รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th ·...

76
รถพลังงานลม Wind Energy Car นายประพจน แซอึ๊ง นายอิทธิเดช โสภา นายดํารงรักษ สมสี นายณัฐพล วชิรหัตถพงศ นายสยาม อรุณโชติ โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ปการศึกษา 2554

Transcript of รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th ·...

Page 1: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รถพลังงานลม

Wind Energy Car

นายประพจน แซอึ๊ง

นายอิทธิเดช โสภา

นายดํารงรักษ สมส ี

นายณัฐพล วชิรหัตถพงศ

นายสยาม อรุณโชติ

โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ปการศึกษา 2554

Page 2: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก
Page 3: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รถพลังงานลม

Wind Energy Car

นายประพจน แซอ๊ึง

นายอิทธิเดช โสภา

นายดํารงรักษ สมสี

นายณัฐพล วชริหัตถพงศ

นายสยาม อรุณโชต ิ

โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยีบตัรวิชาชีพชั้นสูง

สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต

วทิยาลัยเทคโนโลยภีาคตะวันออก (อี.เทค) ปการศึกษา 2554

Page 4: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ชื่อ : นายประพจน แซอ๊ึง

: นายอิทธิเดช โสภา

: นายดํารงรักษ สมสี

: นายณัฐพล วชิรหัตถพงศ

: นายสยาม อรุณโชต ิ

ชื่อเร่ือง : รถพลังงานลม

สาขาวิชา : สาขาเคร่ืองกลสาขางา นเทคนิคยานยนต

ภาค : ชางอุตสาหกรรม

ท่ีปรึกษา : อาจารยสุพจน แ ทนไธสง

ท่ีปรึกษารวม : อาจารยจตุรงค สมตระกูล

ปการศึกษา : 2554

บทคัดยอ

รถพลังงานลม มีจุดมุงหมายเพื่อนําความรูท่ีศึกษามาออกแบบและสรางรถพลังงานลมเพื่อใช

เปนรถตนแบบในอนาคต รถพลังงานลมจะใชลมในการขับเคล่ือนรถโดยไมใชน้ํามัน เคร่ืองยนตของรถ

พลังงานลมจะใชเคร่ืองยนตเล็ก (เคร่ืองยนตสูบเดียว ) เคร่ืองยนตเล็กจะดัดแปลงเพลาลูกเบ้ียวโดยการ

เช่ือมเพลาลูกเบ้ียวข้ึนมาใหม หรือการพอกเพลาลูกเบ้ียวข้ึนมา เพื่อดัดแปลงใหใชพลังงานลมไดเพียง

อยางเดียว และใชโครงสรางของจักรยานมาดัดแปลงเปนโครงสรางของรถพลังงานลม ผลการทดลอง

ของรถพลังงานลม ไดทําการทดลองไว 3 รูปแบบ คือ การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดย

ปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi วิ่งท่ีระยะทาง 1 km ผลการทดลองปรากฏวา รถพลังงานลมวิ่งบนพื้นถนน

คอนกรีตไดดีท่ีสุด ใชเวลาในการวิ่ง 2.30 นาที การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยใชลม

2000 Psi ผลการทดลองปรากฏวา รถพลังงานลมวิ่งบนพื้นถนนคอนกรีตไดดีท่ีสุด โดยวิ่งไดระยะทาง 2

กิโลเมตร และการเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลมในระยะทาง 1

km ผลการทดลองปรากฏวา รถพลังงานลมสามารถใชเวลาในการเดินทางไดดีท่ีสุด โดยใชเวลา 2.30

นาทีตอระยะทาง 1 km

คําสําคัญ : พลังงาน, พลังงานลม, รถพลังงานลมเคร่ือง, เคร่ืองยนต, เคร่ืองยนตเล็ก

Page 5: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

Name : Mr.Prapot Sae - Aung

: Mr.Ittidet Sopa

: Mr.Dumrongrak Somsee

: Mr.Nattapon Wachirahutthapong

: Mr.Sayam Arunchot

Title : Wind Energy Car

Major Field : Machinery field. Work technique motor vehicle branch.

Faculty of : Mechanical

Advisor : Mr.Supote Tandhaisong

Asst. Advisor : Mr.Jaturong Somtrakul

Year : 2011

Abstract

A project called ‘Wind Energy Car’ is purposed to use an acquired knowledge to design and

create the wind energy car as a prototype in the future. Without petrol, this kind of car will use the

wind to propel. The car’s engine will employ a small engine (a one-pumped engine) and this small

engine will modify a cam axle by welding the new one or covering another cam shaft. The purpose of

this process is to modify it in order to rely only on the wind energy. Likewise, a bicycle’s carcass is

brought to modify in order to be the carcass of the wind energy car. The experimental findings of the

Wind Energy Car are divided into three ways of experiments. Experimental distances in different road

surface by adjusting the air pressure at 50 Psi to run at a distance of 1 km The results show that Wind

energy vehicles running on roads, concrete is the best. Take the time to run the distance in 2.30

minutes was a different road surface with air showed that the 2000 Psi. Wind energy vehicles running

on roads, concrete is the best. The running distance of 2 km and to compare the distance between

pedestrians, bicycles and cars, wind energy at a distance of 1 km The results show that Wind power is

the best time to travel a distance of 2.30 minutes per 1 km.

Key word : Energy, Wind Energy, Wind Energy Car, Engines, Small engines.

Page 6: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

กิตติกรรมประกาศ

การดําเนินโครงการ “รถพลังงานลม ” จนประสบความสําเร็จ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณ

อาจารย สุพจน แทนไธสง และ อาจารย จตุรงค สมตระกูล วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ท่ี

ทานไดใหคําปรึกษาเบ้ืองตนและแนวทางในการประดิษฐ“รถพลังงานลม” และคอยแนะนําแกไขปญหา

ตลอดระยะเวลาจนประสบความสําเร็จ

ขอขอบพระคุณ อาจารยปน ประมาพันธ และอาจารยจตุรงค สมตระกูล วิทยาลัยเทคโนโลยี

ภาคตะวนัออก (อี.เทค) ท่ีไดตรวจสอบและใหคําปรึกษารูปเลมโครงงานเร่ือง “รถพลังงานลม ” จน

ประสบความสําเร็จ

สุดทายนี้ ขอขอบพระคุณ บิดา – มารดา ท่ีคอยสนับสนุนทุนทรัพยและใหกําลังใจดวยดีจน

ประสบความสําเร็จ

คณะผูจัดทํา

Page 7: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

สารบัญ

เร่ือง หนา

บทคัดยอ I

กิตติกรรมประกาศ III

สารบัญ IV

สารบัญตาราง VI

สารบัญรูป VII

บทท่ี 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาของโครงการ 1

1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 2

1.3 ขอบเขตของโครงการ 2

1.4 วิธีการดําเนินการ 3

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 4

บทท่ี 2 หลักการและทฤษฎีท่ีเก่ียวของ 5

2.1 ชุดปรับคุณภาพลม 5

2.2 เช็ควาลว 7

2.3 ระบบบังคับเล้ียว 9

2.4 ลูกหมาก 9

2. 5 ระบบเกียรจักรยาน 10

2. 6 เคร่ืองยนตเล็ก 12

2. 7 ระบบเบรก 14

2. 8 ระบบสงถายกําลัง 15

2. 9 คุณสมบัติของเหล็ก 15

2.1 0 ยางและลอจักรยาน 17

2.1 1 เบาะรถ 18

2.12 ทฤษฎีมุมลอ 19

2.13 ทฤษฎีเฟอง 21

บทท่ี 3 วิธีดําเนินงาน 28

3.1 ข้ันตอนในการจัดทํา “รถพลังงานลม” 28

3.2 ศึกษารวบรวมขอมูล 30

Page 8: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

สารบัญ (ตอ)

เร่ือง หนา

บทท่ี 3 วิธีดําเนินงาน (ตอ) 30

3.3 การออกแบบโครงสราง 30

3.4 ข้ันตอนการทําในสวนของเคร่ืองยนต 31

3.5 ข้ันตอนการทําในสวนของชวงลาง 32

3.6 ข้ันตอนการทําในสวนการติดตั้งถังลมและคันเรง 34

3.7 ข้ันตอนการตกแตงตัวรถ 35

3.8 วิธีการทดลองและเก็บขอมูล 35

บทท่ี 4 ผลการทดลอง 36

4. 1 การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi 36

วิ่งท่ีระยะทาง 1 km

4. 2 การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยใชลม 2000 Psi 37

4.3 การเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลม 39

ในระยะทาง 1 km

บทท่ี 5 สรุปผลโครงการและขอเสนอแนะ 41

5.1 สรุปผล โครงการ 41

5.2 ปญหาและ แนวทางแกไข 41

5.3 ขอเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา 42

บรรณานุกรม 43

ภาคผนวก 44

ก) เคร่ืองมือท่ีตองใช 45

ข) วัสดุอุปกรณท่ีตองใช 48

ค ) รายการวัสดุอุปกรณ (คาใชจาย) 51

ง ) แบบฟอรมเสนอขออนุมัติโครงการ 52

ประวัติผูจัดทํา 60

Page 9: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

สารบญัตาราง

ตารางท่ี หนา

ตารางท่ี 1.1 ข้ันตอนการดําเนินงานโครงงาน ภาคเรียนท่ี 1/2554 3

ตารางท่ี 1.2 ข้ันตอนการดําเนินงานโครงงาน ภาคเรียนท่ี 2/2554 3

ตารางท่ี 4.1 ผลการทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi 36

วิ่งท่ีระยะทาง 1 km

ตารางท่ี 4.2 ผลการทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi 38

ใชจนหมดถัง

ตารางท่ี 4.3 การเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลมใน 39

ระยะทาง 1 km

Page 10: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

สารบัญรูป

รูปท่ี หนา

รูปท่ี 2.1 กรองอากาศ 5

รูปท่ี 2.2 อุปกรณควบคุมความดัน 6

รูปท่ี 2.3 อุปกรณผสมน้ํามันหลอล่ืน 7

รูปท่ี 2.4 เกจวัดความดัน 7

รูปท่ี 2.5 เช็ควาลว 8

รูปท่ี 2.6 ระบบบังคับเล้ียว 9

รูปท่ี 2.7 ลูกหมาก 9

รูปท่ี 2.8 โซจักรยาน 10

รูปท่ี 2.9 Shifter 10

รูปท่ี 2.10 เกียรจักรยาน 1 2

รูปท่ี 2.11 เคร่ืองยนต 2 จังหวะเม่ือเร่ิมทํางาน 1 3

รูปท่ี 2.12 เคร่ืองยนต 4 จังหวะเม่ือเร่ิมทํางาน 1 4

รูปท่ี 2.13 เบรกรถจักรยาน 14

รูปท่ี 2.14 เหล็กกลม 17

รูปท่ี 2.15 ยางและลอจักรยาน 18

รูปท่ี 2.16 เบาะรถ 19

รูปท่ี 2.17 มุมแคมเบอร 20

รูปท่ี 2.18 มุมแคสเตอร 20

รูปท่ี 2.19 มุมโท 21

รูปท่ี 2.20 เฟองตรง 21

รูปท่ี 2.21 เฟองสะพาน 22

รูปท่ี 2.22 เฟองวงแหวน 22

รูปท่ี 2.23 เฟองเฉียง 22

รูปท่ี 2.24 เฟองเฉียงกางปลา 23

รูปท่ี 2.25 เฟองดอกจอก 23

รูปท่ี 2.26 เฟองหนอน 23

รูปท่ี 2.27 เฟองเกลียวสกรู 24

รูปท่ี 2.28 การสงกําลังของเฟองตรงเพื่อเคร่ืองกลึงอัตโนมัติ 24

Page 11: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

สารบัญรูป (ตอ)

รูปท่ี หนา

รูปท่ี 2.29 ชุดเฟองตรงภายในหัวเคร่ืองกลึง 24

รูปท่ี 2.30 หนาท่ีการใชเฟองสะพานเคร่ืองกลึง 25

รูปท่ี 2.31 ลักษณะการใชงานของเฟองวงแหวน 25

รูปท่ี 2.32 ลักษณะการใชงานของเฟองเฉียง 25

รูปท่ี 2.33 ลักษณะการสงกําลังของเของเฟองกางปลา 26

รูปท่ี 2.34 การทํางานของเฟองทายรถยนต 26

รูปท่ี 2.35 การทํางานชุดเฟองหนอนในหัวแบงเคร่ืองกัด 27

รูปท่ี 2.36 ลักษณะการทํางานของเฟองเกลียวหนอน 27

รูปท่ี 3.1 แสดงลําดับข้ันตอนในการทํารถพลังงานลม 28

รูปท่ี 3.2 เหล็กกลม 30

รูปท่ี 3.3 เหล็กแบน 30

รูปท่ี 3.4 โครงสราง 31

รูปท่ี 3.5 เคร่ืองยนตเล็กสูบเดียว Kawasaki 31

รูปท่ี 3.6 เพลาลูกเบ้ียว 32

รูปท่ี 3.7 ลอหลังเช่ือมติดกับโครง 32

รูปท่ี 3.8 ลอจักรยานท้ัง 2 ขาง แกนบังคับเล้ียว และลูกหมาก 32

รูปท่ี 3.9 ท่ีปนและเบาะนั่ง 33

รูปท่ี 3.10 เฟองทดรอบในสวนของเคร่ืองยนต 33

รูปท่ี 3.11 เฟองทดรอบเพลาขาง 33

รูปท่ี 3.12 ฐานรองถังลม 34

รูปท่ี 3.13 ชุดควบคุมความเร็ว 34

รูปท่ี 3.14 คันเรงในสวนของเคร่ืองยนต 34

รูปท่ี 3.15 ทําการประกอบเคร่ืองยนต ลอ แกนบังคับเล้ียว ถังลม และลูกหมาก 35

รูปท่ี 4.1 กราฟแสดงการทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 37

50 Psi วิ่งท่ีระยะทาง 1 km

รูปท่ี 4.2 กราฟแสดงการทดลองระยะเวลาในพื้นผิวถนนท่ีตางกัน 38 รูปท่ี 4.3 กราฟการเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลม 40

ในระยะทาง 1 km

Page 12: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รายการสัญลักษณ

ชื่อ ความหมาย

BMX ยี่หอของรถจักรยาน

ISO องคกรระหวางประเทศ

kg กิโลกรัม

km กิโลเมตร

km/h กิโลเมตร/ช่ัวโมง

LPG แกสหุงตม

mm มิลลิเมตร

m/s เมตร/วินาท ี

NGV กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต

Psi ปอนด/ตารางนิ้ว

PVC โพลีไวนิลคลอไรด

SD ชนิดของเหล็ก

Page 13: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บทที่ 1

บทนํา

รถยนตเปนส่ิงท่ีจําเปนในการดํารงชีวิตประจําวันแตปญหาในการใชรถยนตคือใชพลังงาน

เช้ือเพลิงในรูปแบบน้ํามันซ่ึงเปนพลังงานท่ีใชแลวหมดไปรวมท้ังกอใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอมซ่ึงทํา

ใหคณะผูจัดทํามีความคิดริเร่ิมในการสรางรถท่ีใชพลังงานลมในการขับเคล่ือนแทนการใชพลังงาน

เช้ือเพลิง ซ่ึงพลังงานลมนั้นไมกอใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอมเพราะเปนพลังงานท่ีสะอาด

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ

เนื่องจากในปจจุบันประเทศไทยประสบปญหาวิกิฤตพลังงานในรูปแบบน้ํามันมีราคาแพงและ

ประเทศไทยจะตองนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันจากตางประเทศ เพื่อนํามาใชในงานอุตสาหกรรม

การขนสง การคมนาคมเปนจํานวนมาก และยังมีผลกระทบทําใหส่ิงแวดลอมเกิดมลพิษ ในวิกิฤตการณ

นี้ จึงทําใหทุกประเทศกําลังมองหา พลังงานทดแทนในรูปแบบใหม ๆ เพื่อนํามาชดเชยการใชพลังงาน

ในรูปแบบน้ํามันท่ีดู เหมือนวาจะปรับราคาสูงข้ึนไมหยุด และตองทําความเขาใจวาพลังงานในรูปแบบ

น้ํามันหรือแมแตกาซธรรมชาติท้ัง LPG และ NGV ท้ังหมด เปนพลังงานท่ีใชแลวหมดไปแตพลังงานลม

เปนพลังงานท่ีสะอาด ไมกอมลพิษใหกับส่ิงแวดลอมและมีอยูท่ัวไป

ดังนั้นคณะผูจัดทําจึงมีแนวคิดจัดทําโครงการรถพลังงานลม ข้ึนมาเพื่อเปนการชวยประเทศลด

การนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันใหนอยลง และชวยลดมลพิษใหกับส่ิงแวดลอม

Page 14: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

1.2 วัตถุประสงคของโครงการ

1.2.1 เพื่อนําความรูท่ีศึกษามาออกแบบและสรางรถจักรยานพลังงานลม 1.2.2 เพื่อเปนตนแบบในการพัฒนายานยนตในอนาคต

1.2.3 เพื่อชวยประเทศลดการนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันและลดปริมาณการใชพลังงานใน

รูปแบบน้ํามันใหนอยลง

1.2.4 เพื่อชวยลดมลพิษตอส่ิงแวดลอม

1.2.5 เพื่อนักศึกษาใชความคิดริเร่ิม สรางสรรคในการปฏิบัติงาน

1.3 ขอบเขตของโครงการ

1.3.1 ใชพลังงานลมในการขับเคล่ือนรถพลังงานลม

1.3.2 ใชโครงสรางของรถจักรยานยนตเปนโครงสรางของรถพลังงานลม

1.3.3 ใชถังออกซิเจนเปนตัวเก็บลมเพื่อขับเคล่ือนรถพลังงานลม

1.3.4 ใชเคร่ืองยนตเล็กสูบเดียวในการขับเคล่ือนรถพลังงานลม

1.3.5 ใชชุดเกียรของจักรยานจํานวน 1 ชุด มีเกียร 6 เกียร

1.3.6 ใชชุดวาลวปรับแรงดันในการควบคุมลม

1.3.7 ใชลอจักรยานจํานวน 3 ลอ

1.3.8 ตัวถังรถทําจากเหล็ก

1.3.9 ถังอัดลมจํานวน 2 ถัง

1.3.10 ชุดปรับคุณภาพลมจํานวน 1 ชุด

1.3.11 วาลวกันกลับ 2 ชุด

Page 15: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

1.4 แผนการดําเนินงาน

ในการจัดทําโครงการเร่ิมดําเนินการตั้งแตเดือน พฤษภาคม – กุมภาพันธ โดยแบงออกเปน 2

ภาคเรียนคือ ภาคเรียนท่ี 1/2554 และภาคเรียนท่ี 2/2554 ซ่ึงมีแผนดําเนินงานตามหัวขอในตาราง ดังนี้ ตารางท่ี 1.1 แผนการดําเนินงานภาคเรยีนที ่1/2554

ตารางท่ี 1.2 แผนการดําเนินงานภาคเรยีนที ่2/2554

Page 16: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.5.1 ไดรถพลังงานลม

1.5.2 ไดรถตนแบบในการพัฒนาเคร่ืองยนต

1.5.3 ไดชวยประเทศลดการนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันและลดปริมาณการใชพลังงานใน

รูปแบบน้ํามัน

1.5.4 ลดมลพิษตอส่ิงแวดลอม

1.5.5 ไดใชความคิดริเร่ิมสรางสรรค ในการประดิษฐรถพลังงานลม

Page 17: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บทที่ 2

หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

วิธีเดินทางดวยพลังงานสะอาด และประหยัดมีหลายวิธีการ ท้ังเดิน และปนจักรยาน กระท่ังการ

พยายามประดิษฐเคร่ืองยนตพลังลมอัด โดยท่ีรถจะใชเคร่ืองยนตในการอัดลมเพียงอยางเดียวหรือใช

รวมกับเคร่ืองยนตท่ีใชน้ํามันเช้ือเพลิง รถพลังงานลมจะใชไดดีในเมืองเพราะไมมีมลพิษกรณีท่ีใชลมอัด

หรือมีมลพิษนอยลง กรณีใชรวมกับเคร่ืองยนตท่ีใชน้ํามันเช้ือเพลิง ซ่ึงจะทําใหมลพิษในอากาศหมดไป

จึงสรุปไดวา “ลม” เปนพลังงานท่ีใชไดจริง

2.1 ชุดปรับคุณภาพลม

ลมอัดถือวาเปนสารตัวกลางท่ีตองใชในการทํางานเพื่อดันลูกสูบใหเคล่ือนท่ีอากาศท่ีสงเขาไป

ในระบบจะตองผานทอทางอุปกรณและล้ินควบคุมตางๆ ลมอัดท่ีจะนําไปใชงานจึงตองปราศจากส่ิง

สกปรกตางๆ และปราศจากน้ําดวย จึงจําเปนตองมีอุปกรณท่ีทําหนาท่ีกรองฝุนและน้ํา ออกจากลมอัด

กอนจึงจําเปนตองใสชุดควบคุมคุณภาพลม กอนเขาเคร่ืองอีกทีหนึ่ง สวนประกอบของชุดควบคุม

คุณภาพลมแบงออกเปน

2.1.1 อุปกรณกรองอากาศ (Compressed Air Filter) เปนอุปกรณกรองไอน้ําท่ีปนมากับลมอัด

ฝุนละอองและส่ิงสกปรกตางๆ เม่ือลมอัดเขามายังตัวกรองลมอัดก็จะไหลลงดานลางและแผนไสกรอง

เขาไปดานใน จากนั้นก็ไหลออกในทิศทางออกเพื่อไปเขาวาลวควบคุมความดันตอไปในจังหวะท่ีลม

ไหลลงดานลางเพื่อรอระบายท้ิง

รูปท่ี 2.1 กรองอากาศ (Air Filter)

Page 18: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.1.2 อุปกรณควบคุมความดัน (Compressed air regulator) ทําหนาท่ี

2.1.2.1 ปรับความดันใชงานใหคงท่ีและเหมาะสมกับความดันของระบบ

2.1.2.2 ปรับความดันตนทางใหสูงกวาความดันปลายทาง เม่ือความดันลมออกมาจากตัว

กรองลมอัดจะตอเขาวาลวควบคุมความดัน เพื่อท่ีจะปรับความดันลมใหมีความดันคงท่ีอยูท่ี 6 บาร ความ

ดันลมจะผานบาวาลวและไหลออกท่ีทางออกเพื่อใชงานตอไป บริเวณชองทางออกของลมอัดจะมีชอง

ออริฟช (orifice) ท่ีตอระหวางชองทางออกกับหองใตแผนไดอะแฟรม ถาความดันลมท่ีออกนี้มีความดัน

สูงกวาคาของสปริง (ตัวบน) ก็จะดันแผนไดอะแฟรมใหยกข้ึน เปนผลใหกานของพอพเพตซ่ึงเช่ือมตอ

อยูกับชุดของแผนไดอะแฟรมถูกยกข้ึนตามทําใหบาวาลวปดทางลมท่ีเขาวาลว หมายความวา คาของ

สปริงจะเปนตัวกําหนดคาความดันลมท่ีออกจากวาลว

รูปท่ี 2.2 อุปกรณควบคุมความดัน (Compressed Air Regulator)

2.1.3 อุปกรณผสมน้ํามันหลอล่ืน (Compressed air lubricator) เปนอุปกรณผสมน้ํามันหลอล่ืน

กับลมอัดเพื่อ

2.1.3. 1 ลดความฝดของช้ินสวนภายใน

2.1.3.2 ลดการเสียดสีและการสึกหรอ

2.1.3.3 ปองกันการกัดกรอนของสนิมกรณีมีอากาศร่ัวซึมเขาระบบ หลักการทํางานลมท่ี

ผานการควบคุมจากวาลวควบคุมความดันมาแลวจะไหลเขาอุปกรณตัวนี้เพื่อท่ีจะใหมีน้ํามันหลอล่ืน

ผสมอยูดวยเม่ือลมอัดท่ีมีน้ํามันหลอล่ืนนี้เขาไปดันหรือทําใหอุปกรณท่ีเคล่ือนท่ีในระบบทํางานก็จะทํา

ใหมีฝอยน้ํามันเปนตัวหลอล่ืนไมใหช้ินสวนสัมผัสกันโดยตรงจะเห็นวาลมอัดท่ีเขามาในชองทางเขาจะ

ผานทางรูลมเขามาดานลางและตรงออกไปผานคอคอดสวนท่ีไหลลงลางนั้นจะดันน้ํามันเขาไปในทอ

ดูดน้ํามันแลวไปหยดลงท่ีหัวฉีด เพื่อใหลมอัดพัดใหแตกเปนฝอยผสมไปกับลมอัดโดยมีวาลวปรับ

ขนาดการหยดมากนอยเพียงไร ปกติแลวจะใหน้ํามันหยดท่ี 5 หยดตอหนาท่ีหรือใชกระดาษขาวรองท่ีรู

ระบายลมถามีน้ํามันไหลเปนทางแสดงวาปรับน้ํามันมากเกินไปเหตุผลท่ีวาทําไมน้ํามันจึงถูกดันใหข้ึน

Page 19: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ไปตามทอดูดน้ํามัน คําตอบ คือเม่ือลมอัดไหลผานคอคอดจะทําใหความดันในบริเวณคอคอดนั้นลดลง

ทําใหความดันท่ีมีสูงกวา (ความดันในลูกถวย) ดันน้ํามันไปตกลงในกระแสลมอัดและนําออกไปใชงาน

ในท่ีสุด

รูปท่ี 2.3 อุปกรณผสมนํ้ามันหลอลื่น (Compressed air lubricator)

2.1.4 เกจวัดความดัน (Pressure gauge) คือเกจวัดแรงดันหรือเกจวัดแรงดูดสุญญากาศหรือเกจ

วัดความดันรวม

รูปท่ี 2.4 เกจวัดความดัน (Pressure gauge)

2.2 เช็ควาลว

วาลวกันกลับ คือเคร่ืองมือทางกลชนิดหนึ่ง ซ่ึงมีหนาท่ี การทํางานคือ จะใหสารไหลไหลได

เพียงทางเดียวโดยปกติแลวจะไหลยอนกลับไมไดสารไหลท่ีผานเช็ควาลว จะเปนของเหลว เชน น้ําเคมี

น้ํามัน แกส ไอน้ําลม หรือ ฝุนผงก็ได ซ่ึงสารไหลแตละชนิดจะใช เช็ควาลวไมเหมือนกันวัสดุท่ีใชทํา

Page 20: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

เช็ควาลวจะมีหลายชนิด ท่ีเปนโลหะ จะมีตั้งแต เหล็กหลอ เหล็กกลา อลูมิเนียม ทองเหลือง สแตน

เลส โลหะเกรดพิเศษวัสดุท่ีไมเปนโลหะ ก็จะเปน PVC, Teflon, Fiber Glass การปองการการไหล

ยอนกลับของสารไหลมีประโยชนมากหลายอยาง เชน

2.2.1 ปองกันสารไหลไหลยอนไปกระแทก กับ ปมแรงดันทําใหปม เสียหายลดประสิทธิภาพ

การทํางานของปมลดแรงดันทําใหมอเตอรปมเสียหายได

2.2.2 การไหลยอนกลับของสารไหลท่ีแรงดันสูงมาก จะเกิดคอนน้ํา WaterHammerได จะสงผล

ทําลาย อุปกรณ Pressure Tramsmitter , Pressure Guage , Flow Meter and Temperature Accessory

Control เสียหาย

2.2.3 ในอุตสาหกรรมเคมีหรือแกส บางประเภท เช็ควาลวชวยไมใหสารไหลท่ีไหลผานวาลว

แลวยอนกลับมาผสมกับสารไหลตนทางในขบวนการผลิต

2.2.4 เช็ควาลวสามารถทําหนาท่ี เปนตัวระบายแรงดันในขบวนการผลิตได โดยปองกันแรงดัน

ยอนกลับ

2.2.5 การไหลยอนกลับของน้ําประปาคืนมิเตอรหลังการปดปมน้ําเปนการเสียคาใชจาย เช็ค

วาลวปองกันการสูญเสียได

รูปท่ี 2.5 เช็ควาลว (Check Valve)

2.3 ระบบบังคับเลี้ยว

ทําหนาท่ีเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนท่ีของรถยนต โดยการหมุนของพวงมาลัย ซ่ึงไดรับแรงหมุน

มาจากผูขับภายในหองโดยสาร เพื่อใหลอคูหนา หันไปขางใดขางหนึ่งพรอมๆกัน อีกท้ังยังชวยผอนแรง

ทําใหเบามือไดระดับหนึ่ง เพราะมีกลไกเฟองทดแรงในจุดเช่ือ มตอระหวางแกนพวงมาลัย กับแขนสง

กําลัง ท่ีเรียกวา “กระปุกพวงมาลัย ” เม่ือผูขับข่ีหมุนพวงมาลัย ก็จะสงแรงหมุนผานแกน มายังกระปุก

Page 21: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

พวงมาลัย ภายในกระปุกพวงมาลัย ก็จะมีฟนเฟองทดกําลัง และถายทอดแรงออกไปท่ีแกนยึดกับลอ ก็

สามารถท่ีจะเปล่ียนทิศทางได

รูปท่ี 2.6 ระบบบังคับเลี้ยว

2.4 ลูกหมาก

ทําหนาท่ีเปนขอตอและจุดหมุนระหวางช้ินสวนตางๆของรถยนตโดยเฉพาะช้ินสวน อะไหล

ชวงลางท้ังระบบบังคับเล้ียวและระบบกันสะเทือน ดังนั้นลูกหมากจะมีความสําคัญท่ีจะชวยใหคุณ

ควบคุมรถยนตไดอยางมี ประสิทธิภาพ หากลูกหมากเส่ือมหรือหลวมจะทําใหรถยนตของคุณมีการ

บังคับควบคุมผิดปกติ เชน เล้ียวแลวพวงมาลัยไมคืน การตอบสนองของพวงมาลัยชาลง ยางสึกหรอ

ผิดปกติเนื่องจากมุมลอผิดเพ้ียนไป

รูปท่ี 2.7 ลกูหมาก (Ball Joint)

2.5 ระบบเกียรจักรยาน

2.5.1 โซจักรยานคือ ตัวกลางแหงความเร็วแรงท่ีทาทายความรูสึกของนักบิดท้ังหลายโดยเฉพาะ

โซถือเปนช้ินสวนสําคัญมากท่ีจะเปนผูสงผานกําลังของเคร่ืองยนตสูวงลอใหเกิดแรงเหวี่ยง หมุนรอบ

ตัวเองรอบแลวรอบเลาท้ังในยานความเร็วสูงสุดหรือ เร่ิมขยับออกจากสภาพหยุดนิ่ง โซถือเปนอุปกรณ

Page 22: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ท่ีสําคัญท่ีตองมีคุณภาพสูงสุดเพื่อตอบสนองการทํางานของเคร่ืองยนต ท่ีถายทอดออกมาอยางมี

ประสิทธิภาพสูงสุด เชนกัน หนาท่ีของโซไมเพียงแคขับเคล่ือนพละกําลังของเคร่ืองยนตท่ีมองเห็นแค

เพียงภายนอกอยางเดียว แตความสลับซับซอนภายในของเคร่ืองยนตอันทรงพลังยังมี โซซับเสียงเปน

ตัวกลางในการทํางานของเคร่ืองยนตใหจบขบวนการและข้ันตอนการทํางานกอนสงกําลังสูสเตอรเพื่อ

ผลักดันใหโซ และ สเตอรทํางานควบคูในการฉุดใหวงลอหมุนตอไป

รูปท่ี 2.8 โซจักรยาน

2.5.2 ชุดเกียรจักรยาน ในระบบเกียรนั้นจะเร่ิมตนกันตั้งแต Shifter สายเกียร (Shift cable) ตัว

สับจานหนา (Front Derailleur) หรือตีนผี (Rear Derailleur) และชุดใบจาน (Chain Rings) หรือเฟอง

หลัง (Cog Set) รวมไปถึงโซ (Chain) ท่ีรับสงกําลัง Shifter ทําหนาท่ีในการเปล่ียนตําแหนงเกียร

2.5.2.1 Shifter ทําหนาท่ีในการเปล่ียนตําแหนงเกียรจะประกอบดวยตัวเปล่ียนตําแหนง

จานหนาซ่ึงจะอยูดานซายมือ และตัวเปล่ียนตําแหนงเกียรหลังซ่ึงจะอยูดานขวามือของแฮนดเสมอ

Shifter แบงออกเปน 2 กลุมตามลักษณะรูปรางไดแก

1) Thumb Shift

2) Rotary Shift

รูปท่ี 2.9 Shifter

2.5.2.2 สายเกียรและปลอกสาย (Shift cable and shift-cable casing) สายเกียรทํามาจาก

ลวดเสนเล็กๆนํามาขวั้นเปนเกลียวคลายกับสายลวดสลิง สายเกียรจะแบงออกเปน 2 พวกใหญๆ ไดแก

Page 23: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

1) Plain Cable เปนสายโลหะธรรมดาไมมีอะไรเคลือบอยู จึงมีโอกาสสกปรกหรือ

เปนสนิมได ถาหากไมไดรับการดูแลท่ีดีพอ

2) Coated Cable เปนสายโลหะเคลือบผิวดวยสารสังเคราะหไดแก Teflon มีผล

ชวยลดความเสียดทานระหวางตัวสายกับปลอกสายทําใหการเปล่ียนตําแหนงเกียรราบร่ืนข้ึน และยังชวย

ลดโอกาสการเกิดสนิมของสายเกียรได

2.5.2.3 สับจานหนา (Front Derailleur) สับจานจะเปนตัวเปล่ียนตําแหนงของโซบนจาน

หนา โดยอาศัยการดึงของสายเกียรเพื่อผลักโซจากจานเล็กข้ึนไปจานใหญกวา และอาศัยการดีดกลับของ

สปริงในการดันโซจากใบจานใหญลงไปใบจานท่ีเล็กกวา

2.5.2.4 ตีนผี (Rear Derailleur) ทําหนาท่ีเปล่ียนตําแหนงเกียรหลัง โดยอาศัยการดึงของ

สายเกียรในการเปล่ียนเกียรจากเฟองตัวเล็กข้ึนไปสูเฟองตัวใหญ และอาศัยแรงดีดกลับของสปริงในตีน

ผีในการเปล่ียนเกียรจากเฟองตัวใหญลงไปสูเฟองตัวเล็ก (ในตีนผีรุน reverse หรือ Rapid Rise ของ

Shimano XTR จะทํางานตรงกันขามกับตีนผีท่ัวไป)

2.5.2.5 ชุดใบจานหนา (chain rings) ใบจานหนาในปจจุบันจะแบงเปน 3 กลุม คือ

1) ใบจานหนาของระบบเฟองหลัง 7 สปด

2) ใบจานหนาของระบบเฟองหลัง 8 สปด

3) ใบจานหนาของระบบเฟองหลัง 9 สปด

ในแตละกลุมไมควรจะนํามาใชแทนกัน เนื่องจากมีลักษณะปลีกยอยท่ีแตกตางกันออกไปตาม

ชนิดของโซท่ีใชหากใชผิดระบบจะมีผลตอความราบร่ืนของการทํางาน รวมไปถึงอายุการใชงานของโซ

2.5.2.6 ชุดเฟองหลัง (Cog set) ชุดเฟองหลังโดยท่ัวไปจะมีอยูตั้งแต 7, 8 และ 9 ช้ันแตละ

ชุดจะมีความแตกตางกันและไมอาจนํามาใชทดแทนกันได

1) ชุดเฟอง 7 ช้ันซ่ึงปจจุบันจะมีใชในระบบเกียรรุนลางสุดและกําลังเส่ือมความ

นิยมลง เพราะระบบเกียรท่ีถูกผลิตออกสูตลาดในปจจุบันเปนชุด 8 และ 9 ช้ันเปนสวนใหญ ระยะหาง

ระหวางเฟองใบใหญสุดกับเฟองใบเล็กสุดของระบบเฟอง 7 ช้ันจะมีระยะนอยกวาของระบบ 8 และ 9

ช้ัน ทําใหตองใชกับดุมหลัง (free wheel hub) เฉพาะรุนท่ีทํามาเฉพาะเฟอง 7 ช้ันเทานั้น

2) ชุดเฟอง 8 ช้ันเปนระบบท่ียังไดรับความนิยมอยู และยังถูกผลิตออกมาจําหนาย

ในรุนลางถึงรุนกลาง

3) ชุดเฟอง 9 ช้ัน เปนระบบท่ีทาง Shimano เร่ิมผลิตออกมาจําหนายในป ค.ศ. 1999

หลังจากประสบความสําเร็จกับจักรยานถนนมากอน ชุดเฟอง 9 ช้ันจะมีระยะหางระหวางเฟองใหญสุด

กับเฟองเล็กสุด เทากันกับชุดเฟอง 8 ช้ัน

2. 5.2. 7 โซ ( Chain) โซถูกออกแบบม า โดยข้ึนกับลักษณะของชุดเฟองและใบจาน

โดยท่ัวไปแลวโซของระบบเฟอง 7 กับ 8 ชั้นนั้นพอจะใชทดแทนกันได แตกรณีสําหรับโซของเฟอง 9

Page 24: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ช้ันจะแปลกออกไปเนื่องจากความแตกตางของความหนาและระยะชองไฟของเฟองหลัง ทําใหโซ

ของระบบเฟอง 9 ช้ันมีความบางกวาของระบบ 8 ช้ันประมาณ 0.6 mm

รูปท่ี 2.10 เกียรจักรยาน

2.6 เคร่ืองยนตเล็ก

เคร่ืองยนตเล็ก เคร่ืองยนตนับเปนสวนประกอบสําคัญท่ีทําใหรถยนตมีความแตกตางไปจากรถ

ท่ีใชแรงฉุดลาก หรือการขับเคล่ือนจากแรงภายนอกเคร่ืองยนตจะเปนตัวสรางพลังงานท่ีใชขับเคล่ือนตัว

รถใหเคล่ือนท่ีไปดวยตัวเอง ในยุคแรกๆของการพัฒนารถยนตไดมีการคิดคนหาแหลงท่ีจะทําใหรถ

เคล่ือนท่ีไดเองอยางหลากหลายชนิดไมวาจะเปนแรงลม พลังไอน้ํา พลังงานไฟฟา ฯลฯ แตทายท่ีสุดเม่ือ

เห็นวาการนําเอาเคร่ืองยนตแบบสันดาปภายในมาใชในการขับเคล่ือนรถ เปนวิธีท่ีมีปญหานอยท่ีสุด

ตั้งแตนั้นมาจนถึงวันนี้เปนเวลากวา 120 ปท่ีไดมีการใชเคร่ืองยนตสันดาปภายในควบคูกับรถยนตมา

ตลอดและความหมายของคําวารถยนตยังครอบคลุมไปถึงรถท่ีเคล่ือนท่ีดวยพลังงานอ่ืนๆเชน รถไฟฟา

หรือรถไฮบริด (Hybrid) ท่ีใชไดท้ังพลังไฟฟาและเคร่ืองยนตสันดาปภายในดวย เคร่ืองยนตแบบสันดาป

ภายในท่ีใชกับกับรถยนตมาตั้งแตยุคแรกเร่ิมเม่ือ 120 กวาปกอน กับเคร่ืองยนตท่ีใชกับรถยนต ในยุค

ปจจุบัน ยังคงมีโครงสรางและหลักการทํางานท่ีแทบจะไมแตกตางกัน ความแตกตางระหวางเคร่ืองยนต

ของรถยนตรุนเกากับรุนปจจุบันอาจจะเรียกไดวามีในสวนของรูปทรงท่ีกะทัดรัดและประสิทธิภาพการ

ทํางานท่ีสูงข้ึนนับรอยเทายกตัวอยางเคร่ืองยนตแบบสูบเดียวของรถยนตคันแรกของโลก มีความจุ

กระบอกสูบ 958 ซีซี. ใหกําลังเทียบเทากับมาประมาณ 0.8 ตัวเทียบกําลังของเคร่ืองยนตกับความจุ

กระบอกสูบ 1 ลิตรแลวจะมีอยูประมาณไมถึง 1 แรงมาตอลิตรแตเคร่ืองยนตของรถรุนท่ีจํา หนายใน

ทองตลาดปจจุบันจะเฉล่ียอยูท่ีประมาณ 60 ไปจนถึง 100 กวาแรงมาตอเคร่ืองยนตท่ีทีความจุ 1 ลิตรและ

Page 25: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ไมอาจเทียบไดกับเคร่ืองยนตของรถแขงท่ีสามารถผลิตแรงมาออกมาไดมากเปนหลายรอยแรงมาเม่ือ

เทียบกับความจุเคร่ืองยนต 1 ลิตรเทากันนี่คือวิวัฒนาการของส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชวงรอยกวาป

2. 6.1 เคร่ืองยนตแบบสันดาป (เผาไหม) ภายในเคร่ืองยนตแบบสันดาปภายในไดแกเคร่ืองยนต

ท่ีมีการระเบิดหรือเผาไหมสวนผสมของเช้ือเพลิงกับอากาศเกิดข้ึนภายในเคร่ืองยนตแรงระเบิดจากเผา

ไหมจะถูกเปล่ียนเปนพลังงานเพื่อใชในการขับเคล่ือนตัวรถหลักการทํางานนี้อานแลวอาจจะเขาใจยาก

แตถาจะยกตัวอยางใหเขาใจงายข้ึนก็ตองบอกวาเม่ือเอาอากาศกับน้ํามันเช้ือเพลิงปอนเขาสูเคร่ืองยนต

และใหมีกระบวนการจุดระเบิดเกิดข้ึนของสวนผสมท้ังสองชนิดภายในกระบอกสูบเคร่ืองยนตก็จะ

ทํางานหรือเกิดการหมุนท่ีเพลาขอเหวี่ยงของเคร่ืองยนตไดแลวเราก็เอาพลังงานจากการหมุนของ

เคร่ืองยนตนี้ไปใชในการขับเคล่ือนรถยนตอีกทีหนึ่ง

2.6.2 ความแตกตางจากเคร่ืองยนตสันดาป (เผาไหม) ภายนอก เคร่ืองยนตแบบสันดาปภายใน

จะมีกระบวนการเผาไหมของอากาศกับเช้ือเพลิงเกิดข้ึนภายในเคร่ืองยนตเชนในกระบอกสูบแต

เคร่ืองยนตสันดาปภายนอกถาโดยหลักการจะตองเปนการเผาไหมจากภายนอกเคร่ืองยนต แลวจึงเอา

ความรอนจากการเผาไหมท่ีไดนั้นไปใชงานอีกตอหนึ่งยกตัวอยางงายๆก็คือ เคร่ืองจักรไอน้ําท่ีใชในการ

ขับเคล่ือนหัวจักรรถไฟในอดีต ท่ีอาศัยการตมน้ําใหรอนดวยเตาท่ีมีเช้ือเพลิงเปนฟนแลวจึงนําเอาไอน้ํา

ไปขับดันเคร่ืองจักรไอน้ําอีกตอหนึ่งเม่ือเคร่ืองจักรไอน้ําทํางานจึงสามารถขับดันใหลอของหัวรถจักร

หมุนไดและขับเคล่ือนตัวรถไปไดในท่ีสุด แตก็ดวยประสิทธิภาพท่ีต่ํามากเพราะตองสูญเสียพลังงานใน

การขับเคล่ือนไปหลายข้ันตอนกวาจะถึงลอรถความนิยมจึงลดนอยลงไปจนแทบไมเหลือใหเห็นใน

ปจจุบัน

รูปท่ี 2.11 เครื่องยนต 2 จังหวะเมื่อเริ่มทํางาน

Page 26: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รูปท่ี 2.12 เครื่องยนต 4 จงัหวะ เมือ่เริม่ทาํงาน

2.7 ระบบเบรก

เบรกรถจักรยาน ทําหนาท่ีการหยุดรถหรือทําใหการเคล่ือนไหวของรถชาลงตามความตองการ

ตลอดเวลาขับข่ี ฉะนั้นเบร กจึงตองทําการหยุดรถไดแนนอนและ รวดเร็วตลอดเวลาเพื่อเปนการ

หลีกเล่ียงอุบัติเหตุทางทรัพยสินและชีวิต

รูปท่ี 2.13 เบรกรถจักรยาน

2.8 ระบบสงถายกําลัง

เร่ืองราวของระบบสงถายกําลังแบบตนตํารับดั้งเดิมนั่นก็คือ บทบาทท่ีมีการใชงานโซและ

สเตอรสงผานกําลังงานจากเคร่ืองยนต เพื่อไปขับเคล่ือนลอหลัง นอกเหนือไปจาก ของใหม กับระบบ

สายพานท่ีกําลังนิยม

Page 27: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2. 8.1 ระบบสงกําลังข้ันสุดทาย (Final Drive) โซกําลังของรถจักรยานยนตท่ีสงกําลังไปลอหมุน

หลังนั้น จะเกิดการสูญเสียประสิทธิภาพของการสงกําลังการสึกหรอประมาณ 1-2 % เทานั้น สวนกําลัง

งานท่ีเหลือนั้นจะถูกสงไปตามปกติ สําหรับอุปกรณในระบบจะประกอบไปดวย สเตอรหนา หรือ

อาจจะเรียกวา สเตอรขับ จะติดตั้งอยูกับชุดเกียร ผลิตมาจากวัสดุเหล็กกลา สวนใหญจะมีฟนเฟอง

ประมาณ 30-72 ฟนนอกจากนั้นจะมี โซขับ คลองติดอยูเพื่อถายทอดกําลังงานซ่ึงขนาดของโซจะ

แตกตางไปตามขนาดของความจุกระบอกสูบตลอดจนลักษณะของตัวรถ

2. 8.2 โซขับ ลักษณะของโซขับโดยท่ัวไปจะออกแบบใหเปนลูกกล้ิง สวนการเช่ือมตอเขา

ดวยกันของปลายโซขับท้ังสองดานจะตอเขาดวยคลิปล็อคขอตอ และตัวโซจะประกอบไปดวยขอโซ

หลัก บูช รวมท้ังลูกกล้ิง

2. 8.3 ขนาดของโซ ขนาดของโซแตละบริษัทท่ีผลิตและจําหนายนั้น จะมีความแตกตางกัน

ออกไปแตอยางไรก็ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมของประเทศญ่ีปุน ไดกําหนดสัญลักษณการบอกขนาด

ของโซใหเปนมาตรฐานเดียวกัน โดยมีการกําหนดขนาดของเสนผานศูนยกลางของลูกกล้ิงขนาดของขอ

ตอ ขนาดของสลักและยังมีการระบุของขนาดโดยอาศัยระยะพิต

2.9 คุณสมบัติของเหล็ก

ความตองการใชเหล็กเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวาอุตสาหกรรมเหล็ก เปนอุตสาหกรรม

พื้นฐานท่ีเปนแกนนําทางเศรษฐกิจของทุกประเทศท่ีตองการกาวไปสูประเทศอุตสาหกรรม เพราะเหล็ก

เปนสวนหนึ่งของทุกปจจัยท่ี 4 คือ ท่ีอยูอาศัยในกรณีของเหล็กกอสราง และปจจัยท่ี 5 คือ เหล็กสําหรับ

อุตสาหกรรมยานยนต และเคร่ืองใชไฟฟาและอ่ืนๆ ความตองการใชเหล็กของประเทศไทยไดเพิ่มจาก 5

ลานตันในป พ.ศ. 2533 เปน 2 เทา คือ 10 ลานตันในป พ.ศ. 2538 และมีแนวโนมจะเพิ่มเปน 20 ลานตัน

ในคริสตศตวรรษท่ี 21 ประเทศไทยท้ังภาครัฐและเอกชน ขบวนการผลิตเหล็กเสนในปจจุบันแบงได

เปน 2 ขบวนการใหญๆ คือ

2. 9.1 ขบวนการหลอมเหล็ก (Steel Making)

2.9.2 ขบวนการรีดรอน (Rolling Process) ขบวนการหลอมเหล็ก ปจจุบันประเทศไทยมีโรงงาน

หลอมเหล็กชนิดเดียว คือ การหลอมเหล็กโดยวิธีการอารคดวยไฟฟา วัตถุดิบท่ีสําคัญในขบวนการนี้ คือ

เศษเหล็กซ่ึงในป พ.ศ. 2538 ไดจากเศษเหล็กในประเทศประมาณ 9 แสนตัน และเหล็กท่ีผานขบวนการ

หลอมเหล็ก จะถูกหลอมออกมาเปนเหล็กแทง ( Billet) หนาตัด ขนาดตั้งแต 100 x 100 มม. จนถึง 130 x

130 ความยาว 3-12 เมตร ข้ึนอยูกับขนาดของเตาอบ ( Reheating Furnace) ท่ีใชในขบวนการตอไป

ประมาณวาไดมีการหลอมเหล็กเพื่อ ผลิตเหล็กเสน 2 ลานตัน พ.ศ. 2538 ขบวนการรีดรอนคือ การนํา

เหล็กแทง (Billet) มาเขาเตาอบ ใหไดอุณหภูมิประมาณ 1100 °C แลวนํามารีดรอนกําลังผลิตเหล็กทรง

Page 28: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ยาวในปจจุบันประมาณ 4 ลานตัน และจะเพิ่มเปน 8 ลานตัน ภายในป พ.ศ. 2541 ผลิตภัณฑจากเหล็ก

ทรงยาว ในดานของเหล็กทรงยาวแบงไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ

2. 9.3 เหล็กลวด (Wire Roads)

2.9.4 เหล็กเสน (Steel Bars)

2.9.5 เหล็กรูปพรรณ (Section Steels) ความแตกตางของการใชงาน ของเหล็กทรงยาว (Long

Products) ท้ัง 3 ชนิด มีดังตอไปนี้

2. 9.6 เหล็กลวด (Wire Rod) เปนเหล็กลวดชนิดมวนท่ีนํามาใชในอุตสาหกรรมตางๆ เชน ลวด

เช่ือม, ลวดผูกเหล็ก ลวดตะแกรง นอต เหล็กกอสรางขนาดเล็ก สปริงขนาดเล็กและใหญ เชน คอยล

สปริงของรถยนตเหล็กเสน มีลักษณะเปนเสนกลมหรือเปนขอออย ใชในอุตสาหกรรมกอสราง เหล็ก

เพลา เปนตน เหล็กรูปพรรณ เชน เหล็กราง รถไฟ ไอบีม เอชบีม เหล็กฉาก และ เหล็กราง น้ํา

ส่ิงท่ีนาวิตก คือ ในปจจุบันไดมีการนําเขา เหล็กลวด ขนาดเล็กคือ 5 มม. และ 5.5 มม. จากตางประเทศ

นํามาเหยียด และตัดเปนเหล็กเสนกลม ขายเปน เหล็กเสนขนาด 9.0 มม. หรือ เหล็ก 3 หุน ซ่ึงเหล็ก ท้ัง 2

ชนิดมีขนาดและคุณสมบัติทางกลไมไดมาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) และอาจเปนอันตราย

ขณะกอสรางและแกผูอยูอาศัยอีกดวยวิธีสังเกต เหล็กเสนกลมตามมาตรฐาน มอก. จะตองเปนดานนูน

ถาวร บนเนื้อเหล็กระบุเคร่ืองหมายการคาของผูผลิตและช่ือขนาด แตเหล็กเสนท่ีทําจากเหล็กลวดจะไม

มีตัวนูนบนเนื้อเหล็ก ซ่ึงผูใชจะสามารถสังเกตไดชัดเจน เหล็กเตาหลอมใน เหล็กเตาหลอมนอก และ

เหล็กรีดซํ้า

2. 9.7 เหล็กรีดซํ้า ( Re rolling) เปนเหล็กเสนท่ีผลิตจากวัตถุดิบ ท่ีไดจากการตัดเรือเกา ( Ship

plate) หรืออาจใชเหล็กคัดออก (Cobble plate) จากโรงเหล็กมาตรฐาน มอก. นํามารีดเสนเหล็กอีกทีหนึ่ง

เนื่องจากวัตถุดิบ มีการคละและไมเปนมาตรฐาน มอก. นํามารีดเปนเสนเล็กอีกทีหนึ่ง เนื่องจากวัตถุดิบ

มีการคละและไมเปนมาตรฐานแนนอน สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมจึงกําหนดใหตัวนูน SRR

นําหนาช่ือ ขนาด ใหแตกตางจากเหล็กเสนกลม ( SR) และเหล็กเสนขอออย ( SD) ขอดแีละขอเสียของ

เหล็กเตาหลอมในและเหล็กเตาหลอมนอกโดยปกติการพิจารณาเลือกชนิดของเหล็กเสนไดแกเหล็กเสน

กลม เหล็กขอออย ชนิด SD30, SD40 และ SD40 และ SD50 จะข้ึนอยูกับชนิดของโครงสรางเปนหลัก

และในปจจุบันมีความนิยมใชเหล็กเสนขอออยมากกวาการใชเหล็กเสนกลมเนื่องมา จากคุณภาพท่ีดีกวา

ท้ังดานแรงดึง และแรงยึดเกาะคอนกรีต ในขณะท่ีราคาเทากันและในขณะเดียวกันสัดสวนของการใช

SD40 ตอ SD30 ก็มีมากข้ึนเนื่องจากผูใชสามารถซ้ือ SD40 ในราคาสูงกวา SD30 เพียง 20 สตางค ตอ

กิโลกรัมแตมีแรงดึงสูงกว าถึง 33% ซ่ึงมีผลโดยตรงตอการลดจํานวนการใชเหล็กและทําใหตนทุน

โดยรวมถูกกวาถึง 30% ความเปล่ียนแปลงอีกประการหนึ่ง ก็คือ การใชเหล็กขอออยขนาดเสนผา น

ศูนยกลาง 10 มม. สําหรับทําเหล็กปลอกแทนการใชเหล็กเสนกลม 6 มม. และ 9 มม. ดวยเหตุผล

เชนเดียวกับขางตนในดานความประหยัดเห็นไดชัดวา จะประหยัดน้ําหนักเหล็กได 25% ประกอบกับ

ราคาเหล็กขอออยจะถูกกวาเหล็กเสนกลมมาตรฐานเล็กนอย ดังนั้น ในดานตนทุนจะประหยัดได

Page 29: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

มากกวา 25% อีกท้ังจะไมเปนการเส่ียงกับเหล็กท่ีไมไดมาตรฐานดังไดกลาวมาแลวทางดานวิศวกรรม

นั้น การใชเหล็กเสนตางชนิดกันในโครงสรางเดียวกัน เปนส่ิงท่ีไมตรงกันดานความเคน ( Strain comp-

ability) แมวาสวนหนึ่งจะเปนหลักยืนอีกสวนหนึ่งเปนเหล็กปลอกก็ตาม เพราะเหล็กท้ัง 2 ชนิด จะตอง

ทํางานดวยกันดวยคาความเคน ( Strain) ของคอนกรีตเดียวกันเหล็กเสนสําหรับงานคอนกรีต เสริม

เหล็กในการนํามาใชงานมักมีการดัดหรืองอใหเขากับรูปรางของโครงสราง เชน เหล็กปลอก เปนตน

ในทางวิศวกรรมเรายังคงถือวาเหล็กท่ีดัดงอแลว ยังคงมีแรงดึงเทาเดิม ซ่ึงอาจไมเปนเชนนั้นถาเหล็กท่ี

ดัดหรืองอนี้มีรอยราวภายใน หรือเหล็กท่ีดัดงอมีการหักเกิดข้ึน ซ่ึงเปนส่ิงท่ีผูใชและวิศวกรผูควบคุม

สามารถสังเกตและตองระวังเปนพิเศษเพื่อความปลอดภัยของอาคารในภายหนา

รูปท่ี 2.14 เหลก็กลม

2.10 ยางและลอจักรยาน

ยางและลอรถจักรยาน (Bicycle wheels and tires) ลอรถจักรยานสามารถแบงไดตามลักษณะ

การใชงานไดดังนี้ ลอสําหรับรถจักรยานประเภทถนน ขนาดของลอจักรยานประเภทมักจะมีขนาด 700

C / ISO 622 (ISO 622 อันนี้หมายถึงเสนผานศูนยกลาง 622 มิลลิเมตร) ลักษณะเดนของลอประเภทนี้คือ

น้ําหนักจะตองเบา เร่ืองน้ําหนักของลอนั้นเรียกไดวามีความสําคัญมากสําหรับจักรยานประเภทนี้เพราะ

ถาลอยิ่งมีน้ําหนักเบาแลวจะทําใหผูปนนั้นใชแรงในการปนนอยลงไปดวยลอสําหรับจักรยานเสือภูเขา

ขนาดของลอจักรยานประเภทนี้สวนใหญจะมีขนาด 26 นิ้ว/ISO 559 (ISO 559 อันนี้หมายถึงเสนผาน

Page 30: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ศูนยกลาง 559 มิลลิเมตร) ลักษณะเดนของลอประเภทนี้ จะคลายกับลอจักรยานประเภทถนน แตท่ีเพิ่ม

เขามาคือความแข็งแรงของลอ เพราะใชกับสภาพถนนท่ีแตกตางกัน สวนยางของลอจักรยานเสือภูเขา

นั้น จะมีหนายางท่ีกวางและใหญกวาประเภทถนน บางทียาง ประเภทนี้เขาจะฉีดน้ํายากันร่ัวเขาไปดวย

เพื่อปองกัน ยางร่ัวเวลาโดนหนาม หรือ เศษแกว จะทําไหเราสามารถเดินทางตอไปไดโดยไมตองวา

จะตอง จูงจักรยานกลับบาน ลอจักรยาน BMX ขนาดของลอจกัรยาน BMX คือ ขนาด 20 นิ้ว/ISO 406

(ISO 406 อันนี้หมายถึงเสนผานศูนยกลาง 406 มิลลิเมตร) ลักษณะเดนของลอจักรยานประเภทนี้ คือ

จะตองแข็งแรงมากเพื่อจะไดทนตอการกระโดดเนิน และ การเลนทา ของนักปนจักรยาน สวนความ

คลองตัวนั้นก็สําคัญมาก สําหรับจักรยานประเภทนี้ สังเกตไดจากลอท่ีมีขนาดเล็ก ทําใหมีผลดีตอการเรง

ความเร็วในการออกตัวเพราะสวนใหญสนามแขงขันจักรยาน BMX นั้นระยะทางจะส้ัน ไมยาวเหมือน

ประเภทอ่ืน

รูปท่ี 2.15 ยางและลอจักรยาน

2.11 เบาะรถ

เบาะ Racing มีอยูดวยกัน 2 แบบคือ Semi Backetseat เปนเบาะท่ีปรับได และพับได สามารถ

ปรับการเอนหลังใหผูขับข่ีขับไดสบายท่ีสุด เหมาะกับรถสปอรทสองประตูท่ีตองพับเบาะลง เพื่อใหคน

ท่ีนั่งเบาะหลังไดข้ึน - ลง แบบนี้ มักออกแบบโดยมีโครงสรางภายในเปนเหล็กลวด ข้ึนรูปเปนโครง

เบาะ ใสชุดกลไกท่ีจะพับเบาะ ข้ึนลงไวท่ีฐานเบาะและชุดปรับเดินหนาถอยหลัง ไวกับชุดรางเบาะ แบบ

นี้มีโครงสรางคลายเบาะธรรมดาท่ัวๆไป แตจะตางท่ีวัสดุท่ีแข็งแรงกวา น้ําหนักเบากวา และออกแบบ

ไดเหมาะกับสรีระของคนขับมากกวา อีกแบบคือ แบบ Fully Bracketseat คือ เบาะท่ีไมสามารถปรับเอน

นอนได เหมาะกับรถท่ีใชในการแขงขันและ รถท่ีไมตองการพับเบาะสําหรับข้ึนลง แบบนี้วัสดุมีหลาย

ประเภท เชน แบบโครงเหล็กข้ึนรูปแลวใชผาเบาะหุมนอก และแบบข้ึนรูปดวยวัสดุ เชน พลาสติกฉีด

ข้ึนรูป หรือไฟเบอรชนิดตาง เชน คารบอนไฟเบอร มีหลายเกรด แลวแตเทคนิคของแตละผูผลิต พวกนี้

จะมีความแข็งแรงมากกวา และมีน้ําหนักเบากวามาก

Page 31: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.11.1 ประโยชนเบาะ Racing นอกจากจะมีความสวยงามแลว ยังมีประโยชนเชน ใหการขับข่ีท่ี

ดีกวาเนื่องมาจาก เบาะพวกนี้ไดรับการออกแบบมาดีกวาของโรงงาน เชนการโอบรัดผูขับข่ีใหเขารูป

และไดสรีระกับผูขับข่ี ทําใหผูขับข่ีมีความม่ันใจในการขับข่ีเพิ่มข้ึน สามารควบคุมรถไดดีข้ึนและ จาก

วัสดุท่ีดีกวาทําใหนั่งสบายกวาเบาะเดิมท่ีมาจากโรงงาน จนบางโรงงานตองใชเบาะ racing มาใชในรถ

สปอรท และ รถยนต ท่ีมีสมรรถนะสูง มีน้ําหนักเบากวา เหมาะกับพวกรถท่ีใชในการแขงขัน เปนการ

ลดน้ําหนักรถไปในตัว นิยมใชพวก Fully Bracketseat ใหความแข็งแรงสูง เบาะพวกนี้มีความแข็งแรง

มาก เพราะตองโอบกระชับผูขับข่ีในยามท่ีเกิดอุบัติเหตุเบาะพวกนี้สามารถปองกันอันตรายของผูขับข่ี

ได เชน บางรุนมีหูปองกันการกระแทกศีรษะดานขาง ของผูขับ บางรุนใชวัสดุพวก คารบอนเคฟลา ท่ีมี

คุณสมบัติแข็งแรงกวาเหล็ก ยืดหยุนตัวไดดี แตน้ําหนักเบาะกวามาก ใหการยึดเกาะถนนไดดีกวา เพราะ

เบาะพวกนี้จะออกแบบมาใหเตี้ยกวาเบาะท่ัวไป ทําใหน้ําหนักของผูขับข่ี มีน้ําหนักกดต่ําลงมีผลในการ

ชวยลดการโยนตวัของรถในขณะเขาโคง ใชในการแขงขันเพราะเบาะพวกนี้ตองออกแบบมาใหเหมาะ

กับการแขงแตละประเภท เชน บางรุนเบาะจะมีปกขางเดียวใชในการแขงขันรถท่ีนักแขงตองเขาเกียร

บอยๆ พวกแรลล่ีพวกท่ีใชใน NASCAR เบาะจะมีปกกวางขางเดียวเพื่อรับน้ําหนักนักแขงท่ีตองขับรถ

วนขวา และออกแบบมาใหใชกับเซพตี้เบลท แบบ 6 จุด และ 8 จุด พวกนี้จะสามารถล็อคนักแขงไมให

หลุดไปไหนเวลาเกิดอุบัติเหตุ

รูปท่ี 2.16 เบาะรถ

2.12 ทฤษฎีมุมลอ

2.12.1 มุมแคมเบอร (Camber angle) คือมุมการวางตําแหนงลอ เม่ือมองจากดานหนารถ หรือ

หลังรถเขาไปหาตัวรถถาระยะหางระหวางดานลางของลอ (ติดพื้นถนน) มีระยะนอยกวา ระยะหาง

ดานบนของลอท้ัง 2 ขาง เรียกวาแคมเบอรมีคาเปนบวก (Positive) เม่ือมองดูแลวเหมือนกับลอเอียงสอบ

เขาหากัน คลายรูปกรวย ในทางตรงขาม ถาระยะหางระหวางดานลางของลอ (ติดพื้นถนน) มีระยะ

มากกวา ระยะหางดานบนของลอท้ัง 2 ขาง เรียกวา แคมเบอรมีคาเปนลบ ( Negative) เม่ือมองดูแลว

เหมือนกับลอ แบะออกไป มุมแคมเบอร ทําหนาท่ีตานการเอียงขางของรถขณะขับข่ีในทางโคง ลดรัศมี

Page 32: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

หมุนเล้ียวลง เพื่อใหหมุนพวงมาลัยไดเบา ทําใหไมเกิดการคลอนตัวลูกปนลอท่ีระยะฟรี และลดอาการ

ลอล่ืน

รูปท่ี 2.17 มุมแคมเบอร

2.12.2 มุมแคสเตอร ( Caster angle) คือ มุมการวางตําแหนงลอ เม่ือมองจากดานขางตัวรถ เขา

ไปหาตัวรถ มุมแคสเตอร จะเปนมุมของแกนหมุนเล้ียว ท่ีเอียงจากแนวดิ่งไปตามแนวยาวของรถ เม่ือ

แกนหมุนเล้ียวสวนบน เอียงไปทางดานหลังรถ มุมแคสเตอร จะมีคาเปนบวก (Positive) ในทางตรงขาม

ถาแกนหมุนเล้ียวสวนบน เอียงไปทางดานหนารถ มุมแคสเตอร จะมีคาเปนลบ (Negative) มุมแคสเตอร

ทําหนาท่ีทรงทิศทางดวยตัวเอง เพื่อใหพวงมาลัยหมุนคืนกลับตําแหนงทางตรงไดเอง หลังจากมีการ

เล้ียว และทําใหการการทรงตัวไดดี

รูปท่ี 2.18 มุมแคสเตอร

2.12.3 โทอิน ( Toe - in) คือระยะหนายางเอียงเขาหากัน ตามทิศทางหนารถ (เม่ือมองจาก

ดานบน ลงสูพื้นถนน) โทอิน จะมีคาเปนบวก ( Positive) เม่ือระยะหางของยางดานหนา นอยกวา

ระยะหางของยางดานหลัง และโทอิน จะมีคาเปนลบ ( Negative) เม่ือระยะหางของยางดานหนามากกวา

ระยะหางของยางดานหลังโทอินจะทําไมใหลอส่ัน จากความตานทางกล้ิง ลดระยะหลวมของลูกหมาก

คันสง และทําใหลอรถ เคล่ือนท่ีขนานไปอยางคงท่ี

2.12.4 โทเอาท (Toe - out) คือผลตางของมุมเล้ียวลอหนา ท่ีอยูดานนอกวงเล้ียว และดานในวง

เล้ียว หรือรัศมีการเล้ียว มุมโทเอาท จะทําใหลอหมุนเล้ียวไดอยางราบร่ืน ทําใหจุดศูนยกลางการหมุน

เล้ียว แตละลอรวมกัน ปองกันการสึกหรอของยาง และอาการเสียงดังขณะเล้ียวไดระดับหนึ่ง

Page 33: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รูปท่ี 2.19 มุมโท

2.13 ทฤษฎีเฟอง

2.13.1 ชนิดของเฟอง เฟองท่ีใชเปนช้ินสวนเคร่ืองจักรกลมีหลายชนิด แตละชนิดจะทําหนาท่ี

สงกําลังใหกับช้ินสวนอ่ืนๆของเคร่ืองจักรกลตอไป

2.13.1.1 เฟองจะตรง ความตรงของฟนเฟองจะขนานกับรูเพลา เฟองตรงจะมีลักษณะ

(ดังในรูป 2.20)

รูปท่ี 2.20 เฟองตรง

2.13.1.2 เฟองสะพาน (RACK GEARS) เฟองตรงชนิด นี้ มีลักษณะรูปรางยาวเปน

เสนตรงเหมือนสะพาน ฟนเฟองทํามุมกับลําตัว 90 องศา โดยประมาณ และตองใชคูกับเฟองตรงเฟอง

สะพานท่ีใชงานกันท่ัวไปมีรูปรางลักษณะ (ดังในรูป 2.21)

รูปท่ี 2.21 เฟองสะพาน

Page 34: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.1.3 เฟองวงแหวน (INTERNAL GEARS) เปนเฟองตรงชนิดหนึ่งมีรูปรางลักษณะ

กลมเชนเดียวกับเฟองตรง แตฟนเฟองจะอยูดานบนของวงกลม และตองใชคูกับเฟองตรงท่ีมีขนาดเล็ก

กวาขบอยูภายในเฟองวงแหวนจะมีรูปรางลักษณะ (ดังในรูป 2.22)

2.13.1.4 เฟองเฉียง (HELICAL GEARS) จะมีลักษณะรูปรางคลายเฟองตรง คือ จะเปน

ลอกลมเชนกัน แตเฟองเฉียงฟนของเฟองจะเอียงไปมุมทําท่ีตองการ อาจเอียงไปทางซายหรือเอียงไป

ทางขวาข้ึนกับใชการใชงาน เฟองเฉียงจะมีรูปรางลักษณะ (ดังในรูป 2.23)

2.13.1.5 เฟองเฉียงกางปลา (HERRINGBONE GEARS) เปนเฟองท่ีมีลักษณะคลายกับ

เฟองตรงแตของเฟองจะเอียงสลับกันเปนฟนปลาเฟองชนิดนี้จะมีรูปรางลักษณะ (ดังในรูป 2.24)

รูปท่ี 2.22 เฟองวงแหวน

รูปท่ี 2.23 เฟองเฉยีง

Page 35: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.1.6 เฟองดอกจอก (BEVEL GEARS) ลักษณะของเฟองคลายกับกรวย ฟนของเฟอง

ดอกจอกมีท้ังแบบตรงและแบบเฉียง เฟองดอกจอกมีลักษณะ (ดังในรูป 2.25)

2.13.1.7 เฟองหนอน (WORM GEARS) เปนชุดเฟองประกอบดวยเกลียวและเฟองท่ีใช

ในการสงกําลังรูปรางลักษณะของเฟองหนอนจะรูปราง (ดังในรูป 2.26)

รูปท่ี 2.24 เฟองเฉยีงกางปลา

รูปท่ี 2.25 เฟองดอกจอก

รูปท่ี 2.26 เฟองหนอน

Page 36: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.1.8 เฟองเกลียวสกรู (SPIRAL GEARS) เปนเฟองเกลียวท่ีใชสงกําลังระหวางเพลาท่ี

ทํามุม 90 องศา เฟองเกลียวชนิดนี้มีลักษณะ (ดังในรูป 2.27)

2.13.2 หนาท่ีใชงานของเฟอง เฟองแตละชนิดมีหนาท่ีหลักท่ีเหมือนกัน คือ ใชในการสงกําลัง

จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งแลวแตลักษณะการใชงาน แตการใชงานของเฟองแตละชนิดจะมีหนาท่ีรอง

ตางกันดังรายละเอียดตอไปนี้

2.13.2.1 หนาท่ีการใชงานของเฟองตรง เปนเฟองท่ีใชสงกําลังกับเพลาท่ีขนานกัน เฟอง

ตรงเหมาะสําหรับการสงกําลังท่ีมีความเร็วรอบต่ํา หรือความเร็วรอบปานกลางไมเกิน 20 m/min เชน

ชุดเฟองทดลองของเคร่ืองกลึงเพื่อเดินกลึงอัตโนมัติ หรือชุดเฟองทดลองของเคร่ืองจักรกลการเกษตรท่ี

ความเร็วรอบต่ําๆ

รูปท่ี 2.27 เฟองเกลยีวสกรู

รูปท่ี 2.28 การสงกําลังของเฟองตรงเพ่ือเครื่องกลึงอัตโนมัติ

รูปท่ี 2.29 ชุดเฟองตรงภายในหวัเครือ่งกลงึ

Page 37: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.2.2 หนาท่ีการใชงานของเฟองสะพาน ในการใชงานของเฟองสะพาน (RACK)

จะตองใชคูกับเฟองตรงท่ีเรียกวา พินเนียน (PINNION) เสมอจะสามารถทําการสงกําลังได ลักษณะการ

ใชงานของเฟองสะพาน ตัวอยางเชน เฟองสะพานของเคร่ืองกลึงยันศูนย ท่ีชวยใหแทนเล่ือนเคล่ือนท่ี

ซาย - ขวา หรือเฟองสะพานของเคร่ืองเจาะท่ีทําหนาท่ีเคล่ือนเพลาเคร่ืองเจาะใหข้ึนลง

2.13.2.3 หนาท่ีการใชงานของเฟองวงแหวน เฟองชนิดนี้เปนเฟองเฉพาะอยางท่ีใชงาน

กับเคร่ืองจักรกล เชน เปนเฟองสําหรับปมเฟองสําหรับปมน้ํามันเคร่ืองของเคร่ืองยนต โดยท่ีเฟองตัว

เล็กท่ีอยูภายในเปนตัวขับสวนตัวใหญจะหมุนในลักษณะการเยื้องศูนย เพื่อดูดน้ํามันเคร่ืองสงไปใชงาน

2.13.2.4 หนาท่ีการใชงานเฟองเฉียง เฟองเฉียงมีหนาท่ีการใชงานเหมือนกับเฟองตรงทุก

อยาง แตมีขอดีกวาเฟองตรงท่ีเม่ือสงกําลังดวยความเร็วรอบสูงๆและจะไมเกิดเสียงเฟองตรง

รูปท่ี 2.30 หนาทีก่ารใชเฟองสะพานเครือ่งกลงึ

รูปท่ี 2.31 ลกัษณะการใชงานของเฟองวงแหวน

รูปท่ี 2.32 ลกัษณะการใชงานของเฟองเฉยีง

Page 38: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.2.5 หนาท่ีการใชงานของเฟองกางปลา เฟองกางปลาเปนเฟองท่ีออกแบบมาเพื่อ

ลบลางแรงดันท่ีปลายฟนเฟอง เนื่องจากเฟองกางปลาเปนเฟองเฉียงท่ีสรางมาใหคูติดกัน เฟองกางปลา

ใชสงกําลังกับเพลาท่ีขนานกันเทานั้น ขอดีของเฟองชนิดนี้ คือ เฟองจะเล่ือนออกจากกันไมได

2.13.2.6 หนาท่ีการใชงานของเฟองตอกจอก เฟองตอกจอกเปนท่ีใชสงกําลังเพื่อเปล่ียน

ทิศทางของเพลา หรือเพลาสามารถทํามุมได 90 องศา และเปนเฟองท่ีใหกําลังในการสงมาก สวนใหญ

เปนเฟองของรถยนต เฟองเกียรรถยนต

2.13.2.7 หนาท่ีการใชงานของเฟองหนอน เฟองหนอนประกอบดวยเกลียวหนอนเพื่อให

เฟองหนอนสงกําลัง เฟองหนอนเปนการสงกําลังระหวางเพลาท่ีทํามุมกัน 90 องศา เปนการสงกําลังจาก

ความเร็วรอบสูงใหเปนความเร็วรอบต่ํา การสงกําลังของชุดเฟองหนอนของชุดหัวแบงเพื่อเฟองของ

เคร่ืองกัด

รูปท่ี 2.33 ลกัษณะการสงกําลงัของเของเฟองกางปลา

รูปท่ี 2.34 การทาํงานของเฟองทายรถยนต

Page 39: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

2.13.2.8 หนาท่ีการใชงานเฟองสกรูเกลียว เปนเฟองท่ีทําหนาท่ีใชเพื่อตองการเปล่ียน

ทิศทางของเพลาใหทํามุมกัน 90 องศา คลายกับชุดเฟองหนอน แตสามารถสงกําลังไดนอยเนื่องจาก

ดานขางของฟนมีพื้นท่ีสัมผัสกันนอยมาก สามารถใหอัตราทดไดระหวาง 1 ถึง 5

รูปท่ี 2.35 การทาํงานชุดเฟองหนอนในหวัแบงเครือ่งกัด

รูปท่ี 2.36 ลกัษณะการทาํงานของเฟองเกลยีวหนอน

Page 40: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บทที่ 3

วิธีดําเนินงาน

ในบทนี้จะกลาวถึงการดําเนินงานและวิธีการในการปฏิบัติง าน ในการประกอบ “รถพลังงาน

ลม” ซ่ึงจะกลาวถึงการประกอบช้ินสวนของ “รถพลังงานลม” ตั้งแต การออกแบบโครงสรางของตัวรถ

การทําโครงสรางของตัวรถท่ีมาจากเหล็ก 2 ชนิด คือ เหล็กกลมและเหล็กแบน การเดินวงจรไฟฟา

ระบบสงถายกําลัง ระบบเบรก การพนสี ตลอดจนไปถึงประสบความสําเร็จในการประดิษฐ “รถ

พลังงานลม”

3.1 ข้ันตอนในการจัดทํา “รถพลังงานลม”

การดําเนินงานสราง “รถพลังงานลม” ทางคณะผูจัดทํามีข้ันตอนในการดําเนินการไวดังตอไปนี้

รูปท่ี 3.1 แสดงลําดับขั้นตอนในการทํารถพลังงานลม

ศึกษารวบรวมขอมูล

ออกแบบโครงสราง

ตอ

เร่ิมตน

Page 41: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

เตรียมวัสดุอุปกรณ

ดําเนินการสราง

ทดลอง

จัดทํารายงานและคูมือการ

ใชงานโครงการ

ข้ึนสอบโครงการ

และปรับปรุง

แกไข

จบ

ตอ

รูปท่ี 3.1 แสดงลําดับขั้นตอนในการทํารถพลังงานลม (ตอ)

Page 42: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

3.2 ศึกษารวบรวมขอมูล

3.2.1 ทําการศึกษาขอมูลตามหนังสือท่ีเกี่ยวของ พลังงานลมกับทางเลือกใหมท่ีจําเปนตองใช

3.2.2 การขอคําแนะนําจากผูท่ีมีความรูความชํานาญ เชน อาจารยท่ีปรึกษา

3.2.3 หาขอมูลจากอินเทอรเน็ตจากเว็บไซตตางๆ

3.3 การออกแบบโครงสราง

เร่ิมจากการวางแผนในการสรางโครงสราง โดยมีขอบเขตบังคับวา จะตองมีความแข็งแรงรับ

แรงไดดี ดังนั้นจึงเล็งเห็นวา นาจะใชเหล็กกลมกับเหล็กแบนในการสรางแบบ (ดังในรูป 3.2 และ 3.3 )

จากนั้นก็เร่ิมสรางแบบโครงและทําการตัด ดัด งอ เช่ือม เม่ือเช่ือมโครงเสร็จหรือสรางโครงเสร็จก็จะมี

โครงสราง (ดังในรูป 3.4)

รูปท่ี 3.2 เหลก็กลม

รูปท่ี 3.3 เหล็กแบน

Page 43: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รูปท่ี 3.4 โครงสราง

3.4 ข้ันตอนการทําในสวนของเคร่ืองยนต

เคร่ืองยนตท่ีนํามาใชนั้นเปนเคร่ืองยนตเล็ก Kawasaki (ดังในรูป 3.5) ซ่ึงเปนเคร่ืองยนตเล็กสูบ

เดียว ทางคณะไดทําการปรับปรุงในส่ิงท่ีจําเปนก็คือ เพลาลูกเบ้ียว (ดังในรูป 3.6) เพื่อใหมีความสมดุล

เหมาะสมกับการใชงาน

รูปท่ี 3.5 เครื่องยนตเล็กสูบเดียว Kawasaki

Page 44: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รูปท่ี 3.6 เพลาลูกเบี้ยว

3.5 ข้ันตอนการทําในสวนของชวงลาง

เร่ิมจากการนําลอรถจักรยานจํานวน 3 ลอ โดยท่ีใหลอหลังมีเกียรรถจักรยาน เพื่อใชในการ

เช่ือมติดกับโครงสราง (ดังในรูป 3.7) หลังจากนั้นตัดเหล็กกลมเพื่อนํามาเปนแกนกลางในการติดตั้งลอ

จักรยานท้ัง 2 ขาง แกนบังคับเล้ียว และลูกหมาก (ดังในรูป 3.8 ) จากนั้นตัดเหล็กกลมเพื่อนํามาเปน

แกนกลางในการติดตั้งท่ีปน เบาะนั่ง (ดังในรูป 3.9) และในสวนของเฟองทดรอบทําการติดตั้งเฟองทด

รอบไวท่ีสวนของเคร่ืองยนตและเพลาขาง (ดังในรูป 3.10 และ 3.11)

รูปท่ี 3.7 ลอหลังเช่ือมติดกับโครง

รูปท่ี 3.8 ลอจักรยานทั้ง 2 ขาง แกนบังคับเลี้ยว และลูกหมาก

Page 45: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

รูปท่ี 3.9 ที่ปนและเบาะน่ัง

รูปท่ี 3.10 เฟองทดรอบในสวนของเครื่องยนต

รูปท่ี 3.11 เฟองทดรอบเพลาขาง

Page 46: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

3.6 ข้ันตอนการทําในสวนการติดต้ังถังลมและคันเรง

เร่ิมจากนําเหล็กแบนมาดัดเปนรูปวงกลมใหขนาดพอดีกับฐานของถังลมและนําเหล็กกลมมา

ตัดเพื่อทําเปนฐานรองตัวถังลม (ดังในรูป 3.12) ตอจากนั้นนําสายคันเรงสวมเขากับชุดควบคุมความเร็ว

และนําไปติดตั้งกับสวนของคันเรงของเคร่ืองยนตเพื่อไวปรับความเร็วและความแรงในการจายลม (ดัง

ในรูป 3.13 และ 3.14)

รูปท่ี 3.12 ฐานรองถงัลม

รูปท่ี 3.13 ชุดควบคุมความเร็ว

รูปท่ี 3.14 คนัเรงในสวนของเครือ่งยนต

Page 47: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

3.7 ข้ันตอนการตกแตงตัวรถ

เร่ิมจากนํากระดาษทรายมาขัดสนิมใหท่ัวท้ังตัวรถ จากนั้นพนสีรองพื้นท้ิงไวประมาณ 30 – 40

นาที พอสีรองพื้นแหงสนิท จึงพนสีจริง โดยใชสีสเปรยพนใหท่ัวท้ังคันท้ิงไวประมาณ 1 ช่ัวโมง เพื่อให

สีแหงสนิท หลังจากท่ีสีแหงสนิท จึงทําการพนแล็คเกอรเพื่อใหตัวรถดูมีสีสันมากข้ึน ท้ิงไวประมาณ 1

– 2 ช่ัวโมง พอสีแล็คเกอรแหงสนิท จึงทําการประกอบเคร่ืองยนต ลอ แกนบังคับเล้ียว ถังลม และ

ลูกหมากเขากับโครงรถ เปนอันเสร็จส้ิน (ดังในรูป 3.15)

รูปท่ี 3.15 ทําการประกอบเครื่องยนต ลอ แกนบังคับเลี้ยว ถังลม และลูกหมาก

3.8 วิธีการทดลองและเก็บขอมูล

วิธีการทดลองของรถพลังงานลม สามารถแบงการทดลองออกไดเปน 3 วิธี ดังนี ้

3.8.1 การการทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi วิ่งท่ี

ระยะทาง 1 km พื้นผิวถนนท่ีใชในการทดสอบ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง

และถนนพื้นดิน โดยเปดลมในปริมาณ 50 Psi วิ่งท่ีระยะทาง 1 km และเก็บขอมูล โดยดูจากพื้นผิวถนน

ท่ีทดสอบ เพื่อหาระยะทางท่ีรถวิ่งไดดีท่ีสุดและพื้นผิวถนนท่ีดีท่ีสุดในการวิ่ง

3.8.2 การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยใชลม 2000 Psi พื้นผิวถนนท่ีใชทดสอบ

แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน เปดลมในปริมาณ 50 Psi ใช

จนหมดถัง ทําการวิ่งและเก็บขอมูล เพื่อหาระยะทางท่ีรถพลังงานลมวิ่งไดไกลท่ีสุด และพื้นผิวถนนท่ีดี

ท่ีสุดในการวิ่ง

3.8.3 การเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลมในระยะทาง 1

km โดยท่ีรถพลังงานลมเปดลมในปริมาณ 50 Psi พื้นผิวถนนท่ีใชทดสอบ คือ พื้นผิวถนนคอนกรีต เปด

ลมในปริมาณ 50 Psi และวิ่ง จากนั้นเก็บขอมูล เพื่อหาเวลาในการเดินทางท่ีดีท่ีสุด และเปรียบเทียบกับ

คนเดินและรถจักรยาน

Page 48: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บทที่ 4

ผลการทดลอง

ในบทนี้จะกลาวถึงการทดลองและผลการทดลองของโครงการ “รถพลังงานลม” เพื่อทดสอบ

อัตราการส้ินเปลืองของพลังงานลม โดยจะแบงการทดสอบออกเปนสวนตางๆ ซ่ึงประกอบไปดวย การ

การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi วิ่งท่ีระยะทาง 1 km การ

ทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันโดยใชลม 2000 Psi และการเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คน

เดิน รถจักรยานและรถพลังงานลมในระยะทาง 1 km เปนตน

4.1 การทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนที่ตางกันโดยปรับแรงดันลมที่ 50 Psi วิ่งที่

ระยะทาง 1 km

4.1.1 การทดลอง

4.1.1.1 ตรวจสอบความพรอมของถังลมและตัวรถ

4.1.1.2 ทําการนํา “รถพลังงานลม ” ไปวิ่งบนพื้นถนนท่ีกําหนดไว เชน ถนนคอนกรีต

ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน

4.1.1.3 น้ําหนักของคนท่ีใชในการทดสอบ 75 kg น้ําหนักรถ 115 kg

4.1.1.4 เปดลมในปริมาณ 50 Psi แลววิ่ง

4.1.1.5 ทําการบันทึกผลการทดลอง

ตารางท่ี 4.1 ผลการทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนที่ตางกันโดยปรับแรงดันลมที่ 50 Psi ว่ิงทีร่ะยะทาง 1 km

พืน้ผวิถนนท่ีทดลอง ใชเวลา (นาที)

ถนนคอนกรีต 2.30

ถนนลาดยาง 3.10

ถนนพื้นดิน 4.35

ผลการทดลอง พื้นผิวถนนท่ีทดสอบ ท่ีรถวิ่งดีท่ีสุดคือ ถนนคอนกรีต

Page 49: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนที่ตางกันโดยปรับแรงดันลมที่ 50

Psi วิ่งที่ระยะทาง 1 km

0

1

2

3

4

5ถนนคอนกรีต

ถนนลาดยาง

ถนนพื้นดิน

รูปท่ี 4.1 กราฟแสดงการทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนทีต่างกันโดยปรบัแรงดันลมที ่50 Psi ว่ิงทีร่ะยะทาง 1 km

4.1.2 ผลการทดลอง จากการทดลองไดทําการทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนท่ีตางกันเชน

ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน โดยปรับแรงดันลมท่ี 50 Psi วิ่งท่ีระยะทาง 1 km ผลการ

ทดลองท่ีไดคือ รถพลังงานลมสามารถวิ่งบนพื้นถนนคอนกรีตไดดีท่ีสุด โดยใชเวลา 2.30 นาที ใน

ระยะทาง 1 km

4.2 การทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนที่ตางกันโดยใชลม 2000 Psi

4.2.1 การทดลอง

4. 2.1.1 ตรวจสอบความพรอมของถังลมและตัวรถ

4. 2.1.2 ทําการนํา “รถพลังงานลม ” ไปวิ่งบนพื้นถนนท่ีกําหนดไว เชน ถนนคอนกรีต

ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน

4. 2.1.3 น้ําหนักของคนท่ีใชในการทดสอบ 75 kg น้ําหนักรถ 115 kg

4. 2.1.4 ใชลมในปริมาณ 2000 Psi

4. 2.1.5 เปดลมในปริมาณ 50 Psi แลววิ่ง

4. 2.1.6 ทําการบันทึกผลการทดลอง

เวลา (นาที)

สภาพถนน

ถนนคอนกรตี ถนนลาดยาง ถนนพืน้ดิน

Page 50: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

การทดลองระยะทางในพื้นผิวถนนที่ตางกันโดยปรับแรงดันลมที่ 50 Psi

ใชจนหมดถัง

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนพื้นดิน

ระยะทางที่วิ่งได (km)

ตารางท่ี 4.2 ผลการทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนที่ตางกันโดยปรับแรงดันลมที่ 50 Psi ใชจนหมดถงั

4.2.2 ผลการทดลอง จากการทดลองไดทําการนํารถพลังงานลมไปวิ่งบนพื้นถนนท่ีกําหนดไว

เชน ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน โดยเปดแรงดันลมท่ี 50 Psi ใชจนหมดถัง ผลการ

ทดลองท่ีไดมาคือ รถพลังงานลมสามารถวิ่งบนพื้นถนนคอนกรีตไดดีท่ีสุด โดยวิ่งไดระยะทาง 2

กิโลเมตร

รูปท่ี 4.2 กราฟแสดงการทดลองระยะทางในพ้ืนผิวถนนทีต่างกัน

4.2.2 ผลการทดลอง จากกราฟ ไดทําการนํารถพลังงานลมไปวิ่งบนพื้นถนนท่ีกําหนดไวเชน

ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง และถนนพื้นดิน โดยเปดแรงดันลมท่ี 50 Psi ใชจนหมดถัง ผลการทดลองท่ี

ไดมาคือ รถพลังงานลมสามารถวิ่งบนพื้นถนนคอนกรีตไดดีท่ีสุด โดยวิ่งไดระยะทาง 2 กิโลเมตร

พืน้ผวิถนนท่ีทดลอง ระยะทางท่ีว่ิงได (km)

ถนนคอนกรีต 2

ถนนลาดยาง 1.89

ถนนพื้นดิน 1.57

ผลการทดลอง พื้นผิวถนนท่ีทดสอบ ท่ีรถวิ่งดีท่ีสุดคือ ถนน

คอนกรีต

สภาพถนน

ระยะทาง (km)

Page 51: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

4.3 การเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและรถพลังงานลมใน

ระยะทาง 1 km

4.3.1 การทดลอง

4. 3.1.1 ตรวจสอบความพรอมของถังลมและตัวรถ

4.3.1.2 เตรียมความพรอมของคนเดิน รถจักรยาน และทําการทดสอบ

4. 3.1.3 นํา “รถพลังงานลม” ไปวิ่งบนพื้นถนนคอนกรีตในแนวระดับ

4. 3.1.4 เปดลมในปริมาณ 50 Psi

4.3.1.5 น้ําหนักของคนท่ีใชในการทดสอบ 75 kg น้ําหนักรถ 115 kg

4.3.1.6 ทําการวิ่ง

4. 3.1.7 ทําการบันทึกผลการทดลอง

ตารางท่ี 4.3 การเปรยีบเทยีบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจกัรยานและรถพลงังานลมในระยะทาง 1 km

เปรียบเทียบ ใชเวลา (นาที)

คนเดิน 15

รถจักรยาน 4

รถพลังงานลม 2.30

ผลการทดลอง รถพลังงานลมใชเวลาในการวิ่งไดดีท่ีสุด โดยใช

เวลา 2.30 นาที

4.3.2 ผลการทดลอง จากการทดลองไดทําการเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยาน

และรถพลังงานลม เพื่อหาเวลาท่ีดีท่ีสุด โดยคนเดินใชเวลาในการเดินทาง 15 นาทีตอระยะทาง 1 km

รถจักรยานใชเวลาในการเดินทาง 4 นาทีตอระยะทาง 1 km และรถพลังงานลมใชเวลาในการเดินทาง

2.30 นาทีตอระยะทาง 1 km จึงสรุปไดวา รถพลังงานลมสามารถใชเวลาในการเดินทางไดดีท่ีสุด โดยใช

เวลา 2.30 นาทีตอระยะทาง 1 km

Page 52: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

การเปรียบเทียบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจักรยานและ

รถพลังงานลมในระยะทาง 1 km

0

5

10

15

20

25

30

เปรียบเทียบ

เวลา (นาที)

คนเดิน

รถจักรยาน

รถพลังงานลม

รูปท่ี 4.3 กราฟการเปรยีบเทยีบระยะทางระหวาง คนเดิน รถจกัรยานและรถพลงังานลมในระยะทาง 1 km

คนเดิน รถจกัรยาน รถพลงังานลม

Page 53: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บทที่ 5

สรุปผลโครงการและขอเสนอแนะ

บทนี้จะกลาวถึงการสรุปผลของโครงการ แนวทางในการแกไขปญหาในแตละจุดท่ีเกิดข้ึนกับ

โครงการ “รถพลังงานลม ” และขอเสนอแนะ เพื่อท่ีจะไดนําไปศึกษาแลวสามารถนําไปพัฒนา แกไข

ปญหาขอบกพรองของโครงการ “รถพลังงานลม” ไดเม่ือเจอปญหาเหลานี้

5.1 สรุปผลโครงการ

“รถพลังงานลม ” ท่ีสรางข้ึนนี้ไดทําการเปรียบเทียบกับระยะทางของคนเดินและรถจักรยาน

โดยคนเดินใชเวลาในการเดินทาง 15 นาทีตอระยะทาง 1 km รถจักรยานใชเวลาในการเดินทาง 4 นาที

ตอระยะทาง 1 km และรถพลังงานลมใชเวลาในการเดินทาง 2.30 นาทีตอระยะทาง 1 km จึงเห็นไดวา

รถพลังงานลมใชเวลาในการเดินทางดีท่ีสุดโดยใชเวลา 2.30 นาทีตอระยะทาง 1 km และสภาพถนนท่ีรถ

พลังงานลมวิ่งไดดีท่ีสุดคือ ถนนคอนกรีต

การทํางานของ “รถพลังงานลม ” เพียงแคเปดลมจากวาลวท่ีถังเก็บลมเทานั้น ก็สามารถขับได

หลักการเหมือนกับจักรยานยนต

ผลการทดลองท่ีออกมาเปนท่ีนาพอใจ แตการประหยัดพลังงานลมยังไมดีเทาท่ีควร ยังไม

สามารถนําลมท่ีใชแลวกลับมาใชใหมได จึงทําใหเกิดการส้ินเปลืองพลังงานลมแบบไมจําเปน

5.2 ปญหาและแนวทางแกไข

“รถพลังงานลม ” ยังมีขอบกพรองบางประการในการทํางาน ทางคณะผูจัดทําจึงไดรวบรวม

ขอมูลและปญหาทุกๆปญหาท่ีเกิดข้ึน และแนวทางในการแกไขปญหาโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

5.2.1 ปญหาจากการนําลมกลับมาใชใหมไมได

5.2.1.1 ปญหา ลมท่ีออกมาจากเคร่ืองยนต ไมสามารถนํากลับมาเขาถังลมแลวนํากลับมา

ใชใหมได

5.2.1.2 แนวทางในการแกไข ใหผูเช่ียวชาญท่ีเกี่ยวกับเร่ืองนี้มาชวยสอนเทคนิค

5.2.2 ปญหาจากเคร่ืองยนต

5.2.2.1 ปญหา เคร่ืองยนตมีแรงไมพอท่ีจะฉุดรถใหเคล่ือนท่ีไดเร็วมากนัก

Page 54: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

5.2.2.2 แนวทางแกไขปญหา เสริมลอชวยแรงใหมีน้ําหนักมากข้ึน

5.2.3 ปญหาเกี่ยวกับความเร็วของรถ

5.2.3.1 ปญหา การออกตัวของรถลาชา กําลังในการขับเคล่ือนยังนอยเกินไป

5.2.3.2 แนวทางในการแกไขปญหา ทดเฟองใหมีกําลังมากและไดความเร็ว

5.2.4 ปญหาจากน้ําหนักตัวรถ

5.2.4.1 ปญหา น้ําหนักตัวรถมาก จึงสงผลลอหนาท้ัง 2 ลอไดรับภาระมาก แกนของเพลา

อาจบิดได

5.4.2.2 แนวทางในการแกไขปญหา เปล่ียนเพลาลอใหแข็งแรงข้ึน

5.3 แนวทางในการพัฒนา

5.3.1 เคร่ืองยนตควรท่ีจะมีการพัฒนาใหดีกวาเดิม เพื่อท่ีจะไดเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด

5.3.2 ปรับเปล่ียนโครงสรางในการวางถังลมใหดีกวาเดิม

5.3.3 ทําระบบกักเก็บลมใหใชหมุนวนในระบบ

5.3.4 เคร่ืองยนตควรใชไดท้ังพลังงานลมและพลังงานเช้ือเพลิง

Page 55: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

บรรณานุกรม

ชัชวาล ชัยชนะ. การพัฒนาพลังงานทดแทนและความเปนไปไดในประเทศไทย. วารสารโลก

พลังงาน. 7, 24 (ก.ค.-ก.ย. 2547) 29-34.

บุษกร วรรณกลุ. พลังงานทดแทนความจริงที่ไมนาชื่นชม. วารสารขาวชาง. 11, 124 (ก.ค. 2525)

79-86.

วรนชุ แจงสวาง. พลังงานหมุนเวียน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

333.79 ว 17 2551

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. สถานภาพปจจุบันและขอเสนอสูอนาคตดานเชื้อเพลิงและ

เทคโนโลยเีชือ้เพลิงของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย, 2547.662.09593 ล 89 2547

เคร่ืองยนตเล็กสูบเดียว . (ออนไลน ).เขาถึงไดจาก : http://203.172.182.172/napat/pn%20supp

ly/service%20unit.htm. (วันท่ีคนขอมูล : 30 สิงหาคม 2554).

Page 56: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก

ก) เคร่ืองมือท่ีตองใช

ข) วัสดุอุปกรณท่ีตองใช

ค) รายการวัสดุอุปกรณ (คาใชจาย)

ง) แบบฟอรมเสนอขออนุมัติโครงการ

Page 57: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ก) เครื่องมือที่ตองใช

ประแจปากตาย

ประแจรวม

คีมล็อค

คอน

เลื่อยเหล็ก

ประแจเลื่อน

สวานแทน

Page 58: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ก) เครื่องมือที่ตองใช (ตอ)

ตูเช่ือม

สีสเปรย

แทนตัดเหลก็ไฟเบอร

ประแจแหวน

เวอรเนียคาลิปเปอร

หินเจียร

ตลับเมตร

Page 59: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ก ) เครื่องมือที่ตองใช (ตอ)

เหลก็ฉาก

กระดาษทราย

แล็คเกอร

Page 60: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ข) วัสดุอุปกรณที่ตองใช

เหลก็กลม

เหล็กแบน

เพลาขาว

ถังออกซิเจน

เครื่องยนตเล็กสูบเดียว

ขาปนจักรยาน

ลอจักรยาน

Page 61: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ข) วัสดุอุปกรณที่ตองใช (ตอ)

ชุดเกียรจักรยาน

เบาะรถ

เช็ควาลว

ลูกหมาก

ขอตอคอปเปอรสายโพลี

เบรกจักรยาน

เกจวัดแรงดัน

Page 62: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ข) วัสดุอุปกรณที่ตองใช (ตอ)

ชุดปรบัคณุภาพลม

สายโพลี

คนัเรง

Page 63: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ค) รายการวัสดุอุปกรณ (คาใชจาย)

ที่ รายการ จาํนวน ราคาตอหนวย

(บาท) รวม (บาท)

1 แปบดํา ขนาด 1 น้ิว 6 เมตร 80 480

2 เหลก็แบน ขนาด 1 น้ิว หนา ¼ น้ิว 6 เมตร 100 600

3 เหลก็กลม ขนาด 2 น้ิว 10 เมตร 160 1,600

4 เพลาขาว ขนาด 3/8 น้ิว 10 เมตร 150 1,500

5 เพลาขาว ขนาด 1 น้ิว 10 เมตร 200 2,000

6 เหลก็แบน ขนาด 3/8 น้ิว 1 เมตร 250 250

7 เหลก็แบน ขนาด 1 ½ x ½ น้ิว 1 เมตร 250 250

8 เหลก็แบน ขนาด 2 x ¼ น้ิว 1 เมตร 250 250

9 เครื่องยนตเล็ก 1 เครื่อง 1,000 1,000

10 ลอรถจักรยาน 3 ลอ 160 480

11 ชุดเฟอง 1 ชุด 500 500

12 ชุดปรับแรงดันลม 1 ชุด 500 500

13 ชุดเบรก 1 ชุด 200 200

14 ชุดควบคุมความเร็ว 1 ชุด 300 300

15 เบาะ 1 เบาะ 150 150

16 โซจักรยาน 4 เมตร 125 500

17 โซมอเตอรไซคและชุดสเตอร 2 ชุด 500 1000

18 แฮนดมอเตอรไซค 1 ชุด 200 200

19 ถังลม 1 ถัง 5,000 5,000

20 สีสเปรย 8 กระปอง 70 560

21 แล็คเกอร 5 กระปอง 70 350

22 กระดาษทราย 12 แผน 5 60

รวมราคาทั้งหมด 17,730

Page 64: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ภาคผนวก ง) แบบฟอรมเสนอขออนุมัติโครงการ

เร่ือง รถพลังงานลม

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยสุพจน แทนไธสง

เสนอ

อาจารยทวีศักดิ์ แสงพิทักษ

หัวหนาภาคชางอุตสาหกรรม

ผูจัดทําโครงการ

1. นาย ประพจน แซอ๊ึง รหัส 532128269731 หอง SA 2/1

2. นาย อิทธิเดช โสภา รหัส 532128770000 หอง SA 2/1

3. นาย ดํารงรักษ สมสี รหัส 532128670098 หอง SA 2/1

4. นาย ณัฐพล วชิรหัตถพงศ รหัส 532128870368 หอง SA 2/1

5. นาย สยาม อรุณโชติ รหัส 532128769853 หอง SA 2/1

แบบเสนอขออนุมัติโครงการนี้ เปนสวนหนึ่งของวิชาโครงการ รหัสวิชา 3106-6001

ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

Page 65: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

1. ชือ่โครงการ (ภาษาไทย) รถพลังงานลม

(ภาษาอังกฤษ) Wind Energy Car

2. ชื่ออาจารยท่ีปรึกษา อาจารย สุพจน แทนไธสง

ชื่ออาจารยท่ีปรึกษารวม อาจารย จตุรงค สมตระกูล

3. ชื่อผูจัดทําโครงการ

3.1. นาย ประพจน แซอ๊ึง รหัส 532128269731 หอง SA 2/1

3.2. นาย อิทธิเดช โสภา รหัส 532128770000 หอง SA 2/1

3.3. นาย ดํารงรักษ สมสี รหัส 532128670098 หอง SA 2/1

3.4. นาย ณัฐพล วชิรหัตถพงศ รหัส 532128870368 หอง SA 2/1

3.5. นาย สยาม อรุณโชติ รหัส 532128769853 หอง SA 2/1

4. ความเปนมาของโครงการ

เนื่องจากในปจจุบันประเทศไทยประสบปญหาวิกิฤตพลังงานในรูปแบบน้ํามันมีราคาแพงและ

ประเทศไทยจะตองนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันจากตางประเทศเพื่อนํามาใชในงานอุตสาหกรรม

การขนสง การคมนาคมเปนจํานวนมาก และยังมีผลกระทบทําใหส่ิงแวดลอมเกิดมลพิษ ในวิกิฤตการณ

นี้ จึงทําใหทุกประเทศกําลังมองหา พลังงานทดแทนในรูปแบบใหม ๆ เพื่อนํามาชดเชยการใชพลังงาน

ในรูปแบบน้ํามันท่ีดู เหมือนวาจะปรับราคาสูงข้ึนไมหยุด และตองทําความเขาใจวาพลังงานในรูปแบบ

น้ํามันหรือแมแตกาซธรรมชาติท้ัง LPG และ NGV ท้ังหมด เปนพลังงานท่ีใชแลวหมดไปแตพลังงานลม

เปนพลังงานท่ีสะอาด ไมกอมลพิษใหกับส่ิงแวดลอมและมีอยูท่ัวไป

ดังนั้นคณะผูจัดทําจึงมีแนวคิดจัดทําโครงการรถพลังงานลม ข้ึนมาเพื่อเปนการชวยประเทศลด

การนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันใหนอยลง และชวยลดมลพิษใหกับส่ิงแวดลอม

Page 66: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

5.วัตถุประสงคของโครงการ

5.1 เพื่อนําความรูท่ีศึกษามาออกแบบและสรางรถจักรยานพลังงานลม

5.2 เพื่อเปนตนแบบในการพัฒนายานยนตในอนาคต

5.3 เพื่อชวยประเทศลดการนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันและลดปริมาณการใชพลังงานใน

รูปแบบน้ํามันใหนอยลง

5.4 เพื่อชวยลดมลพิษตอส่ิงแวดลอม

5.5 เพื่อนักศึกษาใชความคิดริเร่ิม สรางสรรคในการปฏิบัติงาน

6. ขอบเขตของโครงการ

6.1 ใชพลังงานลมในการขับเคล่ือนรถพลังงานลม

6.2 ใชโครงสรางของรถจักรยานยนตเปนโครงสรางของรถพลังงานลม

6.3 ใชถังออกซิเจนเปนตัวเก็บลมเพื่อขับเคล่ือนรถพลังงานลม

6.4 ใชเคร่ืองยนตเล็กสูบเดียวในการขับเคล่ือนรถพลังงานลม

6.5 ใชชุดเกียรของจักรยานจํานวน 1 ชุด มีเกียร 6 เกียร

6.6 ใชชุดวาลวปรับแรงดันในการควบคุมลม

6.7 ใชลอจักรยานจํานวน 3 ลอ

6.8 ตัวถังรถทําจากเหล็ก

6.9 ถังอัดลมจํานวน 2 ถัง

6.10 ชุดปรับคุณภาพลมจํานวน 1 ชุด

6.11 วาลวกันกลับ 2ชุด

7. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

7.1 ไดรถพลังงานลม

7.2 ไดรถตนแบบในการพัฒนาเคร่ืองยนต

7.3 ไดชวยประเทศลดการนําเขาพลังงานในรูปแบบน้ํามันและลดปริมาณการใชพลังงานใน

รูปแบบน้ํามัน

7.4 ลดมลพิษตอส่ิงแวดลอม

7 .5 ไดใชความคิดริเร่ิมสรางสรรค ในการประดิษฐรถพลังงานลม

Page 67: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

8. แผนการดําเนินงาน

ตารางแผนการดําเนินงานภาคเรียนท่ี 1/2554

ตารางแผนการดําเนินงานภาคเรียนท่ี 2/2554

Page 68: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

9. ตารางแสดงรายการงบประมาณ

ที่ รายการ จาํนวน ราคาตอหนวย

(บาท) รวม (บาท)

1 แปบดํา ขนาด 1 น้ิว 6 เมตร 80 480

2 เหลก็แบน ขนาด 1 น้ิว หนา ¼ น้ิว 6 เมตร 100 600

3 เหลก็กลม ขนาด 2 น้ิว 10 เมตร 160 1,600

4 เพลาขาว ขนาด 3/8 น้ิว 10 เมตร 150 1,500

5 เพลาขาว ขนาด 1 น้ิว 10 เมตร 200 2,000

6 เหลก็แบน ขนาด 3/8 น้ิว 1 เมตร 250 250

7 เหลก็แบน ขนาด 1 ½ x ½ น้ิว 1 เมตร 250 250

8 เหลก็แบน ขนาด 2 x ¼ น้ิว 1 เมตร 250 250

9 เครื่องยนตเล็ก 1 เครื่อง 1,000 1,000

10 ลอรถจักรยาน 3 ลอ 160 480

11 ชุดเฟอง 1 ชุด 500 500

12 ชุดปรับแรงดันลม 1 ชุด 500 500

13 ชุดเบรก 1 ชุด 200 200

14 ชุดควบคุมความเร็ว 1 ชุด 300 300

15 เบาะ 1 เบาะ 150 150

16 โซจักรยาน 4 เมตร 125 500

17 โซมอเตอรไซคและชุดสเตอร 2 ชุด 500 1000

18 แฮนดมอเตอรไซค 1 ชุด 200 200

19 ถังลม 1 ถัง 5,000 5,000

20 สีสเปรย 8 กระปอง 70 560

21 แล็คเกอร 5 กระปอง 70 350

22 กระดาษทราย 12 แผน 5 60

รวมราคาทั้งหมด 17,730

Page 69: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

10. รูปแบบโครงสรางและหลักการทํางาน

โครงสรางของรถพลังงานลม

หลักการทํางาน

1. เคร่ืองยนตท่ีใชในการขับเคล่ือนรถ ดัดแปลงมาจาก เคร่ืองยนตเล็ก

2. เปดวาลวท่ีถังเก็บ เพื่อใหลมไปอยูท่ีชุดปรับปรงดันท่ีติดตั้งไว โดยท่ีชุดปรับแรงดันจะมีตัว

ขับเคล่ือนลมใหออกมากหรือนอย

3. ลมท่ีฉีดออกจากชุดปรับแรงดันผานวาลวอีกตัวทําหนาท่ีเหมือนคันเรงจะสงเขาไปท่ีหัว

ลูกสูบโดยผานเขาทางดานวาลวไอดี ดันลูกสูบวาลว ไอดีปด จากนั้นวาลวทางดานไอเสียเปดทําให

เคร่ืองยนตหมุน

4. การหมุนของเคร่ืองยนต จะทําใหจานปนจักรยาน หรือชุดเกียรจักรยานท่ียึดกับเพลาทําให

รถเคล่ือนท่ีไปตามกําลังของการฉีดลมในแตละคร้ัง

5. การเรงเคร่ืองยนตหรือเรงลม เรงโดยการใชมือทํางานเหมือนการเรงรถมอเตอรไซค

6. การเปล่ียนเกียรก็ทําไดงาย เหมือนเกียรจักรยานเสือภูเขา

Page 70: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ระบบการสงกําลัง

7. การบังคับเล้ียว บังคับแบบแฮนดจักรยาน สงกําลังไปยังชุดบังคับเล้ียวของแตละลอ

ระบบบังคับเล้ียว

Page 71: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก
Page 72: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ – สกุล นาย สยาม อรุณโชต ิ

ชื่อเร่ือง รถพลังงานลม (Wind Energy Car)

สาขาวิชา เทคนิคยานยนต

ประวัติสวนตัว

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 อาย ุ20 ป

ท่ีอยูปจจุบัน 124/1 ม.6 ต.บางทราย อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

E-mail. [email protected]

ประวัติการศึกษา

ระดบัประถม พ.ศ. 2546 โรงเรียน สุตา

ระดับมัธยม พ.ศ. 2549 โรงเรียน ชลบุรี “สุขบท”

ระดับ ปวช. พ.ศ. 2552 วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2553 บริษัท ไทยยนตชลบุรี ผูจําหนายโตโยตา จํากัด

Page 73: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ – สกุล นาย ประพจน แซอ๊ึง

ชื่อเร่ือง รถพลังงานลม (Wind Energy Car)

สาขาวิชา เทคนิคยานยนต

ประวัติสวนตัว

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2534 อาย ุ19 ป

ท่ีอยูปจจุบัน 41/1 หมู3 ต.หนองขยาด อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140

E-mail. [email protected]

ประวัติการศึกษา

ระดบัประถม พ.ศ. 2546 โรงเรียน บานหนองขยาด

ระดบัมัธยม พ.ศ. 2549 โรงเรียน พนัสพิทยาคาร

ระดับ ปวช. พ.ศ. 2552 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2553 บริษัท ฮั่วเชียงจั่นมอเตอร

พ.ศ. 2554 อู LPK Auto Speed

Page 74: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ – สกุล นาย อิทธิเดช โสภา

ชื่อเร่ือง รถพลังงานลม (Wind Energy Car)

สาขาวิชา เทคนิคยานยนต

ประวัติสวนตัว

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 อาย ุ21 ป

ท่ีอยูปจจุบัน 36 หมู6 ต.หนองขยาด อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140

E-mail. [email protected]

ประวัติการศึกษา

ระดบัประถม พ.ศ. 2546 โรงเรียน บานหนองขยาด

ระดับมัธยม พ.ศ. 2549 โรงเรียน พนัสพิทยาคาร

ระดับ ปวช. พ.ศ. 2552 วิทยาลัยเทคโนโลยภีาคตะวนัออก (อี.เทค)

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2552 บริษัท มิสซูบิชิแอร

พ.ศ. 2553 บริษัท ฮั่วเชียงจั่นมอเตอร

Page 75: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ – สกุล นาย ณัฐพล วชิรหัตถพงศ

ชื่อเร่ือง รถพลังงานลม (Wind Energy Car)

สาขาวิชา เทคนิคยานยนต

ประวัติสวนตัว

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 14 เมษายน พ.ศ. 2534 อาย ุ20 ป

ท่ีอยูปจจุบัน 15 ต.บานบึง อ.บานบึง จ.ชลบุรี 20170

E-mail. [email protected]

ประวัติการศึกษา

ระดบัประถม พ.ศ. 2546 โรงเรียนจิ้นฮั้ว

ระดับมัธยม พ.ศ. 2549 โรงเรียนบานบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห”

ระดับ ปวช. พ.ศ. 2552 วิทยาลัยเทคโนโลยภีาคตะวนัออก (อี.เทค)

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2553 บริษัท ฮั่วเชียงจั่นมอเตอร

พ.ศ. 2554 รานอาหาร Sizzler

Page 76: รถพลังงานลม - e-org.e-tech.ac.th · สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต . วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ – สกุล นาย ดํารงรักษ สมสี

ชื่อเร่ือง รถพลังงานลม (Wind Energy Car)

สาขาวิชา เทคนิคยานยนต

ประวัติสวนตัว

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 5 สิงหาคม พ.ศ. 2534 อาย ุ20 ป

ท่ีอยูปจจุบัน 480/171 หมู1 ต.เกาะจันทร อ.เกาะจันทร จ.ชลบุรี 20140

E-mail. [email protected]

ประวัติการศึกษา

ระดบัประถม พ.ศ. 2546 โรงเรียนวัฒนานุศาสน

ระดับมัธยม พ.ศ. 2549 โรงเรียนวัฒนานุศาสน

ระดับ ปวช. พ.ศ. 2552 วิทยาลัยเทคโนโลยภีาคตะวนัออก (อี.เทค)

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2553 บริษัท ฮั่วเชียงจั่นมอเตอร

พ.ศ. 2554 โรงหลอพระเทวชัย