เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน...

46
เชิงอรรถของบทที่สาม *1 ไคว (choir) เปนคณะนักรองหมูที่รองเพลงทางศาสนาในโบสถคริสต ความ จริงไมมีกฎระเบียบบังคับวาสมาชิกของไควจะตองเปนเพศชายเทานั้น มีคณะไคว ผสมที่มีทั้งนักรองหญิงและนักรองชาย แตคนมักจะคุนเคยกับไควที่ประกอบดวย นักรองชายและโดยเฉพาะอยางยิ่งนักรองเด็กที่เปนชาย กลาวกันวาเสียงสูงของ เด็กชายที่ไดรับการฝกหัดอยางดีแลวนั้นไพเราะเหมือนเสียงของทูตสวรรคทีเดียว ฟง แลวกอใหเกิดบรรยากาศที่ทําใหศาสนิกมีความศรัทธาไดมาก กลาวในทางประวัติ คณะนักรองหมูหรือไควนี้รองเพลงในโบสถคริสตมาตั้งแต สมัยโบราณ ไควแตละคณะอาจมีวิธีการรองที่ไมเหมือนกัน ในสมัยกลางในอังกฤษมี การจัดระบบการนําเด็กเขาสูความเปนไควกันอยางจริงจัง ในคริสตศตวรรษที่สิบหาใน ประเทศอิตาลีมีวิวัฒนาการใชไควถึงสองคณะในการขับรองในโบสถใหญๆ เชนโบสถ เซนตมารค ที่เวนิซ (St. Marks, Venice) ครั้นถึงคริสตศตวรรษที่สิบหกและ สิบเจ็ดก็ยังนิยมกันเรื่อยมา ในสหรัฐอเมริกาในบัดนี้ก็ยังเปนที่นิยม *2 การทําพิธีศพที่มีมาตั้งแตในสมัยอารยธรรมยุคหิน มีการทําพิธีศพในอารยธรรมยุคหินมาตั้งแตยุคหินเกา (Paleolithic) แตทีเห็นชัดและมีเปนจํานวนมากเกือบทั่วโลกคือในอารยธรรมยุคหินใหม (Neolithic period) ซึ่งมีอายุยาวนานเกือบ 5,000 ปคือเริ่มในราว 8000 - 3000 กอนคริสตกาล และปรากฏในที่ตางๆเกือบทั่วโลก ที่พบทั้งในดินแดนตะวันออกใกล ทางเหนือของประเทศจีน ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปยุโรป และในแถบทะเล เมดิเตอเรเนียนภาคตะวันตก เชนในดินแดนที่ตอมากลายเปนประเทศกรีซ เปนตน มนุษยในสมัยหินใหมรูจักทํากสิกรรม และอยูกันเปนหมูบาน ซึ่งตอมาในสมัย ประวัติศาสตรไดพัฒนาขึ้นมาเปนบานเมือง มนุษยในสมัยหินใหมอยูรวมกันเปน สังคม รูจักปลูกขาวและธัญพืช รูจักเลี้ยงแกะ สุนัข และหมู การที่อยูรวมกันเปน

Transcript of เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน...

Page 1: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

เชิงอรรถของบทท่ีสาม

*1 ไคว (choir) เปนคณะนักรองหมูท่ีรองเพลงทางศาสนาในโบสถคริสต ความ

จริงไมมีกฎระเบียบบังคับวาสมาชิกของไควจะตองเปนเพศชายเทาน้ัน มีคณะไคว

ผสมท่ีมีท้ังนักรองหญิงและนักรองชาย แตคนมักจะคุนเคยกับไควท่ีประกอบดวย

นักรองชายและโดยเฉพาะอยางยิ่งนักรองเด็กท่ีเปนชาย กลาวกันวาเสียงสูงของ

เด็กชายท่ีไดรับการฝกหัดอยางดีแลวน้ันไพเราะเหมือนเสียงของทูตสวรรคทีเดียว ฟง

แลวกอใหเกิดบรรยากาศท่ีทําใหศาสนิกมีความศรัทธาไดมาก กลาวในทางประวัติ คณะนักรองหมูหรือไควน้ีรองเพลงในโบสถคริสตมาต้ังแต

สมัยโบราณ ไควแตละคณะอาจมีวิธีการรองท่ีไมเหมือนกัน ในสมัยกลางในอังกฤษมี

การจัดระบบการนําเด็กเขาสูความเปนไควกันอยางจริงจัง ในคริสตศตวรรษท่ีสิบหาใน

ประเทศอิตาลีมีวิวัฒนาการใชไควถึงสองคณะในการขับรองในโบสถใหญๆ เชนโบสถ

เซนตมารค ท่ีเวนิซ (St. Mark’s, Venice) ครั้นถึงคริสตศตวรรษท่ีสิบหกและ

สิบเจ็ดก็ยังนิยมกันเรื่อยมา ในสหรัฐอเมริกาในบัดน้ีก็ยังเปนท่ีนิยม

*2 การทําพิธีศพท่ีมีมาต้ังแตในสมัยอารยธรรมยุคหิน มีการทําพิธีศพในอารยธรรมยุคหินมาต้ังแตยุคหินเกา (Paleolithic) แตท่ี

เห็นชัดและมีเปนจํานวนมากเกือบท่ัวโลกคือในอารยธรรมยุคหินใหม (Neolithic

period) ซึ่ ง มีอายุยาวนานเกือบ 5 ,000 ป คือ เ ร่ิมในราว 8000 - 3000 ป

กอนคริสตกาล และปรากฏในท่ีตางๆเกือบท่ัวโลก ท่ีพบท้ังในดินแดนตะวันออกใกล

ทางเหนือของประเทศจีน ทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปยุโรป และในแถบทะเล

เมดิเตอเรเนียนภาคตะวันตก เชนในดินแดนท่ีตอมากลายเปนประเทศกรีซ เปนตน มนุษยในสมัยหินใหมรูจักทํากสิกรรม และอยูกันเปนหมูบาน ซึ่งตอมาในสมัย

ประวัติศาสตรไดพัฒนาขึ้นมาเปนบานเมือง มนุษยในสมัยหินใหมอยูรวมกันเปน

สังคม รูจักปลูกขาวและธัญพืช รูจักเลี้ยงแกะ สุนัข และหมู การท่ีอยูรวมกันเปน

Page 2: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๔

สังคมทําใหเปนท่ีแนนอนวามนุษยพวกน้ีจะตองมีภาษาพูด และรูจักพูดจาติดตอกัน

เปนปรกติอยางมนุษยท่ีสมบูรณในความเปนมนุษย มนุษยในสมัยหินใหมรูจักฝงศพอยางมีพิธีรีตอง ซึ่งทําใหเราสามารถอนุมานได

วาเขาคงตองใชภาษาในการทําพิธีศพดวย ท่ีดินแดนซึ่งตอมาเปนประเทศอียิปตมีการ

คนพบหลุมฝงศพท่ีมีอายุอยูในราว 7500 ปมาแลว หลุมศพเหลาน้ีหันหัวศพไปทาง

ทิศตะวันออกท้ังน้ัน และมีเมล็ดขาวสาลีอยูในปากของศพดวย มีการฝงเรือจําลองไว

กับศพมีตุกตาดินหรือตุกตาแกะสลักจากงาชางท่ีทําเปนรูปมนุษยและมีหัวเปนสัตว

ตางๆ มีการฝงแจกันท่ีเขียนรูปบนแจกันมองไดชัดวาเปนรูปขบวนเรือ สิ่งเหลาน้ีทําให

นักโบราณคดีอนุมานวามนุษยสมัยหินใหมมีความเจริญในระดับสูง คงมีการทําพิธีกัน

อยางเต็มรูปแบบ คงจะไมทําพิธีไปพลางแลวก็หุบปากน่ิงไปพลางอยางคนใบ สิ่งท่ี

นายพิธี (ซึ่งตอมาวิวัฒนาการมาเปนพระ) พูดในพิธีศพ ในสมัยตอมาก็กลายเปนบท

สวดมนต มนุษยในสมัยหินใหมท่ีอยูในดินแดนลุมแมนํ้าไนลน้ีสวนหน่ึงคงจะได

วิวัฒนาการมาเปนชาวอียิปตในระยะตอมา

*3 สวดพระปริตร พระปริตร แปลวา เครื่องคุมครอง คือคุมครองปองกัน

อันตรายจากภายนอก เชน โจร ยักษ สัตวเดรัจฉาน และปองกันอันตรายจากภายใน

คือโรคภัยไขเจ็บ อานิสงสท่ีไดรับจากการสวดพระปริตรน้ีเกิดจากอานุภาพของพระ

รัตนตรัยและเมตตา ฉะน้ันในศาสนาพุทธพระสงฆจึงสอนฆราวาสวา ผูหม่ันสวดพระ

ปริตรจึงไดรับผลานิสงสตางๆ เชน ประสบความสวัสดิมงคล ความเจริญรุงเรืองไดรับ

ชัยชนะ แคลวคลาดจากอุปสรรคและอันตราย มีสุขภาพอนามัยดี และมีอายุยืน

ในหนังสือชื่อพระปริตรธรรม พระคันธสาราภิวงศ (ในหนา 1) ไดยกพระพุทธดํารัสมา

กลาวไววา พระพุทธเจาตรัสวา “เธอจงเจริญพุทธานุสสติ ภาวนาท่ียอดเยี่ยมใน

ภาวนาธรรม เพราะผูเจริญภาวนาน้ีจะสมหวังดังมโนรถ” (ขุ.อป. 32/36/98) และ

“อมนุษยท่ีตองการจะทํารายผูเจริญเมตตา ยอมประสบภัยพิบัติเอง เปรียบเหมือนคน

ท่ีใชมือจับหอกคม จะไดรับอันตรายจากการจับหอกน้ัน” (สํ.นิ. 16/227/251) ในคัมภีรอรรถกถา มีปรากฏเรื่องอานุภาพพระปริตรคุมครองผูสวด เชนเรื่อง

พระโพธิสัตว/เสวยพระชาติเปนนกยูงทอง พระองคไดหม่ันสาธยายโมรปริตรท่ี

Page 3: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๕

กลาวถึงคุณของพระพุทธเจาเปนประจํา ทําใหแคลวคลาดจากบวงท่ีนายพรานดักไว

(ชา.อฏ.2/35)............................................................................................................ สําหรับอานิสงสของพระปริตรน้ัน พระคันธสาราภิวงศไดกลาวไวในหนังสือ

พระปริตรธรรมหนา 3 วา โบราณาจารยไดรวบรวมอานิสงสของพระปริตรไวดังน้ี คือ 1. เมตตปริตร ทําใหหลับเปนสุข, ต่ืนเปนสุข, ไมฝนราย, เปนท่ีรักของ

มนุษยและอมนุษยท้ังหลาย, เทพพิทักษรักษา, ไมมีภัยอันตราย, จิตเกิดสมาธิงาย,

ใบหนาผองใส มีสิริมงคล, ไมหลงสติในเวลาเสียชีวิต และเกิดเปนพรหมเม่ือบรรลุ

เมตตาฌาน 2. ขันธปริตร ปองกันภัยจากอสรพิษและสัตวรายอื่นๆ 3. โมรปริตร ปองกันภัยจากผูคิดราย 4. อาฏานาฏิยปริตร ปองกันภัยจากอมนุษย ทําใหมีสุขภาพดีและมีความสุข 5. โพชฌังคปริตร ทําใหมีสุขภาพดี มีอายุยืน และพนจากอุปสรรคท้ังปวง 6. ชัยปริตร ทําใหประสบชัยชนะ และมีความสุขสวัสดี 7. รัตนปริตร ทําใหไดรับความสวัสดี และพนจากอุปสรรคอันตราย 8. วัฏฏกปริตร ทําใหพนจากอัคคีภัย 9. มงคลปริตร ทําใหเกิดสิริมงคล และปราศจากอันตราย 10. ธชัคคปริตร ทําใหพนจากอุปสรรคอันตราย และการตกจากท่ีสูง 11. อังคุลิมาลปริตร ทําใหคลอดบุตรงาย และปองกันอุปสรรคอันตราย 12. อภยปริตร ทําใหพนจากภัยพิบัติ และไมฝนราย

*4 เมตตปริตร คือ ปริตรท่ีกลาวถึงการเจริญเมตตา มีประวัติวา สมัยหน่ึงเม่ือ

พระพุทธเจาประทับอยูท่ีวัดพระเชตวัน กรุงสาวัตถี มีภิกษุ 500 รูป เรียนกรรมฐาน

จากพระพุทธองคแลว เดินทางไปแสวงหาสถานท่ีปฏิบัติธรรมพวกทานไดมาถึงไพร

สณฑแหงหน่ึง ปรึกษากันวาสถานที่น้ีเหมาะสมแกการเจริญสมณธรรม จึงตกลงใจอยู

จําพรรษาในท่ีน้ัน ชาวบานก็มีจิตศรัทธาสรางกุฏิถวายใหพํานักรูปละหลัง และ

อุปฏฐากดวยปจจัยสี่มิใหขาดแคลน

Page 4: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๖

เม่ือฝนตกพวกทานจะเจริญกรรมฐานท่ีกุฏิ ครั้นฝนไมตกก็จะมาปฏิบัติท่ีโคน

ไม รุกขเทวดาที่สิงสถิตอยูท่ีตนไมไมสามารถอยูในวิมานได เพราะผูทรงศีลมาอยูใต

วิมานของตน จึงตองพาบุตรธิดาลงมาอยูบนพื้น เบ้ืองแรกคิดวาพวกภิกษุคงจะอยู

ชั่วคราว กท็นรอดูอยูชั่วคราว แตเม่ือรูวามาจําพรรษาตลอดสามเดือน จึงเกิดความไม

พอใจ คิดจะขับไลใหกลับไปในระหวางพรรษา ฉะน้ันจึงพยายามหลอกหลอนดวยวิธี

ตางๆ เชน สําแดงรูปรางท่ีนากลัว รองเสียงโหยหวน ทําใหไดรับกลิ่นเหม็นตางๆ พวกภิกษุหวาดหวั่นตกใจตออารมณท่ีนากลัวเหลาน้ัน ไมสามารถจะปฏิบัติ

ธรรมไดโดยสะดวก จึงปรึกษากันวาไมควรจะอยูในสถานท่ีน้ีตอไป ควรจะกลับไป

จําพรรษาหลังในสถานท่ีอื่น จากน้ันจึงรีบเดินทางกลับโดยไมบอกลาชาวบาน เม่ือ

มาถึงวัดพระเชตวันไดเขาเฝาพระพุทธเจาแลวกราบทูลใหทรงทราบเร่ืองน้ี แตพระ

พุทธองคทรงเล็งเห็นวาสถานที่เดิมเหมาะสมกับภิกษุเหลาน้ีมากกวาท่ีอื่น จึงทรง

แนะนําใหพวกทานกลับไปสถานท่ีน้ัน พรอมกับตรัสสอนเมตตปริตรเพ่ือเจริญเมตตา

แกรุกขเทวดา เม่ือพวกภิกษุไดเรียนเมตตปริตรจากพระพุทธเจาแลว จึงเดินทางกลับไปยัง

สถานท่ีเดิม กอนจะเขาสูราวปา พวกทานไดเจริญเมตตาโดยสาธยายพระปริตรน้ี

อานุภาพแหงเมตตาทําใหรุกขเทวดามีจิตออนโยน มีไมตรี จึงไมเบียดเบียนเหมือน

กอน ท้ังยังชวยปรนนิบัติและคุมครองภัยอื่นๆ อีกดวย ภิกษุเหลาน้ันไดพากเพียร

เจริญเมตตาภาวนา แลวเจริญวิปสสนาภาวนาตอมาโดยใชเมตตาเปนบาทแหง

วิปสสนา ทุกรูปไดบรรลุอรหัตผลภายในพรรษาน้ัน (สุตฺตนิ. อฏ.1/221, ขุทฺทก. อฏ.

225) สําหรับเน้ือความของบทสวดเมตตปริตรน้ันคอนขางยาวคือมีอยูสิบเน้ือความ

ผูท่ีสนใจโปรดหาหนังสือพระปริตรธรรมมาอานเถิด

*5 ขันธปริตร พระปริตรบทน้ีมีบทสวดและคําแปลดังตอไปน้ี 1. วิรูปกเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพฺยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ.

Page 5: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๗

ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในงูตระกูลวิรูปกษ ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในงู

ตระกูลเอราบถ ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในงูตระกูลฉัพยาบุตร ขาพเจาขอแผเมตตา

จิตในงูตระกูลกัณหาโคดม 2. อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทฺวิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม. ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในสัตวไมมีเทา ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในสัตวสอง

เทา ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในสัตวสี่เทา ขาพเจาขอแผเมตตาจิตในสัตวท่ีมีเทามาก 3. มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทฺวิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท. สัตวท่ีไมมีเทาอยาไดเบียดเบียนขาพเจา สัตวท่ีมีสองเทาอยาไดเบียดเบียน

ขาพเจา สัตว ท่ีมีสี่ เทาอยาไดเบียดเบียนขาพเจา และสัตว ท่ีมีเทามากอยาได

เบียดเบียนขาพเจา 4. สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา

สัพเพ ภัทฺรานิ ปสสันตุ มา กัญจิ ปาปะมาคะมา. ขอสัตวท้ังปวง ปราณชาติท้ังปวง สัตวท่ีเกิดแลวท้ังปวง ท้ังหมดจงประสบ

ความเจริญทุกผู ขอความทุกขอยาไดเขาถึงใครๆ เลย 5. อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปะมาโณ ธัมโม, อัปปะมาโณ สังโฆ, ปะมาณะวันตานิ สะรีสะปานิ, อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณะนาภี สะระพู มูสิกา. พระพุทธเจาทรงพระคุณหาประมาณมิได พระธรรมทรงพระคุณหาประมาณ

มิได พระสงฆทรงพระคุณหาประมาณมิได แตสัตวเลื้อยคลานคือ งู แมงปอง

ตะขาบ แมงมุม ตุกแก และหนู เปนสัตวท่ีประมาณได 6. กะตา เม รักขา. กะตัง เมปะริตตัง. ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ. โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง. ขาพเจาไดคุมครองตนแลว ขาพเจาไดปองกันตนแลว เหลาสัตวจงหลีกไป

ขาพเจาขอนอบนอมพระผูมีพระภาค ขอนอบนอมพระสัมพุทธเจาท้ัง 7 พระองค

Page 6: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๘

*6 โมรปริตร คือ ปริตรของนกยูง เปนพระปริตรท่ีกลาวถึงคุณของพระพุทธเจา

แลวนอมพระพุทธคุณมาพิทักษคุมครองใหมีความสวัสดี มีประวัติวา สมัยหน่ึงคร้ัน

พระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนนกยูงทอง อาศัยอยูบนเขาทัณฑกหิรัญบรรพตในปา

หิมพานต พระโพธิสัตวจะเพงดูพระอาทิตยในเวลาพระอาทิตยอุทัยแลวรายมนต

สาธยายสองคาถาแรกวา อุเทตะยัง เปนตน แลวจึงออกแสวงหาอาหาร ครั้นกลับจาก

การแสวงหาอาหารในเวลาพระอาทิตยอัสดง ก็เพงดูพระอาทิตยพรอมกับรายมนต

สาธยายสองคาถาหลังวา อะเปตะยัง เปนตน นกยูงทองจึงแคลวคลาดจากอันตราย

ทุกอยางดวยมนตบทน้ี วันหน่ึงพรานปาจากหมูบานใกลเมืองพาราณสี ไดพบนกยูงทองโดยบังเอิญ

จึงบอกความน้ันแกบุตรของตน ขณะนั้นพระนางเขมาเทวีมเหสีพระเจาพาราณสีทรง

พระสุบินวา พระนางเห็นนกยูงทองแสดงธรรมอยู จึงกราบทูลพระสวามีวาทรง

ประสงคจะฟงธรรมของนกยูงทอง ทาวเธอจึงรับสั่งใหพรานปาสืบหา พรานปาท่ีเคยได

ยินคําบอกเลาของบิดาไดมากราบทูลวา นกยูงทองมีอยูจริงท่ีเขาทัณฑกหิรัญบรรพต

ทาวเธอจึงทรงมอบหมายใหเขาจับนกยูงทองมาถวาย พรานปาคนนั้นไดเดินทางไปปาหิมพานต แลววางบวงดักนกยูงทองไวทุกแหง

ในท่ีแสวงหาอาหาร แมเวลาผานไปถึง 7 ป เขาก็ยังจับไมได เพราะนกยูงทองแคลว

คลาดบาง บวงไมแลนบาง จนในท่ีสุดตองเสียชีวิตอยูในปาน้ัน ฝายพระนางเขมาเทวีก็

ทรงประชวรสิ้นพระชนม เพราะเสียพระทัยไมสมพระประสงค พระเจาพาราณสีจึงทรง

พิโรธ ไดรับสั่งใหจารึกอักษรลงในแผนทองวาผูกินเน้ือนกยูงทองท่ีเขาทัณฑกหิรัญ

บรรพต จะไมแก ไมตาย หลังจากน้ันไมนาน พระองคก็สิ้นพระชนม พระราชาองคอื่น

ท่ีครองราชยสืบตอมาไดพบขอความน้ัน จึงสงพรานปาไปจับนกยูงทอง แตไมมีใคร

สามารถจับได กาลเวลาไดลวงเลยไปจนเปลี่ยนพระราชาถึง 6 พระองค ครั้นถึงสมัยพระราชาองคท่ี 7 พระองคก็รับสั่งใหพรานปาไปจับนกยูงทองน้ัน

อีก พรานคนน้ีฉลาดหลักแหลม สังเกตการณอยูหลายวันก็รูวา นกยูงทองไมติดบวง

เพราะมีมนตขลัง กอนออกหาอาหารจะทําพิธีรายมนต จึงไมมีใครสามารถจับได

เขาคิดวาจะตองจับนกยูงทองกอนท่ีจะรายมนต จึงไดนํานางนกยูงตัวหน่ึงมาเลี้ยง

Page 7: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๓๙

ใหเชื่อง แลวนําไปปลอยไวท่ีเชิงเขา โดยดักบวงอยูใกลๆ จากน้ันไดทําสัญญาณใหนาง

นกยูงรําแพนสงเสียงรอง พระโพธิสัตวเม่ือไดยินเสียงนางนกยูง ก็ลืมสาธยายมนต

คุมครองตน เผลอตัวบินไปหานางนกยูงโดยเร็ว จึงติดบวงท่ีดักไว ครั้นแลวพรานปา

ไดนําพระโพธิสัตวไปถวายพระเจาพาราณสี เม่ือพระโพธิสัตวเขาเฝาพระเจาพาราณสีแลว ไดทูลถามวา “เพราะเหตุไร

พระองคจึงจับหมอมฉันมา” ทาวเธอตรัสวา “เพราะมีจารึกวาผูกินเน้ือนกยูงทอง จะไมแก ไมตาย” พระโพธิสัตวทูลวา “ผูกินเน้ือหมอมฉันจะไมตาย แตหมอมฉันจะตองตายมิใช

หรือ” ทาวเธอตรัสวา “ถูกแลว เจาจะตองตาย” พระโพธิสัตวทูลวา “เม่ือหมอมฉันจะตองตาย แลวผูกินเน้ือหมอมฉันจะไม

ตายไดอยางไร” ทาวเธอตรัสวา “เพราะเจามีขนสีทอง จึงทําใหผูกินเน้ือเจาไมตาย” พระโพธิสัตวทูลวา “หมอมฉันมีขนสีทองก็เพราะภพกอนเคยเกิดเปนพระเจา

จักรพรรดิในพระนครพาราณสีน้ี ไดรักษาเบญจศีลเปนนิตยและชักชวนใหราษฎร

รักษา” จากน้ันพระโพธิสัตวไดทูลเร่ืองท่ีพระองคเคยฝงราชรถท่ีประทับของพระเจา

จักรพรรดิไวท่ีสระมงคลโบกขรณี พระเจาพาราณสีไดรับสั่งใหไขนํ้าออกจากสระแลวกู

ราชรถขึ้นมา จึงทรงเชื่อคําพระโพธิสัตว หลังจากน้ันพระโพธิสัตวไดถวายโอวาท

พระราชาใหดํารงอยูในความไมประมาท แลวกลับไปยังปาหิมพานตตามเดิม (ชา. อฏ.

2/35) โมรปริตรน้ีมีบทสวดและคําแปลดังตอไปน้ี 1. อุเทตะยัง จักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะถะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะถะวิปปะภาสัง ตะยาชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง.

Page 8: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๐

พระอาทิตยผูเปนดวงตาของโลก ผูยิ่งใหญพระองคน้ี เสด็จอุทัยขึ้นทรงพระ

รัศมีสีทองสาดสองปฐพี ดวยเหตุน้ี ขาพเจาขอนมัสการพระอาทิตยผูทรงรัศมีสีทอง

สาดสองปฐพีพระองคน้ัน พระองคไดคุมครองขาพระองคในวันน้ีแลว ขอใหขา

พระองคมีชีวิตยั่งยืนอยูตลอดวัน 2. เย พฺราหฺมะณา เวทะคู สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัตฺวา โมโร จะระติ เอสะนา. พระพุทธเจาเหลาใด ทรงรูแจงธรรมท้ังปวง ขาพเจาขอนอบนอมพระพุทธเจา

เหลาน้ัน ขอพระพุทธเจาเหลาน้ัน จงคุมครองขาพเจา ขอนอบนอมแดพระพุทธเจา

ท้ังหลาย ขอนอบนอมแดพระโพธิญาณ ขอนอบนอมแดพระพุทธเจาผูหลุดพนแลว

ขอนอบนอมแดวิมุตติธรรม เม่ือนกยูงน้ันสาธยายพระปริตรอยางน้ีแลว จึงออก

แสวงหาอาหาร 3. อะเปตะยัง จักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะถะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะถะวิปปะภาสัง ตะยาชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง.

พระอาทิตยผูเปนดวงตาของโลก ผูยิ่งใหญพระองคน้ี เสด็จอัศดงคตทรงพระ

รัศมีสีทองสาดสองปฐพี ดวยเหตุน้ี ขาพเจาขอนมัสการพระอาทิตยผูทรงรัศมีสีทอง

สาดสองปฐพีพระองคน้ัน พระองคไดคุมครองขาพระองคในวันน้ีแลว ขอใหขา

พระองคมีชีวิตยั่งยืนอยูตลอดราตรี 4. เย พฺราหฺมะณา เวทะคู สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา

Page 9: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๑

อิมัง โส ปะริตตัง กัตฺวา โมโร วาสะมะกัปปะยิ. พระพุทธเจาเหลาใด ทรงรูแจงธรรมท้ังปวง ขาพเจาขอนอบนอมพระพุทธเจา

เหลาน้ัน ขอพระพุทธเจาเหลาน้ัน จงคุมครองขาพเจา ขอนอบนอมแดพระพุทธเจา

ท้ังหลาย ขอนอบนอมแดพระโพธิญาณ ขอนอบนอมแดพระพุทธเจาผูหลุดพนแลว

ขอนอบนอมแดวิมุตติธรรม เม่ือนกยูงน้ันสาธยายพระปริตรอยางน้ีแลวจึงนอน *7 อาฏานาฏิยปริตร คือ ปริตรของทาวกุเวรผูครองนครอาฏานาฏาเพราะเปน

พระปริตรท่ีทาวกุเวรไดนํามากราบทูลพระพุทธเจา พระปริตรน้ีกลาวถึงพระนามของ

พระพุทธเจา 7 พระองค และคุณของพระพุทธเจาเหลาน้ัน รวมท้ังอางอานุภาพ

พระพุทธเจาและเทวานุภาพมาพิทักษใหมีความสวัสดี มีประวัติวาในสมัยหน่ึงเม่ือ

พระพุทธเจาประทับอยู ณ ภูเขาคิชฌกูฏ แขวงกรุงราชคฤห ทาวจาตุมหาราชท้ัง 4 คือ

ทาวธตรฐ, ทาววิรุฬหก, ทาววิรูปกษ และทาวกุเวร ไดมาเฝาพระพุทธเจาในมัชฌิม

ยามแหงราตรี ขณะน้ันทาวกุเวรไดกราบทูลวาอมนุษยบางพวกเล่ือมใสพระองค บาง

พวกไมเลื่อมใส สวนใหญมักไมเลื่อมใสเพราะพระองคตรัสสอนใหละเวนจาก

อกุศลกรรมมีปาณาติปาตเปนตน แตพวกเขาไมสามารถจะเวนได จึงไมพอใจคําสอนท่ี

ขัดแยงกับความประพฤติของตน เม่ือภิกษุไปปฏิบัติธรรมในปาเปลี่ยว อมนุษย

เหลาน้ันอาจจะรบกวนได จึงขอใหพระองคทรงรับเอาเครื่องคุมครองคืออาฏานา

ฏิยปริตรไว แลวประทานแกพุทธบริษัท เพื่อสาธยายคุมครองตนและเพื่อใหอมนุษย

เกิดความเลื่อมใสพระศาสนา จากน้ันทาวกุเวรไดกราบทูลคาถาเปนตนวา วิปสสิสสะ

จะ นะมัตถุ เม่ือทาวมหาราชเหลาน้ันเสด็จกลับแลว พระพุทธเจาจึงนํามาตรัสแกพุทธ

บริษัทในภายหลัง สําหรับบทสวดและคําแปลของอาฏานาฏิยปริตรน้ันคอนขางยาว จึงขอใหผูท่ี

สนใจไปอานหนังสือ พระปริตรธรรม หรือหนังสืออื่นท่ีตีพิมพบทสวดอาฏานาฏิย

ปริตร

*8 คาถาชินบัญชร คาถาชินบัญชรน้ีกลาวอาราธนาพระพุทธเจา, พระสาวก และ

พระปริตรใหมาดํารงอยูในกายเพื่อพิทักษคุมครองใหมีความสวัสดี เหมือนเกราะแกว

Page 10: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๒

ปองกันภัย ผูแตงและสถานท่ีแตงคาถาน้ีไมมีหลักฐานปรากฏในประวัติศาสตรไทย

แตมีหลักฐานปรากฏในประวัติศาสตรพมา คือเรื่องพุทธนวมวินิจฉัย ในวินยสมูหวินิจ

ฉัย (เลม 2 หนา 505-9) กลาววาแตงท่ีเมืองเชียงใหมในรัชสมัยพระเจาอโนรธา เจาผู

ครองนครเชียงใหมรัชกาลท่ี 20 ระหวาง พ.ศ. 2121-2150 เพราะในสมัยน้ันชาวเมือง

เชียงใหมนิยมบูชาดาวนพเคราะห พระเจาอโนรธาจึงปรึกษากับพระเถระในยุคน้ัน

แลวรับสั่งใหชาวเมืองสวดคาถาชินบัญชรและคาถาอื่นๆ แทนการบูชาดาวนพเคราะหท่ี

ไมคลอยตามคําสอนในพระพุทธศาสนา ฉะน้ัน คาถาชินบัญชรจึงแตงโดยพระเถระ

ชาวไทยท่ีเมืองเชียงใหม คาถาน้ียังแพรหลายถึงประเทศสหภาพพมาและศรีลังกาอีก

ดวย คาถาชินบัญชรฉบับท่ีแพรหลายอยูในประเทศไทยมี 2 ฉบับ คือ ฉบับแรกของ

วัดระฆังโฆสิตาราม ตรวจแกไขโดยพระภัทรมุนี (อั๋น ภทฺรมุนี ป.ธ. 9) วัดทองนพคุณ

กรุงเทพมหานคร และฉบับท่ี 2 เปนฉบับท่ีปรับปรุงแกไขใหม โดยสมเด็จพระญาณ

สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) สวนคาถา

ชินบัญชรท่ีนิยมนํามาสวดกันมีความใกลเคียงกับฉบับท่ี 2 นอกจากน้ี มีผูแปลได

ปรับปรุงแกไขคาถาชินบัญชรอีก โดยเทียบเคียงกับฉบับไทยท้ังสองฉบับรวมกับฉบับ

อักษรลานนา, ฉบับพมา และฉบับลังกา สําหรับบทสวดและคําแปลของพระคาถาชินบัญชรน้ันคอนขางยาว แตมี

พุทธศาสนิกชนทองกันไดเปนจํานวนมาก เพราะเปนคาถาท่ีแพรหลายมาก ท่ีวัดอินทร

วิหารมีสถานท่ีสําคัญสวดคาถาชินบัญชรโดยเฉพาะ คนท่ีไมทราบและตองการทราบ

ก็อาจหาอานไดจากหนังสือสวดมนตจํานวนมาก เพราะหนังสือสวดมนตของวัดไหนๆ

ก็มักมีพระคาถาชินบัญชรน้ีพิมพไว อยางไรก็ดีรายละเอียดของพระคาถาชินบัญชรใน

หนังสือสวดมนตแตละเลมอาจผิดแผกกันไป แตก็มิไดทําใหความศักด์ิสิทธ์ิลดลงใน

สายตาของชาวพุทธ

*9 คาถายอดพระกัณฑไตรปฎก คาถายอดพระกัณฑไตรปฎกเปนคาถาท่ีนิยม

สวดกันมากในหมูคนเขาวัด ถือวาเปนคาถาท่ีศักด์ิสิทธ์ิ แตคนท่ีไมสนใจในเรื่องพุทธ

Page 11: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๓

ศาสนาคงไมใครสนใจ เพราะเน้ือหายาวมาก สวดกลาวถึงทุกสิ่งท่ีเห็นวาสําคัญใน

ศาสนาพุทธ และยังสวดมนตคาถาท่ีเปนภาษาโบราณท่ีไมมีคําแปล หนังสือยอดพระกัณฑไตรปฎกน้ี เปดกรุไดท่ีเมืองสวรรคโลก จารเปนอักษร

ขอมจารึกไวในใบลาน โบราณาจารยจึงไดแปลเปนอักษรไทย หลวงธรรมาธิกรณ

(พระภิกษุแสง) ไดมาแตพระแทนศิลาอาสน มณฑลพิษณุโลกมีคํากลาวไวในหนังสือ

นําวา ถาผูใดไดสวดมนตภาวนาทุกเชาคํ่าแลวเปนการบูชารําลึกถึงพระพุทธเจา ผูน้ัน

จะไมไปตกอบายภูมิ แมไดบูชาไวกับบานเรือนก็ปองกันอันตรายตางๆ จะภาวนา

พระคาถาอื่นๆ สัก 100 ป อานิสงสก็ไมสูงเทาภาวนาพระคาถาน้ีคร้ังหน่ึง อน่ึง

แมอินทร พรหม ยม ยักษ ท่ีมีอิทธิฤทธ์ิ จะพึงเนรมิตแผนอิฐเปนทองคํากอใหเปน

พระเจดีย ต้ังแตมนุษยโลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงสก็ยังไมเทาการภาวนา

ยอดพระกัณฑไตรปฎกน้ี และยังมีคําอธิบายคุณความดีไวในตอนตนฉบับเดิมน้ันอีก

นานัปการ สวนตัวคาถาและคําแปลซึ่งมีถึง 29 บทน้ันสามารถหาอานไดจากหนังสือสวด

มนต เชนหนังสือชื่อ คูมือพุทธบริษัท ฉบับสมบูรณ สํานักพิมพธรรมสภาจัดพิมพ

เผยแพร

*10 ขอยกตัวอยางการทําพิธีทางไสยศาสตรท่ีกลาวไวในเรื่องขุนชางขุนแผนมาพอ

เปนนิทัศนะ ตัดตอนมาจากตอนท่ีขุนแผนสรางกุมารทอง เปดประตูจูออกมานอกบาน รีบเดินผานปาตัดเขาวัดได ปดประตูวิหารลั่นดาลใน ลิ่มกลอนซอนใสไวตรึงตรา วางยามเปดกลักแลวชักชุด ตีเหล็กไฟจุดเทียนขึ้นแดงรา เอาไมไชยพฤกษพระยายา ปกเปนขาพาดกันกุมารวาง ยันตนารายนแผลงฤทธ์ิปดศีศะ เอายันตราชะปะพ้ืนลาง ยันตนารายนฉีกอกปกปดกลาง ลงยันตนางพระธรณีท่ีพื้นดิน เอาไมรักปกเสาขึ้นสี่ทิศ ยันตปดปกธงวงสายสิญจน ลงเพดานยันตสังวาลอํามรินทร ก็พรอมสิ้นในตําราถูกทาทาง

Page 12: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๔

เอาไมมะริดกันเกราเถากันไภย กอชุดจุดไฟใสพื้นลาง ต้ังจิตสนิทดีไวท่ีทาง ภาวนาน่ังยางกุมารทอง รอนท้ังตัวท่ัวกันนํ้ามันฉา กลับหนากลับหลังไปท้ังสอง เกราะแกรงแหงไดดังใจปอง พอรุงแจงแสงทองขึ้นทันใด ฯ

ขุนแผนไมสะทกสทานอานมนตปลุก ผีลูกผุดลุกขึ้นพูดจอ ขุนแผนเตนเผนโผนโจนขี่คอ กุมารทองชวยพอใหพนไภย กุมารทองโลดปงทลึ่งปรอ พาพอออกตามรูดาลได พวกหม่ืนหาญไมเห็นตัวขามหัวไป ดวยฤทธิไกรไสยเวทวิชาการ ครั้นมาถึงขางนอกอุโบสถ จะทําใหปรากฏกับหม่ืนหาญ ใหมันรูฤทธิไกรวาไชยชาญ แลวจึงจะไปบานกาญจนบุรี คิดแลวคลายมนตใหคนเห็น ขึ้นยืนเดนเผนผงาดดังราชสีห มือขวาถือกฤชเรืองฤทธี มือซายจูงผีกุมารทอง

*11 คําทําวัตรเย็นท่ีคัดลอกมาน้ีมาจากหนังสือสวดมนตแปลของวัดสังฆทาน ของ

วัดอื่นก็ใชไดเหมือนกันเพราะหนังสือสวดมนตของวัดใดๆ ก็ตองมีคําทําวัตรเย็น

ท้ังน้ัน

คําทําวัตรเย็น - คําบูชาพระ คํากราบพระ และปุพพภาคนมการ ใชอยางเดียวกับคําทําวัตรเชา - ชาย พึงน่ังคุกเขา หญิง พึงน่ังคุกเขาราบ

หันทะ ทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง ปพพะภาคะนะมะ

การัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย กระทําความนอบนอมอันเปนสวนเบ้ืองตนแดพระผูมีพระภาค

เจาดวย และกลาวสาธยายอันยิ่งซึ่งนัย คือ ความตามระลึกถึงพระพุทธเจาดวยเถิด) ถาใชบทนําบทน้ี ผูสวดพึงสวด นะโม และ ตังโข รวมกันไป

พุทธานุสสติ

Page 13: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๕

หันทะ มะยัง พุทธานุสสะติ นะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย กระทําซึ่งนัย คือ ความตามระลึกถึงพระพุทธเจาเถิด) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระผู

กัล๎ญาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, มีพระภาคเจาน้ัน, ไดฟุงไปแลวอยางน้ี วา; อิติป โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยางน้ีๆ พระผูมีพระภาค เจาน้ัน, อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส;

สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;

วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชา และจรณะ;

สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี;

โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง;

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษท่ีสมควรฝก ไดอยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย ท้ังหลาย;

พุทโธ, เปนผูรู ผูต่ืน ผูเบิกบานดวยธรรม;

ภะคะวาติ. เปนผูมีความจําเริญจําแนกธรรม สั่งสอนสัตว ดังน้ี.

พุทธาภิคีติ

หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย ทําความขับคาถาพรรณนาเฉพาะพระพุทธเจาเถิด) พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณา- พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ, มีความ

ภิยุตโต, ประเสริฐแหงอรหันตคุณ เปนตน; สุทธาภิ ญาณะกะรุณาหิ สะมาคะ- มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ

Page 14: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๖

ตัตโต, และพระกรุณาอันบริสุทธ์ิ;

โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ พระองคใด ทรงกระทําชนท่ีดีใหเบิกบาน

สูโร, ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน; วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ขาพเจาไหวพระชินสีห, ผูไมมีกิเลส

ชิเนนทัง, พระองคน้ันดวยเศียรเกลา;

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง พระพุทธเจาพระองคใด, เปนสรณะ

เขมะมุตตะมัง, อันเกษมสูงสุดของสัตวท้ังหลาย;

ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคน้ัน, สิเรนะหัง, อันเปนท่ีต้ังแหงความระลึกองคท่ีหน่ึง ดวยเศียรเกลา; พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ) ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา พุทโธ เม สามิกิสสะโร, พระพุทธเจาเปนนาย มีอิสระเหนือ ขาพเจา;

พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกข,

วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญ- ขาพเจามอบกายถวายชีวิตน้ีแดพระ

ชีวิตัญจิทัง, พุทธเจา;

วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,

พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง, ซึ่งความตรัสรูดีของพระพุทธเจา,

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระพุทธเจา

พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, เปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง ดวยการกลาวคําสัตยน้ี, ขาพเจาพึง สัตถุ สาสะเน, เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

พุทธัง เม วันทะมาเนนะ ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา,

(วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ไดขวนขวายบุญใด ในบัดน้ี;

สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง อันตรายท้ังปวง อยาไดมีแกขาพเจา

Page 15: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๗

ตัสสะ เตชะสา. ดวยเดชแหงบุญน้ัน. กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;

พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง. กรรมนาติเตียนอันใด ท่ีขาพเจากระทํา แลวในพระพุทธเจา;

พุทโธ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจาจงงดซ่ึงโทษลวงเกิน อันน้ัน;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในการตอไป.

ธัมมานุสสติ หันทะ มะยัง ธัมมานุสสตินะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย กระทําซึ่งนัย คือ ความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมเปนสิ่งท่ีพระผูมีพระภาค เจาไดตรัสไวดีแลว; สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งท่ีผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได ดวยตนเอง;

อะกาลิโก, เปนสิ่งท่ีปฏิบัติได และใหผลไดไม จํากัดกาล;

เอหิปสสิโก, เปนสิ่งท่ีควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจง มาดูเถิด;

โอปะนะยิโก เปนสิ่งท่ีควรนอมเขามาใสตัว; ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ. เปนสิ่งท่ีผูรูก็รูไดเฉพาะตน ดังน้ี.

ธัมมาภิคีติ

หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย ทําความขับพรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด)

Page 16: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๘

ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ- พระธรรม เปนสิ่งท่ีประเสริฐเพราะ เสยโย ประกอบดวยคุณ คือ ความท่ีพระ ผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลวเปนตน; โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, เปนธรรมอันจําแนกเปนมรรค ผล

ปริยัติ และนิพพาน; ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จาก การตกไปสูโลกท่ีชั่ว;

วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐน้ัน, อันเปนเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด;

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษม

เขมะมุตตะมัง, สูงสุดของสัตวท้ังหลาย;

ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง ขาพเจาไหวพระธรรมน้ัน, อันเปนท่ีต้ัง

สิเรนะหัง, แหงความระลึกองคท่ีสองดวยเศียร เกลา;

ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ) ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม พระ

ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;

ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ พระธรรมเปนเครื่องกําจัดทุกข, และ

วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, ทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญ- ขาพเจามอบกายถวายชีวิตน้ีแด

ชีวิตัญจิทัง, พระธรรม;

วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,

ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง, ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระธรรม

ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, เปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง ดวยการกลาวคําสัตยน้ี, ขาพเจาพึง

สัตถุ สาสะเน, เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

Page 17: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๔๙

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะ- ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม ได

มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขวนขวายบุญใด ในบัดน้ี;

สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง อันตรายท้ังปวง อยาไดมีแกขาพเจา

ตัสสะ เตชะสา. ดวยเดชแหงบุญน้ัน. กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;

ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ท่ีขาพเจา กระทําแลวในพระธรรม;

ธัมโม ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระธรรมจงงดซ่ึงโทษลวงเกินอันน้ัน;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม. เพื่อการสํารวมระวังในพระธรรม ในกาลตอไป.

สังฆานุสสติ

หันทะ มะยัง สังฆานุสสตินะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย กระทําซึ่งนัย คือ ความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา สังโฆ, หมูใด, ปฏิบัติดีแลว; อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา

สาวะกะสังโฆ, หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว;

ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา

สาวะกะสังโฆ, หมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรมเปนเครื่อง ออกจากทุกขแลว;

สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา

สาวะกะสังโฆ, หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว;

ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลาน้ี คือ :- จัตตาริ ปุริสะยุคานิ ปุริสะ- คูแหงบุรุษ ๔ คู, นับเรียงตัวบุรุษได

Page 18: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๐

ปุคคะลา, ๘ บุรุษ;

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, น่ันแหละสงฆสาวกของพระผูมีพระ ภาคเจา;

อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะท่ีเขานํามา บูชา;

ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะท่ีเขาจัดไว ตอนรับ;

ทักขิเณยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน; อัญชะลิกะระณีโย, เปนผูท่ีบุคคลท่ัวไปควรทําอัญชล;ี

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง เปนเน้ือนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญ

โลกัสสาติ. อื่นยิ่งกวา ดังน้ี.

สังฆาภิคีติ

หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย ทําความขับคาถาพรรณนาเฉพาะพระสงฆเถิด) สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต, พระสงฆท่ีเกิดโดยพระสัทธรรม, ประกอบดวยคุณ มีความปฏิบัติดี เปนตน;

โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะ- เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ

เสฏโฐ, แปดจําพวก; สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีล เปนตนอันบวร;

วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจาเหลาน้ัน สุสุทธัง, อันบริสุทธ์ิดวยดี;

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง พระสงฆ หมูใด เปนสรณะอันเกษม

เขมะมุตตะมัง, สูงสุดของสัตวท้ังหลาย;

Page 19: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๑

ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง ขาพเจาไหวพระสงฆหมูน้ัน อันเปนท่ีต้ัง

สิเรนะหัง, แหงความระลึก องคท่ีสามดวย เศียรเกลา; สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ) ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ, พระสงฆ

สังโฆ เม สามิกิสสะโร, เปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;

สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข และ

วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, ทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญ- ขาพเจามอบกายถวายชีวิตน้ี แด

ชีวิตัญจิทัง, พระสงฆ;

วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่ง

สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง, ความปฏิบัติดีของพระสงฆ;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระสงฆ

สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง ดวยการกลาวคําสัตยน้ี ขาพเจาพึง

สัตถุ สาสะเน, เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะ- ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ ได

มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขวนขวายบุญใดในบัดน้ี; สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง อันตรายท้ังปวงอยาไดมีแกขาพเจา

ตัสสะ เตชะสา. ดวยเดชแหงบุญน้ัน

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;

สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ท่ีขาพเจา กระทําแลวในพระสงฆ;

สังโฆ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆจงงดซึ่งโทษลวงเกินอันน้ัน;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. เพื่อการสํารวมระวังในพระสงฆ ในกาลตอไป.

Page 20: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๒

(จบคําทําวัตรเย็น) *12 นิกายอาเรียน (Arian) เกิดขึ้นในคริสตศตวรรษท่ี 4 โดยพระชาวอเล็ก

ซานเดรีย ท่ีชื่ออาริอุส (Arius) คําสอนของพระผู น้ีก็คือ พระเยซูคริสตไมไดมี

เชื้อสายมาจากพระเจา แตเปนคนธรรมดาท่ีมีผูยกยองขึ้นเปนพระเจา แตจะกลาววา

อาริอุสไมไดนับถือพระเจาก็ไมได เพราะอาริอุสเนนวาพระเจา (God) น้ันเปนสิ่งท่ีมี

หน่ึงเดียวเทาน้ัน พระองคเปนผูท่ีเปนเองและไมแบงภาค ดังน้ันพระบุตรจึงไมสามารถ

มีธรรมชาติอยางพระเจา (God) ได สิ่งใดที่เติบโตแลวก็เปลี่ยนแปลงและตอไปก็

สูญสลายจึงไมใชสิ่งท่ีมีธรรมชาติเปนพระเจา พระบุตรจึงเปนสิ่งท่ีถูกยกวาเปนพระเจา

จึงเปนสิ่งท่ีมีเริ่มตน เติบโตแลวเปลี่ยนแปลงสูญสลาย อีกประการหน่ึงอาริอุสเนนวา

พระบุตรไมมีทางท่ีจะรูจักกับพระบิดาได เพราะพระบิดาเปนสิ่งสากลท่ีไมมีขอบเขต

จํากัด แตพระบุตรเปนสิ่งท่ีมีขอบเขตจํากัด สามารถกลาวไดวาเกิดท่ีใด อยูท่ีไหน และ

ถึงแกกรรมเม่ือไร พระในศาสนาคริสตมองคําสอนของอาริอุสวาผิดพลาด เพราะฟงดูแลว

เหมือนกับวาพระบุตรเปนเพียงคนกึ่งเทพ ราวกับวาจะถอยหลังเขาคลอง นับถือ

ศาสนามีเทพเจาหลายองคกันอีกครั้งหน่ึง คณะพระผูใหญในศาสนาคริสต จํานวน

ปริมาณ 150 คน ในขณะน้ันจึงประกาศวาพวกนับถือนิกายอาเรียนเปนพวกนอกรีต

และออกประกาศคําสารภาพแหงไนซีนใหคนท่ีถือศาสนาคริสตท่ีแทใชสวด

*13 ชนเผาซานโปลี (Sanpoli) และชนเผาเนสเปเลน (Nespelen) เปนชนเผา

อเมริกันอินเดียนท่ีมิไดมีความเจริญอยางไรเปนพิเศษ แตสองเผาน้ีมีชื่อเสียงเพราะได

เปนกลุมชนท่ีนักมานุษยวิทยา นักภาษาศาสตรและนักศาสนาท่ีมีชื่อเสียง ชื่อวิลเฮลม

ชมิดท (Wilhelm Schmidt ค.ศ. 1868-1954) ไดทําการศึกษาอยางลงลึก

วิลเฮลม ฃมิดทบวชเปนพระในนิกายโรมันคาทอลิก เขาไดเปนอาจารยในมหาวิทยาลัย

ดวย เม่ือพวกมิชชันนารีสงคําถามมายังเขาเปนจํานวนมากเกี่ยวกับเร่ืองศาสนาปฐม

ฐาน เขาจึงทําการศึกษาเรื่องของกลุมชนท่ีถือศาสนาปฐมฐานอยางละเอียด ใน ค.ศ.

1906 เขาออกวารสารชื่อ Anthropos ซึ่งรับบทความจากนักวิชาการนานาชาติท้ัง

Page 21: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๓

บทความเกี่ยวกับมานุษยวิทยาและบทความเกี่ยวกับภาษาศาสตร เขาเปนผูต้ังชื่อ

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติค เขาศึกษาเกี่ยวกับชนเผาพิกม่ี (Pygmy peoples)

ในสายตาของชมิดทกลุมชนท่ีมีความเจริญเริ่มมาอยางเกาแกท่ีสุดน้ันเขาเรียกวา

Urvölker สวนมากจะประกอบอาชีพลาสัตวและเก็บของปา จัดเปนมนุษยชาติท่ีสืบ

อารยธรรมกันมายาวนานกวาพวกใดท้ังสิ้น ชนเผาซานโปลีและชนเผาเนสเปเลนเปน

ชนเผาท่ีวิลเฮลม ชมิดทเรียกวาเปนพวก Urvölker และพวกน้ีรูจักสารภาพบาปตอ

พระเจาอันศักด์ิสิทธ์ิแลว

*14

คําแสดงอาบัติ ต้ัง นะโม ๓ จบ แลวกลาววา “วันน้ีเปนวันอุโบสถ ๑๕ คํ่า

ขาพเจา ขอนําอาบัติท่ีมีในพระปาติโมกข และนอกพระปาติโมกขมาแสดงคืนตอ

ทานกอนท่ีจะลงปาติโมกข ซ่ึงมีอาบัติถุลลัจจัย, ปาจิตตีย, ทุกกฎ และทุพภาษิต ๑. อะหัง (ภันเต, อาวุโส) สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย อาปตติ

โย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ. (ทานเจาขา !; แนะเธอ ! ขาพเจาตองอาบัติถุลลัจจัยเขาแลว คือ บางคร้ังไมทันพิจารณากลืน หรือฉันเน้ือ กระดูก เลือดของมนุษยบางก็ดี เวลาตา หู จมูก ลิ้น

กาย ใจ กระทบรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ แลวเกิดจิตกําหนัดยินดีใน

เพศบางก็ดี ฯลฯ ท้ังท่ีระลึกไดก็ดี ระลึกไมไดก็ดี ท่ีเปนอาบัติถุลลัจจัยท้ังหมด

ขาพเจาขอนํามาแสดงไว ณ ท่ีน้ี เพื่อจะไดเปนผูบริสุทธ์ิในพระธรรมวินัยตอไป) ถาม (ผูออนอาวุโส) อุกาสะ ปสสะถะ ภันเต ตา อาปตติโย. (ทานเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) (ผูแกอาวุโส) ปสสะสิ อาวุโส ตา อาปตติโย. (เธอเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) ตอบ (ผูออนอาวุโส) อามะ ภันเต ปสสามิ. (ใช ! ขาพเจา เห็น) (ผูแกอาวุโส) อามะ อาวุโส ปสสามิ. (ใช ! ขาพเจา เห็น)

Page 22: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๔

ถาม (ผูออนอาวุโส) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. (ทานพึงสํารวมระวังตอไป) (ผูแกอาวุโส) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. (เธอพึงสํารวมระวังตอไป) *ผูแสดง (ผูแกอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ อาวุโส สังวะริสสามิ. (ดีแลวเธอ ! กระผมจะสํารวมไวดวยดี) (ผูออนอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ ภันเต สังวะริสสามิ. (ดีแลวทาน ! กระผมจะสํารวมไวดวยดี) ทุติยัมป................................................................. (แมวาระท่ี ๒ .......................................................) ตะติยัมป............................................................... (แมวาระท่ี ๓ ....................................................)* ๒. อะหัง (ภันเต, อาวุโส) สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ปาจิตติยาโย อาปตติ

โย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ. (ทานเจาขา !; แนะเธอ ! กระผมตองอาบัติปาจิตตียเขาแลว เชน พูดสอเสียด

พระภิกษุ, พูดปด, พรากของเขียว, ทําสัตวเล็กสัตวนอยใหตาย, ใชนํ้าไมไดกรอง ฉัน

ภัตตาหารขาดการประเคน ฯลฯ ท้ังท่ีระลึกไดก็ดี ระลึกไมไดก็ดี ท่ีเปนอาบัติปาจิตตีย

ท้ังหมด กระผมขอนํามาแสดง ณ ท่ีน้ี เพื่อจะไดเปนผูบริสุทธ์ิในพระธรรมวินัยตอไป) ถาม (ผูออนอาวุโส) อุกาสะ ปสสะถะ ภันเต ตา อาปตติโย. (ทานเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) (ผูแกอาวุโส) ปสสะสิ อาวุโส ตา อาปตติโย. (เธอเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) ตอบ (ผูออนอาวุโส) อามะ ภันเต ปสสามิ. (ใช ! กระผมเห็น) (ผูแกอาวุโส) อามะ อาวุโส ปสสามิ.

Page 23: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๕

(ใช ! กระผมเห็น) ถาม (ผูออนอาวุโส) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. (ทานพึงสํารวมระวังตอไป) (ผูแกอาวุโส) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. (เธอพึงสํารวมระวังตอไป) *ผูแสดง (ผูออนอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ ภันเต สังวะริสสามิ. (ดีแลวทาน ! กระผมจะสํารวมไวดวยดี) (ผูแกอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ อาวุโส สังวะริสสามิ. (ดีแลวเธอ ! กระผมจักสํารวมไวดวยดี) ทุติยัมป................................................................. (แมวาระท่ี ๒ .......................................................) ตะติยัมป............................................................... (แมวาระท่ี ๓ ....................................................)* ๓. อะหัง (ภันเต, อาวุโส) สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ทุกกะฏาโย อาปตติโย

อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ. (ทานเจาขา กระผมตองอาบัติทุกกฎเขาแลว เชน นุงหมไมเปนปริมณฑล, ฉัน

อาหารขอดบาตร, ฉันดังซูดๆ, ฉันเลียริมฝปาก, บวนเสมหะ, ปสสาวะรดของเขียว,

นุงหมไตรจีวรไมพิจารณา, ท้ิงเศษขยะของปฏิกูลออกขางๆ กุฏิ, ขึ้นกุฏิ ศาลาไมเช็ด

เทาก็ดี ท้ังท่ีระลึกไดก็ดี ระลึกไมไดก็ดี ท่ีเปนอาบัติทุกกฎท้ังหมด กระผมขอนํามา

แสดง ณ ท่ีน้ี เพื่อจะไดเปนผูบริสุทธ์ิในพระธรรมวินัยตอไป) ถาม (ผูออนอาวุโส) อุกาสะ ปสสะถะ ภันเต ตา อาปตติโย. (ทานเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) (ผูแกอาวุโส) ปสสะสิ อาวุโส ตา อาปตติโย. (เธอเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) ตอบ (ผูออนอาวุโส) อามะ ภันเต ปสสามิ. (ใช ! ขาพเจาเห็น)

Page 24: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๖

(ผูแกอาวุโส) อามะ อาวุโส ปสสามิ. (ใช ! ขาพเจาเห็น) ถาม (ผูออนอาวุโส) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. (ทานพึงสํารวมระวังตอไป) (ผูแกอาวุโส) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. (เธอพึงสํารวมระวังตอไป) *ผูแสดง (ผูออนอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ ภันเต สังวะริสสามิ. (ดีแลวทาน ! ขาพเจาจะสํารวมไวดวยดี) (ผูแกอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ อาวุโส สังวะริสสามิ. (ดีแลวเธอ ! ขาพเจาจักสํารวมไวดวยดี) ทุติยัมป................................................................. (แมวาระท่ี ๒ .......................................................) ตะติยัมป............................................................... (แมวาระท่ี ๓ ....................................................)* ๔. อะหัง (ภันเต, อาวุโส) สัมพะหุลา ทุพภาสิตาโย อาปตติโย อาปนโน ตา

ปะฏิเทเสมิ. (ทานเจาขา ! แนะเธอ !) ขาพเจาตองอาบัติทุพภาษิตเขาแลว คือ พูดหยอกลอหรือลอเลียนกับอุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน เปนตน ท้ังท่ีระลึกไดก็ดี ระลึกไมไดก็ดี

ท่ีเปนอาบัติทุพภาษิต ขาพเจาขอนํามาแสดง ณ ท่ีน้ี เพื่อจะไดเปนผูบริสุทธ์ิในพระ

ธรรมวินัยตอไป ถาม (ผูออนอาวุโส) อุกาสะ ปสสะถะ ภันเต ตา อาปตติโย. (ทานเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) (ผูแกอาวุโส) ปสสะสิ อาวุโส ตา อาปตติโย. (เธอเห็นอาบัตินั้นหรือ ?) ตอบ (ผูออนอาวุโส) อามะ ภันเต ปสสามิ.

Page 25: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๗

(ใช ! ขาพเจาเห็น) (ผูแกอาวุโส) อามะ อาวุโส ปสสามิ. (ใช ! ขาพเจาเห็น) ถาม (ผูออนอาวุโส) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ. (ทานพึงสํารวมระวังตอไป) (ผูแกอาวุโส) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ. (เธอพึงสํารวมระวังตอไป) *ผูแสดง (ผูออนอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ ภันเต สังวะริสสามิ. (ดีแลวทาน ! ขาพเจาจักสํารวมไวดวยดี) (ผูแกอาวุโส) สาธฺ สุฏฐ อาวุโส สังวะริสสามิ. (ดีแลวเธอ ! ขาพเจาจักสํารวมไวดวยดี) ทุติยัมป................................................................. (แมวาระท่ี ๒ .......................................................) ตะติยัมป............................................................... (แมวาระท่ี ๓ ....................................................)*

สรุปทายตอนจบ

นะปุ เนวัง กะริสสามิ (นับต้ังแตนี้ตอไป ขาพเจาจักสํารวมกายไวดวยดี)

นะปุ เนวัง ภาสิสสามิ (นับต้ังแตนี้ตอไป ขาพเจาจักสํารวมวาจาไวดวยดี)

นะปุ เนวัง จินตะยิสสามิ (นับต้ังแตนี้ตอไป ขาพเจาจักสํารวมใจไวดวยดี) *15

คําบอกปริสุทธิ ๑. ปะริสุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรหิ,.

Page 26: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๘

แนะเธอ !(ฉัน, ขาพเจา) บริสุทธ์ิแลว ขอเธอจงทราบวา (ฉัน, ขาพเจา) บริสุทธ์ิดวย

เถิด. ๒. ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ.

ทานเจาขา ขาพเจาบริสุทธ์ิแลว ขอทานจงทราบวา ขาพเจาบริสุทธ์ิดวยเถิด. ผูท่ีแกกวาใชขอ ๑. สวนผูท่ีออนกวาใชขอท่ี ๒.

*16

……….“แลวเกลาจุกผูกไถท่ีใสของ ใหแหวนทองทุกสิ่งทําม่ิงขวัญ แลวกอดลูกผูกใจจะไกลกัน สอื้นอั้นออกปากฝากเทวา ขอเดชะพระไพรขาไหวกราบ ชวยกําหราบเสือสิงห มหิงษา ท้ังปูเจาเขาเขินขอเชิญพา ไปถึงยาอยาใหหลงเท่ียววง

วน” (จากหนังสือเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ เลม 2 พิมพครั้ง

แรก ป มเสง พ.ศ. 2460 พิมพท่ีโรงพิมพไทย ถนนรองเมือง การสะกดการันตเปนไป

ตามตนฉบับน้ี) *17

พุทธาภิถุติ หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด เราท้ังหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถิด) โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจาน้ัน พระองคใด; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชา จะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษท่ีสมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา;

Page 27: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๕๙

สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย ท้ังหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูต่ืน ผูเบิกบานดวยธรรม; ภะคะวา, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว; โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระ- พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ได

กัง สะพ๎รห๎มะกัง, สัสสะมะณะ- ทรงทําความดับทุกขใหแจงดวยพระ

พ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุส- ปญญาอันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลก

สัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา น้ีพรอมท้ังเทวดา, มาร, พรหม และ

ปะเวเทสิ. หมูสัตว พรอมท้ังสมณพราหมณ, พรอมท้ังเทวดาและมนุษยใหรูตาม; โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด,

ทรงแสดงธรรมแลว; อาทิกัล๎ยาณัง, ไพเราะในเบื้องตน;

มัชเฌกัล๎ยาณัง, ไพเราะในทามกลาง;

ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, ไพเราะในท่ีสุด;

สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริ- ทรงประกาศพรหมจรรย คือ แบบ

ปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รห๎มะจะริยัง แหงการปฏิบัติอันประเสริฐบริสุทธ์ิ

ปะกาเสสิ, บริบูรณสิ้นเชิง, พรอมท้ังอรรถะ (คําอธิบาย) พรอมท้ังพยัญชนะ (หัวขอ)

ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมี

พระภาคเจาพระองคน้ัน; ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจา

นะมามิ พระองคน้ันดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระพุทธคุณ)

Page 28: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๐

รตนัตตยัปณามคาถา

หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะ ปาฐัญจะ

ภะณามะ เส.

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณา มะหัณณะโว, พระพุทธเจาผูบริสุทธ์ิ มีพระกรุณา ดุจหวงมหรรณพ; โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองคใด มีตา คือ ญาณอันประเสริฐ หมดจดถึงท่ีสุด;

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลส

ของโลก;

วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง. ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคน้ัน

โดยใจเคารพเอ้ือเฟอ.

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สวางรุงเรือง

เปรียบดวงประทีป; โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, จําแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน,

สวนใด; โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดท่ีชี้แนว

แหงโลกุตตระน้ัน; วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง. ขาพเจาไหวพระธรรมน้ัน โดยใจเคารพ

เอื้อเฟอ. สังโฆ สุเขตตา ภ๎ยะติเขตตะ- พระสงฆเปนนาบุญอันยิ่งใหญกวานาบุญ

สัญญิโต, อันดีท้ังหลาย; ถวายพรพระ (พุทธชัยมงคลคาถา)

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะ- พระจอมมุนี ไดชนะพญามารผูเนรมิตแขน

Page 29: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๑

สาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆ- มากต้ังพัน, ถืออาวุธครบมือขี่คชสารครี

ระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธิ- เมขละ, พรอมดวยเสนามารโหรองกองกึก,

นา ชิตะวา มุนินโท, ดวยธรรม วิธีมีทานบารมี เปนตน ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวยเดช

มังคะลานิ. แหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะ- พระจอมมุนี ไดชนะอาฬวกยักษ, ผูมี

รัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะ- จิตกระดาง ปราศจากความอดทนมี

มะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ฤทธ์ิพิลึกยิ่งกวาพญามาร, เขามาตอสู

ชิตะวา มุนินโท. ยิ่งนักจนตลอดรุง, ดวยวิธีทรมานเปน อันดี คือ พระขันตี. ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัต- พระจอมมุนี ไดชนะชางตัวประเสริฐ

ตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ ชื่อ นาฬาคิรี, เปนชางเมามันยิ่งนัก

สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา แสนที่จะทารุณประดุจเพลิงปา, แล

ชิตะวา มุนินโท. จักราวุธ แลสายฟา, ดวยวิธีลดลง

ดวยนํ้า คือ พระเมตตา. ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุ- พระจอมมุนี มีพระหฤทัยไปในที่จะ ทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถัง- กระทําอิทธิปาฏิหาริย, ไดชนะโจรชื่อ คุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะ- องคุลิมาล, (ผูมีพวงดอกไม คือ น้ิว โน ชิตะวา มุนินโท, มนุษย) แสนรายกาจมีฝมือ, ถือดาบ

Page 30: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๒

เงื้อวิ่งไลพระองคไปสิ้นทาง ๓ โยชน, ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน. กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ พระจอมมุนี ไดชนะความกลาวราย

คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะ- ของนางจิญจมาณวิกา, ทําอาการ

นัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ- ประดุจวามีครรภ เพราะทําไมมีสัณฐาน

โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, อันกลม, ใหเปนประดุจมีทอง, ดวยวิธี สมาธิอันงาม คือ ความระงับพระหฤทัย, ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน.

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะ- พระจอมมุนี รุงเรืองแลวดวยประทีป วาทะเกตุง วาทาภิโรปตะมะนัง คือ พระปญญา, ไดชนะสัจจกนิครนถ, อะติอันธะภูตัง ปญญาปะทีปะ- ผูมีอัธยาศัยในที่จะละเสียซึ่งความสัตย, ชะลิโต ชิตะวา มุนินโท, มีใจในท่ีจะยกถอยคําของตนใหสูงดุจ ยกธง, เปนผูมืดมนยิ่งนัก ดวยเทศนา- ญาณวิธี, คือรูอัธยาศัยแลวตรัสเทศนา, ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน.

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง พระจอมมุนี โปรดใหพระโมคคัลลานะ มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ เถรพุทธชิโนรส, เนรมิตกายเปนนาคราช ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ไปทรมานพญานาค ชื่อนันโทปนันทะ, ชิตะวา มุนินโท, ผูมีความรูผิดมีฤทธ์ิมาก ดวยวิธีอันให อุปเทศแหงฤทธ์ิแกพระเถระ, ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

Page 31: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๓

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน.

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏ- พระจอมมุนี ไดชนะพรหมผูมีนามวา ฐะหัตถัง พ๎รห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิ- ทาวพกา, ผูมีฤทธ์ิ มีอันสําคัญตนวาเปน พะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะวิธินา ผูรุงเรือง, ดวยคุณอันบริสุทธ์ิ, มีมือ ชิตะวา มุนินโท, อันทาวภุชงค คือ ทิฏฐิท่ีตนถือผิดรึงรัด ไวแนนแฟนแลว, ดวยวิธีวางยาอันพิเศษ คือ เทศนาญาณ,

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะ- ขอชัยมงคลท้ังหลาย จงมีแกทานดวย

มังคะลานิ. เดชแหงพระพุทธชัยมงคลน้ัน.

เอตาป พุทธะชะยะมังคะละ- นรชนใด มีปญญา, ไมเกียจคราน, อัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สวดก็ดี ระลึกก็ดี, ซึ่งพระพุทธชัยมงคล สะระเต มะตันที หิต๎วานะเนกะ- ๘ คาถา แมเหลาน้ีทุกๆ วัน, นรชนน้ัน วิวิธานิ จุปททะวานิ โมกขัง สุขัง พึงละเสียไดซึ่งอุปทวอันตรายท้ังหลาย อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญ. มีประการตางๆ เปนอเนกถึงวิโมกขศิวาลัย, อันเปนบรมสุข แล. *18

ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เอวัมเม สุตัง. ขาพเจาไดฟงมาแลวอยางน้ี. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สมัยหน่ึงพระผูมีพระภาคเจา, พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน เสด็จ ประทับอยูท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวัน มิคะทาเย. ใกลเมืองพาราณสี. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปญจะวัคคิเย ในกาลน้ันแล พระผูมีพระภาคเจา ภิกขู อามันเตสิ, ตรัสเตือนพระภิกษุปญจวัคคีย ให ต้ังใจฟงภาษิตน้ีวา.

เท๎วเม ภิกขะเว อันตา. ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ท่ีสุดสองอยางเหลาน้ี.

Page 32: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๔

ปพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา. อันบรรพชิตไมควรเสพ. โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุ- คือ การประกอบตนใหพัวพันดวย กาม โยโค. ในกามทั้งหลายน้ีใด. หีโน, เปนธรรมอันเลว, คัมโม, เปนเหตุใหต้ังบานเรือน, โปถุชชะนิโก, เปนของคนมีกิเลสหนา, อะนะริโย, ไมใชของคนไปจากขาศึก คือ กิเลส, อะนัตถะสัญหิโต, ไมประกอบดวยประโยชนอยางหน่ึง, โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค, คือ การประกอบความเหน็ดเหน่ือย แกตนเหลาน้ีใด, ทุกโข, ใหเกิดทุกขแกผูประกอบ, อะนะริโย, ไมทําผูประกอบใหไปจากขาศึก คือ กิเลส, อะนัตถะสัญหิโต, ไมประกอบดวยประโยชนอยางหน่ึง, เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต ดูกอน ภิกษุท้ังหลาย !, ขอปฏิบัติ อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา, อันเปนกลาง ไมเขาไปใกลท่ีสุดสอง อยางน่ันน้ัน, ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, อันตถาคตไดตรัสรูแลวดวยปญญา อันยิ่ง, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี, กระทําดวงตา คือกระทําญาณเครื่องรู, อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ ยอมเปนไปเพื่อความเขาไปสงบรํางับ นิพพานายะ สังวัตตะติ. เพื่อความรูยิ่ง เพื่อความรูดี เพื่อความ ดับ. กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ขอปฏิบัติซึ่ง ปะฏิปะทา, เปนกลางน้ันเหลาไหน,

Page 33: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๕

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, ท่ีตถาคตไดตรัสรูแลว ดวยปญญาอัน ยิ่ง, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี, กระทําดวงตา คือกระทําญาณเครื่องรู, อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ ยอมเปนไปเพื่อความเขาไปสงบรํางับ, นิพพานายะ สังวัตตะติ. เพื่อความรูยิ่ง เพื่อความรูดี เพื่อความ ดับ. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. ทางมีองค ๘ เคร่ืองไปจากขาศึก คือ กิเลสน้ีเอง. เสยยะถีทัง :- ไดแกสิ่งเหลาน้ี คือ :- ๑. สัมมาทิฏฐิ ปญญาอันเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปโป ความดําริชอบ ๓. สัมมาวาจา วาจาชอบ ๔. สัมมากัมมันโต การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีโว ความเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ ๗. สัมมาสะติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสะมาธิ ความต้ังจิตชอบ อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ดูกอน ภิกษุท้ังหลาย ! อันน้ีแล ขอ ปะฏิปะทา, ปฏิบัติอันเปนกลาง, ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, ท่ีตถาคตไดตรัสรูแลว ดวยปญญาอันยิ่ง, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี, กระทําดวงตา คือกระทําญาณเครื่องรู, อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ ยอมเปนไปเพื่อความเขาไปสงบรํางับ, นิพพานายะ สังวัตตะติ. เพื่อความรูยิ่ง เพื่อความรูดี เพื่อความดับ. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ขอน้ีแล ของ อะริยะสัจจัง. จริงแหงพระอริยบุคคล คือ ทุกข.

Page 34: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๖

ชาติป ทุกขา, แมความเกิดก็เปนทุกข, ชะราป ทุกขา, แมความแกก็เปนทุกข, มะระณัมป ทุกขัง, แมความตายก็เปนทุกข, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุ- แมความโศก ความร่ําไรรําพัน, ปายาสาป ทุกขา, ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ, ความคับแคนใจก็เปนทุกข, อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประสบกับสิ่งไมเปนท่ีรัก ท่ีพอใจ กเ็ปนทุกข, ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเปนท่ีรัก ท่ีพอใจ ก็เปนทุกข, ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งน้ันน่ันก็ เปนทุกข, สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา, วาโดยยอ อุปาทานขันธท้ัง ๕ เปนตัวทุกข, อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ขอน้ีแล ของจริง สะมุทะโย อะริยะสัจจัง, แหงอริยบุคคล คือ เหตุใหทุกขเกิดขึ้น, ยายัง ตัณหา, ความทะยานอยากน้ีใด, โปโนพภะวิกา, ทําความเกิดอีก, นันทิราคะสะหะคะตา, เปนไปกับความกําหนัด ดวยอํานาจ ความเพลิน, ตัต๎ระตัต๎ราภินันทินี, เพลินยิ่งในอารมณน้ันๆ, เสยยะถีทัง :- ไดแกสิ่งเหลาน้ี คือ :- กามะตัณหา, คือ ความทะยานอยากในอารมณท่ีใคร, ภะวะตัณหา, คือ ความทะยานอยากในความมี ความเปน, วิภะวะตัณหา, คือ ความทะยานอยากในความไมมี ไมเปน,

Page 35: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๗

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ขอน้ีแล ของ อะริยะสัจจัง, จริงแหงอริยบุคคลคือ ความดับทุกข, โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะ- ความดับโดยไมติดยอมอยูไดโดย

วิราคะนิโรโธ, ไมเหลือแหงตัณหาน้ันน่ันแหละอันใด, จาโค, ความสละตัณหาน้ัน, ปะฏินิสสัคโค, ความวางตัณหาน้ัน, มุตติ, ความปลอยตัณหาน้ัน, อะนาละโย, ความไมพัวพันแหงตัณหาน้ัน, อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโร- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็น้ีแล ของ ธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง. จริงแหงอริยบุคคลคือ. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. ทางมีองค ๘ เครื่องไปจากขาศึก คือ กิเลสน้ีเอง.

เสยยะถีทัง :- ไดแกสิ่งเหลาน้ี คือ :- ๑. สัมมาทิฏฐิ ปญญาอันเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปโป ความดําริชอบ ๓. สัมมาวาจา วาจาชอบ ๔. สัมมากัมมันโต การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีพชอบ ๖. สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ ๗. สัมมาสะติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสะมาธิ ความต้ังจิตชอบ อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! จักษุไดเกิดขึ้น ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ, แลว ญาณไดเกิดขึ้นแลว, ปญญาได ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง เกิดขึ้นแลว วิทยาไดเกิดขึ้นแลว, อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา แสงสวางไดเกิดขึ้นแลวแกเรา, ใน อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ธรรมท้ังหลายท่ีเราไมไดเคยฟงแลว

Page 36: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๘

ในกาลกอนวา, น้ีเปนทุกขอริยสัจจ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขังอะริยะสัจจัง, ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขอริยสัจ ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว. น้ีน้ันแล ควรกําหนดรูดวยปญญา. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขอริยสัจ ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว. น้ีน้ันแล อันเราไดกําหนดรูแลว . อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! จักษุไดเกิดขึ้น สัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะ- แลว ญาณไดเกิดขึ้นแลว, ปญญาได นุสสุเตสุ, ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ เกิดขึ้นแลว วิทยาไดเกิดขึ้นแลว, ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา แสงสวางไดเกิดขึ้นแลวแกเรา, ใน อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ธรรมท้ังหลายท่ีเราไมไดเคยฟงแลว ในกาลกอนวา, น้ีเปนทุกขสมุทัย อริยสัจ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขสมุทัย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว. อริยสัจน้ีน้ันแล ควรละเสีย. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขสมุทัย อะริยะสัจจัง, ปะหีนันติ เม ภิกขะเว. อริยสัจน้ีน้ันแล อันเราไดละเสียแลว. อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! จักษุไดเกิดขึ้น จันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะ- แลว ญาณไดเกิดขึ้นแลว, ปญญาได นุสสุเตสุ, ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ เกิดขึ้นแลว วิทยาไดเกิดขึ้นแลว, ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ แสงสวางไดเกิดขึ้นแลวแกเรา, ใน วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ธรรมท้ังหลาย ท่ีเราไมไดเคยฟงแลว ในกาลกอนวา, น่ีทุกขนิโรธอริยสัจ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขนิโรธ ยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว. อริยสัจน้ีน้ันแล ควรทําใหแจง. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขนิโรธ ยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว. อริยสัจน้ีน้ันแล อันเราไดกระทําให

Page 37: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๖๙

แจงแลว. อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิ- ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! จักษุไดเกิดขึ้น ปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, แลว ญาณไดเกิดขึ้นแลว, ปญญาได ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ, ธัมเมสุ เกิดขึ้นแลว วิทยาไดเกิดขึ้นแลว, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ แสงสวางไดเกิดขึ้นแลวแกเรา, ใน ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ ธรรมท้ังหลาย ท่ีเราไมไดเคยฟงแลว อาโลโก อุทะปาทิ. ในกาลกอนวา, น่ีทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาอริยสัจ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขนิโรธ ปะฏิปะทาอะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ คามินีปฏิปทาอริยสัจน้ีน้ันแล ควร เม ภิกขะเว. ทําใหเจริญขึ้น. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็ทุกขนิโรธ ปะฏิปะทาอะริยะสัจจัง, ภาวิตันติ คามินีปฏิปทาอริยสัจน้ีน้ันแล อันเรา เม ภิกขะเว. ไดเจริญแลว. ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเม- ดูกอน ภิกษุท้ังหลาย ! ปญญาอนัรูเห็น สุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติปะริ- ตามเปนจริงแลวอยางไร, ในอริยสัจ ๔ วัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง เหลาน้ีของเรา, ซึ่งมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒

ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อโหสิ. อยางน้ียังไมหมดจดเพียงใดแลว. เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! เราจะยืนยนัตนวา โลเก สะมาระเก สะพ๎รห๎มะเก, เปนผูตรัสรูพรอมเฉพาะซ่ึงปญญาเครื่อง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ ตรัสรูชอบ, ไมมีความตรัสรูอื่นจะยิ่งกวา สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง ในโลก, เปนไปกับดวยเทวดา มาร พรหม, สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ในหมูสัตวท้ังสมณพราหมณ เทวดา ปจจัญญาสิง. มนุษยไมไดเพียงน้ัน. ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! ก็เม่ือใดแลปญญา จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติปะริ- อันรูเห็นตามเปนจริงแลวอยางไร, ใน

Page 38: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๐

วัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง อริยสัจ ๔ เหลาน้ีของเราซึ่งมีรอบ ๓ ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ. มีอาการ ๑๒ อยางน้ีหมดจดดีแลว. อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ! เม่ือน้ันเรายืนยัน โลเก สะมาระเก สะพ๎รห๎มะเก, ตนไดวา, เปนผูตรัสรูพรอมเฉพาะซ่ึง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ ปญญาเครื่องตรัสรูชอบ, ไมมีความตรัสรู สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง อื่นจะยิ่งกวาในโลก, เปนไปกับดวยเทวดา สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ มาร พรหม,ในหมูสัตวท้ังสมณพราหมณ ปจจัญญาสิง. เทวดา มนุษย. ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง ก็แลปญญาอันรูเห็นไดเกิดขึ้นแลว อุทะปาทิ. แกเรา. อะกุปปา เม วิมุตติ, อะยะมันติมา วาความพนวิเศษของเราไมกลับ ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ. กําเริบ. ชาติน้ีเปนท่ีสุดแลว บัดน้ีไมมี ความเกิดอีก. อิทะมะโวจะ ภะคะวา. พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสธรรม ปริยายอันน้ีแลว. อัตตะมะนา ปญจะวัคคิยา ภิกขู พระภิกษุปญจวัคคียก็มีใจยินดี ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง. เพลินภาษิตของพระผูมีพระภาคเจา. อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระ- ก็แลเม่ือไวยยกรณน้ี, อันพระผูมี

ณัส๎มิง ภัญญะมาเน, พระภาคเจาตรัสอยู. อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง จักษุในธรรมอันปราศจากธุลี ปราศจาก วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ. มลทิน. ไดเกิดขึ้นแลวแกพระผูมีอายุ โกณฑัญญะ. ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพัน- วาสิ่งใดสิ่งหน่ึงมีอันเกิดขึ้นเปนธรรมดา, ตัง นิโรธธัมมันติ. สิ่งท้ังปวงน้ันมีอันดับไปเปนธรรมดา. ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ก็ครั้นเม่ือธรรมจักรอันพระผูมีพระภาค

ธัมมะจักเก, เจาใหเปนไปแลว.

Page 39: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๑

ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. เหลาภุมมเทวดาก็ยังเสียงใหบันลือลั่น,

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง- วาน่ันจักรคือธรรมไมมีจักรอ่ืนสูได,

อิสิปะตะเน มิคะทาเย, อะนุตตะรัง อันพระผูมีพระภาคเจาใหเปนไปแลว,

ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิ- ในปาอิสิปตนมฤคทายวันใกลเมือง

วัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะ- พาราณสี, อนัสมณพราหมณ เทวดา

เณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา มาร พรหม. และใครๆ ในโลกยังไมให

พ๎รห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ. เปนไปไดแลวดังน้ี. ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา, เทพเจาเหลาชั้นจาตุมหาราช, ไดฟง จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะ- เสียงของเทพเจาเหลาภุมมเทวดาแลว. นุสสาเวสุง. ก็ยังเสียงใหบันลือลั่น. จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง เทพเจาเหลาชั้นดาวดึงส ไดฟงเสียง สัททัง สุต๎วา, ตาวะติงสา เทวา ของเทพเจาเหลาชั้นจาตุมหาราช

สัททะมะนุสสาเวสุง. แลว ก็ยังเสียงใหบันลือลั่น

ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง เทพเจาเหลาชั้นยามา, ไดฟงเสียงของ

สุต๎วา ยามา เทวา สัททะมะนุส- เทพเจาเหลาชั้นดาวดึงสแลว, ก็ยัง สาเวสุง. เสียงใหบันลือลั่น. ยามานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา, เทพเจาเหลาชั้นดุสิต, ไดฟงเสียงของ ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. เทพเจาเหลาชั้นยามาแลว, ก็ยังเสียง ใหบันลือลั่น. ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา, เทพเจาเหลาชั้นนิมมานรดี, ไดฟงเสียง นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุส- ของเทพเจาเหลาชั้นดุสิตแลว, ก็ยังเสียง สาเวสุง. ใหบันลือลั่น. นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง เทพเจาเหลาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี, สุต๎วา, ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา ไดฟงเสียงของเทพเจาเหลาชั้นนิมมานรดี สัททะมะนุสสาเวสุง. แลว, ก็ยังเสียงใหบันลือลั่น.

Page 40: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๒

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง เทพเจาเหลาท่ีเกิดในหมูพรหม, ไดฟง

เสียง สัททัง สุต๎วา, พ๎รห๎มะกายิกา เทวา ของเทพเจาเหลาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี สัททะมะนุสสาเวสุง. แลว, ก็ยังเสียงใหบันลือลั่น. เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง วาน่ันจักรคือธรรม ไมมีจักรอ่ืนสูได,

อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง อันพระผูมีพระภาคเจาใหเปนไปแลว.

ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิ- ในปาอิสิปตนมฤคทายวันใกลเมือง

วัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะ- พาราณสี, อันสมณะพราหมณ เทวดา

เณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา มาร พรหม, และใครๆ ในโลกยังไมให

พ๎รห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ. เปนไปไดแลว ดังน้ี.

อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ โดยขณะหน่ึงครูหน่ึงน้ัน, เสียงขึ้นไปถึง

มุหุตเตนะ ยาวะ พ๎รห๎มะโลกา พรหมโลกดวยประการฉะน้ี.

สัทโท อัพภุคคัจฉิ. อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ, ท้ังหม่ืนโลกธาตุน้ี.

สังกัมป สัมปะกัมป สัมปะเวธิ. ไดหวั่นไหวสะเทือนสะทานลั่นไป.

อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส ท้ังแสงสวางอันยิ่งไมมีประมาณ,

โลเก ปาตุระโหสิ. ไดปรากฏแลวในโลก.

อะติกกมัเมวะ เทวานัง เทวานุ- ลวงเทวานุภาพของเทพยดาท้ังหลาย

ภาวัง. เสียหมด.

อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ. ลําดับน้ันแล พระผูมีพระภาคเจา ไดทรงเปลงอุทาน.

อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ. วาโกณฑัญญะไดรูแลวหนอ ผูเจริญ.

อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ. โกณฑัญญะไดรูแลวหนอ ผูเจริญ. อิติหิทัง อายัสม๎ะโต โกณฑัญญัสสะ, เพราะเหตุน้ัน นามวา อัญญาโกณฑัญญะ

อัญญาโกณฑัญโญเต๎ววะ นามัง น้ีน่ันเทียว, ไดมีแลวแกพระผูมีอายุ

อะโหสีติ. โกณฑัญญะ ดวยประการฉะน้ี แล.

Page 41: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๓

*19 อายตนะท้ัง 6 ของมนุษย คือ ตาคูกับรูป หูคูกับเสียง จมูกคูกับกลิ่น ลิ้นคูกับ

รส กายคูกับโผถัพพะ และใจคูกับธรรมารมย (คือสิ่งท่ีถูกรู) ในกรณีท่ีมีความศรัทธา

อยางเต็มเปยมน้ัน อายตนะท้ัง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายจะหมดความรูสึกไป

หมด เหลือแตอายตนะสุดทาย คือใจเทาน้ันท่ีกําลังรูสึกด่ืมดํ่าไปในความศรัทธา

*20 Teresa of Ávila (Saint) เกิดในตระกูลสูงในสเปน ชื่อเดิมชื่อ Teresa

de Cepeda Y Ahumada เกิดเม่ือ ค.ศ. 1515 ท่ีเมือง Ávila ในประเทศสเปน

มารดาสิ้นชีวิตเม่ือเธออายุได 14 ป เธอมีความศรัทธาในศาสนาอยางลึกซึ้ง บิดา

พยายามคัดคานไมใหเธอบวชเปนนางชี แตเธอก็ไปบวชจนไดในสํานักคารเมลิทปฏิรูป

(Carmelite Reform) เธอบวชอยูนานตลอดชีวิตและไดรับการยกยองจากคณะ

สงฆท้ังในสเปนและในกรุงวาติกัน เธอสิ้นชีวิตใน ค.ศ. 1582 และไดรับการประกาศ

วาเปนนักบุญ ในค.ศ. 1622 แมชีเทเรซาแหงอาวิลาไดรับความยกยองอยางสูงแมใน

สมัยปจจุบัน ใน ค.ศ. 1970 พระสันตปาปาปอลท่ี 6 ไดประกาศวาเซนตเทเรซาแหงอา

วิลาเขียนหนังสือสําคัญทางศาสนาคริสตหลายเลม และมีความสามารถในการเปนครู

และเปนนักปกครองเม่ือโบสถท่ีเธอต้ังขยายจํานวนออกไป ในชีวิตสวนตัวเธอสวด

มนตภาวนาอยูเกอืบตลอดเวลาเมื่อวางจากภารกิจ และเปนผูเชื่อในเรื่องการประหยัด

กินอยูอยางมัธยัสถตามฐานะของนักบวช และการบําเพ็ญบุญเพื่อชวยลางบาปใหแก

ชาวโลก

*21 Francis of Assisi เซนตฟรานซิส แหงอัซซีซี เปนชาวอิตาเลียนเกิดเม่ือ

ค.ศ. 1181/82 ท่ีเมืองอัซซีซี สิ้นชีวิตใน ค.ศ. 1226 ไดรับการประกาศเปนนักบุญใน

ค.ศ. 1228 เปนผูใหกําเนิดนักบวชนิกายฟรานซิสกัน (Franciscan orders of

men and women) เซนตฟรานซิสเปนผูท่ีประชาชนรักและศรัทธามาก เพราะ

ชวยเหลือประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งคนจน เซนตฟรานซิสแหงอัซซีซีไดรับการ

ยกยองวาเปนนักบุญผูคุมครองรักษาประเทศอิตาลีรวมกับนักบุญสตรีคือเซนตแคท-

เธอรีน แหงซีนา (Saint Catherine of Siena)

Page 42: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๔

*22 กลาวไวใน F. Goodman Ectasy, ritual and alternate reality.

Bloomington : Indiana University Press (1988) นํามาอางถึงใน Frank A. Salamone (editor) Eycyclopaedia of religious rites, rituals and festivals (2004 : 123)

*23 อิติป โส ภควา, พระตถาคตเจาน้ัน พระองคใด; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชา จะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษท่ีสมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย ท้ังหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูต่ืน ผูเบิกบานดวยธรรม; ภควาติ, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว;

*24 คํากลาวใหพรน้ันในศาสนาพุทธมีหลายบทใหพระสงฆเลือกสวดแลวแตอันใด

จะเหมาะแกเวลาและโอกาส แตในศาสนาพุทธไมเรียกวา คําใหพร เพราะศาสนาพุทธ

ถือวาคุณความดีหรือบุญกุศลเปนผลมาจากกรรมดีของบุคคลหน่ึงๆ ไมใชเรื่องท่ีใคร

จะประสาทพรใหใครไดเปนการจําเพาะเจาะจง บทสวดใหพรท่ีมีหลายบทมีคําเรียกชื่อ

รวมวา อะนุโมทานาคาถา หมายความถึงการท่ีพระสงฆทานอนุโมทนาในบุญกุศลท่ี

บุคคลตางๆไดทําไว บทอะนุโมทานาคาถามีหลายบทจะยกมาเปนตัวอยางพรอมดวย

คําแปลพอใหชวยความเขาใจเรื่องการใหพรในศาสนาพุทธ สําหรับบทอะทาสิ เม ท่ี

กลาวถึงน้ันชื่อของบทคือ ติโรกุฑฑกัณฑ ปจฉิมภาค ท่ีคัดมาใหไวเปนบทสุดทาย

Page 43: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๕

อานคําแปลของบทนี้แลวจะเห็นวาในศาสนาพุทธสรรเสริญบุญท่ีสาธุชนไดทําไวแลว

ไมไดอางอํานาจของสิ่งศักด์ิสิทธ์ิมาใหพร อะนุโมทนาคาถา อนุโมทนารัมภคาถา

ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ หวงนํ้าท่ีเต็มยอมยังสมุทรสาครให

สาคะรัง บริบูรณไดฉันใด.

เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง ทานท่ีทานอุทิศใหแลวในโลกน้ี, ยอม

อุปะกัปปะติ, สําเร็จประโยชน แกผูท่ีละโลกน้ีไปได แลวฉันน้ัน,

อิจฉิตัง ปตถิตัง ตุมหัง, ขออิฏฐผล ท่ีทานปรารถนาแลว ต้ัง ใจแลว,

ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จงสําเร็จโดยฉับพลัน,

สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา, ขอความดําริท้ังปวงจงเต็มท่ี,

จันโท ปณณะระโส ยะถา, เหมือนพระจันทรในวันเพ็ญ,

มะณิ โชติระโส ยะถา, เหมือนแกวมณีอันสวางไสว ควรยินดี,

สามัญญานุโมทนาคาถา สัพพีติโย วิวัชชันตุ, ความจัญไรท้ังปวง (ของทาน) จง บําราศไป

สัพพะโรโค วินัสสะตุ โรคท้ังปวงของทานจงหาย,

มา เต ภะวัต๎วันตะราโย, อันตรายอยามีแกทาน,

สุขี ทีฆายุโก ภะวะ, ทานจงเปนผูมีความสุข มีอายุยืน

อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง พรสี่ประการคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ,

วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา ยอมเจริญแกบุคคล ผูมีปกติไหวกราบ,

วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง, มีปกติออนนอมตอผูใหญเปนนิตย ดวยประการฉะน้ีแล ฯ

Page 44: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๖

โภชนานุโมทนาคาถา อายุโท พะละโท ธีโร, ผูมีปญญา ใหอายุ ใหกําลัง,

วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, ใหวรรณะ ใหปฏิภาณ

สุขัสสะ ทาตา เมธาวี ผูมีปญญา ใหความสุข,

สุขัง โส อะธิคัจฉะติ, ยอมไดประสบสุข,

อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ บุคคลผูให อายุ พละ วรรณะ สุข

ปะฏิภาณะโท, และปฏิภาณ,

ฑีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถู- ไปเกิดในท่ีใดๆ ยอมเปนผูมีอายุ

ปะปชชะตีติ. ยืน, มียศในท่ีน้ันๆ ดังน้ี. กาลทานสุตตคาถา

กาเล ทะทันติ สะปญญา วะทัญู, ทายกท้ังหลายเหลาใด, เปนผูมี

วีตะมัจฉะรา กาเลนะ ทินนัง อะริ- ปญญา, มีปกติรูจักคําพูดปราศจาก

เยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิส วิปปะสันนะ- ตระหน่ี, มีใจเลื่อมใสแลวในพระ

มะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, อริยเจาท้ังหลาย, ซึ่งเปนผูตรงคงท่ี บริจาคทาน ทําใหเปนของท่ีตนถวาย โดยกาลนิยม, ในกาลสมัยทักษิณาทาน, ของทายกน้ันเปนคุณสมบัติมีผลไพบูลย, เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง ชนท้ังหลายเหลาใด อนุโมทนา, หรือ

กะโรนติ วา, ชวยกระทําการขวนขวายในทานนั้น,

นะ เตนะ ทักขิณา โอนา, ทักษิณาทานของเขา มิไดบกพรองไป ดวยเหตุน้ัน, เตป ปุญญัสสะ ภาคิโน, ชนท้ังหลายแมเหลาน้ัน ยอมเปนผูมี

สวนแหงบุญน้ันดวย, ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต เหตุน้ัน ทายกควรเปนผูท่ีมีจิตไม

ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, ทอถอย, ใหในท่ีใดมีผลมาก ควร ใหในท่ีน้ัน,

Page 45: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๗

ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา บุญยอมเปนท่ีพึ่งอาศัย, ของสัตว

โหนติ ปาณินันติ. ท้ังหลายในโลกหนา ฉะน้ันแล,

ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาค อะทาสิ เม อะกาสิ เม, ญาติมิตตา บุคคลมาระลึกถึงอุปการะ, อันทานไดทํา

สะขา จะ เม เปตานัง ทักขิณัง, แกตนในกาลกอนวา ผูน้ีไดใหสิ่งน้ีแกเรา

ทัชชา ปุพเพ กะตะ มะนุสสะรัง, ผูน้ีไดทํากิจน้ีของเรา, ใหแกเรา, ผูน้ีเปน ญาติเปนมิตรของเราดังน้ี ก็ควรให ทักษิณาทาน, เพื่อผูท่ีละโลกน้ีไปแลว. นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยาวัญญา การรองไหก็ดี, การเศราโศกก็ดี,

ปะริเทวะนา, หรือรํ่าไหรําพันอยางอื่นก็ดี, บุคคล ไมควรทําทีเดียว นะ ตัง เปตานะมัตถายะ, เพราะวา การรองไหเปนตนน้ัน, ไม เปนประโยชนแกญาติท้ังหลาย, ผู ละโลกน้ีไปแลว, เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย, ญาติท้ังหลายยอมต้ังอยูอยางน้ัน, อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา, ก็ทักษิณานุประทานน้ีแล, อันทาน ใหแลว, สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ประดิษฐานไวดีแลวในสงฆ,

ฑีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส ยอมสําเร็จประโยชนเกื้อกูล แกผูท่ี

อุปะกัปปะติ, ละโลกน้ีไปแลวน้ัน, ตลอดกาลนาน ตามฐานะ, โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, ญาติธรรมน้ีน้ัน, ทานไดแสดง ให ปรากฏแลวแกญาติท้ังหลาย, ผูละ โลกน้ีไปแลว, เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา, แลบูชาอยางยิ่ง, ทานก็ไดทําแลวแก

Page 46: เชิงอรรถของบทท ี่สามพระปร ตรธรรมหน า 3 ว า โบราณาจารย ได รวบรวมอาน สงส

๑๗๘

ญาติท้ังหลาย, ผูละโลกน้ีไปแลว, พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, กําลังแหงทานภิกษุท้ังหลาย, ชื่อวา ทานไดเพิ่มใหแลวดวย, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ. ไดบุญไมนอย, ทานไดขวนขวายแลว ดังน้ี.