒันาการบรหิารงานวิชาการของโรงเรียนคลองลานวิทยา จังหวัดกําแพงเพชร โดย เอกพันธ์ุ ทิพย์นาวา ............................................................................................................... 120 

    การศึกษาปฐมวัย  การพัฒนาทักษะการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ 

    ของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดย ฉัตรวิไล สุรินทร์ชมพู ............................................................................................................. 131 

    เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 

    ข้อมูลรอบตัว สําหรบันักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 โดย กานต์ทิตา ทิพยศ และคณะ ................................................................................................... 147 

    การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธ ีสําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 โดย คณิศร จีก้ระโทก และคณะ ................................................................................................... 160 

    การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อพัฒนาทักษะทางการสื่อสาร เรื่อง สนทนาพาเพลิน สาํหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โดย คณิศร จีก้ระโทก และคณะ .................................................................................................... 167 

    ผลการพัฒนาบทเรียนช่วยสอนด้วยโปรมแกรม Microsoft excel เรื่อง การแก้สมการ สําหรบันักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที ่6 โดย จักรพันธ์ นาทองไชย ............................................................................................................. 175 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เครือขา่ยคอมพิวเตอร์เบื้องต้น โดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ธนากร แสนคํามา และคณะ .................................................................................................. 187 

    ผลการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน โดยการใช้การเรียนการสอนแบบเนน้ความจําด้วยรูปภาพและการแสดงบทบาทสมมุต ิภายใต้โครงการพัฒนาท้องถ่ินโดยใช้ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดบัชั้นมัธยมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลําปาง โดย ธรัช พุทธรักษ์ และคณะ ........................................................................................................ 199

    12

  • 13

    ผลการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นความจําควบคู่ไปกับใช้สื่อผสม เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาท่ี 6 โดย ธริช พุทธรักษ์......................................................................................................................... 216 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพีและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์น่ารู้ สําหรบันักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 3 โดย นฤมล ปูปินตา และคณะ ........................................................................................................ 233 

    การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนมัลติมีเดีย วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรพัยากรธรรมชาติ ตามการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน โดย นิพล สังสทุธิ และคณะ ........................................................................................................... 250 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือขา่ยอินเทอร์เนต็ เพื่อการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การทํางานกับโปรแกรม ProShow Gold ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดย ปรัชญา จนิาวงค์ และคณะ .................................................................................................... 259 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีสอดคล้องกับการเรียนรู ้โดยใช้สมองเปน็ฐาน (Brain-Based Learning: BBL) เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเจรญิเตบิโตของร่างกาย สําหรบันักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 โดย มานะ โสภา และคณะ ............................................................................................................ 275 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เรื่อง การทาํงานของคอมพิวเตอร์ สําหรบันักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 4 โดย มานะ โสภา และคณะ ............................................................................................................ 286 

    การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผ่านเว็บ หน่วยการเรียนรู้ หลักการทํางานของคอมพิวเตอร์ สําหรับนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย ศุภพันธ์ุ สุพรม และคณะ ....................................................................................................... 296 

    การพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรบับริการนักเรียน:  กรณีศึกษาโรงเรียนแชแลพทิยานสุรณ ์โดย วรพงศ์ มาลัยวงษ์ และคณะ .................................................................................................. 311 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร ์หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย สุริฉาย เป็นเอก และคณะ ...................................................................................................... 318 

    การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอรช์่วยสอนแบบเกม สําหรบันักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)  อําเภอเมือง จงัหวัดลําปาง โดย อดิศักด์ิ กําแพงแก้ว และคณะ ............................................................................................... 333

    12

    การศึกษาความต้องการในการรับบริการทางการศึกษาสาํหรับนักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง โดย ศิริพรรณ กาจกําแหง และคณะ............................................................................................. 111 

    แนวทางพฒันาการบรหิารงานวิชาการของโรงเรียนคลองลานวิทยา จังหวัดกําแพงเพชร โดย เอกพันธ์ุ ทิพย์นาวา ............................................................................................................... 120 

    การศึกษาปฐมวัย  การพัฒนาทักษะการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ 

    ของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดย ฉัตรวิไล สุรินทร์ชมพู ............................................................................................................. 131 

    เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 

    ข้อมูลรอบตัว สําหรบันักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 โดย กานต์ทิตา ทิพยศ และคณะ ................................................................................................... 147 

    การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธ ีสําหรบันักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 โดย คณิศร จีก้ระโทก และคณะ ................................................................................................... 160 

    การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อพัฒนาทักษะทางการสื่อสาร เรื่อง สนทนาพาเพลิน สาํหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย คณิศร จีก้ระโทก และคณะ .................................................................................................... 167 

    ผลการพัฒนาบทเรียนช่วยสอนด้วยโปรมแกรม Microsoft excel เรื่อง การแก้สมการ สําหรบันักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที ่6 โดย จักรพันธ์ นาทองไชย ............................................................................................................. 175 

    การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เครือขา่ยคอมพิวเตอร์เบื้องต้น โดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ สําหรบันักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ธนากร แสนคํามา และคณะ .................................................................................................. 187 

    ผลการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน โดยการใช้การเรียนการสอนแบบเนน้ความจําด้วยรูปภาพและการแสดงบทบาทสมมุต ิภายใต้โครงการพัฒนาท้องถ่ินโดยใช้ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดบัชั้นมัธยมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลําปาง โดย ธรัช พุทธรักษ์ และคณะ ........................................................................................................ 199

    13

  • 14

    ภาษาไทย  การวิเคราะหช์ื่อบุคคลกลุ่มชาติพนัธุ์ม้ง หมู่บ้านร่มเกล้า อําเภอแม่จริม จังหวัดน่าน 

    โดย จักรกฤษณ์ อู่ตุ้ม และคณะ .................................................................................................... 349  ภาพสะท้อนสงัคมผา่นเฟซบุ๊คแฟนเพจบนพืน้ที่เสมือนจริง 

    โดย จุฑามาศ ทองแก้ว และคณะ ................................................................................................. 360  วิถีชีวิตกับสายน้ําในประเพณี “ส่งเภา”  

    โดย จุรีรัตน์ บัวแก้ว ...................................................................................................................... 370  กระแสสขุภาพดีในสถานบริการออกกําลงักาย 

    โดย ศิริมาศ ทองลิ้นจี่ และคณะ .................................................................................................... 382 วัดผลและประเมินผลทางการศึกษา  ปัจจัยเชงิสาเหตุที่ส่งผลต่อความสามารถการอ่านภาษาไทยของนักเรยีน 

    วิทยาลัยเทคนคิเชียงราย โดย คชานนท์ พงษ์ธัญการ ............................................................................................................ 393 

    ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชาติพันธุ์ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดเชยีงราย โดย ณิชลกานต์ นิทะโน ................................................................................................................ 406 

    ปัจจัยเชงิสาเหตุที่ส่งผลต่อความรูส้ึกผูกพันในครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จังหวัดเชียงราย โดย นิชลา ศรสีุราษฎร์ .................................................................................................................. 417 

    การพัฒนาตัวชี้วัดคุณลักษณะของครูไทยในศตวรรษที ่21 สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยีงราย เขต 3 โดย นัฐตยา พงษ์เสือ .................................................................................................................... 431 

    ปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรยีนรู้ (LD) โรงเรียนเรียนร่วม สังกัดสํานักงานเขตพืน้ที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต4 โดย พงศกร กากูล ......................................................................................................................... 444 

    โมเดลความสมัพันธเ์ชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นครูมืออาชีพ ในสงักัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดย โย ใจวงค์ ............................................................................................................................... 460 

    ปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อพฤติกรรมการสอนของครูโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ตามแนวปฏิรปูการศึกษา เขตภาคเหนือตอนบน โดย รันฎา เผ่ากันทะ .................................................................................................................... 475

    14

  • 15

    การสังเคราะหผ์ลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558)  ของสถานศึกษาในสังกัด สาํนักงานเขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดย วีราภรณ์ กาใจ ....................................................................................................................... 487 

    การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยทีส่่งผลต่อการมองโลกในแง่ดี ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสงักัดสํานกังานเขตพืน้ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ในจังหวัดเชียงราย โดย ศรัญญา ทะรินทร ์................................................................................................................... 503 

    การวิเคราะหอ์งค์ประกอบเชิงยืนยันตัวบง่ชี้อัตลักษณข์องนักศึกษา วิทยาลัยเทคนคิเชียงราย โดย สรรเพชญ สุขรัตน์ .................................................................................................................. 516 

    หลักสูตรและการสอน  การศึกษาภาษาและวัฒนธรรมไทย เรื่อง “ช้างไทย” สําหรับนักศึกษาชาวจนี 

    โดย XIAN ZHANG ........................................................................................................................ 531  ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขัน้ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทน 

    ในการเรียนวชิาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โดย กิตติยาภรณ์ นามวงศ์พรหม ................................................................................................... 540 

    การพัฒนากระบวนการพัฒนาการคิดแก้ปัญหา เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปญัหาของนักเรยีน สงักัดสาํนักงานเขตพืน้ที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเพชรบูรณ ์โดย ฐิติกานต์ แก้ววิเศษ และคณะ................................................................................................. 551 

    การใชส้ื่อออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษ ของครสูอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา โดย ธนาพันธ์ุ ณ เชียงใหม่ และคณะ ............................................................................................ 562 

    การพัฒนารปูแบบการจัดการเรยีนรู้แบบผสมผสานเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต ในศตวรรษท่ี 21ของนสิิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตสาขาวิชาสุขศึกษา โดย ธัญมา หลายพัฒน์ และคณะ .................................................................................................. 569 

    การพัฒนากระบวนการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ผูเ้รียนเป็นสาํคญัของครู สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเพชรบูรณ ์โดย พรพิมล อ่อนศรี และคณะ ..................................................................................................... 578 

    การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพฒันาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่สาร เรื่อง Happy Vacation โดยใช้รูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) สําหรบันักเรยีนระดบัชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสิงห์คอมพทิยา อําเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ โดย ภัทราพร ใจใหญ ่.................................................................................................................... 590 

    14

    ภาษาไทย  การวิเคราะหช์ื่อบุคคลกลุ่มชาติพนัธุ์ม้ง หมู่บ้านร่มเกล้า อําเภอแม่จริม จังหวัดน่าน 

    โดย จักรกฤษณ์ อู่ตุ้ม และคณะ .................................................................................................... 349  ภาพสะท้อนสงัคมผา่นเฟซบุ๊คแฟนเพจบนพืน้ที่เสมือนจริง 

    โดย จุฑามาศ ทองแก้ว และคณะ ................................................................................................. 360  วิถีชีวิตกับสายน้ําในประเพณี “ส่งเภา”  

    โดย จุรีรัตน์ บัวแก้ว ...................................................................................................................... 370  กระแสสขุภาพดีในสถานบริการออกกําลงักาย 

    โดย ศิริมาศ ทองลิ้นจี่ และคณะ .................................................................................................... 382 วัดผลและประเมินผลทางการศึกษา  ปัจจัยเชงิสาเหตุที่ส่งผลต่อความสามารถการอ่านภาษาไทยของนักเรยีน 

    วิทยาลัยเทคนคิเชียงราย โดย คชานนท์ พงษ์ธัญการ ............................................................................................................ 393 

    ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชาติพันธุ์ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดเชยีงราย โดย ณิชลกานต์ นิทะโน ................................................................................................................ 406 

    ปัจจัยเชงิสาเหตุที่ส่งผลต่อความรูส้ึกผูกพันในครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จังหวัดเชียงราย โดย นิชลา ศรสีุราษฎร์ .................................................................................................................. 417 

    การพัฒนาตัวชี้วัดคุณลักษณะของครูไทยในศตวรรษที ่21 สังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยีงราย เขต 3 โดย นัฐตยา พงษ์เสือ .................................................................................................................... 431 

    ปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรยีนรู้ (LD) โรงเรียนเรียนร่วม สังกัดสํานักงานเขตพืน้ที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต4 โดย พงศกร กากูล ......................................................................................................................... 444 

    โมเดลความสมัพันธเ์ชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นครูมืออาชีพ ในสงักัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดย โย ใจวงค์ ............................................................................................................................... 460 

    ปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อพฤติกรรมการสอนของครูโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ตามแนวปฏิรปูการศึกษา เขตภาคเหนือตอนบน โดย รันฎา เผ่ากันทะ .................................................................................................................... 475

    15

  • 16

    การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการทํางานร่วมกันของนักเรียน เรือ่งอาหารและสารเสพติด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย เยาวลักษณ์ เกษรเกศรา ........................................................................................................ 600 

    ผลการศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ กิจกรรมจิตตปัญญาศึกษารว่มกับกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร ์ของนักเรียน ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย วิสารดา ฉิมน้อย .................................................................................................................... 613 

    การพัฒนารปูแบบกิจกรรมเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพสําหรบั นักเรียนชายชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสาํนักงานเขตพืน้ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 โดย ศิราวัลย์ อินทามระ และคณะ ............................................................................................... 620 

    การสรา้งชุดกิจกรรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง On Holidays โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ สําหรบันักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านน้ําอ่าง จังหวดัอุตรดิตถ์ โดย ศิรินภา อยู่เจริญ .................................................................................................................... 638 

    การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยบูรณาการแนวคิดการสอนมโนทัศน์และ หลักการสอนคิดวิเคราะห์สาํหรับนักศึกษาวิชาชพีครู มหาวิทยาลัยเชยีงใหม ่โดย สมเกียรติ อินทสิงห ์............................................................................................................... 649 

    16

  • 17

    การบริหารการศึกษา

    16

    การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการทํางานร่วมกันของนักเรียน เรือ่งอาหารและสารเสพติด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย เยาวลักษณ์ เกษรเกศรา ........................................................................................................ 600 

    ผลการศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการใช้ กิจกรรมจิตตปัญญาศึกษารว่มกับกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร ์ของนักเรียน ระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย วิสารดา ฉิมน้อย .................................................................................................................... 613 

    การพัฒนารปูแบบกิจกรรมเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพสําหรบั นักเรียนชายชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสาํนักงานเขตพืน้ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 โดย ศิราวัลย์ อินทามระ และคณะ ............................................................................................... 620 

    การสร้างชุดกิจกรรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง On Holidays โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ สําหรบันักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านน้ําอ่าง จังหวดัอุตรดิตถ์ โดย ศิรินภา อยู่เจริญ .................................................................................................................... 638 

    การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยบูรณาการแนวคิดการสอนมโนทัศน์และ หลักการสอนคิดวิเคราะห์สาํหรับนักศึกษาวิชาชพีครู มหาวิทยาลัยเชยีงใหม ่โดย สมเกียรติ อินทสิงห ์............................................................................................................... 649 

    17

    การบริหารการศึกษา

  • 18

    18

  • 19

    การบริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

    กัญจน์รัตน์ สนิธุรัตน์1

    บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 เพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และ 2) เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 เพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จําแนกตามตําแหน่ง ประสบการณ์ในการทํางาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้บริหารและครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 จํานวน 307 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารสถานศึกษาสังกัดสาํนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 เพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที ่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 เพื ่อเข้าสู ่ประชาคมอาเซียน จําแนกตามตําแหน่งโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที ่ระดับ.01 3) การเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื ้นที ่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 17 เพื ่อเข้าสู ่ประชาคมอาเซียน จําแนกตามประสบการณ์ในการทํางานโดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 4) การเปรียบเทียบ การบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 17 เพื่อเข้าสู ่ประชาคมอาเซียน จําแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 คําสําคัญ: การบริหารสถานศึกษา, ประชาคมอาเซียน ____________ 1สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี e-mail: [email protected]

    18

    19

  • 20

    Asean Community-Oriented Management Of Public Schools Under The Office Of Secondary Educational Service Area 17

    Kuncharat Sinthurat1

    Abstract The purposes of this research were 1) to study Asean Community-oriented management of public schools as the administrators and teachers’ opinion under The Office of Secondary Educational Service Area 17 and 2) to compare Asean Community-oriented management of public schools as the administrators and teachers’ opinion under The Office of Secondary Educational Service Area 17 classified by position working experience and school size. The research sample totally included 307 school administrators and teachers under The Office of Secondary Educational Service Area 17. The instrument for data collection was a set of five-rating scale questionnaire. The data were analyzed using percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The research findings revealed that 1) the overall Asean Community-oriented management of public schools under The Office of Secondary Educational Service Area 17 was ranked at the high level. 2) The overall Asean Community-oriented management of public schools under The Office of Secondary Educational Service Area 17, classified by position, was statistically different at.01 significant level. 3) There was no significant difference level statistically if the overall Asean Community-oriented management of public schools under The Office of Secondary Educational Service Area 17 was classified by working experience. 4) The overall Asean Community-oriented management of public schools under The Office of Secondary Educational Service Area 17, classified by school size, was statistically different at.01 significant level. Keywords: ASEAN community, School administration ____________ 1Educational Administration Faculty of Education Rambhai Barni Rajabhat University e-mail: [email protected]

    20

  • 21

    1. บทนํา การศึกษาเป็นรากฐานสําคัญในการสร้างประชาคมอาเซียนโดยเป็นกลไกหน่ึงในการปลูกฝังค่านิยม แนวความคิด ความเข้าใจร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งและความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของอาเซียนและเศรษฐกิจโลก ทั้งน้ี แผนงานการจัดต้ังประชาคมและวัฒนธรรมอาเซียน ได้กําหนดให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นเป้าหมายสําคัญอันดับแรกในการเสริมสร้างวิถีชีวิตที่ดีของประชากรในภูมิภาคด้วยการให้ความสําคัญกับการสร้างโอกาสทางการศึกษา การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. 2554: 7) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ระบุว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปสําหร