ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora...

21
ชื่องานวิจัย การจัดการเชื้อรา Phytophthora Palmivora (Butler) Butler สาเหตุโรครากเนา และผลเนา ของทุเรียนในจังหวัดจันทบุรี Title of Paper Management of Phytophthora palmivora (Butler) Butler of fruit and root rot of durian in Chanthaburi ผูวิจัย สมศิริ แสงโชติ และ ปจจมา กวางติ๊ด 1 บทคัดยอ ลักษณะของเชื้อรา Phytophthora palmivora ซึ่งแยกไดจากสวนตางๆของทุเรียนที่เปนโรคคือ ตน ใบ ผล กิ่ง กาน จากจังหวัดจันทบุรี , ระยอง, ตราด, ปราจีนบุรี และชุมพร พบวาโคโลนีมีลักษณะเปนแบบ stellate เชื้อสราง sporangia มีรูปรางแบบ ovoid-obpyriform มี papilla การเจริญเปนแบบ caducous มี pedicel สั้น โดยมีขนาดความยาว อยูระหวาง 35-90 μm และกวาง 22-62 μm โดยมีอัตราสวนกวางตอยาวของ sporangia 1:1.6-1:2.0 การควบคุมโรค โดยวิธีการตางๆ รวมกันพบวา การใสปุยคอกจากมูลวัว, มูลไก และมูลคางคาว บริเวณรอบโคนตนในอัตรา 25, 25 และ 3 กก./ตน พบวาการใสปุยคอกดังกลาวชวยเพิ่มปริมาณเชื้อที่เปนปฏิปกษ คือ เชื้อ Pseudomonas fluorescens และ เชื้อทั้งหมดไดดี โดยปุยคอกจากมูลไกใหผลดีที่สุด การใชผงเชื้อรา Trichoderma โรยบริเวณโคนตนในอัตรา 2.5 กก./ตน และการคลุมฟางก็ใหผลในการเพิ่มปริมาณเชื้อรา Trichoderma ตลอดชวงฤดูที่ทุเรียนใหผลผลิต และการ คลุมฟางชวยลดปริมาณผลเนาที่จะเกิดกับผลทุเรียนที่เก็บเกี่ยวโดยการวางที่โคนตนแลวจึงขนยายเพื่อนําไปบมใหสุก ไดดีที่สุด การใชสารเคมี phosphorus acid ฉีดเขาตนทุเรียนในอัตรา 20 ซีซี /ตน ชวยลดการเกิดโรคโคนเนาของทุเรียน จาก 60% เหลือ 30% แตไมมีผลตอโรคผลเนา ในขณะที่การใชสารเคมีฉีดพนใหกับผล 10 วันกอนเก็บเกี่ยวชวยลดผล เนาจาก 16% เหลือ 0% ABSTRACT Variation in the morphological characteristics of Phytopthora palimivora isolates isolated from diseased durian plant parts obtained from Rayong, Chantraburi, Prachin Buri, Tradn in the east and Chumporn in the south of Thailand were investigated. Colonies of this pathogen was mostly stellate pattern. Sporagia are ovoid-subpyriform in shape with 35-90x22-62 μm in size and the ratio of length and width is 1:1.6-1:2.0. Integrated control of this pathogen using commercial Trichoderma formulation and manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree could increase the number of Trichoderma. Chicken manure at the rate of 25 kg/tree showed an increasing of Pseudomonas fluorescens and total microbial counts better than cow manure at the same rate and bat manure at 3 kg/tree respectively. Application of phosphorus acid by trunk injection at the rate of 20 ml/tree at the beginning of fruiting period reduced disease incidence from 60 to 30% but no effect on fruit rot. Spraying of durian fruit at the rate of 1000 ppm 10 days before harvest, reduced disease incidence by 16% 1 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กทม-10900

Transcript of ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora...

Page 1: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ชื่องานวิจัย การจัดการเชื้อรา Phytophthora Palmivora (Butler) Butler สาเหตุโรครากเนา และผลเนาของทุเรียนในจังหวดัจันทบรีุ

Title of Paper Management of Phytophthora palmivora (Butler) Butler of fruit and root rot of

durian in Chanthaburi

ผูวิจัย สมศิริ แสงโชติ และ ปจจมา กวางติ๊ด 1

บทคัดยอ ลักษณะของเชื้อรา Phytophthora palmivora ซึ่งแยกไดจากสวนตางๆของทุเรียนที่เปนโรคคือ ตน ใบ ผล กิ่งกาน จากจังหวัดจันทบุรี, ระยอง, ตราด, ปราจีนบุรี และชุมพร พบวาโคโลนีมีลักษณะเปนแบบ stellate เช้ือสราง sporangia มีรูปรางแบบ ovoid-obpyriform มี papilla การเจริญเปนแบบ caducous มี pedicel สั้น โดยมีขนาดความยาวอยูระหวาง 35-90 μm และกวาง 22-62 μm โดยมีอัตราสวนกวางตอยาวของ sporangia 1:1.6-1:2.0 การควบคุมโรคโดยวิธีการตางๆ รวมกันพบวา การใสปุยคอกจากมูลวัว, มูลไก และมูลคางคาว บริเวณรอบโคนตนในอัตรา 25, 25 และ 3 กก./ตน พบวาการใสปุยคอกดังกลาวชวยเพิ่มปริมาณเชื้อท่ีเปนปฏิปกษ คือ เช้ือ Pseudomonas fluorescens และเชื้อท้ังหมดไดดี โดยปุยคอกจากมูลไกใหผลดีท่ีสุด การใชผงเชื้อรา Trichoderma โรยบริเวณโคนตนในอัตรา 2.5 กก./ตน และการคลุมฟางก็ใหผลในการเพิ่มปริมาณเชื้อรา Trichoderma ตลอดชวงฤดูท่ีทุเรียนใหผลผลิต และการคลุมฟางชวยลดปริมาณผลเนาท่ีจะเกิดกับผลทุเรียนที่เก็บเกี่ยวโดยการวางที่โคนตนแลวจึงขนยายเพื่อนําไปบมใหสุกไดดีท่ีสุด การใชสารเคมี phosphorus acid ฉีดเขาตนทุเรียนในอัตรา 20 ซีซี/ตน ชวยลดการเกิดโรคโคนเนาของทุเรียนจาก 60% เหลือ 30% แตไมมีผลตอโรคผลเนา ในขณะที่การใชสารเคมีฉีดพนใหกับผล 10 วันกอนเก็บเกี่ยวชวยลดผลเนาจาก 16% เหลือ 0%

ABSTRACT Variation in the morphological characteristics of Phytopthora palimivora isolates isolated from diseased durian plant parts obtained from Rayong, Chantraburi, Prachin Buri, Tradn in the east and Chumporn in the south of Thailand were investigated. Colonies of this pathogen was mostly stellate pattern. Sporagia are ovoid-subpyriform in shape with 35-90x22-62 μm in size and the ratio of length and width is 1:1.6-1:2.0. Integrated control of this pathogen using commercial Trichoderma formulation and manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree could increase the number of Trichoderma. Chicken manure at the rate of 25 kg/tree showed an increasing of Pseudomonas fluorescens and total microbial counts better than cow manure at the same rate and bat manure at 3 kg/tree respectively. Application of phosphorus acid by trunk injection at the rate of 20 ml/tree at the beginning of fruiting period reduced disease incidence from 60 to 30% but no effect on fruit rot. Spraying of durian fruit at the rate of 1000 ppm 10 days before harvest, reduced disease incidence by 16% 1 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กทม-10900

Page 2: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

คํานํา ทุเรียน (Durian) จัดอยูใน Order Mavales Family Bombaceae มีช่ือวิทยาศาสตรวา Durio zibethinus Linn

มีถิ่นกําเนิดทางเอเชียตอนใตแถบหมูเกาะบอรเนียว อินโดนีเซีย ตอมาไดแพรกระจายไปยังแหลงตางๆรวมทั้งประเทศไทย ทุเรียนเปนผลไมท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ มีแหลงผลิตท่ีสําคัญอยูในเขตจังหวัดภาคตะวันออกไดแก จังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด และปราจีนบุรี ปจจุบันขยายพื้นที่ปลูกออกไปยังภาคอื่นๆมากขึ้น การผลิตทุเรียนมักจะประสบปญหา เรื่องศัตรูพืชท่ีเขาทําลายตลอดทุกระยะของการเจริญเติบโต ในจังหวัดจันทบุรีโรครากเนา และโคนเนาของทุเรียนเปนปญหาของเกษตรกรมากที่สุด ในชวงฤดูฝนมีฝนตกชุกทําใหมีการแพรระบาดของเชื้อโรครุนแรง ทําใหตนทุเรียนไดรับความเสียหายถึงรอยละ 72.8 (เชษฐา, 2541)

โรคโคนเนาและผลเนาของทุเรียนเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler) Butler เชื้อรานี้เปนเชื้อในดิน อาศัยขามฤดูบนเศษซากพืชท่ีเคยเปนโรค เศษอินทรียวัตถุในดิน หรือบนพืชอาศัยบางชนิด ถาอยูในดินจะสรางเสนใยผนังหนารูปรางกลม เรียก chlamydospore การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ เพศเมียจะสราง oogonium เพศผูสราง antheridium เกิดสปอรผนังหนาเรียก oospore สปอรท้ัง 2 ชนิดมีความคงทนตอสภาพแหงแลงไดดี เมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสมจะงอกเจริญเปนเสนใยสราง sporangium เมื่อมีความชื้นสูงจะปลอย zoospore เขาทําลายรากพืช ในฤดูฝนมีความชื้นสูงเชื้อโรคตามผิวดินจะผลิตสปอรและสามารถแพรกระจายโดยอาศัยลม และความชื้นไปตกตามยอด ใบและสวนตางๆของทุเรียน เกิดการลุกลามของโรค ทําใหทุเรียนแสดงอาการตนโทรม ออนแอตอการเขาทําลายของเชื้อสาเหตุโรค ไมตอบสนองตอปุย ยอดไหมแหง มีอาการลําตนหรือรากเนาแฉะฉ่ําน้ําจนเปลือกรอน ระบบรากเสีย ไมมีรากฝอย (ธรรมศักดิ์ , 2532)

การขยายพันธุของเชื้อมีผลตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและวิวัฒนาการของเชื้อ (Kronstad และ Staben, 1997) ในสภาพธรรมชาติเชื้อรา Phytophthora palmivora สามารถผสมพันธุภายในในสปชียเดียวกันหรือตางสปชียกันได (Chowdappa and Chandramohanan, 1997) ทําใหเกิดไอโซเลทใหมท่ีเหมือนหรือแตกตางไปจากเดิม ปจจุบันสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป มีการใชสารเคมีปริมาณมาก อาจกอใหเกิดการกลายพันธุของเชื้อ ไดมากยิ่งข้ึน

เนื่องจากเชื้อรานี้เปนพวกเชื้อราในดิน และเปนโรคที่ราก ทําใหยากแกการปองกันกําจัด การใชพันธุทุเรียนท่ีออนแอจะยิ่งเพิ่มการเขาทําลายของเชื้อรา และความรุนแรงของโรค การใชทุเรียนพันธุดอนหรือทุเรียนนกตรังเปนตนตอ ชวยใหตนทุเรียนมีความตานทานโรคดี การเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน จะชวยสงเสริมการเจริญของเชื้อจุลินทรียในดินทําใหยับยั้งการเกิดโรคได เชน การใชเช้ือรา Trichoderma harzianum ใสลงไปในดินจะมีผลตอการลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค (กนกนาฎ, 2540) การจัดระบายน้ําในสวนเพื่อไมใหน้ําขังในฤดูฝนชวยใหสภาพดินไมช้ืนแฉะ ทําใหลดการแพรระบาดของโรคได ปจจุบันไดมีการใชสารเคมี etridiazole, fosetyl-Al, phosphonic และ metalaxyl ในการปองกันกําจัด (Ferrin และ Kobashima, 1991; รัติยา, 2535) แตการใชสารเคมีในปริมาณมากและระยะเวลานานจะทําใหเชื้อรา P. palmivora ตานทานตอสารเคมีนอกจากนี้สารเคมีสวนใหญใชลักษณะการฉีดพนทําใหเกิดการสูญเสียคอนขางสูง

Page 3: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตรวจเอกสาร ในประเทศไทยมีรายงานวาพบโรคโคนเนาของทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา P. palmivora ระบาดครั้งแรกที่

อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี (วรรณลดา, 2525; ยุพิน, 2534) เชื้อราใน genus นี้มีประมาณ 43 specie (Waterhouse และคณะ, 1983) เปนเชื้อราสาเหตุโรคท่ีมีความสําคัญ กอใหเกิดโรคกับพืชแบงตามลักษณะสัณฐานวิทยาได 6 กลุม เชื้อรา P. palmivora จัดอยูในกลุมท่ี 2 มีจุดกําเนิดอยูบริเวณอเมริกาใต สามารถเขาทําลายพืชเศรษฐกิจไดหลายชนิด เชน ไมเนื้อแข็ง ยางพารา มะละกอ อะโวกาโด โกโก ทุเรียน พริกไทย กระเจี๊ยบ ละหุง และปาลม (Zentmyer, 1980; Chee, 1969) เชื้อรา P. palmivora ท่ีอาศัยอยูในดิน สามารถแพรกระจายโดยทางดิน น้ํา และอากาศ Suzui และคณะ (1979) รายงานลักษณะของเชื้อรา P. palmivora สาเหตุโรครากและโคนเนา ของทุเรียนไวดังนี้คือ เสนใยมีขนาด 3.6 x 5.7 ไมโครเมตร เฉลี่ย 4.5 ไมโครเมตร ผนังเรียบ sporangiophore เรียวยาว แตกกิ่งกานแบบ sympodial หรือไมแนนอน มีความกวาง 2.3 -4.5 ไมโครเมตร เฉลี่ย 3.3 ไมโครเมตร sporangium รูปรางแบน ovate หรือ elongate elliptical ขนาด 3.5 - 115 x 23 - 46 ไมโครเมตร เฉลี่ย 52 x 32 ไมโครเมตร สัดสวนความยาวตอความกวางของ sporangium เปน 1.6 : 1 สวนปลายของ sporangium มี papilla ผนังหนา 4.7 ไมโครเมตร pedicel ยาว 2.3 - 4.5 ไมโครเมตร เฉลี่ย 3.3 ไมโครเมตร sporangium เมื่อแกจะหลุดออกจากกัน บริเวณปลายเสนใยสราง chlamydospore รูปรางกลมขนาด 25 - 42 ไมโครเมตร เฉลี่ย 30 ไมโครเมตร ผนังเรียบและบาง สืบพันธุแบบอาศัยเพศเปน heterothallic สราง oogonium รูปรางกลม ผนังบาง ขรุขระ ขนาด 20 - 28 ไมโครเมตร มีสีเหลืองถึงสีทอง antheridium เปนแบบ amphigynous รูปรางกลม ขนาดเฉลี่ย 13 x 13 ไมโครเมตร oospore เจริญเกือบเต็ม oogonium ขนาดเฉลี่ย 22 ไมโครเมตร ผนังหนา 2.1 ไมโครเมตร สีเหลืองถึงสีเหลืองน้ําตาล

เชื้อรา P. palmivora สรางอวัยวะสืบพันธุ sporangium และ chlamydospore ซึ่งสามารถอาศัยอยูในดินได

เปนเวลานาน เมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสมเชื้อราจะเขาทําลายพืช โรคนี้เกิดไดกับทุกสวนของตนทุเรียน ตั้งแต ราก ลําตน ใบและผล มีอาการเนาเกิดข้ึนที่รากใหญเมื่อขุดรากดูพบวารากมีสีน้ําตาล ชํ้าและเนา อาการอาจจะลุกลามข้ึนมายังลําตนได อาการที่โคนพบวาเปลือกของลําตนจะแตก (patch comker) เปลี่ยนเปนสีน้ําถึงน้ําตาลมวง เมื่อกดดูจะรูสึกนิ่ม ในสภาพอากาศชื้นจะพบเมือกเยิ้มออกมาจากเปลือกลําตน สีน้ําตาลแดง เมื่อขูดเปลือกออกพบวาเนื้อไมเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลแดง อาการดังกลาวมักพบบริเวณโคนระดับผิวดิน บริเวณซอกกิ่งหรือตามรองกิ่งท่ีน้ําขัง และอาจพบบริเวณใตกิ่งระดับโคนตน ตนทุเรียนที่เปนโรค ใบจะมีสีซีดลง ไมเปนมัน และตอมาใบจะเหลืองอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในพันธุท่ีออนแอ เชน หมอนทอง ใบจะสลดและรวงหลน ใบที่ถูกเชื้อเขาทําลายจะเปนแผลเนา ใบออนแสดงอาการอยางรุนแรง นอกจากนี้ยังพบอาการที่ผลทุเรียนโดยมากมักเปนกับผลที่ใกลสุก ผลเปนจุดสีน้ําตาลและลุกลามเขาไปถึงเนื้อขางใน ทําใหเนื้อเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล อาจพบเสนใยของเชื้อ (อุดม, 2532)

เนื่องจากเชื้อรา P. palmivora เปนเชื้อราในดิน และเปนโรคที่ราก จึงยากแกการปองกันกําจัด ตนทุเรียนที่จะสามารถรักษาใหหายไดตองเปนตนที่เริ่มเปนโรค การดูแลรักษาตนทุเรียนใหสมบูรณแข็งแรง หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนรากของทุเรียนซึ่งออนแอและเปนทางที่เช้ือราเขาทําลาย จะชวยปองกันการเกิดโรคได (อุดม, 2532)

โดยท่ีโรคนี้สามารถเกิดข้ึนไดกับทุกสวนของทุเรียน การปองกันกําจัดท่ีดีวิธีหนึ่งคือการใชสารเคมี Ferrin

และ Kobashima (1991) รายงานวาสาร metalaxyl เปนสารเคมีประเภทดูดซึมซึ่งอยูในกลุม acylalanines เปนสารเคมีมีผลเฉพาะเจาะจงตอเชื้อราในกลุม Oomycetes และมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora spp. และ Pythium sp.

Page 4: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

รัติยา (2535) ไดศึกษาประสิทธิภาพของสารเคมี eridiazole, fosetyl-Al และ phosphonic acid ในการควบคุมโรคผลเนาของทุเรียนหมอนทอง เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora ซึ่งผานการปลูกเชื้อดวยเสนใยและบมเชื้อเปนระยะเวลา 21 ช่ัวโมง พบวาการจุมในสารละลาย fosetyl-Al อัตราความเขมขน 4,000 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร เปนระยะเวลา 3 นาที สามารถควบคุมโรคผลเนาไดดี และเมื่อระยะเวลาในการบมเชื้อลดลงเปน 14 ช่ัวโมง และลดอัตราความเขมขนของสารเคมี fosetyl-Al เปนอัตราความเขมขน 2,000 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร โดยจุมผลทุเรียนเปนเวลา 1 นาที พบวาสามารถควบคุมโรคผลเนาของทุเรียนหมอนทองได

การรักษาความสะอาดในสวนใหปราศจากโรค การใสปุยเพิ่มอินทรียวัตถุ การจัดการระบายน้ําในสวนเพื่อ

ไมใหน้ําขังในฤดูฝนควรขุดรองระหวางแถวทุเรียนเพื่อระบายน้ําออก และถมโคนทุเรียนใหสูงกวารองน้ําเพื่อน้ําจะไดไมขังแชรากก็เปนวิธีท่ีจะชวยลดการเกิดโรคได Dutta และ Hedge (1995) ใชเปลือกของเมล็ดฝายปนและเปลือกถั่วลิสง ในการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. palmivora

Aryantha และคณะ(2000) ศึกษาการใชปุยหมักมูลสัตวตอการเกิดโรครากเนาสาเหตุจากเชื้อรา

Phytophthora cinnamomi การใชมูลไกหมักเปนเวลา 5 สัปดาห สามารถลดความรุนแรงและการพัฒนาของโรคบนตนกลา Lupinus albus ไดดีกวาการหมักที่ 2 สัปดาห มูลวัว มูลแกะ และมูลมาไมสามารถยับยั้งปริมาณของเชื้อ P. cinnamomi ได แตมูลสัตวจะไปเพิ่มสารอินทรียในดินจากการวิเคราะหกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตพบปริมาณของ Actinomycetes , Pseudomonad fluorescent และเชื้อรา ปริมาณจุลินทรียท่ีพบมีความสัมพันธกับการเกิดโรค ซึ่งแสดงวาการใชมูลสัตวสามารถลดการเกิดโรคได

การใชเชื้อจุลินทรียท้ังท่ีไมใชศัตรูพืช หรือเปนศัตรูพืชแตไมมีความรุนแรงในการเขาทําลายพืช ไปควบคุมปองกันกําจัดจุลินทรียท่ีเปนศัตรูพืช สุธามาศ (2537) ศึกษาประสิทธิภาพของการใชสวนผสมของเชื้อรา Trichoderma spp. ซึ่งประกอบไปดวยผงไดอะตอมไมท รําขาว และปุยอินทรียอัตรา 1 : 8 : 5 : 16 โดยน้ําหนักรวมกับสารเคมีควบคุมเชื้อราในระดับหองปฏิบัติการพบวา เชื้อรา Trichoderma spp. ทุกไอโซเลท สามารถลดปริมาณเชื้อ P. parasitica ในดินได และใชสวนผสมของผงเชื้อรา T. harzianum (CB-Pin-01) รวมกับสาร metalaxyl 1250 ppm มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อ P. parasitica และทดสอบในเรือนปลูกพืชทดลองกับกลาสมเขียวหวานอายุ 1 ป ใหผลท่ีสอดคลองกับในหองปฏิบัติการ โดยชวยลดการเกิดโรครากเนาของสมไดดี

กนกนาฏ (2540) ศึกษาประสิทธิภาพสวนผสมของผงเชื้อรา Trichoderma harzaianum (CB-Pin-01) กับ

อาหารเสริม (รําขาวละเอียด) และสารเสริม (ปุยหมัก) อัตราสวน 1: 4 : 10 โดยน้ําหนัก ดวยวิธีหวานบริเวณใตทรงพุมของทุเรียนอัตรา 50 กรัมตอตารางเมตร เพียงอยางเดียว หรือใชรวมกับการหวานสารเคมี metalaxyl ชนิดเม็ด บริเวณใตทรงพุมอัตรา 1 กิโลกรัมตอตน หรือใชรวมกับการฉีดพนและราดดวยสารเคมี metalaxyl หรือใชรวมกับการฉีดพนดวยสารบํารุงพืชเพื่อยับยั้งเชื้อรา P. palmivora ในสภาพสวน 4 สวน คือจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด และศูนยวิจัยพืชสวนจันทบุรี พบวาปริมาณเชื้อรา T. harzianum มีปริมาณเพิ่มสูงข้ึน และความสมบูรณของตนทุเรียนเพิ่มข้ึนในการใชเชื้อรา T. harzianum

Page 5: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

อุปกรณและวิธีการ 1. ลักษณะของเชือ้ Phytopthora palmivora ( Bult.) Bulter

เก็บตัวอยางดิน กิ่ง กาน ใบ ผลทุเรียน และลําตนของทุเรียนที่เปนโรคในสวนทุเรียนของเกษตรกรในภาคตะวันออกและภาคใตประกอบดวย ระยอง จันทบุรี ตราด ชุมพร โดยทําการแยกเชื้อรา P. palmivora จากดินโดยวิธี soil dilution plate บนอาหารจําเพาะ BNPRA และวิธี baiting แยกเชื้อ P. palmivora จากใบ , เปลือกทุเรียน และลําตน โดยวิธี tissue transplanting อาหารจําเพาะ BNPRA เลี้ยงเชื้อรา P. palmivora บนอาหาร potato dextrose agar (PDA) บมไวท่ีอุณหภูมิหองเปนเวลา 3-5 วัน ใช cork boror ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.5 เซนติเมตร บริเวณขอบโคโลนี ยายลงอาหาร PDA แลวบมเชื้อภายใตแสง near ultra violet สลับมืดทุก 12 ช่ัวโมงเปนระยะเวลา 7 วัน เพื่อศึกษาลักษณะโคโลนี, ลักษณะทางรูปรางเชื้อตอไป 2. การศึกษาการเพิ่มปริมาณของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในแปลงทุเรียน

กรรมวิธีท่ีใชในการศึกษาเพิ่มปริมาณของเชื้อรา T. harzianum มีท้ังหมด 4 กรรมวิธี โดยทดสอบที่สวนทุเรียนจังหวัด จันทบุรี

กรรมวิธี 1. กรรมวิธีควบคุม กรรมวิธี 2. ใชผงเชื้อ T. harzianum 2.5 กิโลกรัมตอทุเรียน 1 ตน กรรมวิธี 3. ใชผงเชื้อ T. harzianum 2.5 กิโลกรัมตอทุเรียน 1 ตน คลุมทับดวยฟางขาว กรรมวิธี 4. ใชฟางขาวคลุมทับรอบโคนตนทุเรียน

โดยในแตละกรรมวิธีใชทุเรียน 4 ตน สุมเก็บตัวอยางดินบริเวณใตทรงพุม หางจากโคนตน 1 เมตร เก็บ

ตัวอยางดิน 3 จุดตอตน แลวนํามารวมเปนหนึ่งตัวอยาง แบงดินสวนหนึ่งใชตรวจปริมาณเชื้อรา P. palmivora โดยวิธี soil dilution plate บนอาหาร BNPRA และดินอีกสวนหนึ่งใชตรวจนับปริมาณเชื้อรา T. harzianum โดยวิธี soil dilution plate บนอาหาร Martin’s (Johnson and Curl, 1972) บันทึกคาปริมาณเชื้อเปนหนวยโคโลนี (colony forming unit : cfu) ตอดิน 1 กรัม และทําการเก็บเกี่ยวผลทุเรียนในแตละวิธีการโดยเมื่อเก็บเกี่ยวจะวางโคนตนกอนแลวจึงยายผลทุเรียนนํามาบมใหสุก ตรวจสอบอาการผลเนาเมื่อทุเรียนสุกเต็มท่ี สวนอีกการทดลองหนึ่งคือการทดสอบในสวนเขตจังหวัดตราดโดยการใสและไมใสผงเชื้อ Trichoderma บริเวณโคนตนทุเรียนโดยใชวิธีการและอัตราเชนเดียวกับที่กลาวขางตน 3. การทดสอบประสิทธิภาพของปุยคอกตอการเกิดโรครากเนาของทุเรียน ปริมาณเชื้อรา Trichoderma spp. และ

จุลินทรียปฏิปกษอื่น ๆ - การทดสอบในหองปฏิบัติการ การทดสอบความมีชีวิตของเชื้อรา P. palmivora ในดินที่ใสปุยคอกในสภาพหองปฏิบัติการ ใชกลองพลาสติกขนาด 10x20x5 ซม. บรรจุดินอบฆาเชื้อแลวใสลงไป 1/3 ของความสูง จากนั้นนําเอาชิ้นใบทุเรียนที่ไดผานการลอยใน spore suspension ของเชื้อรา P. palmivora และมีการเขาทําลายของเชื้อ มาวางลงบนผิวหนาของดินดังกลาว โดยใช 10 ช้ิน/กลอง แลวโรยทับดวยปุยคอกในอัตรา 0.16 กรัม/ตร.ซม. สําหรับปุยคอกจากมูลวัวและมูลไก และ 0.02 กรัม/ตร.ซม. สําหรับปุยคอกจากมูลคางคาว จํานวนวิธีการละ 10 กลอง ทําการสุมตัวอยางออกมาวันละ 1 กลอง ทําการตรวจสอบความมีชีวิตของเชื้อรา P. palmivora บนชิ้นใบโดยการนํามาลางน้ําไหลและเลี้ยงลงบน selective media BNPRA ตรวจสอบการเจริญหลังจากบมเชื้อไวท่ี 25 องศาเซลเซียส เปนระยะเวลา 7 วัน

Page 6: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

- การทดสอบในเรือนปลูกพืช นําตนกลาทุเรียนอายุ 1 ป ปลูกในกระถางขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 นิ้ว จากนั้นนําเอาชิ้นใบที่มีเชื้อ P. palmivora ซึ่งเตรียมเชนเดียวกับขางตน วางลงโดยรอบโคนตนกลาทุเรียนจํานวน 10 ช้ินตอตน แลวกลบบริเวณผิวหนาดินดวยปุยคอกจากมูลไก มูลโค และมูลคางคาว ในอัตราเชนเดียวกับที่ทดสอบในหองปฏิบัติการ ทําการตรวจสอบตนทุเรียนที่แสดงอาการของโรคในระยะเวลา 2 เดือน หลังจากเริ่มทําการทดลอง โดยมีกระถางที่ไมโรยปุยคอกเปนวิธีการควบคุม ใชทุเรียน 5 กระถางตอวิธีการ

- การทดสอบการใชปุยคอกในสวนทุเรียน ในการทดสอบการใชปุยคอกในสวนทุเรียนจะประกอบดวยกรรมวิธีตางๆ

กรรมวิธี 1 กรรมวิธีควบคุม กรรมวิธี 2 ใชมูลวัว 25 กิโลกรัม ตอ ตนทุเรียน 1 ตน กรรมวิธี 3 ใชมูลไก 25 กิโลกรัม ตอ ทุเรียน 1 ตน กรรมวิธี 4 ใชมูลคางคาว 3 กิโลกรัม ตอ ทุเรียน 1 ตน

สุมเก็บตัวอยางดินบริเวณใตทรงพุม หางจากตน 1 เมตร เก็บตัวอยางดิน 3 จุดตอตน แลวนํามารวมเปน

หนึ่งตัวอยาง แบงดินสวนหนึ่งใชตรวจปริมาณเชื้อรา P. palmivora โดยวิธี soil dilution plate บนอาหาร BNPRA และดินอีกสวนหนึ่งใชตรวจนับปริมาณเชื้อรา T. harzianum โดยวิธี soil dilution plate (SDP) บนอาหาร Martin’s (Johnson and Curl, 1972) บันทึกคาปริมาณเชื้อเปนหนวยโคโลนี (colony forming unit : cfu) ตอดิน 1 กรัม โดยใชทุเรียน 5 ตนตอกรรมวิธี

4. การควบคุมโรคโคนเนาและผลเนาของทุเรียนโดยใชสารเคมี phosphorus acid การใช phosphorus acid ในเรือนปลูกทดลอง ทําการฉีดพนตนกลาทุเรียนอายุ 1 ป ดวยสารเคมี phosphorus acid (Foli-R-fos 400® ) ในอัตรา 1000

ppm ท่ีใบ แลวท้ิงไวใหแหง หลังจากนั้นปลูกเชื้อดวยเชื้อรา P. palmivora โดยการทําแผลที่ใบแลวแปะดวยmycelial disc ของเชื้อรา P. palmivora ท่ีตัดมาจากสวนปลายของโคโลนีของเชื้อราดังกลาวท่ีเลี้ยงไวบนอาหาร PDA อายุ 7 วัน ดวย cork borer ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.5 ซม. แลวคลุมดวยถุงพลาสติกใหอยูในสภาพชื้น 48 ซม. แลวจึงเอาออกตรวจอาการของโรคบนใบหลังจากปลูกเชื้อ 7 วัน อีกสวนหนึ่งของตนกลาทุเรียน ทําการปลูกเชื้อใหกับใบทุเรียนเชนเดียวกับที่กลาวขางตน แลวนําเอากระถางของตนกลาทุเรียนแชลงในสารละลาย phosphorus acid 1000 ppm โดยใหสวนรากสัมผัสกับสารเคมีดังกลาว ทําการตรวจอาการของโรคหลังจากการปลูกเชื้อเปนระยะเวลา 7 วัน โดยในแตละวิธีใช 5 ตนตอกรรมวิธี

การใช phosphorus acid ในแปลง คัดเลือกตนทุเรียนที่แสดงอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อรา P. palmivora บริเวณลําตน จํานวน 20 ตน ในชวงท่ีทุเรียนเริ่มออกผล จากนั้นทําการฉีดสารเคมี phosphorus acid ในอัตรา 20 มล./ตน (Foli-R-fos 400 : น้ํา = 1 :1) โดยใชเข็มสําหรับฉีดยาสัตว จํานวน 10 ตน อีก 10 ตน ฉีดดวยน้ํา ทําการตรวจนับจํานวนตนที่แสดงอาการของโรคและตนปกติ เมื่อทุเรียนเก็บเกี่ยวผลรุนสุดทาย โดยการทดสอบในสวนทุเรียนที่จังหวัดจันทบุรีและตราดและเก็บเกี่ยวผลจากตนทุเรียนดังกลาว ตรวจสอบปริมาณโรคผลเนาท่ีเกิดข้ึน เมื่อผลทุเรียนสุกเต็มท่ีโดยใชทุเรียน 10 ผล/ตน

Page 7: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

การฉีดพนผลทุเรียนกอนเก็บเกี่ยว ทําการฉีดพนทุเรียนดวยสาร phosphous acid ในอัตรา 1000 ppm ในชวง 10 วัน กอนการเก็บเกี่ยว โดยฉีดพนจํานวน 5 ตน และอีก 5 ตน ฉีดพนดวยน้ํา ทําการเก็บเกี่ยวผลทุเรียนเมื่อแกเต็มท่ี จากตนที่ผานวิธีการดังกลาวโดยเก็บ 10 ผล/ตน แลวนํามาบมใหสุกตรวจผลการเกิดโรคผลเนาและเชื้อสาเหตุ

ผลการทดลอง 1. ลักษณะของเชื้อรา Phytophthora palmivora เชื้อรา Phytophthora palmivora ท่ีแยกไดจากสวนของใบ กิ่งกาน ลําตน ท่ีเปนโรคและจากดิน จากแหลงตางๆทางภาคตะวันออกและภาคใตของประเทศไทย (ตารางที่1) เมื่อนํามาศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาพบวาเชื้อรานี้มีความแตกตางกันอยูบาง

ลักษณะรูปรางของ asexual structure หลังจากเลี้ยงเชื้อไวบน CA ท่ี 25 °ซ เปนระยะเวลา 5-7 วัน ภายใตแสง NUV เมื่อนํามาศึกษาลักษณะรูปราง

ภายใตกลองจุลทัศนพบวา sporangia จะมีรูปรางคอนขางผันแปรตั้งแต ovoid, ellipsoid, obpyriform, ovoid-obpyriform, และ

spherical (ตารางที่ 2 และ ภาพที่ 1) sporangia เปนแบบ caducous pedicel สั้น (2.8-4.2 μm) และมีpapilla บาง isolates (P33) อาจพบมี 2 papilla (ภาพที่ 3A) ขนาดของ sporangia คอนขางจะผันแปรเชนกัน โดยมีขนาดเฉลี่ยของความยาว 35 - 90 μm และ 22 - 62 μm ในสวนกวาง โดยมีอัตราสวนความยาว:ความกวาง 1.6 - 2.0

อุณหภูมิสูงสุดของการเจริญเติบโต

ในการจัดกลุมของเชื้อตามความสามารถในการเจริญที่อุณหภูมิสูงสุดโดยการเลี้ยงเชื้อบนอาหาร CA ท่ี

อุณหภูมิ 25, 35, และ 37°ซ ทุก isolate เจริญไดดี ท่ี 25°ซ หลังจากบมเชื้อไว 7 วัน โดยมีเสนผาศูนยกลาง 9

เซนติเมตร อุณหภูมิท่ี 35 °ซ เชื้อเจริญไดอยูในชวง 8-9 ซม. มีเพียง isolate P14 ซึ่งไมสามารถเจริญไดท่ีอุณหภูมินี ้ (ตารางที่ 3)

Page 8: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตารางที่ 1 แหลงตางของเชือ้รา Phytophthora palmivora ในภาคตะวันออกและภาคใต

ไอโซเลท สวนที่แยก แหลง P01 ผลทุเรียน ต.ทุงเบญจา อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P03 ผลทุเรียน ต.ทุงเบญจา อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P04 ผลทุเรียน ต.ชากไทย อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P05 ผลทุเรียน ต.เขาบายศรี อ. ทาใหม จ. จันทบุรี P07 ผลทุเรียน ต. เขาบายศรี อ. ทาใหม จ. จันทบรีุ P09 ผลทุเรียน ต. เขาบายศรี อ. ทาใหม จ. จันทบรีุ P10 ผลทุเรียน ต. เขาบายศรี อ. ทาใหม จ. จันทบรีุ P12 ผลทุเรียน ต.ทุงเบญจา อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P14 ผลทุเรียน ต.ทุงเบญจา อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P17 ดิน ต.ชากไทย อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P19 ลําตน ต.ทาชาง อ.เมือง จ.จันทบุรี P21 ผลทุเรียน อ.เมือง จ.ปราจนีบุรี P22 ลําตน อ.เมือง จ.ปราจนีบุรี P23 ลําตน อ.เมือง จ. จันทบรีุ P25 ใบ ต.ปรานตี อ.เขาสมิง จ.ตราด P26 กิ่ง ต.ปรานตี อ.เขาสมิง จ.ตราด P27 ใบ ต. เขาสมิง อ.เขาสมิง จ.ตราด P29 ลําตน ต.ชากไทย อ.ทาใหม จ.จันทบุรี P31 กิ่ง ต.ทองไขวหิน อ.แกลง จ.ระยอง P32 ใบ ต.ทองไขวหิน อ.แกลง จ.ระยอง P33 กิ่ง ต.ทองไขวหิน อ.แกลง จ.ระยอง P35 ผลทุเรียน จันทบุรี P36 ผลทุเรียน จันทบุรี P37 ผลทุเรียน อ.เขาสมิง จ.ตราด P38 ลําตน จ.ชุมพร P39 กิ่ง จ.ชุมพร

ลักษณะของโคโลนี

ลักษณะโคโลนีของเชื้อบนอาหาร PDA ท่ี 25°ซ จะใหลักษณะโคโลนีแบบที่เรียกวา stellate pattern ยกเวน P09, P27, P31 และ P33 ซึ่งเปนแบบ radiate, irregular (slightly fluffy), slight petallate, และ stoloniferous growth ตามลําดับ (ตารางที่ 3, ภาพที่ 2)

Page 9: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตารางที่ 2 ลักษณะของ chlamydospore และ sporangium ของเชื้อรา Phytophthora species

Isolate No.

Chlamydospores Sporangia

Production Shape Type Aver.

Diameter

(μm) Caducity

Pedicel length

(μm) Shape

Length

(μm)

Breadth

(μm)

Average

(μm) L : B ratio Papillate

P01 + Globose Terminal & Intercalary

36

+ 4.0 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform, Spherical

50-72.5 27.5-45 32x61 1.9 P

P03 + Globose Termina & lIntercalary

35 + 3.9 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform, Spherical

39-74 26-35 32x61 1.9 P

P04 + Globose Terminal 36 + 4.2 Ovoid, Obpyriform, Spherical 38-75 25-35 31x62 2.0 P P05 + Globose Terminal 35 + 3.5 Ellipsoid, Ovoid, Obpyriform,

Spherical 48-78 28-45 34x60 1.8 P

P07 + Globose Terminal 34 + 2.9 Ellipsoid, Ovoid, Obpyriform, Ovoid-obpyriform

43-80 28-40 32x59 1.8 P

P09 + Globose Terminal 34 + 2.8 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform, Spherical

40-65 28-45 34x56 1.6 P

P12 + Globose Terminal 38 + 3.2 Spherical, Ovoid-obpyriform, Obpyriform

45-72 28-45 36x58 1.6 P

P14 + Globose Terminal 37 + 2.8 Ovoid-obpyriform, Obpyriform, Spherical, Ovoid

48-78 28-42 32x62 1.9 P

Page 10: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตารางที่ 2 ลักษณะของ chlamydospore และ sporangium ของเชื้อรา Phytophthora species (ตอ)

Isolate No.

Chlamydospores Sporangia

Production Shape Type Aver.

Diameter

(μm) Caducity

Pedicel length

(μm) Shape

Length

(μm)

Breadth

(μm)

Average

(μm) L : B ratio Papillate

P31 + Globose Terminal 34 + 3.0 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform

40-78 25-38 32x58 1.8 P

P32 + Globose Terminal 36 + 3.9 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid 48-72 28-38 32x60 1.8 P P33 + Globose Terminal 30 + 3.9 Ovoid-obpyriform, Spherical,

Obpyriform 35-65 22-38 30x51 1.7 P

P35 + Globose Terminal 37 + 4.1 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform

50-75 28-42 34x62 1.8 P

P36 + Globose Terminal 34 + 3.6 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform, Spherical

42-85 22-40 32x60 1.9 P

P37 + Globose Terminal 34 + 3.4 Ovoid-obpyriform, Spherical, Obpyriform, Ovoid

42-72 28-42 34x58 1.7 P

P38 + Globose Terminal 39 + 3.3 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform, Spherical

45-90 28-50 35x62 1.8 P

P39 + Globose Terminal 33 + 3.0 Ovoid-obpyriform, Ellipsoid, Obpyriform

48-80 28-42 32x60 1.8 P

Page 11: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ภาพที่1 ลักษณะรูปรางของ sporangia A. Obpyriform B. Ovoid C. Ellipsoid D. Ovoid-obpyriform E. Spherical

C

A

B

Page 12: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตารางที่ 3 การเจริญและลักษณะโคโลนีของเชื้อรา Phytophthora palmivora ท่ีระดับอุณหภูมิ 25, 35, และ 37 °ซ หลังจากเลี้ยงเชื้อบนอาหาร PDA เปนระยะเวลา 7 วัน

Isolate No.

Phytophthora growth Colony characteristics on PDA (colony pattern) 25°C 35°C 37°C

P01 ++ ++ - satellate P03 ++ + - satellate P04 ++ + - satellate P05 ++ ++ - satellate P07 ++ ++ - satellate P09 ++ ++ - radiate P12 + + - satellate P14 ++ - - satellate P17 ++ ++ - satellate P19 ++ ++ - satellate P21 ++ ++ - satellate P22 + + - satellate P23 ++ ++ - slight satellate P25 ++ ++ - satellate P26 ++ ++ - satellate P27 ++ ++ - irregular with a bit fluffy P29 ++ ++ - satellate P31 ++ ++ - slight petallate P32 ++ ++ - satellate P33 ++ + - stoloniferous growth P34 ++ + - satellate P35 ++ ++ - satellate P36 ++ ++ - satellate P37 ++ ++ - satellate P38 ++ ++ - satellate P39 ++ ++ _ satellate

++ = diameter 8-9 cm

+ = diameter < 8 cm

Page 13: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ภาพที่ 2 ลักษณะโคโลนีของ Phytophthora palmivora บนอาหาร PDA เมื่ออายุ 7 วนั A. Slight stellate type B. Slight petallte type C. Radiate type D. Irregular (slihtly fluffy) E. Stoloniferous type

Page 14: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ภาพที่ 3 ลักษณะของ sporangia

A. Sporangium with 2 papillates B. Intercalary chlamydospore C. Terminal Chlamydospore

2. การศึกษาการเพิ่มปริมาณของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในแปลงทุเรียน การใชผงเชื้อ Trichoderma sp. ช่ือการคา “Unigreen” ในอัตรา 1.5 กก/ตน แลวคลุมดวยฟางขาว โดย

ทดสอบที่จันทบุรี พบวามีการเพิ่มของ Trichoderma sp. มากข้ึน(ภาพที่4) ในขณะที่สวนที่จังหวัดตราดทดสอบเพียงการใสและไมใสผงเชื้อดังกลาว ก็พบวามีอัตราการเพิ่มปริมาณของเชื้อรา Trichoderma sp อยาเห็นไดชัดเชนกัน (ภาพที่5) โดยตรวจไมพบ เชื้อรา P. palmivora จากตัวอยางดินในทั้งสองสวน

Page 15: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ภาพที่ 4 การเพิ่มข้ึนของเชื้อรา Trichoderma sp. (CFU/gm)ในสวนที่จันทบุรีหลังจากการใชผงเชื้อ Trichoderma sp.

ภาพที่ 5 การเพิ่มขึ้นของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในสวนที่จงัหวัดตราดหลงัจากการใชผงเชื้อรา Trichoderma

ผงเชื้อรา Trichoderma sp. และการคลุมฟางตอโรคผลเนาซึ่งไดทดสอบที่สวนที่จันทบุรีโดยการวางผลทุเรียนโคนตนกอนขนยายแลวนําไปบม พบวาการเกิดโรค (%) ต่ําสุดในวิธีการที่ใชคลุมฟาง (ตารางที่ 4)

0

5

10

15

20

25

30

35

3/11/00 3/21/00 3/31/00 4/10/00 4/20/00 4/30/00 5/10/00 5/20/00

Date

cfu / s

oil 1

gram

(x10

0)

Control

Straw

Straw+Trichoderma

Trichoderma sp.

0

20

40

60

80

3/11/00 3/21/00 3/31/00 4/10/00 4/20/00 4/30/00 5/10/00 5/20/00

Control

Trichoderma sp.

Page 16: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

ตารางที่ 4 ปริมาณผลเนาของผลทุเรียน (%) ท่ีเก็บเกี่ยวจากตนทุเรียนที่ไดรับการโรยผงเชื้อ T. harzianum และ/หรือคลุมฟางบริเวณโคนตน โดยการเก็บผลและวางบริเวณโคนตนกอนการขนยายเพื่อบมใหสุก และตรวจผลการเกดิโรคเมื่อผลสุกเต็มท่ี

วิธีการ ผลเนา (%)

ไมคลุมฟางและไมโรยผงเชื้อรา Trichoderma 27.5b คลุมฟาง 7.5a โรยผงเชื้อรา Trichoderma 55.0c โรยผงเชื้อรา Trichoderma และคลุมฟาง 35.0b

3. การทดสอบประสิทธิภาพของปุยคอกตอการเกิดโรครากเนาของทุเรียน ปริมาณเชื้อรา Trichoderma

spp. และจุลินทรียปฏิปกษอื่น ๆ

ผลของปุยคอกตอความมีชีวิตของ Phytophthora palmivora ไดมีการศึกษาในหองปฏิบัติการ โดยนําใบทุเรียนที่ตัดเปนชิ้น (0.5x0.5) แลวลอยใน suspension ของ conidia ของเชื้อรา P. palmivora เมื่อเชื้อมาเกาะที่ใบดังกลาวจึงยายช้ินใบมาวางลงบนดินอบในกลองพลาสติก แลวโรยทับผิวหนาดวยปุยคอกจากวัว ไก และคางคาว โดยใชอัตราที่ใชตอในสวน โดยใชช้ินใบ 10 ช้ินตอกลอง ทุกๆ 15 วัน นําช้ินใบมาตรวจสอบความมีชีวิตของเชื้อรา P. palmivora โดยเลี้ยงบนอาหาร selective media พบวาหลังจาก 45 วัน ปริมาณ P. palmivora ตรวจพบในปริมาณที่ต่ําในดินที่ไดรับปุยคอกทั้งหมด (ภาพที่ 6) และเมื่อนํามาทดสอบในเรือนปลูกพืชกับตนกลาทุเรียนอายุ 1 ป โดยการเอาชิ้นใบที่ไดรับการปลูกเชื้อเชนเดียวกับขางตน วางลงบนดินในกระถาง แลวโรยทับดวยปุยคอกทั้ง 3 ชนิด แลวทําการตรวจปริมาณดินเปนโรคทุก 2 สัปดาห พบวา ปริมาณดินที่แสดงอาการของโรคพบแตเพียงในกระถางที่ไมใสปุยคอก โดยมีปริมาณการเปนโรค 30% ในขณะที่กระถางที่ใสปุยคอกทั้งหมดไมมีดินที่แสดงอาการของโรค

ภาพที่ 6 ปริมาณ (%) ของ Phytphthora palmivora ท่ีตรวจพบจากชิ้นใบที่วางอยูบนดินและโรยทับดวยปุยคอกตางๆ ในกลองพลาสติกในชวงเวลาตางๆ

0

20

40

60

80

100

0 days 15 days 30 days 45 days

Control

Bat manure

Chicken manure

Cow manure

Page 17: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

การทดสอบการใชปุยคอกดังกลาวในสวนทุเรียนในอัตรา 25 กก./ตน สําหรับปุยคอกจากมูลไกและมูลวัว

และ 3 กก./ตน สําหรับมูลคางคาว พบวาการใสปุยคอกทําใหปริมาณเชื้อราทั้งหมดและเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas fluorescens เพิ่มข้ึนอยางเหน็ไดชัดโดยปุยคอกที่ดีท่ีสุดคือ ปุยคอกจากมูลไก อยางไรก็ตามไมมีตนที่แสดงอาการของโรคเนาในการทดลองนี้ และพบวาในดินก็ตรวจไมพบเชื้อรา P. palmivora เชนกัน (ภาพที่ 7 และ 8 )

ภาพที่ 8 ปริมาณ (CFU/gm) ของแบคทีเรีย Pseudomonas fluorescens จากดินบริเวณโคนตนทุเรียนที่ใสปุยคอกชนิดตางๆ ในชวงท่ีทุเรียนกอนติดผล

ภาพที่ 9 ปริมาณของจุลินทรียท้ังหมด (CFU/gm) จากดินบริเวณโคนตนทุเรียนที่ใสปุยคอกชนิดตางๆ ในชวงท่ีทุเรียนกอนติดผล

Page 18: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

การควบคุมโดยสารเคมี

การใช phosphorus acid ทดสอบในเรือนปลูกพืชทดลอง การฉีดพนทางใบ ฉีดพนตนกลาทุเรียนที่ใบดวย phosphorus acid (Fori-R-fos 400®) ในอัตรา 1000 ppm

แลวปลูกเชื้อตามดวย P. palmivora พบวามีปริมาณการเกิดโรค 20% ในขณะที่ใบที่ฉีดพนดวยน้ําเปนโรค 90% การใหสาร phosphorus acid ผานทางราก ตนกลาทุเรียนที่ไดรับการปลูกเชื้อท่ีใบแลวบมเชื้อไวเปน

ระยะเวลา 24 ชม. แลวจึงนํามาแชในสารละลายของ phosphorus acid ท่ีความเขมขน 1000 ppm พบวาปริมาณการเกิดโรคบนใบไมแตกตางกับที่จุมในน้ําปกติ (ตารางที่ 5 และ 6 )

ตารางที่ 5 ปริมาณ (%) การเกิดโรคของใบทุเรียนที่ไดรับฉีดพนดวย phosphorus acid แลวนํามาปลูกเชื้อดวยเชื้อรา Phytophthora palmivora และตนกลาทุเรียนที่ปลูกเชื้อดวยเชื้อรา Phytophthora palmivora ลงในกระถางปลูก แลวจุมในสารละลายดังกลาวท่ีความเขมขน 1000 ppm

วิธีการ การเกิดโรค(%) ฉีดพนดวยน้ําและปลูกเชื้อดวยเช้ือรา P. palmivora 90a ฉีดพนดวย phosphorous acid แลวปลูกเชื้อดวยเช้ือรา P. palmivora 20b ปลูกเชื้อดวยเช้ือรา P. palmivora แลวจุมในน้ํา 80a ปลูกเชื้อดวยเช้ือรา P. palmivora แลวจุมใน phosphorous acid 90a

การใช phosphorus acid ในแปลง การฉีดเขาตน ตนทุเรียนที่ไดรับการฉีด phosphorus acid เขาตนในอัตรา 20 มล./ตน (foli-R-fos 400®:

water=1:1) ในชวงทุเรียนติดผล พบวาท่ีลําตนหลังจาก 60 วัน การเกิดโรคมีปริมาณ 30 % ในขณะที่ผลท่ีฉีดดวยน้ําเปนโรค 60 % แตไมมีความแตกตางกันของการเกิดโรคผลเนา

ตารางที่ 6 ปริมาณการเกิดโรคของตนทุเรียน และผลทุเรียนที่ไดรับการฉีดสารเคมี phosphorus acid เขาตนในอัตรา 20มล./ตน

วิธีการ ตนที่เปนโรคจากเชื้อ

P. palmivora (%) ผลเนา (%)

ฉีด phosphorus acid เขาตน 30 15a ฉีดน้ําเขาตน 60 14a

Page 19: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

การฉีดพนสาร phosphorus acid กอนเก็บเกี่ยว การฉีดพนผลทุเรียนกอนเก็บเกี่ยวดวยสาร phosphorus acid

10 วันพบวาชวยลดปริมาณของการเกิดโรคผลเนาของทุเรียนจาก 16 % ลงเหลือ 0% (ตารางที่ 7)

ตารางที่ 7 ผลเนา (%) ของทุเรียนหลงัจากการฉีดพนดวย phosphorus acid 10 วันกอนเก็บเกี่ยว

วิธีการ

ผลเนาจากเชือ้ราตางๆ (%)

P. palmivora L. theobromae Phomopsis sp. รวม ฉีดพน phosphorus acid 0 0 0 0 ฉีดพนดวยน้ํา 2 10 4 16

วิจารณผลการทดลอง ลักษณะของเชื้อรา Phytophthora palmivora ท่ีแยกไดจากสวนตางๆของตนทุเรียนที่เปนโรคจากจังหวัด

ตางๆ พบวามีลักษณะของโคโลนี, sporangium และสัดสวนของความกวางและความยาวของ sporangium ในอัตรา 1.6-2.0 ซึ่งเปนลักษณะทั่วไปของเชื้อรา P. palmivora มีเพียงบางไอโซเลทที่มีลักษณะผิดออกไป ซึ่งเปนไปในลักษณะเดียวกับที่ Suzui และคณะ (1976) ไดเคยรายงานไว แตก็มีลักษณะที่แสดงใหเห็นถึงความผันแปรพอสมควรท้ังในลักษณะรูปรางและโคโลนี

เชื้อรานี้เนื่องจากเปนเชื้อราในดิน การปองกันกําจัดโดยวิธีการตางๆมารวมกันก็จะลดปริมาณของ inoculum ในดินลงไปได ซึ่งในการทดลองนี้พบวาการใสท้ังผงเชื้อรา Trichoderma sp. และปุยคอกชวยเพิ่มปริมาณเชื้อจุลินทรียปฏิปกษกับเชื้อรา P.palmivora ใหเพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัด โดยการใสผงเชื้อท่ีเปนการคาบริเวณโคนตน ทําในชวงระยะเวลาตั้งแตติดผลจนถึงเก็บเกี่ยวผลทุเรียนรุนสุดทายยังมีเชื้อรา Trichoderma sp. อยูในปริมาณที่สูง ซึ่งลักษณะดังกลาวชวยยับยั้งการเจริญของเชื้อรา P. palmivora ท่ีมีอยูในระบบราก และชวยยอยสลายเศษซากทุเรียนที่จะเปนที่อาศัยของเชื้ออื่นๆดวย ซึ่งการใชผงเชื้อ Trichoderma sp. ก็มีรายงานวาสามารถควบคุมโรครากเนาของทุเรียนได นอกจากนี้การเพิ่มปริมาณจุลลินทรียปฏิปกษ โดยการใชปุยคอกก็พบในลักษณะเดียวกัน โดยพบวาเมื่อใสปุยคอก ไมวาจะเปนปุยคอกจากมูลวัว, มูลไก หรือมูลคางคาวก็ใหผลในการเพิ่มปริมาณจุลินทรียท้ังหมด และเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas fluorescens ไดอยางมาก โดยปุยคอกที่ดีท่ีสุดคือปุยคอกจากมูลไก ซึ่ง Aryantha และคณะ(2000) รายงานวาสามารถใชปุยคอกจากมูลวัว, มูลแกะ และมูลมาไปเพิ่มสารอินทรียในดินยับยั้งเชื้อรา P. cinnamomi ได

การควบคุมโรคอีกลักษณะหนึ่งคือการใชสารเคมี สารเคมีท่ีใชกันมากคือ phosphorus acid ซึ่งพบวาการใช

สารเคมี phosphorus acid สามารถลดปริมาณการเกิดโรคที่ตนได เมื่อใชวิธีการฉีดเขาตน แตไมมีผลตอการเกิดผลเนาของผลทุเรียน แตเมื่อใชในลักษณะฉีดพนกับผลทุเรียนกอนเก็บเกี่ยว สามารถลดอาการผลเนาท่ีเกิดจากเชื้อรา Phytophthora, Lasiodiplodia และ Phomopsis ได

Page 20: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

สรุปผลการทดลอง

1. ลักษณะของเชื้อรา Phytophthora palmivora โคโลนีมีลักษณะเปนแบบ stellate สวน sporangia มีรูปรางแบบ ovoid-obpyriform มี papilla การเจริญเปนแบบ caducous มี pedicel สั้น โดยมีขนาดความยาวอยูระหวาง 35-90 μm และกวาง 22-62 μm โดยมีอัตราสวนกวางตอยาวของ sporangia 1:1.6-1:2.0

2. การใสปุยคอกจากมูลวัว, มูลไก และมูลคางคาว บริเวณรอบโคนตนในอัตรา 25, 25 และ 3 กก./ตน พบวาการใสปุยคอกดังกลาวชวยเพิ่มปริมาณเชื้อท่ีเปนปฏิปกษ คือ เชื้อ Pseudomonas fluorescens และเชื้อท้ังหมดไดดี โดยปุยคอกจากมูลไกใหผลดีท่ีสุด

3. การใชผงเชื้อรา Trichoderma โรยบริเวณโคนตนในอัตรา 2.5 กก./ตน และการคลุมฟางก็ใหผลในการเพิ่มปริมาณเชื้อรา Trichoderma ตลอดชวงฤดูท่ีทุเรียนใหผลผลิต และการคลุมฟางชวยลดปริมาณผลเนาท่ีจะเกิดกับผลทุเรียนที่เก็บเกี่ยวโดยการวางที่โคนตนแลวจึงขนยายเพื่อนําไปบมใหสุกไดดีท่ีสุด

4. การใชสารเคมี phosphorus acid ฉีดเขาตนทุเรียนในอัตรา 20 ซีซี/ตน ชวยลดการเกิดโรคโคนเนาของทุเรียนจาก 60% เหลือ 30% แตไมมีผลตอโรคผลเนา ในขณะที่การใชสารเคมีฉีดพนใหกับผล 10 วันกอนเก็บเกี่ยวชวยลดผลเนาจาก 16% เหลือ 0%

เอกสารอางอิง

กนกนาฎ เรืองวิเศษ. 2540. การใชเชื้อรา Trichoderma harzianum เพื่อควบคุมโรครากเนาของทุเรียนที่เกิดจาก Phytophthora palmivora (Butl.) Butl. ในสภาพสวนของเกษตรกร. วิทยานิพนธปริญญาโทมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

เชษฐา กวางทอง. 2541. การใชเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนของเกษตรกรในจังหวัดจันทบุรี : ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ธรรมศักดิ์ สมมาตย. 2532. การควบคุมโรคโคนเนา รากเนาของทุเรียนดวยเทคนิคโรคพืช มก. และสาร m-dKP. เอกสารประกอบการบรรยายเทคนิคและกลยุทธในการตอสูโรคทุเรียนและ พริกไทย, สมาคมนักโรคพืชแหงประเทศไทย

ยุพิน กสินเกษมพวษ. 2534. โรคผลเนาดําของโกโกซึ่งเกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอราในประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

รัติยา พงศพิสุทธา. 2535. โรคผลเนาของทุเรียนหมอนทองที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butl.)Butl. และการควบคุม. วิทยานิพนธปริญญาโท. กรุงเทพฯ.

วรรณลดา กรีติภัทรกุล. 2525. การสํารวจโรครากเนาและโคนเนาของทุเรียนและการใชสารเคมีบางชนิดในการปองกันกําจัด. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

สุธามาศ อินตะสอบ. 2537. อิทธิพลของเชื้อจุลลินทรียปฏิปกษเมื่อใชรวมกับปุยอินทรียและสารเคมีควบคุมเชื้อราตอโรครากเนาของสมเขียวหวานที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora parasitica (DASTUR.). วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

อุดม ภูพิพัฒน. 2532. โรครากและโคนเนาของทุเรียน. เอกสารประกอบการบรรยาย เทคนิคและกลยุทธในการตอสูโรคทุเรียนและพริกไทย. สมาคมโรคพืชแหงประเทศไทย น. 38

Page 21: ชื่องานว ิจัย การจัดการเช ื้อรา Phytophthora Palmivora ... · manures indicated that application of Trichoderma at 2.5 kg/tree

Aryantha, I.P., R. Cross and D.I. Guest. 2000. Suppression of Phytophthora cinnamomi in Potling Mixes Amended with Uncomposted and Composted Animal Manures. The American Phytopathological society. Vol. 90 p. 775.

Chowdapa, P. and Chandramohanan, R. 1997. Occurrence and distribution of mating typcs of Phytophthora species causing blackpod disease of cocoa. Indian Phytopathology. 50 : 2, 256-260; 18 ref.

Chee, K.H. 1969. Host of phytophthora palmivora. Rev. Appl. Mycol. 48 : 337-344. Dutta, PK., Hegde, RK. 1995. Effect of organia amendments on the suppression of Phytophthora

palmivora (Butler) Butler causing black pepper wilt. Plant Health. 1 : 56-60; 7 ref. Ferrin, D.M. and J.N. Kabashima. 1991. Invitro insensitivity to meta laxyl of isolates, of Phytophthora

citricola and P. parasitica from ornamental host in southern California. Plant Disease. 75 : 1041-1044. Johnson, L.F. and E.A. Curl. 1972. Methods for Research on the Ecology of Soil Borne plant Pathogen.

Burgess Publishing Company, Minnesota. 214 p Kronstad, J.W. and C. Staben. 1997. Mating type in filamentous fungi. Ann. Rev. Gent. 31 : 245-276. Suzui, T.,U. Kueprakonr and T.Kamhangridthirong. 1976. Phytophthora Disease on some Economic Plants

in Thailind. Plant Pathology Div. Dept. of Agr. 113 p.Tsao, P.H. 1974. Phytophthora Disease of Durian, Black Pepper, and Citrus in Thailand. Working Rept. FAO. (Mimeographed)

Waterhouse, G.M., F.J. Newhook D.J. Stamps. 1983. Present eriteria for classification of Phytophthora, pp. 139-147. In D.C. Erwin, S. Barnick-Garcia and P.H. Tsao eds. Phytophtpora : Its Biology Taxonomy, Ecology, and Pathology. The Amer. Phytopathol. Soc.,St.Paul, Minnesota.

Zentmyer,G.A. 1980. Phytophthora cinnamomi and the clisease it causes. Phytopathol. Monogr. 10. Amer. Phytopathol. Soc., St. Paul, Minnesota. 96 p.