หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล...

118
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (หลักสูตรใหม พ.ศ. 2556) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

Transcript of หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล...

Page 1: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2556)

สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

Page 2: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวศิวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2556)

สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

Page 3: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

I มคอ.2

สารบัญ

หมวดท่ี 1. ขอมูลท่ัวไป หนา 1. ช่ือหลักสูตร 1 2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา 1 3. วิชาเอกหรือความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร 1 4. จํานวนหนวยกิต 1 5. รูปแบบของหลักสูตร 1 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 2 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 2 9. ช่ือ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษา ของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร 2 10.สถานท่ีจัดการเรียนการสอน 3 11.สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณา ในการวางแผนหลักสูตร 3 12.ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับ

พันธกิจของสถาบัน 3 13.ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นท่ีเปดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน 3

หมวดท่ี 2. ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญและวัตถุประสงคของหลักสูตร 4 2. แผนพัฒนาปรับปรุง 4

หมวดท่ี 3. ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการและโครงสรางของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 5 2. การดําเนินการหลักสูตร 5 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 7 4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม 18 5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย 19

หมวดท่ี 4. ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 19 2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 20 3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) 24

Page 4: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ.2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

II

สารบัญ (ตอ)

หมวดท่ี 5. หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา หนา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน 28 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 28 3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 29

หมวดท่ี 6. การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 29 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 29

หมวดท่ี 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 30 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 30 3. การบริหารคณาจารย 35 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 36 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 37 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 37 7. ตัวบงช้ีผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) 37

หมวดท่ี 8. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 39 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 39 3. การประเมินผลการดําเนินงานรายละเอียดหลักสูตร 40 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร 40

เอกสารแนบ (ภาคผนวก) (ก) ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 41 (ข) ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เรื่อง

เกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 76 (ค) คําอธิบายรายวิชา 81 (ง) รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน 97 (จ) รายนามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 105 (ฉ) บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยประจําหลักสูตร 107

Page 5: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

1

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยอุีตสาหกรรม

หลักสูตรใหม พ.ศ. 2556

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง คณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย วิทยาเขตชุมพร สาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

1. ช่ือหลักสูตร ช่ือหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering Program in Industrial Technology Engineering

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Industrial Technology Engineering) ช่ือยอ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Industrial Technology Engineering)

3. วิชาเอกหรือความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถามี) ไมมี

4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร

5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาโท

5.2 ภาษาท่ีใช หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาตางประเทศ (ระบุภาษา) สอนเปนภาษาอังกฤษ ในกรณีท่ีรายวิชานั้น ๆ มีนักศึกษาตางชาติลงทะเบียนเรียน แตโดยรวมเนนใชเอกสารและตําราเปนภาษาอังกฤษ

Page 6: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

2

5.3. การรับเขาศึกษา รับท้ังนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติ

5.4. ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

5.5. การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรใหม กําหนดเปดสอนเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ไดพิจารณากล่ันกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งท่ี 4/2556. เมื่อวันที 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2556 ไดรับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งท่ี 7/2556. เมื่อวันท่ี 31 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2556

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ในปการศึกษา 2558

8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา (1) วิศวกรโรงงานท่ีสามารถออกแบบและปรับปรุงอุปกรณหรือเครื่องมือตาง ๆ ท่ีใชในโรงงาน

อุตสาหกรรม เชน อุปกรณความรอน ระบบการแลกเปล่ียนความรอน ระบบควบคุมอัตโนมัติ รวมท้ังสามารถวิเคราะหและปรับปรุงการใชพลังงานในโรงงาน อาคาร และหนวยงานตาง ๆ ไดท้ังภาครัฐและเอกชน

(2) นักวิจัยของบริษัทเอกชนหรือหนวยงานในสังกัดกระทรวงตาง ๆ ท่ีมีลักษณะงานเกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(3) ครู อาจารยในสถาบันการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (4) วิศวกรโครงการ เจาของธุรกิจ

9. ช่ือ เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

ช่ือ-นามสกุล (ระบุตําแหนงทางวิชาการ)

คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/ ปท่ีสําเร็จการศึกษา

1. อ.ดร.ศิระ สายศร 3-1014-00630-91-0

- วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 2542 - วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2545 - Ph.D. (Energy Technology) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2553

Page 7: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3

ช่ือ-นามสกุล

(ระบุตําแหนงทางวิชาการ) คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/

ปท่ีสําเร็จการศึกษา 2. อ.ดร.จักรี ทีฆภาคยวิศิษฎ 3-1005-02970-20-4

- อส.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 2533 - M.Eng. (Electrical Engineering) University of Sydney, Australia, 2543 - Ph.D. (Electrical Engineering) University of Sydney, Australia, 2546

3. อ.ดร.ณัฐพงศ รัตนเดช

3-8101-00724-02-4

- วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยแมโจ, 2544 - วศ.ม. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547 - วศ.ด. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2553

4. อ.ดร.สมพงศ บางยี่ขัน 3-8604-00473-53-1

- อศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2540 - อศ.ม. (เทคโนโลยีเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2546 - ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2555

5. รศ.ปุณยวีร จามจรีกุลกาญจน - วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2538 - วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน ในสถานท่ีต้ังสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมนั้นสงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประทศ ในปจจุบันเทคโนโลยีทางดานวิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสมีบทบาทอยางกวางขวางในกระบวนการอุตสาหกรรมตาง ๆ ในประเทศ ซึ่งมีแนวโนมขยายตัวเพิ่มข้ึนและมีการแขงขันสูง จึงมีความตองการลดตนทุนการผลิตของสินคาในแทบทุกกระบวนการผลิต ดังนั้นการวางแผนหลักสูตรจึงมุงเนนท่ีจะพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของภาคอุตสาหกรรมในประเทศ

Page 8: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

นอกเหนือจากสถานการณทางเศรษฐกิจแลว การวางแผนหลักสูตรยังไดถูกดําเนินการพัฒนาใหอยูบนพื้นฐานของการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน หลักสูตรนี้ไดถูกจัดทําใหสอดคลองกับวิสัยทัศนของวิทยาเขตชุมพร คือ การสงเสริมและสนับสนุนการสรางงานวิจัยทางดานเทคโนโลยี เกษตร อาหาร และพลังงาน สามารถบูรณาการงานดานอุตสาหกรรมรวมกับแผนชุมชนในการแกปญหาดานความยากจน ทําใหชุมชนสามารถใชเทคโนโลยีราคาถูก พึ่งพาตนเองได เกิดการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนอยางยั่งยืน

12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร

ผลกระทบจากสถานการณภายนอกจึงจําเปนตองพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกท่ีมีศักยภาพและมีความทันสมัยเพื่อตอบสนองตอความตองการกําลังคนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ อีกท้ังจําเปนตองพัฒนาหลักสูตรใหไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติเพื่อผลิตวิศวกรท่ีมีความสามารถในการสรางงานวิจัย ปฏิบัติงานและปรับตัวเขากับวิวัฒนาการไดและถึงพรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพ 12.2 ความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน

การพัฒนาหลักสูตรไดสอดคลองกับพันธกิจของสถาบันนการผลิตมหาบัณฑิตทางดานเทคโนโลยีเพื่อรองรับการพัฒนาดานอุตสาหกรรมของประเทศ และสอดคลองกับพันธกิจดานงานวิจัยสูความเปนเลิศทางดานเทคโนโลยี

13. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอื่นท่ีเปดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน (เชน รายวิชา ท่ีเปดสอนเพือ่ใหบริการคณะ/สาขาวิชาอื่น หรือตองเรียนจากคณะ/สาขาวิชาอื่น)

13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ท่ีเปดสอนโดยคณะ/สาขาวิชา/หลักสูตรอื่น หลักสูตรนี้ เปนสหวิทยาการ ซึ่ งรายวิชาตางๆ ถูกเปดสอนโดยอาจารยประจําสาขาวิศวกรรมศาสตร ซึ่งประกอบไปดวยสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล และสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 13.2 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนใหสาขาวิชา/หลักสูตรอื่นตองมาเรียน ไมม ี

13.3 การบริหารจัดการ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรประสานงานกับอาจารยผูแทนจากสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสท้ังในวิทยาเขตชุมพรและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ เพื่อบริหารจัดการดานเนื้อหาสาระในแตละรายวิชา การจัดอาจารยท่ีปรึกษา การจัดตารางเวลาเรียนและสอบ รวมท้ังมีการใชอุปกรณ และ/หรือเครื่องมือประกอบการเรียนการสอน และการปฏิบัติการตาง ๆ รวมกันกับสาขาวิชาเหลานี้ดวย

Page 9: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5

หมวดท่ี 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา

เพื่อใหมีการบูรณาการความรูทางดานวิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมเครื่องกลและวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส นําไปสูการพัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีทางดานเกษตร อาหารและพลังงาน เพื่อเปนประโยชนตออุตสาหกรรมภายในประเทศ

1.2 ความสําคัญ หลักสูตรนี้ถูกพัฒนาเพื่อผลิตบัณฑิตทางดานวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรมท่ีมีคุณภาพ มีคุณธรรม

มีความพรอมทางวิชาการ สูภาครัฐและเอกชน และตอบสนองตอความตองการกําลังคนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ ซึ่งตองเปนผูท่ีมีความรูความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีทางดานเกษตร อาหารและพลังงาน รวมถึงการสรางงานวิจัยเพื่อขับเคล่ือนภาคอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน

1.3 วัตถุประสงค 1.3.1 เพื่อผลิตมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรมท่ีมีความพรอมทางวิชาการท่ีจะ

พัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหเหมาะสมกับการใชงานภายในประเทศและมีคุณภาพทัดเทียมกับเทคโนโลยีของตางประเทศ

1.3.2 เพื่อผลิตมหาบัณฑิตท่ีสมบูรณดวยความรูทางดานวิชาชีพ และพรอมดวยจริยธรรมในการทํางานและมีคุณธรรมในการดํารงชีวิต

1.3.3 สรางงานวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีทางดานเกษตร อาหารและพลังงาน 2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

- ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหมี

มาตรฐานไมตํ่ากวาท่ี สกอ. กําหนด

- พัฒนาหลักสูตรโดยมีพื้นฐานจากหลักสูตรในระดับสากลท่ีทันสมัย

- ติดตามประเมินหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ

- เชิญผูเช่ียวชาญท้ังภาครัฐและเอกชนมามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร

- รายงานผลการประเมินความพึงพอใจในการใชบัณฑิตของผูประกอบการ

- ผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจในดานทักษะความรูความสามารถในการทํางานโดยเฉล่ียในระดับดี

- ปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของอุตสาห- กรรมการผลิตท่ีเกี่ยวของกับอาหารและการประหยัดพลังงาน ตลอดจนการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

- ติดตามความเปล่ียนแปลงในความตองการของอุตสาหกรรมการผลิตท่ีเกี่ยวของกับอาหารและการประหยัดพลังงาน และท่ีเกี่ยวของ

- รายงานผลการประเมินความพึงพอใจในการใชบัณฑิตของผู ประกอบการ

- ผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจในดานทักษะความรู ความสามารถในการทํางานโดยเฉล่ียในระดับดี

Page 10: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

- พัฒนาบุคลากรดานการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ใหมีประสบการณจากการนําความรูทางวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรมไปปฏิบัติงานจริง

- สนับสนุนบุคลากรดานการเรียนการสอนใหทํางานบริการวิชาการแกองคกรภายนอก

- ปริมาณงานบริการวิชาการตออาจารยในหลักสูตร

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ

ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ

ซึ่ง 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และภาคฤดูรอน ใหกําหนด

ระยะเวลาโดยสัดสวนเทียบเคียงไดกับภาคการศึกษาปกติ

ขอกําหนดตาง ๆ ไปเปนตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.)

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ไมมีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูรอน

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค ไมมี

2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1. วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน วัน – เวลาราชการปกติ นอกวัน – เวลาราชการ (ระบุ) วันจันทร - ศุกร เวลา 17.00 - 20.00 นาฬิกา หรือ วันเสาร - อาทิตย

เวลา 9.00 - 16.00 นาฬิกา ท้ังนี้ข้ึนอยูกับการพิจารณาของคณะกรรมการประจําหลักสูตร ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเทา หรือกําลังศึกษาอยูในปการศึกษาสุดทายของหลักสูตร

ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ทางดานวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตรหรือสาขาอื่นท่ีเกี่ยวของ ขอกําหนดตางๆ เปนไปตามขอบังคับของสถาบันวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.)

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา - การปรับตัวในการทํางานวิจัย

Page 11: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7

2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพือ่แกไขปญหา / ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 - จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม แนะนําระเบียบการศึกษา การวางแผนการศึกษา เทคนิคการ

เรียนและการทํางานวิจัยในสถาบัน และการแบงเวลา - จัดใหมีระบบอาจารยท่ีปรึกษาเพื่อทําหนาท่ีใหคําแนะนําแกนักศึกษาแรกเขา และใหเนนย้ํา

ในกรณีท่ีนักศึกษามีปญหาตามขางตนเปนกรณีพิเศษ 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป

แผน ก แบบ ก 2

จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา

2556 2557 2558 2559 2560 ช้ันปท่ี 1 20 20 20 20 20 ช้ันปท่ี 2 - 20 20 20 20

รวม 20 40 40 40 40 คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - 20 20 20 20

2.6 งบประมาณตามแผน ปงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 2560

งบบุคลากร 1,920,000.00 2,073,600.00 2,239,488.00 2,418,647.00 2,612,139.00

งบลงทุน 700,000.00 735,000.00 771,750.00 810,337.50 850,854.38

งบดําเนินการ 625,000.00 656,250.00 689,062.50 723,515.63 759,691.41

รวม 3,245,000.00 3,464,850.00 3,700,300.50 3,952,500.13 4,222,684.79

ประมาณคาใชจายตอหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรนี้ เฉล่ีย 109,151.68 บาท/คน/ ป

2.7 ระบบการศึกษา แบบช้ันเรียน

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามสถาบันอุดมศึกษา (ถามี) เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก)

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 36 หนวยกิต

Page 12: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

8

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2 36 หนวยกิต

ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

ข. หมวดวิชาคณิตศาสตรช้ันสูง 6 หนวยกิต

ค. หมวดวิชาบังคับ 6 หนวยกิต

ง. หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต

จ. หมวดวิชาสัมมนา* (ไมนับหนวยกิต)

3.1.3 รายวิชา ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167101 วิทยานิพนธ 1

THESIS 1 3(0-6-3)

11167102 วิทยานิพนธ 2 3(0-6-3)

THESIS 2

11167203 วิทยานิพนธ 3 3(0-6-3)

THESIS 3

11167204 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3(0-6-3)

MASTER THESIS

ข. หมวดวิชาคณิตศาสตรข้ันสูง 6 หนวยกิต รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167201 วิธีการคํานวณเชิงตัวเลข

COMPUTATION METHODS 3(3-0-6)

11167202 คณิตศาสตรวิเคราะห 3(3-0-6)

MATHEMATICAL ANALYSIS

11167203 สถิติวิศวกรรมข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED ENGINEERING STATISTICS

11167204 การวิเคราะหเมทริกซ 3(3-0-6)

MATRIX ANALYSIS

Page 13: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

9

ค. หมวดวิชาบังคับ 6 หนวยกิต รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167301 ระเบียบวิธีวิจัย

RESEARCH METHODOLOGY 3(3-0-6)

11167302 การบริหารโครงการทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

INDUSTRIAL PROJECT MANAGEMENT

ง. หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต กลุมวิชาวิศวกรรมเกษตร (Agricultural Engineering)

รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167401 เทคโนโลยีการบรรจุผลิตผลเกษตร

TECHNOLOGY OF AGRICULTURAL PRODUCT PACKAGING 3(3-0-6)

11167402

วิศวกรรมการผลิตนม DAIRY PRODUCTION ENGINEERING

3(3-0-6)

11167403

เทคโนโลยีการอบแหงอาหาร DRYING TECHNOLOGY OF FOODS

3(3-0-6)

11167404

วิศวกรรมแปรสภาพผลิตผลเกษตรข้ันสูง ADVANCED AGRICULTURAL PRODUCT PROCESS ENGINEERING

3(3-0-6)

11167405

เครื่องจักรกลเก็บเกี่ยว HARVESTING MACHINERY

3(3-0-6)

รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167406

การออกแบบโรงงานแปรรูปทางเกษตร AGRICULTURAL PROCESSING PLANT DESIGN

3(3-0-6)

11167407

โลจิสติกสและระบบตรวจสอบยอนกลับของผลิตภัณฑเกษตร LOGISTICS AND TRACEABILITY SYSTEMS OF AGRICULTURAL PRODUCTS

3(3-0-6)

11167408

เนียรอินฟราเรดสเปคโตรสโคปของผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร NEAR-INFRARED SPECTROSCOPY OF AGRICULTURAL PRODUCT AND FOODS

3(3-0-6)

11167409 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม INDUSTRIAL TECHNOLOGY OF PALM OIL

3(3-0-6)

Page 14: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

10

กลุมวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)

รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167410 การอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม

ENERGY CONSERVATION IN INDUSTRY 3(3-0-6)

11167411 การวิเคราะหพลังงานความรอน THERMAL ENERGY ANALYSIS

3(3-0-6)

11167412 การไหลแบบสองสถานะและการถายเทความรอน TWO-PHASE FLOW AND HEAT TRANSFER

3(3-0-6)

11167413 การออกแบบระบบความรอน THERMAL SYSTEM DESIGN

3(3-0-6)

11167414 ระเบียบวิธีไฟไนทเอลิเมนท FINITE ELEMENT METHODS

3(3-0-6)

11167415 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมข้ันสูง ADVANCED INDUSTRIAL TECHNOLOGY

3(3-0-6)

11167416 การประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบและการผลิต ช้ินสวนเครื่องกล APPLICATION OF COMPUTER FOR DESIGN AND PRODUCTION OF MECHANICAL ELEMENTS AND SYSTEMS

3(3-0-6)

11167417 กลศาสตรการแตกหัก FRACTURE MECHANICS

3(3-0-6)

11167418 ทฤษฎีการทดลองทางวิศวกรรมศาสตร THEORY OF ENGINEERING EXPERIMENTATION

3(3-0-6)

11167419 การทําความเย็นและปรับอากาศข้ันสูง ADVANCED REFRIGERATION AND AIR CONDITIONING

3(3-0-6)

กลุมวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Electronics Engineering and

Information Technology)

รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167420 การประมวลผลภาพเชิงเลข

DIGITAL IMAGE PROCESSING 3(3-0-6)

11167421 เครื่องจักรกลวิทัศนสําหรับอุตสาหกรรม INDUSTRIAL MACHINE VISION

3(3-0-6)

11167422

การส่ือสารขอมูลทางอุตสาหกรรม INDUSTRIAL DATA COMMUNICATIONS

3(3-0-6)

Page 15: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

11

รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167423

เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับองคกร INFORMATION TECHNOLOGY FOR ORGANIZATION

3(3-0-6)

11167424

ระบบฐานขอมูลและการติดตอไคเอนตเซิรฟเวอรข้ันสูง DATABASE SYSTEM AND ADVANCED CLIENT-SERVER COMMUNICATION

3(3-0-6)

11167425

การตรวจจับและระบบการรับสงขอมูลข้ันสูง ADVANCED SENSING AND DATA TRANSMISSION SYSTEM

3(3-0-6)

11167426

นวัตกรรมกับการโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร INNOVATION AND MICROCONTROLLER PROGRAMMING

3(3-0-6)

11167427

การออกแบบวงจรแอนาลอกข้ันสูง ADVANCED ANALOG CIRCUIT DESIGN

3(3-0-6)

11167428

การออกแบบวงจรดิจิทัลข้ันสูง ADVANCED DIGITAL CIRCUIT DESIGN

3(3-0-6)

11167429

การจําลองระบบสําหรับการส่ือสารไรสาย SYSTEM SIMULATION FOR WIRELESS COMMUNICATIONS

3(3-0-6)

จ. หมวดวิชาสัมมนา * (ไมนับหนวยกิต) นักศึกษาจะตองเรียนวิชาสัมมนา 1 และ 2 รหัส วิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) 11167501 สัมมนา 1*

SEMINAR 1 0(0-3-2)

11167502 สัมมนา 2 * 0(0-3-2) SEMINAR 2

Page 16: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

12

ความหมายของรหัสประจํารายวิชา

รหัสวิชาท่ีใช กําหนดใหเปนตัวเลขและตัวอักษร 8 หลัก รหัสตัวท่ี 1, 2 ไดแกเลข 11 หมายถึง วิทยาเขตชุมพร รหัสตัวท่ี 3, 4 ไดแกเลข 16 หมายถึง หลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยี อุตสาหกรรม รหัสตัวท่ี 5 ไดแกเลข 7 หมายถึง ระดับบัณฑิตศึกษา

รหัสตัวท่ี 6 ไดแกเลข 1 หมายถึง หมวดวิชาวิทยานิพนธ ไดแกเลข 2 หมายถึง หมวดวิชาคณิตศาสตรข้ันสูง ไดแกเลข 3 หมายถึง หมวดวิชาบังคับ ไดแกเลข 4 หมายถึง หมวดวิชาเลือก ไดแกเลข 5 หมายถึง หมวดวิชาสัมมนา รหัสตัวท่ี 7, 8 หมายถึง ลําดับท่ีของวิชา รหัสประจําการสอบระดับบัณฑิตศึกษา

99110471 วิทยานิพนธ 99110472 การสอบวัดคุณสมบัติ 99110473 การสอบประมวลความรู 99110474 การผานเกณฑภาษาอังกฤษ

ความหมายของรหัสประจําการสอบระดับบัณฑิตศึกษา

รหัสประจําการสอบท่ีใช กําหนดใหเปนตัวเลขและตัวอักษร 8 หลัก โดยมีความหมายดังตอไปนี้ รหัสตัวท่ี 1- 2 ไดแกเลข 99 หมายถึง รหัสประจําการสอบระดับบัณฑิตศึกษา

รหัสตัวท่ี 3 - 4 ไดแกเลข 11 หมายถึง รหัสประจําวิทยาเขตชุมพร รหัสตัวท่ี 5 - 6 ไดแกเลข 04 หมายถึง รหัสประจําสาขาวิชาพืชสวน รหัสตัวท่ี 7 ไดแกเลข 7 หมายถึง ระดับปริญญาโท รหัสตัวท่ี 8 ไดแกเลข 1 หมายถึง วิทยานิพนธ 2 หมายถึง การสอบวัดคุณสมบัติ 3 หมายถึง การสอบประมวลความรู 4 หมายถึง การผานเกณฑภาษาอังกฤษ

Page 17: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

13

3.1.4 แผนการศึกษา

แผน ก แบบ ก 2

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั-ิศึกษาดวยตนเอง)

11167101 วิทยานิพนธ 1 3(0-6-3) 11167501 สัมมนา 1 * 0(0-3-2) 111672xx วิชาคณิตศาสตรข้ันสูง 3(3-0-6) 111673xx วิชาบังคับ 3(3-0-6) 111674xx วิชาเลือก 3(3-0-6)

รวม 12

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั-ิศึกษาดวยตนเอง)

11167102 วิทยานิพนธ 2 3(0-6-3) 11167502 สัมมนา 2 * 0(0-3-2) 111672xx วิชาคณิตศาสตรข้ันสูง 3(3-0-6) 111673xx วิชาบังคับ 3(3-0-6) 111674xx วิชาเลือก 3(3-0-6) รวม 12

Page 18: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

14

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั-ิศึกษาดวยตนเอง)

11167103 วิทยานิพนธ 3 3(0-6-3) 111674xx วิชาเลือก 3(3-0-6) 111674xx วิชาเลือก 3(3-0-6) รวม 9

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)

11167104 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3(0-6-3) รวม 3

รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา คําอธิบายรายวิชา (รายละเอียดภาคผนวก ค)

Page 19: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

15

3.2 ช่ือ สกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย

3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร

ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/ ปท่ีสําเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1. *อ.ดร.ศิระ สายศร (3-1014-00630-91-0)

- วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง, 2542 - วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี, 2545 - Ph.D. (Energy Technology) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี, 2553

1. งานวิจัย (ตามภาคผนวก ฉ) 1.1 Two-phase flow in microchannels 1.2 Heat transfer enhancement techniques

2. ตํารา - 3. ภาระงานสอน 3.1 Two-phase flow and heat transfer (3 ชม./สัปดาห)

2. *อ.ดร.จักรี ทีฆภาคยวิศิษฎ (3-1005-02970-20-4)

- อส.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง, 2533 - M.Eng. (Electrical Engineering) University of Sydney, Australia, 2543 - Ph.D. (Electrical Engineering) University of Sydney, Australia, 2546

1. งานวิจัย (ตามภาคผนวก ฉ) 1.1 Communications 1.2 MIMO and CDMA system, 1.3 4G Communication System 2. ตํารา - 3. ภาระงานสอน 3.1 Computer and Network for Industrial Organization (3ช.ม./สัปดาห) 3.2 Industrial Data Communications (3 ช.ม./สัปดาห)

3. *อ.ดร.ณัฐพงศ รัตนเดช (3-8101-00724-02-4)

- วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยแมโจ, 2544 - วศ.ม. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547 - วศ.ด. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2553

1. งานวิจัย (ตามภาคผนวก ฉ) 1.1 Postharvest technology 1.2 Agricultural packaging technology

2. ตํารา - 3. ภาระงานสอน 3.1 Technology of Agricultural Product Packaging (3 ชม./สัปดาห) 3.2 Dairy Production Engineering (3 ชม./สัปดาห)

Page 20: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

16

ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/

ปท่ีสําเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

4. *อ.ดร.สมพงศ บางยี่ขัน (3-8604-00473-53-1)

- อศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ, 2540 - อศ.ม. (เทคโนโลยีเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ, 2546 - ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2555

1. งานวิจัย (ตามภาคผนวก ฉ) 1.1 Biomedical engineering 1.2 Pressure vessel

2. ตํารา - 3. ภาระงานสอน 3.1 Finite element (3 ชม./สัปดาห) 3.2 Selected Topics in Fluid Mechanics Thermodynamics and Heat Transfer (3 ชม./สัปดาห)

5. *รศ.ปุณยวีร จามจรีกุลกาญจน (3-1002-02184-15-7)

- วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2538 - วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541

1. งานวิจัย (ตามภาคผนวก ฉ) 1.1 Communication 1.2 Control system

2. ตํารา 2.1 “ระบบการส่ือสารผานเสนใย แกว” สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2550. 3. ภาระงานสอน 3.1 Computer Visions (3 ช.ม./สัปดาห)

3.2 Selected Topics in Electronics (3 ช.ม./สัปดาห)

* หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

Page 21: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

17

3.2.2 อาจารยประจํา

ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/

ปท่ีสําเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

1. ผศ.ปญญา แดงวิไลลักษณ

- วศ.บ.(วิศวกรรมเครื่องกล) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยสยาม, 2540

- วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2543

1. งานวิจัย 1.1 Development of Palm Oil Pressing Machine Without Sterilization Process 1.2 เครื่องบีบน้ํามันปาลมขนาดเล็ก สําหรับกลุมเกษตรกร 1.3 เครื่องบีบน้ํามันปาลมแบบ สายพานกรองอัดขนาดเล็ก สําหรับกลุมเกษตรกร 1.4 เครื่องแยกผลปาลมออกจาก ทะลายแบบลากจูง 1.5 เครื่องเคลือบไขผลสมโอ การพัฒนาเครื่องไมโครเวฟชนิด สายพานลําเลียงแบบตอเนื่อง ในการอบผลหมาก 1.6 การทําความเย็นแบบแอรฟอรช คูลล่ิงสําหรับกลวยเล็บมือนาง บรรจุกลอง 1.7 การพัฒนาเครื่องแยกเนื้อและ เมล็ดปาลมกึ่งอัตโนมัติสําหรับ กลุมเกษตรกร 1.8 เครื่องแยกผลปาลมจากทะลาย ชนิดถังกลมและฐานหมุน 2. ตํารา 2.1 เขียนแบบวิศวกรรม 2.2 การเขียนโปรแกรม C++

เบ้ืองตน 3. ภาระงานสอน 3.1 Application of Computer to Design and Production of Mechanical elements and systems (3 ชม./สัปดาห)

3.2 Application of Computer to Engineering (CAE) (3 ชม./สัปดาห)

Page 22: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

18

ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/

ปท่ีสําเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

. 2.อ.ดร.เกษมสุข เสพศิริสุข

. - วศ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2542 - วศ.ม. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2544 - D.Eng. (Science and Technology) Tokai University, JAPAN, 2552

1. งานวิจัย 1.1 Image Processing 1.2 Embedded Technology 1.3 Microprocessor Applications

2. ตํารา - 3. ภาระงานสอน 3.1 Digital Image Processing for Industry (3 ช.ม./สัปดาห)

3.2 Digital Circuit Design by Modern Software (3 ช.ม./สัปดาห)

3. อ.ดร.ผาณิต ละมุล

- วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2546 - วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2548 - วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2555

1. งานวิจัย 1.1 Telecommunication Systems 1.2 Analog Circuit Designs

2. ตําราเรียน - 3. ภาระงานสอน 3.1 Mathematical Analysis (3 ชม./สัปดาห) 3.2 Advanced Analog Circuit Design (3 ชม./สัปดาห) 3.3 Advanced Digital Circuit Design (3 ชม./สัปดาห)

4. อ.ดร.รัฐพงษ สุวลักษณ

- วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2548 - วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2551 - วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง, 2555

1. งานวิจัย 1.1 Telecommunication Systems 1.2 RFID and Antenna Designs

2. ตําราเรียน - 3. ภาระงานสอน 3.1 System Simulation for Wireless Communications (3 ชม./สัปดาห)

Page 23: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

19

ช่ือ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/

ปท่ีสําเร็จการศึกษา

ผลงานทางวิชาการ

3.2 Database System and Advanced Client-Server Communication (3 ชม./สัปดาห)

5. ผศ.มณฑล ใจกุศล - วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง, 2532 - วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535

1. งานวิจัย 1.1 Fluid Machinery

2. ตําราเรียน 2.1 Engineering Mechanics 2.2 Operation Research

3. ภาระงานสอน 3.1 Thermal engineering

Analysis (3ชม./สัปดาห)

3.2.3 อาจารยพิเศษ

- 4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถามี)

- 4.1. มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม

- 4.2. ชวงเวลา

- 4.3. การจัดเวลาและตารางสอน -

5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย (ถามี) งานวิจัยระดับปริญญาโทเปนการสรางองคความรูใหมท่ีไดจากการศึกษาวิเคราะหขอมูลท่ีไดจาก

การทดลอง หรือประยุกตความรูเชิงทฤษฎีเพื่อสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรในการออกแบบอุปกรณหรือแกปญหาทางวิศวกรรม อันนํามาซึ่งเทคโนโลยีท่ีเปนประโยชนตอภาคอุตสาหกรรมในประเทศ งานวิจัยแตละเรื่องจะถูกดําเนินงานโดยนักศึกษาปริญญาโท จํานวน 1 คน เมื่อทํางานวิจัยสําเร็จแลวจะตองนําสงรายงานในรูปแบบท่ีกําหนดไวและตองมีผลงานตีพิมพซึ่งเปนท่ียอมรับ ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบขอบังคับของทางสถาบันฯ

Page 24: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

20

5.1 คําอธิบายโดยยอ นักศึกษาผูทําโครงงานวิจัย สามารถเลือกหัวของานวิจัยจากท่ีอาจารยท่ีปรึกษาเสนอให หรืออาจ

กําหนดหัวขอวิจัยไดดวยตนเอง โดยจะตองกําหนดหลักการและเหตุผลท่ีเกี่ยวของกับงานวิจัย วัตถุประสงค ขอบเขต และประโยชนท่ีจะไดรับจากการศึกษาวิจัย รวมท้ังสามารถวางแผนการดําเนินการเพื่อใหเกิดผลสําเร็จ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู นักศึกษามีทักษะการออกแบบกระบวนการวิจัย มีความเช่ียวชาญในการใชเครื่องมือและโปรแกรม

ท่ีเกี่ยวของกับงานวิจัย โครงงานวิจัยใหองคความรูใหมและเปนประโยชนในการพัฒนาตอได 5.3 ชวงเวลา

ภาคการศึกษาท่ี 1-2 ของแตละปการศึกษา 5.4 จํานวนหนวยกิต

รวม 12 หนวยกิต 5.5 การเตรียมการ

สาขาวิชากําหนดอาจารยท่ีปรึกษาใหแกนักศึกษาแตละทาน เพื่อใหคําปรึกษาและคําแนะนําท่ีจําเปนท้ังในเชิงทฤษฎีและแนวปฏิบัติ โดยมีจุดประสงคนําไปสูความสําเร็จในการดําเนินโครงงานวิจัย

5.6 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลการดําเนินงานจากความกาวหนาในการทํางานวิจัยของนักศึกษาตามชวงเวลาท่ี

อาจารยท่ีปรึกษากําหนด และใหจัดต้ังคณะกรรมการเพื่อจัดสอบตรวจความกาวหนา ความรู ความเขาใจ ของนักศึกษาในแตละภาคการศึกษา เพื่อทําการประเมินผลใหคะแนน

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา (1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ รูจัก กาลเทศะและทําหนาท่ีเปนพลเมืองดี รับผิดชอบ ตอตนเองวิชาชีพ และตอสังคมและปฏิบัติตน ภายใตจรรยาบรรณวิชาชีพดวยความซื่อสัตย สุจริต และเสียสละ

(1) สอดแทรกในวิชาเรียนท่ีเกี่ยวของกับจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ

(2) มีความรูท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถ ประยุกตใชความรูอยางเหมาะสมเพื่อการ ประกอบวิชาชีพและการศึกษาตอในระดับสูงข้ึน ไปได

(2) จัดการเรียนการสอนในภาคทฤษฎีภายใน หองเรียนท่ีเนนการมีสวนรวมและการเนนทํางานวิจัยท่ีตองใชอุปกรณ เครื่องมือและโปรแกรมการคํานวณทางวิศวกรรม

(3) มีความใฝรูตอเทคโนโลยีท่ีมีการเปล่ียนแปลง อยางตอเนื่อง สามารถพัฒนาองคความรูท่ีตนมี อยูใหทันตอการเปล่ียนแปลง

(3) มอบหมายงานท่ีตองอาศัยการคนควาจาก แหลงขอมูลตางๆ อยางตอเนื่องท้ังวิชาใน ภาคทฤษฎี สัมมนาและวิทยานิพนธเพื่อให นักศึกษาเขาใจกระบวนการวิจัยและพัฒนาองค ความรูใหมท่ีเปนประโยชนได

Page 25: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

21

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา (4) คิดเปน ทําเปน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และ สามารถเลือกวิธีแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม

(4) เนนงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับปญหาท่ีเกิดข้ึนจริงใน อุตสาหกรรม หรือหัวขอท่ีเกี่ยวของกับ เทคโนโลยีใหม ๆ ซึ่งเปนท่ีสนใจในอุตสาหกรรม

พรอมท้ังมีการกระตุนโดยใชการประชุม รวมกันระหวางอาจารยท่ีปรึกษาและนักศึกษา

(5) สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถบริหาร จัดการการทํางานไดอยางเหมาะสม และเปนผูมี ทัศนคติท่ีดีในการทํางาน

(5) มอบหมายโครงงานท่ีมีประโยชนตอสังคมโดย สรางทีมวิจัยท่ีมาจากความรวมมือของบุคลากร สถาบันและนักศึกษา

(6) สามารถติดตอส่ือสาร และสามารถใชเทคโนโลยี สารสนเทศไดอยางเหมาะสม

(6) การมอบหมายงานท่ีตองมีการนําเสนอใน ลักษณะปากเปลาประกอบส่ือในช้ันเรียนและ กําหนดใหตองนําเสนอความกาวหนาวิทยานิพนธ ในลักษณะปากเปลาประกอบส่ือ

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

นักศึกษาตองมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อใหสามารถดําเนินชีวิตรวมกับผูอื่นในสังคมอยางราบรื่น และเปนประโยชนตอสวนรวม อาจารยท่ีสอนในแตละวิชาตองพยายามสอดแทรกเรื่องท่ีเกี่ยวกับส่ิงตอไปนี้ท้ัง 5 ขอ เพื่อใหนักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพรอมกับวิทยาการตางๆ ท่ีศึกษารวมท้ังอาจารยตองมีคุณสมบัติดานคุณธรรมจริยธรรมอยางนอย 5 ขอตามท่ีระบุไว

(1) เขาใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณคาของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และ ซื่อสัตยสุจริต

(2) มีวินัย ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม

(3) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนหมูคณะ สามารถแกไขขอขัดแยงตามลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมท้ังเคารพในคุณคาและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

(4) สามารถวิเคราะหและประเมินผลกระทบจากการใชความรูทางวิศวกรรมตอบุคคล องคกรสังคมและส่ิงแวดลอม

(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูประกอบวิชาชีพรวมถึงเขาใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแตละสาขา ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน

2.1.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู ใชการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเนนหลักการทางทฤษฎี และประยุกตใชทางปฏิบัติ

ในสภาพแวดลอมจริง โดยทันตอการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ท้ังนี้ใหเปนไปตามลักษณะของรายวิชา

Page 26: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

22

ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดใหมีการเรียนรูจากสถานการณจริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผูเช่ียวชาญท่ีมีประสบการณตรงมาเปนวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนการทํางานวิจัยในหัวขอท่ีทันสมัยเหมาะสมตอการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ

2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในดานตางๆ คือ (1) การทดสอบยอย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงานท่ีนักศึกษาจัดทํา (4) ประเมินจากโครงการวิจัยท่ีนําเสนอ (5) ประเมินจากการนําเสนอความกาวหนาวิทยานิพนธ (6) ประเมินจากผลงานตีพิมพและการสอบปกปองวิทยานิพนธ

2.2 ความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

นักศึกษาตองมีความรู เกี่ยวกับรายวิชาท่ีศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีคุณธรรม จริยธรรมและความรูเกี่ยวกับสาขาวิชาท่ีศึกษานั้นตองเปนส่ิงท่ีนักศึกษาตองรูเพื่อใชประกอบอาชีพและชวยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรูตองครอบคลุมส่ิงตอไปนี้

(1) มีความรูและความเขาใจทางคณิตศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรพื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและหรือเศรษฐศาสตร เพื่อการประยุกตใชกับงานทางดานวิศวกรรมศาสตรท่ีเกี่ยวของ และการสรางนวัตกรรมทางเทคโนโลยี

(2) มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการท่ีสําคัญ ท้ังในเชิงทฤษฎีและหรือปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะดานทางวิศวกรรม

(3) สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาท่ีศึกษากับความรูในศาสตรอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ (4) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหา ดวยวิธีการท่ีเหมาะสม รวมถึงการประยุกตใช

เครื่องมือท่ีเหมาะสม เชน โปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน (5) สามารถใชความรูและทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกตแกไขปญหาในงาน

จริงได 2.2.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู

ใชการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเนนหลักการทางทฤษฎี และประยุกตใชทางปฏิบัติในสภาพแวดลอมจริง โดยทันตอการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ท้ังนี้ใหเปนไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดใหมีการเรียนรูจากสถานการณจริงโดยการศึกษา ดูงานหรือเชิญผูเช่ียวชาญท่ีมีประสบการณตรงมาเปนวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนการทํางานวิจัยในหัวขอท่ีทันสมัยเหมาะสมตอการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในดานตางๆ คือ (1) การทดสอบยอย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงานท่ีนักศึกษาจัดทํา

Page 27: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

23

(4) ประเมินจากโครงการวิจัยท่ีนําเสนอ (5) ประเมินจากการนําเสนอความกาวหนาวิทยานิพนธ (6) ประเมินจากผลงานตีพิมพและการสอบปกปองวิทยานิพนธ

2.3 ทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) มีความคิดอยางมีวิจารณญาณท่ีดี (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห และ สรุปประเด็นปญหาและความตองการ (3) สามารถคิด วิเคราะห และแกไขปญหาดานวิศวกรรมไดอยางมีระบบ รวมถึงการใช

ขอมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) มีจินตนาการและความยืดหยุนในการปรับใชองคความรูท่ีเกี่ยวของอยางเหมาะสม

ในการพัฒนานวัตกรรมหรือตอยอดองคความรูจากเดิมไดอยางสรางสรรค (5) สามารถสืบคนขอมูลและแสวงหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพื่อการเรียนรูตลอด

ชีวิตและทันตอการเปล่ียนแปลงทางองคความรูและเทคโนโลยีใหมๆ 2.3.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) กรณีศึกษาทางการประยุกตใชเทคโนโลยีตางๆ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมทางดานอาหารและการประหยัดพลังงาน

(2) การอภิปรายกลุม (3) ใหนักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง

2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา นี้สามารถทําไดโดยการออก

ขอสอบท่ีใหนักศึกษาแกปญหา อธิบายแนวคิดของการแกปญหา และวิธีการแกปญหาโดยการประยุกตความรูท่ีเรียนมา หลีกเล่ียงขอสอบท่ีเปนการเลือกคําตอบท่ีถูกมาคําตอบเดียวจากกลุมคําตอบท่ีใหมา ไมควรมีคําถามเกี่ยวกับนิยามตางๆ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เชน ประเมินจากรายงานท่ีเกี่ยวกับการคิดวิเคราะหทางวิศวกรรมและการนําเสนอรายงานแบบปากเปลาในช้ันเรียน เปนตน

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการ

รับผิดชอบ (1) สามารถส่ือสารกับกลุมคนท่ีหลากหลาย และสามารถสนทนาท้ังภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชความรูในสาขาวิชาชีพมาส่ือสารตอสังคมไดในประเด็นท่ีเหมาะสม

(2) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณเชิงสรางสรรคท้ังสวนตัวและสวนรวม พรอมท้ังแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะท้ังของตนเองและของกลุม รวมท้ังใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแกไขปญหาสถานการณตางๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู ท้ังของตนเอง และสอดคลองกับทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง

Page 28: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

24

(4) รูจักบทบาท หนาท่ี และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามท่ีมอบหมาย ท้ังงานบุคคลและงานกลุม สามารถปรับตัวและทํางานรวมกับผูอื่นท้ังในฐานะผูนําและผูตามไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ

(5) มีจิตสํานึกความรับผิดชอบดานความปลอดภัยในการทํางานและการรักษาสภาพแวดลอมตอสังคม

2.4.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ใชการสอนท่ีมีการกําหนดกิจกรรมใหมีการทํางานเปนกลุม การทํางานท่ีตองประสานงาน

กับผูอื่น ขามหลักสูตร หรือตองคนควาหาขอมูลจากหนวยงานอื่น หรือผูมีประสบการณโดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้

(1) สามารถทํางานกับผูอื่นไดเปนอยางดี (2) มีความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย (3) สามารถปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองคกรไดเปนอยางดี (4) มีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับผูรวมงานในองคกรและกับบุคคลท่ัวไป (5) มีภาวะผูนํา

2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุม

ในช้ันเรียน และสังเกตจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกในการรวมกิจกรรมตางๆ และความครบถวนชัดเจนตรงประเด็นของขอมูลท่ีได

2.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ นักศึกษาตองมีทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้ันตํ่าดังนี้

(1) มีทักษะในการใชคอมพิวเตอร สําหรับการทํางานท่ีเกี่ยวของกับวิชาชีพไดเปนอยางดี (2) มีทักษะในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติ

ประยุกตตอการแกปญหาท่ีเกี่ยวของไดอยางสรางสรรค (3) สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ท่ีทันสมัยไดอยาง

เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (4) มีทักษะในการส่ือสารขอมูลท้ังทางการพูด การเขียน และการส่ือความหมายโดยใช

สัญลักษณ (5) สามารถใชเครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน

สาขาวิศวกรรมท่ีเกี่ยวของได 2.5.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหและการส่ือสารนี้

อาจทําไดในระหวางการสอน โดยอาจใหนักศึกษาแกปญหา วิเคราะหประสิทธิภาพของวิธีแกปญหาและให

Page 29: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

25

นําเสนอแนวคิดของการแกปญหา ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพ ตอนักศึกษาในช้ันเรียน อาจมีการวิจารณในเชิงวิชาการระหวางอาจารยและกลุมนักศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชาตางๆ ใหนักศึกษาไดวิเคราะหสถานการณจําลอง และสถานการณเสมือนจริง และนําเสนอการแกปญหาท่ีเหมาะสม เรียนรูเทคนิคการประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ

2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอโดยใชทฤษฎี การเลือกใชเครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตรและสถิติ ท่ีเกี่ยวของ

(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงขอจํากัด เหตุผลในการเลือกใชเครื่องมือตางๆ การอภิปราย กรณีศึกษาตางๆ ท่ีมีการนําเสนอตอช้ันเรียน

Page 30: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

26

3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง ไมม ี1. Uคุณธรรม จริยธรรม

(1) เขาใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณคาของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และ ซ่ือสัตยสุจริต

(2) มีวินัย ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม

(3) มีภาวะความเปนผู นํ าและผู ตาม สามารถทํางานเปนหมูคณะ สามารถแ ก ไ ข ข อ ขั ด แ ย ง ต า ม ลํ า ดั บความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รวมทั้งเคารพในคุณคาและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

(4) สามารถวิเคราะหและประเมินผลกระ ทบจ ากก า ร ใ ช ค ว าม รู ท า งวิศวกรรมตอบุคคล องคกรสังคมและสิ่งแวดลอม

(5) มีจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูประกอบวิชาชีพรวมถึงเขาใจถึ งบ ริบททา งสั งคมของ วิช าชี พวิศวกรรมในแตละสาขา ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน

1. Uความรู (1) มี ค ว า ม รู แ ล ะ ค วา ม เ ข า ใ จ ท า ง

คณิตศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรพื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและหรือเศรษฐศาสตร เพื่อการประยุกตใชกับงานทางด าน วิศวกรรมศาสตรที่เก่ียวของ และการสรางนวัตกรรมทางเทคโนโลยี

(2) มีความรูและความเขาใจเก่ียวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและหรือปฏิบัติ ในเน้ือหาของสาขาวิชาเฉพาะดานทางวิศวกรรม

(3) ส า ม า ร ถ บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม รู ใ นสาขาวิชาที่ศึกษากับความรูในศาสตรอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ

(4) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหา ดวยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกตใชเคร่ืองมือที่เหมาะสม เชน โปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน

(5) สามารถใชความ รูและทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกตแกไขปญหาในงานจริงได

3. Uทักษะทางปญญา

(1) มีความคิดอยางมีวิจารณญาณที่ดี (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห

และ สรุปประเด็นปญหาและความตองการ

(3) สามารถคิด วิเคราะห และแกไขปญหาดานวิศวกรรมไดอยางมีระบบ รวมถึงการใชขอมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

(4) มีจินตนาการและความยืดหยุนในการปรับใชองคความรูที่ เ ก่ียวของอยาง เหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือตอยอดองคความรูจากเดิมไดอยางสรางสรรค

(5) สามารถสืบคนขอมูลและแสวงหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเอง เพื่อการเ รียนรู ตลอดชี วิตและทันตอการเปลี่ยนแปลงทางองคความรูและเทคโนโลยีใหมๆ

4. Uทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) ส า ม า ร ถ สื่ อ ส า ร กั บ ก ลุ ม ค น ที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชความรูในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารตอสังคมไดในประเด็นที่เหมาะสม

(2) สามารถเปนผูริเร่ิมแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณเชิงสรางสรรคทั้งสวนตัวและสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม รวมทั้งใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแกไขปญหาสถานการณตางๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเอง และสอดคลองกับทางวิชาชีพอยางตอเน่ือง

(4) รูจักบทบาท หนาที่ และมีความรับผิดชอบในกา รทํ า ง านตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุม สามารถปรับตัวและทํางานรวมกับผู อ่ืนทั้งในฐานะผู นําและผูตามไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ

(5) มีจิตสํานึกความรับผิดชอบดานความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดลอมตอสังคม

5. Uทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มีทักษะในการใชคอมพิวเตอร สําหรับการทํางานที่เก่ียวของกับวิชาชีพไดเปนอยางดี

(2) มีทักษะในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติประยุกต ตอการแกปญหาที่เก่ียวของไดอยางสรางสรรค

(3) สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

(4) มีทักษะในการสื่อสารขอมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใชสัญลักษณ

(5) สามารถใชเคร่ืองมือการคํานวณและเคร่ืองมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เก่ียวของได

Page 31: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

27

รหัสวิชา รายวิชา

1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 11167201 วิธีการคาํนวณเชิงตัวเลข 11167202 คณิตศาสตรวิเคราะห 11167203 สถิติวิศวกรรมขั้นสูง 11167204 การวิเคราะหเมตริก 11167101 วิทยานิพนธ 1 11167102 วิทยานิพนธ 2 11167103 วิทยานิพนธ 3 11167104 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 11167301 ระเบียบวิธีวิจัย 11167302 การบริหารโครงการอุตสาหกรรม 11167401 เทคโนโลยีการบรรจุผลิตผลเกษตร 11167402 วิศวกรรมการผลิตนม 11167403 เทคโนโลยีการอบแหงอาหาร 11167404 วิศวกรรมแปรสภาพผลิตผลเกษตรขั้นสูง 11167405 เครื่องจักรกลเก็บเก่ียว 11167406 การออกแบบโรงงานแปรรปูทางเกษตร 11167407

โลจิสติกสและระบบตรวจสอบยอนกลับของผลิตภัณฑเกษตร

11167408

เนียรอินฟราเรดสเปคโตรสโคปของผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร

11167409 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม 11167410 การอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม 11167411 การวิเคราะหพลังงานความรอน

Page 32: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

28

รหัสวิชา รายวิชา

1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 11167412 การไหลแบบสองสถานะและการถายเทความรอน 11167413 การออกแบบระบบความรอน 11167414 ระเบียบวิธีไฟไนทเอลิเมนท 11167415 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมขั้นสูง 11167416 การประยุกตใชคอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

และการผลิตชิ้นสวนเครื่องกล

11167417 กลศาสตรการแตกหัก 11167418 ทฤษฎีการทดลองทางวศิวกรรมศาสตร 11167419 การทําความเย็นและปรับอากาศขั้นสูง 11167501 สัมมนา 1* 11167502 สัมมนา 2* 11167420 การประมวลผลภาพเชิงตัวเลข 11167421 เครื่องจักรกลวิทัศนสําหรับอุตสาหกรรม 11167422 การสื่อสารขอมูลทางอุตสาหกรรม 11167423 เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับองคกร 11167424 ระบบฐานขอมูลและการติดตอไคเอนต

เซิรฟเวอรขั้นสูง

11167425 การตรวจจับและระบบการรับสงขอมูลขั้นสูง 11167426 นวัตกรรมกับการโปรแกรม

ไมโครคอนโทรลเลอร

Page 33: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

29

รหัสวิชา รายวิชา

1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 11167427 การออกแบบวงจรแอนาลอกขั้นสูง 11167428 การออกแบบวงจรดิจิทัลขั้นสูง 11167429 การจําลองระบบสาํหรับการสื่อสาร

Page 34: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

30

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด) เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (1) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา

ใหกําหนดระบบการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของนักศึกษาเปนสวนหนึ่งของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาท่ีจะตองทําความเขาใจตรงกันท้ังสถาบัน และนําไปดําเนินการจนบรรลุผลสัมฤทธิ ์ซึ่งผูประเมินภายนอกจะตองสามารถตรวจสอบได

การทวนสอบในระดับรายวิชาควรใหนักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา คณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของขอสอบใหเปนไปตามแผนการสอน มีการประเมินขอสอบโดยผูทรงคุณวุฒิภายนอก

การทวนสอบในระดับหลักสูตรสามารถทํา ไดโดยมีระบบประกันคุณภาพภายในสถาบันอุดมศึกษาดําเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูและรายงานผล

(2) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา การกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา ควรเนนการทําวิจัยสัมฤทธิผล

ของการประกอบอาชีพของบัณฑิต ท่ีทําอยางตอเนื่องและนําผลวิจัยท่ีไดยอนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมท้ังการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหนวยงานโดยองคกรระดับสากล โดยการวิจัยอาจจะทําดําเนินการดังตัวอยางตอไปนี้

a. สภาวะการไดงานทําของมหาบัณฑิต ประเมินจากมหาบัณฑิตแตละรุนท่ีจบการศึกษา ในดานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตอความรู ความสามารถ ความมั่นใจของมหาบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ

b. การตรวจสอบจากผูประกอบการ โดยการขอเขาสัมภาษณ หรือ การแบบสงแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพึงพอใจในมหาบัณฑิตท่ีจบการศึกษาและเขาทํางานในสถานประกอบการนั้นๆ ในคาบระยะเวลาตางๆ เชน ปท่ี 1 ปท่ี 2 เปนตน

c. การประเมินตําแหนง และหรือความกาวหนาในสายงานของมหาบัณฑิต d. การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการสงแบบสอบถาม หรือ สอบถามเมื่อมีโอกาสใน

ระดับความพึงพอใจในดานความรู ความพรอม และสมบัติดานอื่นๆ ของมหาบัณฑิตจะจบการศึกษาและเขาศึกษาเพื่อปริญญาท่ีสูงข้ึนในสถานศึกษานั้นๆ

e. การประเมินจากนักศึกษาเกา ท่ีไปประกอบอาชีพ ในแงของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาท่ีเรียน รวมท้ังสาขาอื่นๆ ท่ีกําหนดในหลักสูตร ท่ีเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของมหาบัณฑิต รวมท้ังเปดโอกาสใหเสนอขอคิดเห็นในการปรับหลักสูตรใหดียิ่งข้ึนดวย

f. ความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิภายนอก ท่ีมาประเมินหลักสูตร หรือ เปนอาจารยพิเศษ ตอความพรอมของนักศึกษาในการเรียน และสมบัติอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาองคความรูของนักศึกษา

Page 35: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

31

g. ผลงานของนักศึกษาท่ีวัดเปนรูปธรรมไดซึ่ง อาทิ (ก) จํานวนผลงานตีพิมพท่ีไดรับการยอมรับ, (ข) จํานวนสิทธิบัตร, (ค) จํานวนรางวัลทางวิชาการ, (ง) จํานวนกิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติ, (จ) จํานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรท่ีทําประโยชนตอสังคม

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 และเกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ภาคผนวก ก, ข)

หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม (1) มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเปนครูแกอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจ นโยบายของสถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร สาขาวิชาตางๆ ตลอดจนในหลักสูตรท่ีสอน

(2) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอนและการวิจัยอยางตอเนื่อง การสนับสนุนดานการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตางๆ การประชุมทางวิชาการท้ังในประเทศและ/หรือตางประเทศหรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

(1) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอนและการวิจัยอยางตอเนื่อง การสนับสนุนดานการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตางๆ การประชุมทางวิชาการท้ังในประเทศและ/หรือตางประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ

(2) การเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่นๆ

(1) การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชุมชนท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและคุณธรรม

(2) มีการกระตุนอาจารยทําผลงานทางวิชาการ (3) สงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหมเปนหลัก

Page 36: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

32

หมวดท่ี 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร (1) มีหลักสูตร โครงสรางหลักสูตรและคําอธิบายรายวิชา (2) มีการกําหนดแผนงาน การจัดทํางบประมาณ และดําเนินการตาม 9 องคประกอบของสกอ. และมี

การจัดทํารายงาการประกันคุณภาพเพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง (3) มีการประเมินผลการปฏิบัติตาม 7 มาตรฐานของการประกันคุณภาพภายนอกโดย สมศ.

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล 1. หลักสูตรมีความทันสมัย โดย

อาจารยและนักศึกษาสามารถกาวทันหรือเปนผูนําในการสรางองคความรูใหมทางดานเทคโนโลยี

2. บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษามีความสามารถในการประกอบวิชาชีพ

3. หลักสูตรมีคุณภาพมาตรฐาน

1. กําหนดใหมีการปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยตามเกณฑท่ีกําหนด 2. สงเสริมใหมีการดูงาน การเชิญอาจารยพิเศษหรือผูมีประสบการณมาแลกเปล่ียน 3. สงเสริมอาจารยมีเครือขายกับองคการวิชาชีพ 34 มีการประเมินคุณภาพตาม

เกณฑท่ีกําหนด

1.มีการปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑท่ีกําหนด 2. จํานวนรายวิชา ท่ีมีการเชิญอาจารยพิเศษหรือผูเช่ียวชาญเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน 3. จํานวนการเขารับการฝกอบรมหรือพัฒนาตนเองทางวิชาการของอาจารยเฉล่ียตอป 4. หลักสูตรผานเกณฑการตรวจประกันคุณภาพการศึกษา

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

2.1 การบริหารงบประมาณ การหารายไดเสริมนอกจากรายไดจากงบประมาณแผนดิน ในการจัดหาครุภัณฑเพื่อสนับสนุนการ

เรียนการสอนท่ีจําเปน โดยการบริการวิชาการ 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอน

2.2.1 สถานท่ีและอุปกรณการสอนท่ีมีอยูเดิม สถานท่ีใชอาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา อาคารปฏิ บัติการ

วิศวกรรมเครื่องกล อาคารปฏิบัติการวิศวกรรมเกษตรและอาคารปฏิบัติการวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

Thermo- Fluid Laboratory 1. Friction Loss in Pipe 2. Jet Impact 3. Bernoulli’s Theorem Verification Apparatus 4. Reynolds Number 5. Test of oil viscosity 6. Refrigeration & Airconditioning 7. Gas-Liquid Two-Phase Flow

Page 37: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

33

8. Pool Boiling Heat Transfer 9. Conduction Heat Transfer Fluid Power and Turbo machinery Laboratory 1. Gas Turbine 2. Fluid Power Test Set Automotive Laboratory 1. Engine Set 2. Chassis Dynamometer 3. Eddy Current Dynamometer 4. Engine Analyzer 5. Smoke Detector 6. Exhaust Gas Analyzer 7. ABS Brake Tester Material Laboratory 1. Fatigue testing Apparatus 2. Universal testing Apparatus 3. Hardness Test 4. Torsion Test 5. Tensile and compression test Dynamic Systems Laboratory 1. Balancing Machine 2. PLC Test Sets 3. Electro-pneumatic Test Set CAD/CAM/CAE Laboratory 1. คอมพิวเตอร 80 เครื่อง 2. ซอฟแวรการออกแบบและการวิเคราะหทางวิศวกรรมเครื่องกล 3. CNC Milling Machine 4. CNC Lathe Agricultural Engineering Laboratory 1. แทรกเตอร ฟอรด จํานวน 1 คัน 2. แทรกเตอร แลนดินี จํานวน 1 คัน 3. แทรกเตอร คูโบตา จํานวน 2 คัน 4. Vibration Simulator 5. Ballistic Pendulum 6. Coefficient of Friction and Rolling Angle Measuring Device 7. Porosity Measuring Device 8. เครื่องทดสอบหาความแนนเนื้อ 9. เครื่องวัดคาสีแบบพกพา

Page 38: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

34

10. ชุดทดสอบเครื่องสีขาว ขัดขาว และคัดเมล็ด 11. เครื่องนวดและคัดแยกขาว 12. เครื่องฆาเช้ืออาหารกระปอง 13. เครื่องปดผนึกกระปอง 14. เครื่องปดผนึกถุงระบบสุญญากาศ 15. เครื่องวัดความหนืดอาหารท่ัวไป 16. เครื่องวัดความหนืดของแปง 17. เครื่องพาสเจอรไรซน้ําผลไม 18. ตูอบระบบสุญญากาศ 19. ตูอบลมรอน 20. เครื่องทําแหงแบบพนฝอย 21. เครื่องทําแหงแบบระเหิด 22. เครื่องวิเคราะหปริมาณใยอาหาร 23. เครื่องวิเคราะหปริมาณไขมัน 24. เครื่องวิเคราะหปริมาณไนโตรเจน 25. เครื่องวัดแรงตึงผิว 26. กลองจุลทรรศน 27. เครื่องวัดปริมาณแอลกอฮอล

หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสพืน้ฐาน

เครื่องมือ Oscilloscope, Function Generator, Digital Multi-meter, Power Supply

หองปฏิบัติการพัฒนาแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส

เครื่องทํา PCB ครบวงจร สําหรับการทําสองหนา PTH , etching

หองปฏิบัติการดานวงจรดิจิตอล

บอรดทดลองวงจรดิจิตอล , ASIC, FPGA, Logic Analyzer

หองปฏิบัติการไฟฟาและเคร่ืองจักรกลไฟฟา

แหลงจายไฟปรับคาได 3 phase VARIAC โหลดตาง ๆ

หองปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร/ไมโครคอนโทรลเลอร

บอรดทดลองไมโครโปรเซสเซอร/ไมโครคอนโทรลเลอร

หองปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร

Page 39: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

35

หองปฏิบัติการดานการวัดและการควบคุม

DSP board, Labview, GPIB-based Meter

หองปฏิบัติการดานเครือขายคอมพิวเตอร

หองปฏิบัติการดานการสื่อสาร

ชุดทดลองAnalog Communications, Digital Communications

Spectrum Analyzer

หองปฏิบัติการดานไมโครเวฟ และเรดาร

ชุดทดลอง ไมโครเวฟ , เรดาร

หองปฏิบัติการดานหุนยนต

2.2.2 แหลงเรียนรูอื่นๆ (1) โรงนมกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ วิทยาเขตชุมพร (2) งานฟารม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

2.2.3 อุปกรณการสอนท่ีตองการเพิ่มในอนาคต อุปกรณดานกลศาสตรของไหล เคร่ืองกลของไหล 1. รางน้ําแบบปรับทองรางได 1 ชุด 2. เครื่องตรวจสอบการไหล 1 เครื่อง อุปกรณดานเทอรโมไดนามิกสและความรอน 1. เครื่องวิเคราะหประสิทธิภาพการเผาไหม 1 เครื่อง 2. ชุดสาธิตการผลิตไฟฟาดวย Solar cell 1 ชุด อุปกรณดานระบบควบคุมอัตโนมัติ 1. ชุดทดลอง Sensors สําหรับการวัดและควบคุม 2 ชุด 2. ชุดทดลองระบบอินเตอรเฟสกับเครื่องจักรกล 1 ชุด อุปกรณดานกลศาสตรเคร่ืองจักรกลและการออกแบบเคร่ืองจักรกล 1. ชุดทดสอบเครื่องจักรกลในอางรางดิน 1 ชุด 2. เครือ่งวิเคราะห NIR Spectroscopy 1 เครื่อง 3. รถดํานาแบบนั่งขับพรอมอุปกรณ 1 คัน 4. ชุดวัดพฤติกรรมไดอิเล็กตริคของวัสดุเกษตร 1 ชุด 5. ระบบวัดคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุเกษตร 1 ชุด 6. ชุดวิเคราะหภาพถายดาวเทียมเพื่อการเกษตร 1 ชุด 7. อุปกรณ Image Processing สําหรับผลผลิตเกษตร 1 ชุด 8. เครื่องวัดแรงส่ันสะเทือน 1 เครื่อง 9. ชุดสาธิตการผลิตกาซชีวภาพ 1 ชุด

Page 40: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

36

2.2.4 รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ภาคผนวก จ.)

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม ส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอนท่ีสําคัญ คือเครื่องมืออุปกรณหองปฏิบัติการ เนื่องจากเปนหลักสูตร

ท่ีตองเตรียมความพรอมใหแกบัณฑิตสวนใหญในการทํางานจริงในวงการอุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมเกษตร จึงมีความจําเปนท่ีนักศึกษาตองมีประสบการณการใชงานเครื่องมือ อุปกรณ รวมท้ังซอฟตแวรคอมพิวเตอร ใหเกิดความเขาใจหลักการ วิธีการใชงานท่ีถูกตอง และมีทักษะในการใชงานจริง รวมท้ังการเขาถึงแหลงสารสนเทศท้ังหองสมุดและอินเทอรเน็ต และส่ือการสอนสําเร็จรูป เชน วิดีทัศนวิชาการ โปรแกรมการคํานวณ รวมถึงส่ือประกอบการสอนท่ีจัดเตรียมโดยผูสอน ดังนั้นตองมีทรัพยากรข้ันตํ่าเพื่อจัดการเรียนการสอน ดังนี้

(1) มีหองเรียนท่ีมีส่ือการสอนและอุปกรณท่ีทันสมัยเอื้อใหคณาจารยสามารถปฏิบัติงานสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

(2) มีหองปฏิบัติการท่ีมีความพรอมท้ังวัสดุอุปกรณ เครื่องคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และระบบซอฟตแวรท่ีสอดคลองกับสาขาวิชาท่ีเปดสอนอยางพอเพียงตอการเรียนการสอน รวมถึงหองปฏิบัติการสําหรับการทําโครงงาน โดยมีการบริหารจัดการอยางเปนระบบ

(3) ตองมีเจาหนาท่ีสนับสนุนดูแลส่ือการเรียนการสอน อุปกรณผลิต อุปกรณวิเคราะห และซอฟตแวรท่ีใชประกอบการสอนท่ีพรอมใชปฏิบัติงาน

(4) มีหองสมุดหรือแหลงความรูและส่ิงอํานวยความสะดวกในการสืบคนความรูผานระบบอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนมีหนังสือ ตําราและวารสารในสาขาวิชาท่ีเปดสอนท้ังภาษาไทยและภาษาตางประเทศท่ีเกี่ยวของในจํานวนท่ีเหมาะสม โดยจํานวนตําราท่ีเกี่ยวของตองมีมากกวาจํานวนคูมือ

(5) มีเครื่องมืออุปกรณประกอบการทําวิทยานิพนธ (6) มีเครื่องคอมพิวเตอรประกอบการเรียนรายวิชาท่ีตองใชโปรแกรมการออกแบบและคํานวณ

ตอจํานวนนักศึกษาในอัตราสวน เปนอยางนอย 1:1 (7) มีหองคอมพิวเตอรเปดใหบริการแกนักศึกษานอกเวลาเรียนใหสามารถเขาใชไดไมตํ่ากวา 8

ช่ัวโมงตอวัน โดยมีปริมาณจํานวนคอมพิวเตอรท่ีเหมาะสม (8) มีโปรแกรมท่ีถูกตองตามกฎหมายติดต้ังบนเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่อง เครื่องคอมพิวเตอร

ควรมีการปรับเปล่ียนรุนใหมอยางสม่ําเสมออยางมากทุก 5 ป (9) อาจารยควรมีเครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร การเตรียมความพรอมสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหเปนไปตาม - ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาโท พ.ศ. 2548

ขอ 15 วาดวยการประกันคุณภาพของหลักสูตร - ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่องแนวปฏิบัติตามหลักเกณฑการขอเปดและ

ดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548

Page 41: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

37

- ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 วาดวยมาตรฐานดานพันธกิจของการบริหารอุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู

เปาหมาย การดําเนนิการ การประเมินผล - ความเพียงพอของทรัพยากรการ

เรียนการสอน - จัดใหมีหองเรียน หองปฏิบัติการ

แบบรวมศูนย มีทรัพยากรการเรียนก า ร ส อ น ท่ี เ พี ย บ พ ร อ ม เ พื่ อสนับสนุนการเรียนท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน โดยนักศึกษาสามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางเพียงพอ

- มี ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ยชน ห อ ง เ รี ย น หองปฏิบัติการอยางมีประสิทธิผลและคุมคา

- จัด ทําแบบสํ ารวจความตองการทรัพยากรการเรียนการสอนเปนประจํ า ทุกป จ ากผู อ า จ า รย และนักศึกษา

- จัดทําระบบติดตามการใชทรัพยากรการเรียนการสอนและนําผลมาใชในการบริหารทรัพยากร

- จัดเตรียมหองปฏิบัติการและอาคารปฏิบัติการทดลอง ท่ีมีเคร่ืองมือท่ีเหมาะสมและสอดรับกับงานวิจัยท า ง ด า น วิ ศ ว ก ร ร ม เ ทค โ น โ ล ยีอุตสาหกรรม

- ส ถิ ติ จํ า น ว น แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ดทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยู และความตองการเพิ่มเ ติมจากผูอาจารยและนักศึกษา

- ระบบติดตามการใชทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีสามารถเรียกดูขอมูลไดงายและสะดวก

- ประกาศวาด วยระ เบียบและขอปฏิ บัติการใชหองเรียนและ/หรือหองปฏิบัติการ โดยมีการกําหนดข้ันตอนการปฏิบัติท่ีชัดเจน

- จัดใหมีหองสมุดท่ีใหบริการท้ังตํารา หนังสือ และสื่อ ดิจิตอล เพื่ อการเรียนรู โดยมีการใหบริการท้ังภายในหองสมุดวิทยาเขตชุมพร สถาบันฯ และหองสมุดของสถาบันการศึกษาและหนวยงานภายนอก

- มี ข้ั น ต อ น ก า ร ใ ช ห อ ง เ รี ย นหองปฏิบัติการ และหองสมุดอยางมีระบบและสามารถตรวจสอบได

- จัดใหมีอุปกรณและเคร่ืองมือทดลอง ท่ีนักศึกษาสามารถฝกปฏิบัติการได ดวยตนเอง

- จํานวนผูเขารับบริการจากหองสมุดและหองปฏิ บั ติการ ท้ั งอาจารย นัก ศึกษา นัก วิจั ย และ บุคคล ท่ีเกี่ยวของ

- ผลสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารยตอการใหบริการทรัพยากรการเรียนการสอน

3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม

(1) อาจารยประจําตองมีคุณวุฒิเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 โดยมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ (1.1) สําเร็จการศึกษาปริญญาเอกทางสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเกษตร

วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส พลังงาน ส่ิงแวดลอม วิศวกรรมอุตสาหการหรือสาขาอื่นท่ีเกี่ยวของ

(1.2) มีการจดสิทธิบัตรหรือผลงานตีพิมพในระดับนานาชาติซึ่งเปนท่ียอมรับ (2) มีความเขาใจถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของหลักสูตร

Page 42: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

38

(3) มีความรู มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาและมีประสบการณทําวิจัยหรือประสบการณประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาท่ีสอน

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร คณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และผูสอน จะตองประชุมรวมกันในการวางแผนจัดการเรียนการ

สอน ประเมินผลและใหความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางท่ีจะทําใหบรรลุเปาหมายตามหลักสูตร และไดบัณฑิตเปนไปตามคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

3.3 คณาจารยท่ีสอนบางเวลาและการแตงต้ังคณาจารยพิเศษ สัดสวนอาจารยตอนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา ใหเปนไปตามเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา สกอ. สําหรับอาจารยพิเศษถือวามีความสําคัญมาก เพราะจะเปนผูถายทอดประสบการณตรงจากการ

ปฏิบัติมาใหกับนักศึกษา ดังนั้นจึงกําหนดนโยบายวาจะตองมีการเชิญอาจารยพิเศษหรือวิทยากร มาบรรยายอยางนอย 1 ครั้งตอภาคการศึกษา

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง

บุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิการศึกษาไมตํ่ากวาปริญญาตรี และมีความรูความสามารถทางดานวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส พลังงาน ส่ิงแวดลอม วิศวกรรมอุตสาหการ หรือสาขาอื่นท่ีเกี่ยวของ และมีภาระงานรับผิดชอบท่ีสามารถสนับสนุนการเรียนการสอนของหลักสูตรไดเปนอยางดี

4.2 การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน (1) มีการพัฒนาอาจารยใหมีพัฒนาการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณในงาน หรือสาขา

ท่ีเกี่ยวของในกรณีการเรียนรูแบบบูรณาการ เพื่อสงเสริมการสอนอยางตอเนื่อง รวมท้ังสนับสนุนใหอาจารยมีผลงานวิจัยท่ีสามารถตีพิมพในระดับนานาชาติเพิ่มข้ึน โดยอาจรวมมือกับอาจารยตางสาขาหรือตางสถาบัน การสนับสนุนสามารถทําไดในรูปของการใหคาเดินทางไปเสนอผลงานทางวิชาการ การใหเงินพิเศษเพิ่มเมื่อมีบทความวิชาการตีพิมพใน Proceedings และ Journals รวมท้ังอาจลดภาระงานสอนใหเหมาะกับเวลาท่ีใชเพื่อเพิ่มพูนความรู ประสบการณ และการทําวิจัย

(2) ในกรณีท่ีอาจารยไมถนัดในการเพิ่มพูนความรูโดยผานการทําวิจัยได หนวยงานอาจสนับสนุนใหอาจารยเขารวมงานกับภาคอุตสาหกรรมหรือธุรกิจในชวงปดภาคการศึกษาเพื่อใหอาจารยไดมีประสบการณจริงในการพัฒนาแนวคิด หรือพัฒนาเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม

(3) บุคลากรตองเขาใจโครงสรางและธรรมชาติของหลักสูตร และจะตองสามารถบริการใหอาจารยสามารถใชส่ือการสอนไดอยางสะดวก ซึ่งจําเปนตองใหมีการฝกอบรมเฉพาะทาง เชน การเตรียมหองปฏิบัติการในวิชาท่ีมีการฝกปฏิบัติ

Page 43: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

39

5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอื่นๆ แกนักศึกษา

(1) ควรเชิญผูเช่ียวชาญจากภาคธุรกิจ หรือภาคอุตสาหกรรมท่ีมีประสบการณตรงในรายวิชาตางๆ มาเปนอาจารยพิเศษ เพื่อถายทอดประสบการณใหแกนักศึกษา

(2) ควรมีผูชวยสอนประจําหองปฏิบัติการท่ีมีความรูเกี่ยวกับเครื่องจักร อุปกรณผลิตเครื่องมือวัด เครื่องมือวิเคราะหทางกล หรือวิชาท่ีเกี่ยวของในจํานวนท่ีเหมาะสม ควรสงผูชวยสอนประจําหองปฏิบัติการไปอบรมเทคโนโลยีใหมอยางนอยปละครั้ง

(3) มีการแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคน โดยนักศึกษาท่ีมีปญหาในการเรียนสามารถปรึกษากับอาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการได โดยอาจารยทุกคนในสาขาจะตองทําหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษา และทุกคนตองกําหนดช่ัวโมงวาง (Office Hours) เพื่อใหนักศึกษาเขาปรึกษาได นอกจากนี้ ตองมีท่ีปรึกษากิจกรรมเพื่อใหคําปรึกษาแนะนําในการจัดทํากิจกรรมแกนักศึกษา

5.2 การอุทธรณของนักศึกษา เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก)

5. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต (1) จัดอบรมสัมมนา เพื่อพัฒนานักศึกษาไดทันตอวิทยาการสมัยใหม (2) มีการศึกษาขอมูลตลาดแรงงานเพื่อผลิตบัณฑิตใหสอดคลองกับทองถ่ิน (3) มีการติดตามประเมินผล ความพึงพอใจของบัณฑิตและผูใชบัณฑิตตอยางตอเนื่อง (4) กิจกรรมของนักศึกษาในหลักสูตรท่ีไดมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม

6. ตัวบงช้ีผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

ตัวบงช้ีและเปาหมาย ปการศึกษา

2556 2557 2558 2559 2560

1. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิศวกรรมศาสตร

3. มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม(ถามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุดภาคการศึกษาท่ีเปดสอนใหทุกรายวิชา

Page 44: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

40

ตัวบงช้ีและเปาหมาย ปการศึกษา

2556 2557 2558 2559 2560

5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังส้ินปการศึกษา

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู ท่ีกําหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปดสอนในแตละปการศึกษา

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ปท่ีแลว

8. อาจารยใหม (ถามี) ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศหรือแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง

10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมท่ีมีตอคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

12. ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตท่ีมีตอบัณฑิตใหม เฉล่ียไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

13. นักศึกษามีงานทําภายใน1ปหลังจากสําเร็จการศึกษา ไมตํ่ากวา รอยละ 80

14. บัณฑิตท่ีไดงานทําไดรับเงินเดือนเริ่มตนไมตํ่ากวาเกณฑ ก.พ .กําหนด

รวมตัวบงช้ีบังคับท่ีตองมีผลการดําเนินการ (ลําดับขอท่ี 1-5) (ตัว) ในแตละป

5 5 5 5 5

รวมตัวบงช้ี (ตัว) ในแตละป 9 11 14 14 14 เกณฑประเมิน

หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิศวกรรมศาสตร ตองผานเกณฑประเมินดังนี้

ตัวบงช้ีบังคับ (ตัวบงช้ี 1-5) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงช้ีท่ีมีผลดําเนินการบรรลุเปาหมายไมนอยกวา 80% ของตัวบงช้ีรวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงช้ีบังคับและตัวบงช้ีรวมในแตละป

Page 45: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

41

ปการศึกษา หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิศวกรรมศาสตร 2556 ตองบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีบังคับ ตัวท่ี 1-6, 8-10

และบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีรวม 9 ตัว 2557 ตองบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีบังคับ ตัวท่ี 1-10

และบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีรวม 11 ตัว 2558 ตองบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีบังคับ ตัวท่ี 1-14

และบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีรวม 14 ตัว 2559 ตองบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีบังคับ ตัวท่ี 1-14

และบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีรวม 14 ตัว 2560 ตองบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีบังคับ ตัวท่ี 1-14

และบรรลุเปาหมายตัวบงช้ีรวม 14 ตัว

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรับปรงุการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธการสอน กระบวนการท่ีจะใชในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตรท่ีวางแผนไวเพื่อพัฒนาการเรียนการ

สอนนั้น พิจารณาจากตัวผูเรียนโดยอาจารยผูสอนจะตองประเมินผูเรียนในทุกๆ หัวขอวามีความเขาใจหรือไม โดยอาจประเมินจากการทดสอบยอย การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปรายโตตอบจากนักศึกษา การตอบคําถามของนักศึกษาในช้ันเรียน ซึ่งเมื่อรวบรวมขอมูลจากท่ีกลาวขางตนแลว ก็ควรจะสามารถประเมินเบ้ืองตนไดวา ผูเรียนมีความเขาใจหรือไม หากวิธีการท่ีใชไมสามารถทําใหผูเรียนเขาใจได ก็จะตองมีการปรับเปล่ียนวิธีสอน

การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน จะสามารถช้ีไดวาผูเรียนมีความเขาใจหรือไมในเนื้อหาท่ีไดสอนไป หากพบวามีปญหาก็จะตองมีการดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสตอไป

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน ใหนักศึกษาไดมีการประเมินผลการสอนของอาจารยในทุกดาน ท้ังดานทักษะกลยุทธการสอน การ

ตรงตอเวลา การช้ีแจงเปาหมาย วัตถุประสงครายวิชา ช้ีแจงเกณฑการประเมินผลรายวิชาและการใชส่ือการสอนในทุกรายวิชา 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

การประเมินหลักสูตรในภาพรวมนั้นจะกระทํา เมื่อนักศึกษาเรียนอยูช้ันปท่ี 2 โดยติดตามประเมินความรูความเขาใจและความกาวหนาของวิทยานิพนธท่ีนักศึกษากําลังทําวาสามารถดําเนินงานวิจัยตอไปไดหรือไม มีความรับผิดชอบ และยังออนดอยในดานใด ซึ่งจะมีการรวบรวมขอมูลท้ังหมดเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนปรับปรุงกระบวนการการจัดการเรียนการสอนท้ังในภาพรวมและในแตละรายวิชาอีกท้ังประเมินจากการรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตร

Page 46: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

42

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

การประเมินคุณภาพการศึกษาประจําป ตามดัชนีบงช้ีผลการดําเนินงานท่ีระบุในหมวดท่ี 7 ขอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินท่ีไดรับการแตงต้ังจากสถาบันฯ 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

จากการรวบรวมขอมูล จะทําใหทราบปญหาของการบริหารหลักสูตรท้ังในภาพรวม และในแตละรายวิชา กรณีท่ีพบปญหาของรายวิชาก็สามารถท่ีจะดําเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆ ไดทันทีซึ่งก็จะเปนการปรบัปรุงยอย ในการปรับปรุงยอยนั้นควรทําไดตลอดเวลาท่ีพบปญหา สําหรับการปรับปรุงหลักสูตรท้ังฉบับนั้น จะกระทําทุก 2 ป ท้ังนี้เพื่อใหหลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต

เอกสารแนบ

(ก) ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553

(ข) ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังเรื่องเกณฑมาตรฐานความรู ภาษาอังกฤษในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

(ค) คําอธิบายรายวิชา (ง) รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (จ) รายนามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร (คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร) (ฉ) บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยประจําหลักสูตร

Page 47: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

43

ภาคผนวก ก

ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553

วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554

Page 48: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

44

Page 49: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

45

Page 50: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

46

Page 51: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

47

Page 52: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

48

Page 53: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

49

Page 54: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

50

Page 55: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

51

Page 56: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

52

Page 57: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

53

Page 58: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

54

Page 59: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

55

Page 60: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

56

Page 61: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

57

Page 62: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

58

Page 63: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

59

Page 64: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

60

Page 65: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

61

Page 66: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

62

Page 67: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

63

Page 68: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

64

Page 69: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

65

Page 70: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

66

Page 71: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

67

Page 72: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

68

Page 73: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

69

Page 74: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

70

Page 75: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

71

Page 76: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

72

Page 77: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

73

Page 78: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

74

Page 79: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

75

Page 80: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

76

Page 81: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

77

Page 82: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

78

ภาคผนวก ข

ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เร่ืองเกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษา

Page 83: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

79

Page 84: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

80

Page 85: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

81

Page 86: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

82

Page 87: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

83

ภาคผนวก ค คําอธิบายรายวิชา

Page 88: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

84

คําอธิบายรายวิชา

ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

11167101 วิทยานิพนธ 1 3(0-6-3) THESIS 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

วัตถุประสงคของการทําวิทยานิพนธ เพื่อใหนักศึกษามีประสบการณในการคนควางานวิจัย การจัดการระบบการทํางาน และการนําเสนอผลงานวิจัย โดยหัวขอของวิทยานิพนธจะตองไดรับความเห็นชอบและอยูภายใตคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษา ซึ่งหัวขอของวิทยานิพนธนี้ควรเปนแนวทางขององคความรูใหมท่ีสามารถประยุกตใชประโยชนไดในวิทยาการดานวิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

The development of students’ experience in research skill, management of work, and presentation skill with the thesis topic accepted and supervised by a supervisor and contributed to the new concept of knowledge applied and useful in industrial technology engineering. 11167102 วิทยานิพนธ 2 3(0-6-3)

THESIS 2 วิชาบังคับกอน : 1167101 วิทยานิพนธ 1 PREREQUISITE : 11167101 THESIS 1 วิชานี้เปนวิชาตอเนื่องจากวิชา วิทยานิพนธ 1 นักศึกษาจะตองสอบผานวิชา วิทยานิพนธ 1

กอน จึงจะลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ได Completion of THESIS 1 prior to the registration of THESIS 2

11167103 วิทยานิพนธ 3 3(0-6-3)

THESIS 3 วิชาบังคับกอน : 11167102 วิทยานิพนธ 2 PREREQUISITE : 11167102 THESIS 2 วิชานี้เปนวิชาตอเนื่องจากวิชา วิทยานิพนธ 2 นักศึกษาจะตองสอบผานวิชา วิทยานิพนธ 2

กอน จึงจะลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ได Completion of THESIS 2 prior to the registration of THESIS 3

11167104 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3(0-6-3)

MASTER THESIS วิชาบังคับกอน : 11167103 วิทยานิพนธ 3 PREREQUISITE : 11167103 THESIS 3

Page 89: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

85

วิชานี้เปนวิชาตอเนื่องจากวิชา วิทยานิพนธ 3 นักศึกษาจะตองสอบผานวิชา วิทยานิพนธ 3

กอน จึงจะลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ได Completion of THESIS 2 prior to the registration of THESIS 3

11167104 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3(0-6-3)

MASTER THESIS วิชาบังคับกอน : 11167103 วิทยานิพนธ 3 PREREQUISITE : 11167103 THESIS 3 วิชานี้เปนวิชาตอเนื่องจากวิชา วิทยานิพนธ 3 นักศึกษาจะตองสอบผานวิชา วิทยานิพนธ 3

จึงจะลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ได Completion of THESIS 3 prior to the registration of MASTER THESIS

ข. หมวดวิชาคณิตศาสตรข้ันสูง 6 หนวยกิต

11167201 วิธีการคํานวณเชิงตัวเลข 3(3-0-6)

COMPUTATION METHODS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

การวิเคราะหเบ้ืองตน สมการเชิงเสน ผลลัพธและอินเวิสเมทริกซ เกาสเซียนอิลิมินชัน วิธีการ แบบกระทําซ้ํา สมการแบบไมเชิงเสน การประมาณการคาผิดพลาด การคํานวณคาไอเกนและไอเกนเวคเตอร วิธีการอนุกรมกําลัง การแปลงเมทริกซ การประมาณคาของฟงกชัน อินเตอรโปเลชัน การคํานวณ FFT และ DFT การประมาณคา FS การคํานวณ LDS-DLS แฟคเตอรของสเปคตรัม การสรางคาท่ีเปนไปตามยถากรรมช่ัวคราว

Fundamental of analysis, simultaneous linear equation, matrix inversion, Gaussian elimination, iterative methods, nonlinear equation, error estimations, eigenvalues and eigenvectors, power series method, matrix transformations, function approximation, interpolation, FFT and DFT calculations, FS estimation, LDS-DLS calculations, spectrum factorization, dummy random generators. 11167202 คณิตศาสตรวิเคราะห 3(3-0-6)

MATHEMATICAL ANALYSIS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ปริภูมิเวคเตอรและการแปลงเชิงเสน หลักพื้นฐานของการโปรแกรมเชิงเสน ปญหาคา คุณลักษณะและพหุนามเอกพันธกําลังสอง ตัวดําเนินการปริภูมิเชิงเสน ตัวแทนเชิงสเปกตรัม เงื่อนไขขอบแบบไมเปนเอกพันธ

Page 90: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

86

Vector spaces and linear transformations, basic principles of linear programming, characteristic valued problems and quadratic forms, linear space operators, spectral representation, nonhomogeneous boundary conditions. 11167203 สถิติวิศวกรรมข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED ENGINEERING STATISTICS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ศึกษาเกี่ยวกับสถิติเชิงวิศวกรรมประยุกตสําหรับการวิเคราะหทางวิศวกรรม โดยมีหัวขอ สําคัญ ไดแก ความนาจะเปน ความนาจะเปนแบบมีเงื่อนไข ทฤษฎีของเบย การแจกแจงความนาจะเปนแบบไมตอเนื่อง การแจกแจงความนาจะเปนแบบตอเนื่อง การประมาณคาแบบจุดและแบบชวง การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธ และการออกแบบการทดลองเบ้ืองตน

A study of applied engineering statistics for engineering analysis with the topics of probability, conditional probability, Bayes’ theorem, discrete probability distributions, continuous probability distributions, point and interval approximations, hypothesis testing, analysis of variances, and regression analysis and correlation, simple design of experiments. 11167204 การวิเคราะหเมทริกซ 3(3-0-6)

MATRIX ANALYSIS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

เวคเตอรและเมทริกซ ความอิสระแบบเชิงเสน พื้นฐานของมิติ การจับคูกันแบบเชิงเสน การทราน ฟอรมพิกัด การดําเนินการและการสรางเมทริกซ คาไอเกนและไอเกนเวคเตอร ซับสเปสท่ีไมเปล่ียนแปลง ดีเทอรมิแนนท การลาดเสนทะแยงมุมและคาโนนิคอลฟอรม ทฤษฎีเคยเลยแฮมมิลตัล การคูณแบบไมคิดทิศทาง ฟงกชันของเมทริกซ สมการเมทริกซและสมการดิฟเฟอรเรนเซียล

Vectors, linear independence, basic dimensions, linear mapping, coordinate transformations, matrix operations and formations, eigenvalues and eigenvectors, invariant subspaces, determinants, diagonalization and canonical forms, Caley-Hamilton theorem, inner products, matrix functions, matrix and differential equations.

Page 91: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

87

ค. หมวดวิชาบังคับ 6 หนวยกิต

11167301 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-6) RESEARCH METHODOLOGY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ความหมายและวัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย การกําหนดปญหา การ ทบทวน วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ ระเบียบวิธีวิจัย วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย การวิเคราะหและการแปลผล การนําเสนอผลงานวิจัย การเขียนโครงการวิจัยและการเขียนรายงานวิจัย จรรยาบรรณในงานวิจัย

Research definitions and objectives, scope of research, defining problems, literature review, research methodology, statistical method for research, analysis and interpretation of data, research presentation, research proposal and report writing, ethics in research.

11167302 การบริหารโครงการทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

INDUSTRIAL PROJECT MANAGEMENT วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ศึกษารูปแบบของโครงการ การกําหนดหนาท่ีและการจัดการองคกรประเภทโครงการ แนวทางการ จัดทําเอกสารและการวิจัยพัฒนา การจัดเตรียมโครงการ การจัดทําสัญญา การประเมินการ ใชจาย การตอรองสัญญา การปฏิบัติงาน การบริหาร การประเมินผลและกรณีศึกษาของงานจริง

The student is expected to acquire knowledge in project formulation, organization, management, types of projects, documentation, research and development, proposal preparation, contract provisions, cost evaluation, contract negotiation, performance, administration, evaluation, and case study.

ง. หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต

กลุมวิชาวิศวกรรมเกษตร (Agricultural Engineering) 11167401 เทคโนโลยีการบรรจุผลิตผลเกษตร 3(3-0-6)

TECHNOLOGY OF AGRICULTURAL PRODUCT PACKAGING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

กระบวนการในเรือนบรรจุ ทฤษฎีการคัดเลือก การคัดขนาด เครื่องจักรกลคัดขนาด เครื่องจักรกล ทําความเย็น แบบจําลองคณิตศาสตรในการบรรจุ การออกแบบบรรจุภัณฑ การบรรจุขายสงและขายปลีก บรรจุภัณฑผักและผลไมสดในประเทศ อิทธิพลของการขนสงตอผลิตผลเกษตรในภาชนะบรรจุ เรือนบรรจุและการออกแบบ

Page 92: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

88

Processes in packing house, sorting theory, sizing, sizing machines, cooling machines, mathematical model in packaging, package design, wholesale and retail packing, domestic fresh vegetable and fruit packaging, influences of transportation on agricultural produces inside packages, packing house and design. 11167402 วิศวกรรมการผลิตนม 3(3-0-6)

DAIRY PRODUCTION ENGINEERING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของนม กระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑนม การควบคุม คุณภาพของผลิตภัณฑนม หองเก็บเย็นและฉนวน กระบวนการถายเทความรอนในการผลิตนม เครื่องมือและอุปกรณในกระบวนการผลิตนมและผลิตภัณฑนม การออกแบบโรงงานผลิตภัณฑนม

Physical and chemical properties of milk, production process and dairy product processing, quality control of dairy product, cold storage room and insulation, heat transfer in dairy production, equipment in milk and dairy products production process, dairy plant design. 11167403 เทคโนโลยีการอบแหงอาหาร 3(3-0-6)

DRYING TECHNOLOGY OF FOODS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

คุณสมบัติของอากาศช้ืน การไหลของอากาศ ความช้ืนสมดุล คุณสมบัติทางฟสิกสของอาหาร ระบบอบแหง การวิเคราะหการอบแหงอยางงายและเเมนยํา ไดแก การอบแหงเมล็ดเด่ียว การอบแหงช้ันบาง

การอบแหงแบบช้ันหนา การวิเคราะหการอบแหงอาหาร การอบแหงแบบช้ันเมล็ดพืชนิ่งและช้ันเมล็ดพืชเคล่ือนท่ี การอบแหงแบบพนฝอย การอบแหงแบบถังหมุน

Moist air properties, air movement, equilibrium moisture contents, thermo physical properties of food, drying systems, rigorous and simplified analysis of grain drying: single-kernel, thin layer, and deep-bed grain drying, analysis of food drying: fixed-bed and moving-bed drying, spray drying, drum drying.

11167404 วิศวกรรมแปรสภาพผลิตผลเกษตรข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED AGRICULTURAL PRODUCT PROCESS ENGINEERING

วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ความสูญเสียของผลผลิตเกษตรกอนเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว การประยุกตหลักวิศวกรรมใน การวิเคราะหการแปรสภาพดวยการถายเทความรอนและมวลสาร การแปรสภาพดวยความรอน การทําแหง

Page 93: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

89

ดวยการพนระเหย การทําแหงดวยการแชแข็ง การทําละลาย การดูดกลืน การแปรสภาพเปนเยื่อ การอัดรีด การทําแหงเปนกอนและการตกผลึก การหาคาเหมาะท่ีสุดในการแปรสภาพอาหาร

Loss of agricultural products before and after harvest, application of engineering principles in the analysis of processes by heat and mass transfer, thermal processing, evaporative spray drying, freeze drying, thawing, absorption, membrane processes, extrusion, agglomeration and crystallization, optimization for food processing. 11167405 เคร่ืองจักรกลเก็บเก่ียว 3(3-0-6)

HARVESTING MACHINERY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

หลักการตัดในการเกษตร การตัดลําตน แรงกระทําในเครื่องตัด การสับพืชเล้ียงสัตว หลักการ นวด ธัญพืช การทําความสะอาดเมล็ด การขนถายเมล็ดดวยลม อุปกรณเก็บเกี่ยวเฉพาะอยาง

Principles of cutting of agricultural materials, plant stem cutting, forces acting in a mower, forage chopping, principles of grain threshing, seed cleaning, pneumatic conveying of grains, special harvesting equipment. 11167406 การออกแบบโรงงานแปรรูปทางเกษตร 3(3-0-6)

AGRICULTURAL PROCESSING PLANT DESIGN วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

สัญลักษณข้ันพื้นฐาน แผนผังการไหลของวัตถุดิบเกษตรในกระบวนการ การเลือก กระบวนการ การประเมินผลและพัฒนาทางวิศวกรรมสําหรับการแปรรูปผลิตผลเกษตรโดยเนนการออกแบบเครื่องมือ กระบวนการการควบคุม การลําเลียงวัสดุ การวางผังโรงงานแปรรูป และการรวมเปนระบบสําหรับแปรรูปผลิตผลเกษตร

Basic symbols, flow diagram of agricultural materials in the process, process selection, evaluation and development of engineering aspects for processing agricultural products with emphasis on equipment design, process control, materials handling, plant layout and their combination into system for processing agricultural products. 11167407 โลจิสติกสและระบบตรวจสอบยอนกลับของผลิตภัณฑเกษตร 3(3-0-6)

LOGISTICS AND TRACEABILITY SYSTEMS OF AGRICULTURAL PRODUCTS

วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

หลักวิศวกรรมโลจิสติกสในระบบเกษตร การจัดการโซอุปทาน การจัดการเสนทางและพาหนะ ขนสง ระบบการผลิตแบบบูรณาการ ข้ันตอนวิธีวิวัฒนาการในการหาคาเหมาะท่ีสุดและการจําลองสถานการณดวยคอมพิวเตอร ความปลอดภัยในอาหารและระบบตรวจสอบยอนกลับ เสถียรภาพในการขนสงและเก็บ

Page 94: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

90

รักษาวัสดุเกษตรและอาหาร การระบุดวยความถ่ีวิทยุ การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศในโลจิสติกสเกษตรและระบบตรวจสอบยอนกลับ

Principles of logistic engineering in agricultural systems, supply chain management,

routing and fleet management, integrated production systems, evolutionary algorithms in optimization and computer simulation, food safety and traceability systems, transportation and storage stability of agricultural and food materials, radio frequency identification, application of information technology in agricultural logistics and traceability systems. 11167408 เนียรอินฟราเรดสเปคโตรสโคปของผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร 3(3-0-6)

NEAR-INFRARED SPECTROSCOPY OF AGRICULTURAL PRODUCT AND FOOD

วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

หลักการพื้นฐานของเนียรอินฟราเรดสเปคโตรสโคป ชนิดของเครื่องวัดแบบเนียรอินฟราเรด เงื่อนไขการเลือกเครื่องมือวัด ระบบการจัดวางตัวอยางในการวัด การวิเคราะหตัวอยางและปจจัยท่ีมีผลตอการอธิบายผล การสรางแบบจําลองเพื่อการทํานาย คาทางสถิติท่ีจําเปนในการวิเคราะหความถูกตองและความแมนยํา การอธิบายผลของแบบจําลอง การประยุกตใชในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

Basic principles of near infrared spectroscopy, types of near infrared instruments, criteria for instrument selection, sample presentation system, analysis and factors affecting its interpretation, calibration model development, statistical terms necessary to the evaluation of accuracy and precision, interpretation of calibration evaluation, application in agricultural and food industries. 11167409 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม 3(3-0-6)

INDUSTRIAL TECHNOLOGY OF PALM OIL วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

องคประกอบน้ํามันปาลม กระบวนการผลิตน้ํามันปาลมดิบและการกล่ันท่ีใชเทคโนโลยีข้ันสูง ของอุตสาหกรรมปาลมน้ํามัน การจัดการและควบคุมมลพิษ การจัดการกากอุตสาหกรรม การลดตนทุนและการเพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑ

Composition of palm oil, processing of crude palm oil and refinement process using advanced technology, pollution control and management, industrial waste management, cost reduction and adding value to products.

Page 95: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

91

กลุมวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)

11167410 การอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม 3(3-0-6) ENERGY CONSERVATION IN INDUSTRY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

การจัดทําโปรแกรมการประหยัดในองคกร วิธีการสํารวจและตรวจวิเคราะหการใชพลังงาน อุตสาหกรรม การประมาณศักยภาพพลังงานท่ีประหยัดได และผลตอบแทนการลงทุน การประหยัดพลังงานในระบบไอน้ํา การเผาไหม ระบบคอนเดนเสท การทําของไหลรอน การอบแหง เตาเผา เตาอบ และอุปกรณท่ีสําคัญอื่นๆ วิธีการนําความรอนท้ิงกลับมาใชใหม การใชเทคโนโลยีผลิตพลังงานรวมในระบบผลิตไฟฟา

The arrangement of energy conservation program in organization; survey and analysis methodology for using energy in industry, potential energy approximation that can economize and the advantage obtain from investment, energy economization in steam system, combustion system, condensation system, heating fluid, drying, furnace, oven and the other instruments, method for recycle waste heat; using cogeneration technology in electrical generation system. 11167411 การวิเคราะหพลังงานความรอน 3(3-0-6)

THERMAL ENERGY ANALYSIS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

กฎขอท่ีสองของเทอรโมไดนามิกสและการวิเคราะหอาเวลลาบิลิต้ี ประสิทธิภาพตามกฎขอท่ีสอง ความสัมพันธทางคุณสมบัติของ อาเวลลาบิลิต้ี อาเวลลาบิลิต้ีของการไหล การประยุกตการวิเคราะหอาเวลลาบิลิต้ีกับกระบวนการทางเทอรโมไดนามิกสและวีฏจักรทางวิศวกรรมและระบบผลิตพลังงานรวม การเก็บขอมูลและการวัดพลังงานสําหรับระบบทางความรอนเชน หมอตมน้ํา เตาเผาอื่นๆ การออกแบบเพื่อสามารถนําพลังงานกลับคืนไดสูงสุด

Second law of thermodynamics and availability analysis, second law efficiencies, availability property relations, flow availability, applications of availability analysis to thermodynamic processes and engineering cycles and co-generation systems, energy audit and management in various thermal energy system with emphasis on boiler, furnaces, steam equipment, simple design for maximum energy recovery. 11167412 การไหลแบบสองสถานะและการถายเทความรอน 3(3-0-6)

TWO-PHASE FLOW AND HEAT TRANSFER วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

Page 96: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

92

บทนํา การไหลสองสถานะของกาซ-ของเหลว และการถายเทความรอน รูปแบบการไหลสอง สถานะแผนท่ีรูปแบบการไหล การไหลแบบเนื้อเดียวกัน การไหลแบบแยกช้ัน การไหลลักษณะเปนฟอง การไหลลักษณะเปนปล๊ัก การไหลลักษณะเปนกอน การลดลงของความดันในการไหลสองสถานะ การไหลสองสถานะวิกฤติ การไหลสองสถานะผานขอตอของอของระบบทอ การเดือดในบอ ฟล๊ักความรอนวิกฤติของการเดือดในบอ การเดือดขณะไหล ความรอนวิกฤติของการเดือดขณะไหล การควบแนน คอนเดนเซอร

Introduction, gas-liquid two-phase flow and heat transfer, two-phase flow patterns, flow regime maps, homogeneous flow, separated flow, bubbly flow, plug flow, slug flow, pressure drop in two-phase flow, critical two-phase flow, two-phase flow in pipe fitting, pool boiling, critical heat flux in pool boiling, flow boiling, critical heat flux in flow boiling, condensation, condensers. 11167413 การออกแบบระบบความรอน 3(3-0-6)

THERMAL SYSTEM DESIGN วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม ขอมูลทางเศรษฐศาสตรท่ีจําเปนในการพิจารณา ออกแบบ ระบบทางวิศวกรรม การใชหลักทฤษฎีการไหลของของไหล การถายเทความรอนและเทอรโมไดนามิกส ในการวิเคราะหและการจําลองแบบระบบทางวิศวกรรม ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอรแกปญหาดวยวิธีเชิงตัวเลข

The engineering design process, essential economic data for designing engineering systems, applications of fluid flow, heat transfer, and thermodynamics in analysis and modeling of engineering systems, introduction to numerical analysis 11167414 ระเบียบวิธีไฟไนทเอลเิมนท 3(3-0-6)

FINITE ELEMENT METHODS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

พื้นฐานทางดานทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับระเบียบวิธีไฟไนตทเอลิเมนต การใชวิธีการ ตางๆ ในการสรางรูปแบบของระเบียบวิธีไฟไนทเอลิเมนต เชน วิธีการโดยตรง วิธีการเหวดเตรด-เรซซิดวล วิธีการแปรผัน การแกปญหาการเปล่ียนรูปเนื่องจากความเคน ปญหาการไหลของความรอนและของเหลว แนะนําโปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีเกี่ยวของ

Theoretical and conceptual basis for the finite element method; finite element formulation using various techniques; direct approach, method of weighted residual and variational approaches, application to stress deformation problems, heat and fluid flow problems; software introduction for programming finite element method.

Page 97: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

93

11167415 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมข้ันสูง 3(3-0-6) ADVANCED INDUSTRIAL TECHNOLOGY วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

พัฒนาการเครื่องจักรกลระบบ NC และระบบ CNC สวนประกอบของระบบ CNC การใช โปรแกรมเครื่องจักรกล CNC และ Machining Center การผลิตตนแบบอยางรวดเร็ว หุนยนตอุตสาหกรรมและการโปรแกรมหุนยนต ระบบ CAD/CAM/CIM/FMS ตัวอยางการออกแบบโรงงานสมัยใหมท่ีใชเทคโนโลยีข้ันสูง แนวโนมของเทคโนโลยีการผลิตในระดับนานาชาติ ตัวอยางปญหาในปจจุบัน

Principles and development of NC and CNC machine, component of CNC machine, programming for CNC turning machine, machining center, rapid prototyping technology, industrial robot, CAD/CAM/CIM/FMS systems, case study of modern plant design, trend of world-class production technology and recent case study. 11167416 การประยุกตใชคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบและการผลิตช้ินสวน

เคร่ืองกล 3(3-0-6)

APPLICATION OF COMPUTER FOR DESIGN AND PRODUCTION OF MECHANICAL ELEMENTS AND SYSTEMS

วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการออกแบบและการจําลองช้ินสวนทางกลโดยการใชคอมพิวเตอร Detailed study of the design and simulation of mechanical elements by using

computer. 11167417 กลศาสตรการแตกหัก 3(3-0-6)

FRACTURE MECHANICS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

กลศาสตรการวิบัติ ทฤษฎีวิบัติตางๆ ใน 3 มิติ ความเคนและความเครียดระนาบ การใชหลัก ของพลังงานในการวิเคราะหการแตกหัก การวิเคราะหโดยใชความเขมความเคน สนามความเคนท่ีปลายรอยแตก โซนพลาสติกท่ีปลายรอยแตก การแตกหักเนื่องจากความลา การออกแบบเพื่อการปองกันการแตกหัก

Mechanics of failure, three-dimension theories of failure, plane stress and Plane strain, energy approach analysis of fracture mechanics, stress intensity approach, stress field in the vicinity of crack tip, crack tip plastic zone, fatigue fracture, design components against fracture

Page 98: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

94

11167418 ทฤษฎีการทดลองทางวิศวกรรมศาสตร 3(3-0-6) THEORY OF ENGINEERING EXPERIMENTATION วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

หลักการเบ้ืองตนของการวางแผนการทดลอง ความคลาดเคล่ือนและความไมแนนอนในการ ทดลอง การวางแผนการทดลองและการวิเคราะหความคลาดเคล่ือน เทคนิคการลดตัวแปรและการวิเคราะหมิติ การวางแผนการทดลองแบบสุมในบลอก แบบจัตุรัสละติน แบบแฟคทอเรียล การวิเคราะหผลทางสถิติ แบบไคสแควรและสติวเดนที การวิเคราะหผลดวยกราฟและคณิตศาสตร การใชวิธีผิวตอบสนอง

Principle of experimental design, error and uncertainty in experimentation, planning experiments from error analysis, reduction of variables and dimensional analysis, test sequence and experimental plans, randomized block, Latin square and factorial plans, statistical data analysis, Chi-square test and Student's-t test, graphical and mathematical data analysis, response surface methodology. 11167419 การทําความเย็นและปรับอากาศข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED REFRIGERATION AND AIR CONDITIONING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

กระบวนการ วัฏจักร และการออกแบบระบบทําความเย็นท่ีใชความเย็นท่ีอุณหภูมิตํ่า การเปล่ียนกาซใหเปนของเหลวและการผลิตกาซเหลวในอุตสาหกรรม ระบบทําความเย็นแบบดูดกลืน การศึกษาการออกแบบและการประเมินทางเศรษฐศาสตรของระบบปรับอากาศของอาคารอยูอาศัย อาคารพาณิชย และโรงงานอุตสาหกรรม ทฤษฎีและวิธีการแชแข็งอาหารและเก็บรักษาโดยใชความเย็น สารทําความเย็นแบบใหม

Processes, cycles and design problems for low temperature systems, Liquefaction and production of industrial gases and absorption systems, advanced studies and design of residential, commercial and industrial air conditioning systems and economic considerations, theories and methods of food freezing and preservation, new refrigerants. กลุมวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Electronics Engineering and Information

Technology)

11167420 การประมวลผลภาพเชิงเลข 3(3-0-6) DIGITAL IMAGE PROCESSING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ระบบการมองเห็น แบบจําลองของภาพ การชักตัวอยางและการแบงนับของการแปลงภาพ การแปลงฟูริเยร แบบ 1 มิติ และ 2 มิติ การปรับแตงภาพดวยการประสานและผลรวมยอดประสาน การปรับแตงฮีสโตแกรม การกรองแบบความถ่ีตํ่าผานของภาพ (การทําภาพใหเรียบ) การกรองแบบ ความถ่ีสูงผาน

Page 99: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

95

ของภาพ (การทําภาพใหคม) การประมวลผลภาพสี การไดคืนมาของภาพ การเขารหัสภาพ การแบงภาพและการอธิบายรายละเอียดของภาพ การบีบอัดขอมูลภาพ การแปลงข้ันสูง

Visual perception systems, image models, sampling and quantization of image transformation, 1-D and 2-D fast Fourier transform, convolution and correlation image enhancement, histogram equalization, lowpass filtering (image smoothing), highpass filtering (image sharpening), pseudo-color image processing, image restoration, image coding, image segmentation and description, image compression, advanced transformation. 11167421 เคร่ืองจักรกลวิทัศนสําหรับอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

INDUSTRIAL MACHINE VISION วิชาบังคับกอน : 11167419 การประมวลผลภาพเชิงเลข PREREQUISITE : 11167419 DIGITAL IMAGE PROCESSING

องคประกอบของระบบเครื่องจักรกลวิทัศน โมเดลภาพ เรขาคณิตของภาพแบบทัศนมิติ บทบาทของภาพ คณิตศาสตรเบ้ืองตน การหาขอบภาพ ลวดลายและการเช่ือมตอ การติดตามรอยแยกและขอบ การสกัดลักษณะ ตัวกระทําทางสัณฐานวิทยา การจดจํา การแปลงฮัฟ การจับคู การจําแนก ขอมูลภูมิศาสตรจากภาพและการปรับแตงกลอง การนําซอฟแวรไปปฏิบัติงานประเภทฐานเวลาจริง

Elements of a machine vision system, image model, perspective geometry, image function, mathematical preliminaries, edge detection, tessellation and connectivity, crack and border following, feature extraction, morphological operators, recognition, Hough transform, matching, classification, photogrammetry and camera calibration, software implementation for real-time applications. 11167422 การสื่อสารขอมูลทางอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

INDUSTRIAL DATA COMMUNICATIONS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

พื้นฐานการส่ือสารขอมูล การสงขอมูลแบบอนุกรม บทนําของโพรโทคอลตางๆ หลักการ พื้นฐานและอุปกรณในโครงขายส่ือสารแบบใชสายและแบบไรสาย การมัลติเพล็กซสัญญาณ การควบคุมการเขาถึงตัวกลาง อีเทอรเน็ตในอุตสาหกรรม โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี โพรโทคอลแวป ระบบฟลดบัสทางอุตสาหกรรม แนวคิดของโอพีซี การเซพอัพเครือขาย การติดตอไคเอนตเซิรฟเวอร การเขารหัสลับและการถอดรหัสลับ ระบบความปลอดภัยของเครือขาย

Data communication basics, serial data transmission, introduction to protocols, principles and components in wire and wireless communication networks, signal multiplexing, medium access controls, Ethernet in industrial, TCP/IP layer protocols, WAP protocol, industrial field bus systems, OPC concepts, network setup, client-server communication, encryption and decryption, network security.

Page 100: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

96

11167423 เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับองคกร 3(3-0-6)

INFORMATION TECHNOLOGY FOR ORGANIZATION วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการปรับปรุงคุณภาพและการผลิต สําหรับการเนน ความสามารถในการแขงขันและการเพิ่มมูลคาในองคกร อุปกรณของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบขอมูลสวนบุคคล ฮารดแวรของคอมพิวเตอร และ เทคโนโลยีทางดานซอฟทแวร อุปกรณชวยเพิ่มผลผลิตสวนบุคคล วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาของการประยุกตระบบสารสนเทศสวนบุคคล ระบบสารสนเทศของกลุมงาน เปาหมาย องคประกอบ และการพัฒนา ระบบอินเตอรเน็ต

Using information technology for improving quality and productivity, and for enhancing competitiveness and value added in organization, components of information systems, Personal information systems: computer hardware and software technology, and personal productivity tools, information systems development life cycles, developing of personal information systems applications, workgroup information system: goals, components, and development, Internet. 11167424 ระบบฐานขอมูลและการติดตอไคเอนตเซิรฟเวอรข้ันสูง 3(3-0-6)

DATABASE SYSTEM AND ADVANCED CLIENT-SERVER COMMUNICATION

วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

ระบบปฏิบัติการ ฮารดแวรและซอฟตแวรของคอมพิวเตอรและเครือขายคอมพิวเตอร การเซตอัพการติดตอไคเอนตเซิรฟเวอรระยะใกลและระยะไกลผานอินเทอรเน็ต การออกแบบและสรางเว็บ การสรางเว็บเซิรฟเวอร การออกแบบและสรางระบบฐานขอมูล การจัดการระบบสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใหแกระบบสารสนเทศ การใชงานและการอัพเดตขอมูลตางๆ บนอุปกรณพกพาท่ีทันสมัย การประยุกตใชอุปกรณพกพาท่ีทันสมัยกับงานวิศวกรรม

Operating systems, hardware and software of computer and computer networks, client-server communication setup for short and remote ranges through Internet, web design and creation, web server formulation, database design and creation, management information system, security system for information system, implementation and content update on any modern portable devices and their applications for engineering.

11167425 การตรวจจับและระบบการรับสงขอมูลข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED SENSING AND DATA TRANSMISSION SYSTEM วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

Page 101: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

97

สัญลักษณและคุณลักษณะเฉพาะของเซนเซอรชนิดตางๆ โครงสรางและการทํางานของ เซนเซอรประเภทตางๆ ท่ีใชในภาคอุตสาหกรรมและใชงานท่ัวไป การติดต้ังและการเลือกใชงานเซนเซอร คิวอารโคดและอารเอฟไอดีกับการใชงาน ระบบสกาดาและการประยุกตใชงานระบบสกาดาในอุตสาหกรรม อุปกรณรับสงขอมูลและวิธีการทวนสัญญาณแบบไรสาย จีพีอารเอส เอดจ บลูทูธ ซิกบี ระบบจีพีเอส การเขาถึงระยะไกล การตรวจจับสัญญาณระยะไกล

Symbols and specifications of sensors, structures and operations of industrial an d general sensors, sensor installations and selections, QR Code and RFID including their implementations, scada systems and applications for industry, wireless data transceivers and signal repeating methods, GPRS, Edge, bluetooth, zigbee, GPS system, remote access, remote sensing. 11167426 นวัตกรรมกับการโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร 3(3-0-6)

INNOVATION AND MICROCONTROLLER PROGRAMMING วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

การเช่ือมตออุปกรณตางๆ กับไมโครคอนโทรลเลอร การโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร แนวความคิดในการสรางนวัตกรรมท่ีเกี่ยวของกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เกษตร เครื่องกล อาหาร พลังงานทดแทน อิเล็กทรอนิกส โทรคมนาคม ระบบไฟฟา คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ การสํารวจวรรณกรรมปริทัศนและการวิเคราะห SWOT สําหรับนวัตกรรม บล็อกไดอะแกรมและโฟลวชารตการทํางาน ข้ันตอนการดําเนินงาน การประกอบและทดสอบช้ินงาน การตรวจสอบและการปรับปรุงช้ินงาน การทดสอบและการวิเคราะหความลมเหลวในการทํางาน

Interfacing any equipments with microcontroller, microcontroller programming, paradigms for innovative creation related to agricultural, mechanical, food, renewable energy, electronics, telecommunication, electrical system, computer, and information technology etc., literature reviews and SWOT analysis for innovation, block diagram and work flowchart, Gantt chart, part assembly and testing, part check and improvement, failure testing and analysis in operation. 11167427 การออกแบบวงจรแอนาลอกข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED ANALOG CIRCUIT DESIGN วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสกําลัง การออกแบบซีมอสในทุกยานการทํางาน คาผกผันระดับออน ปานกลางและเขมแข็ง การออกแบบทรานซิสเตอรโดยใชไฟเล้ียงตํ่า การวิเคราะหและการออกแบบดิฟเฟอเรนเชียลออปแอมปท่ีมีอินพุตเด่ียวแบบสมบูรณ การปอนกลับโหมดรวม การวิเคราะหและออกแบบวงจรสวิตชคาปา ซิเตอร (กรณีไมเปนอุดมคติ เสถียรภาพ การชดเชยความถ่ีในแบบโหมดรวมและโหมดแตกตาง) การออกแบบเพื่อใหสัญญาณรบกวนตํ่า การวิเคราะหกรณีอุปกรณไมสมพงศกันและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ออกแบบ

Page 102: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

98

เพื่อลดผลกระทบของอุณหภูมิและไฟเล้ียง รวมท้ังการไบอัส การสรางจริงและ/หรือการจําลองการทํางานของวงจรแอนาลอกข้ันสูงเพื่องานวิจัยท่ีทันสมัย

Power electronic devices, CMOS design in all MOS operations, weak, moderate, strong inversion, basic transistor stages with low voltage supplies, single ended and fully differential operational amplifier analysis and design, common-mode feedback, switch capacitor design and analysis: non-idealities, stability and frequency compensation techniques, differential mode, common mode, low-noise design, device mismatch and its impact on circuit performance, temperature and supply independent biasing, real experiments and/or simulations demonstrating the operations of advanced analog circuit design for modern researches. 11167428 การออกแบบวงจรดิจิทัลข้ันสูง 3(3-0-6)

ADVANCED DIGITAL CIRCUIT DESIGN วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

การโปรแกรมภาษาเอชดีแอลข้ันสูง เชน เวอรรีล็อกและวีเอชดีแอล สําหรับการออกแบบวงจร บนเอฟพีจีเอและเอเอสไอซี วิธีการออกแบบโดยอาศัยคอมพิวเตอรท่ีชวยใหเปนจริงตามการออกแบบ ตนแบบระบบความเร็วสูงมาก การรื้อรางตนแบบ การทดสอบ การแกจุดบกพรอง การออกแบบท่ีสามารถทดสอบได ระเบียบวิธีการออกแบบวงจรดิจิทัลท่ีมีกําลังงานตํ่า ความเร็วสูง เนื้อท่ีนอย และราคาถูก การกําหนดและการเลือกผูขายเทคโนโลยี การออกแบบวงจรดิจิทัลข้ันสูงเพื่อใชงานทางดานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

Programming the advanced HDL e.g. verilog and VHDL for designing circuits o n FPGA and ASIC. CAD methodologies for design verification, prototyping very high speed systems, reconfigurable prototype, testing, debugging, testable design, Design methodologies for low power, high speed, small area, and low cost, assessment and selection of vendor technologies, advanced digital circuit design for industrial technology implementation. 11167429 การจําลองระบบสําหรับการสื่อสาร 3(3-0-6)

SYSTEM SIMULATION FOR WIRELESS COMMUNICATIONS วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

โครงสราง อุปกรณและหลักการทํางานของโครงขายการส่ือสารไรสาย สัญญาณรบกวนเชิง ความรอน เอดับบลิวจีเอ็น การจางหายของชองสัญญาณแบบมัลติพาธ ไรเชียน เรยลี นาคากามิ สายอากาศ การออกแบบและพัฒนาสายอากาศแบบตางๆ การใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการจําลองโครงขาย การใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อสรางสายอากาศ การวิเคราะหและการประเมินสมรรถนะของโครงขายและสายอากาศ การประยุกตใชสายอากาศในทางปฏิบัติ

Structure, equipments, and operations of wireless communication networks, thermal noise, AWGN, channel fading: multipath, Racian, Rayleigh, Nakagami, antenna, designs and developments of any antennas, ready-made program implementation for

Page 103: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

99

network simulation, ready-made program implementation for antenna construction, analysis and performance evaluation of networks as well as antennas, antenna applications in practical.

จ. หมวดวิชาสัมมนา* (ไมนับหนวยกิต) 11167501 สัมมนา 1* 0(0-3-2)

SEMINAR 1 วิชาบังคับกอน : ไมมี PREREQUISITE : NONE

วัตถุประสงคของวิชาสัมมนา เพื่อใหนักศึกษาสรางเสริมประสบการณในการเรียบเรียงและ นําเสนอผลงานวิจัยและคุนเคยกับบรรยากาศการประชุมทางวิชาการ ในหลักสูตรนี้นักศึกษาตองเขารวมการสัมมนา 2 ภาคการศึกษา โดยเริ่มจากวิชาสัมมนา 1 และวิชาสัมมนา 2 ตามลําดับ

The development of students’ experience in composing and presenting academic research, and students’ familiarity with an academic conference environment in industrial technology engineering, requirements of students’ two-semester participation in seminar 1 and seminar 2, respectively.

11167502 สัมมนา 2* 0(0-3-2)

SEMINAR 2 วิชาบังคับกอน : สัมมนา 1* PREREQUISITE : SEMINAR 1

วิชานี้ตอเนื่องจาก SEMINAR 1 จําเปนตองผาน SEMINAR 1 กอน Completion of SEMINAR 1 prior to the registration of SEMINAR 2

Page 104: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

100

ภาคผนวก ง รายการทรพัยากรสนับสนุนการเรียนการสอน

Page 105: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

101

Page 106: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

102

Page 107: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

103

Page 108: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

104

Page 109: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

105

Page 110: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

106

Page 111: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

107

Page 112: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

108

ภาคผนวก จ รายนามคณะกรรมการพฒันาหลักสูตร

Page 113: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

109

Page 114: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

110

ภาคผนวก ฉ บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยประจาํหลักสูตร

Page 115: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

111

อาจารย ดร.ศิระ สายศร [1] Saisorn S, Wongwises S. A review of two-phase gas-liquid adiabatic flow characteristics

in micro-channels. Renewable & Sustainable Energy Reviews 2008; 12: 824-838. [2] Saisorn S, Wongwises S. Flow pattern, void fraction and pressure drop of two-phase air-

water flow in a horizontal circular micro-channel. Experimental Thermal and Fluid Science 2008; 32: 748-760.

[3] Saisorn S, Wongwises S. An inspection of viscosity model for homogeneous two-phase flow pressure drop prediction in a horizontal circular micro-channel. International Communications in Heat and Mass Transfer 2008; 35: 833-838.

[4] Saisorn S, Wongwises S. An experimental investigation of two-phase air-water flow through a horizontal circular micro-channel. Experimental Thermal and Fluid Science 2009; 33: 306-315.

[5] Saisorn S, Wongwises S. The effects of channel diameter on flow pattern, void fraction and pressure drop of two-phase air-water flow in circular micro-channels. Experimental Thermal and Fluid Science 2010; 34: 454-462.

[6] Saisorn S, Kaew-On J, Wongwises S. Flow pattern and heat transfer characteristics of R-134a refrigerant during flow boiling in a horizontal circular mini-channel. International Journal of Heat and Mass Transfer 2010; 53: 4023-4038.

[7] Saisorn S, Wongwises S. Two-phase air-water flow in micro-channels: An investigation of the viscosity models for pressure drop prediction. International Communications in Heat and Mass Transfer 2011; 38: 212-217.

[8] Saisorn S, Kaew-On J. Two-phase flow of R-134a refrigerant during flow boiling through a horizontal circular mini-channel. Experimental Thermal and Fluid Science 2011; 35: 887-895.

[9] Saisorn S, Wongwises S. Two-phase flow in circular micro-channels. ECI International Conference on Heat Transfer and Fluid Flow in Microscale; Whistler Canada, September 21-26, 2008.

[10] Saisorn S, Kaew-On J, Wongwises S. Flow boiling heat transfer characteristics of R-134a in horizontal and vertical mini-channels. 8th International Conference on Nanochannels, Microchannels, and Minichannels; Montreal Canada, August 1-5, 2010.

[11] Saisorn S, Wongwises S. Two-phase flow in vertical circular micro-channel. The Second TSME International Conference on Mechanical Engineering, 19-21 October, 2011, Krabi, Thailand. [12] Saisorn S, Wongwises S. A critical review of recent investigations on flow pattern and

heat transfer during flow boiling in micro-channels. Frontiers in Heat and Mass Transfer 2012; 3, 013006. DOI: 10.5098/hmt.v3.1.3006.

Page 116: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

112

[13] Saisorn S, Wongwises S. A critical review of recent investigations on two-phase pressure drop in flow boiling micro-channels. Frontiers in Heat and Mass Transfer 2012; 3, 013007. DOI: 10.5098/hmt.v3.1.3007.

[14] Saisorn S, Wongwises S. Flow pattern, void fraction and pressure drop during adiabatic two-phase gas-liquid flow in vertical micro-channel. Proceeings of the ASME 2012 10th International Conference on Nanochannels, Microchannels, and Minichannels ICNMM2012, July 8-12, 2012, Rio Grande, Puerto Rico.

[15] ศิระ สายศร, วสันต ดวงคําจันทร, ปญญา แดงวิไลลักษณ, “การศึกษากลไกการอบแหงเมล็ดขาวโพดโดยใชเทคนิคไมโครเวฟรวมกับฟลูอิดไดซเบด”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหงประเทศไทยครั้งท่ี ๑๘, ๑๘-๒o ตุลาคม ๒๕๔๗ จังหวัดขอนแกน

[16] ศิระ สายศร, ปญญา แดงวิไลลักษณ, “การเปรียบเทียบการอบแหงขาวโพดโดยใชเครื่องอบแหงแบบฟลูอิดไดซเบดรวมกับไมโครเวฟและเครื่องอบแหงแบบหมุนวนรวมกับไมโครเวฟ”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหงประเทศไทยครั้งท่ี ๑๙, ๑๙-๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๘ จังหวัดสงขลา

อาจารย ดร.จักรี ทีฆภาคยวิศิษฎ [1] Keovkolyan, T., Teekapakvisit, C., and Janchitrapongvej, K., “Adaptive Iterative Receiver

for Layered Space-Time Coding CDMA Sstems ”, 6th International Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology, 2009. ECTI-CON 2009. Thailand, Volume: 02, Page(s): 852 – 855, 6-9 May 2009.

[2] Keovkolyan, T.; Teekapakvisit, C. ,” Adaptive Iterative Receiver for CDMA Systems in Rayleigh Fading Channels”, Computing and Communication Technologies, 2009. RIVF '09., Da Nang, Vietnam, Page(s): 1 – 4, 13-17 July 2009.

[3] Keovkolyan, T.; Nugrahani, D.; Thumwarin, P.; Teekapakvisit, C.; Matsuura, T. ,” An adaptive generalized RAKE CDMA receiver for Layered Space Time Coded systems in multipath fading channels”, Electrical Engineering/Electronics Computer Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON), 2010, Chiang Mai, Thailand, Page(s): 56 – 60 , 19-21 May 2010.

อาจารย ดร.ณัฐพงศ รัตนเดช [1] Bundit Jarimopas and Nuttapong Ruttanadat.2007. Development of a young coconut

fruit trimming machine. Journal of Food Engineering. 79 (2007) 752-757. [2] Bundit Jarimopas, Nuttapong Ruttanadat and Anupun Terdwongworakul. An automatic

trimming machine for young coconut fruit. Biosystems Engineering Journal.103 (2009) 167–175.

[3] บัณฑิต จริโมภาส, จีรวรรณ มณีโรจน และณัฐพงศ รัตนเดช.2546.การใช NIR คัดแยกสีของผลมะเขือเทศ. วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย ปท่ี10 ฉบับที 1 หนา 44-49.

Page 117: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

113

[4] ณัฐพงศ รัตนเดช และ บัณฑิต จริโมภาส. 2549. อิทธิพลของความถ่ีส่ันพองและวิธีการบรรจุหีบหอตอความชํ้าของผลแอ็บเปลในบรรจุภัณฑขนสง.วารสารวิทยาศาสตรเกษตร ปท่ี 37 ฉบับท่ี 5 (พิเศษ). หนา 292-295. (โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม (ADB) มหาวิทยาลัยเชียงใหม)

[5] ณัฐพงศ รัตนเดช และบัณฑิต จริโมภาส. 2551. ลักษณะทางกายภาพของผลมะพราวออนและผลมะพราวออนปอกเปลือกท่ีสัมพันธตอการออกแบบเครื่องปอกเปลือกผลมะพราวออนแบบอัตโนมัติ. การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย ครั้งท่ี 9. โรงแรมอิมพีเรียลแมปง, เชียงใหม. (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ)

[6] ณัฐพงศ รัตนเดช, จริงแท ศิริพานิช, บัณฑิต จริโมภาส และ ศักดา จันทรทอง. 2551. สมบัติความตานทานแรงดึงของเชือกกลวยนวลกับกลวยน้ําวา. วารสารวิทยาศาสตรเกษตร ปท่ี 39 ฉบับท่ี 3 (พิเศษ). หนา 547-549. (โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม (ADB) มหาวิทยาลัยเชียงใหม)

[7] ณัฐพงศ รัตนเดช และ บัณฑิต จริโมภาส. 2553. เครื่องปอกเปลือกผลมะพราวออน. วารสารวิทยาศาสตรเกษตร ปท่ี 41 ฉบับท่ี 1 (พิเศษ). มกราคม-เมษายน หนา 405-408.

[8] ณัฐพงศ รัตนเดช ทรงธรรมไชยพงษ พีรยุทธ นึกอนันต และทะนงศักด์ิ มะลิพรม. 2553. การพัฒนาเครื่องทอดสุญญากาศสําหรับกลวยเล็บมือนางท่ีมีประสิทธิภาพสูงราคาถูก. การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือขายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาท่ัวประเทศ ประจําป 2553. หนา 397-401.

[9] ณัฐพงศ รัตนเดช ธีรโชติ ชินวงศ และยุรนันท ดอนสิทธิ์. 2554.เครื่องบีบน้ํามันมะพราวบริสุทธิ์ (แบบบีบเย็น) และกรรมวิธีการเตรียมเนื้อมะพราวเพื่อการผลิต. วารสารวิทยาศาสตรเกษตร ปท่ี 42 ฉบับท่ี 1 (พิเศษ). หนา 545-547.

[10] ณัฐพงศ รัตนเดช กองเกียรติ เติมสุข วิทยา บรรพชาติ และ ปยะดา ทวิชศรี. 2554. ผลิตภัณฑเนื้อหมูรมควันจากตูอบรมควันชนิดดูดกลับอากาศรอน. การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งท่ี 9 จัดข้ึนระหวางวันท่ี 23-24 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมพัทยาพารค บีช รีสอรท จังหวัดชลบุรี

อาจารย ดร.สมพงศ บางยี่ขัน [1] S. Bangyeekhan, P. Tekasakul and V. Leelamanit “Influence of food viscosity on velocity of bolus transport in the pharyngeal phase” 1st TSME International Conference on Mechanical Engineering, 20-22 October, 2010, Ubon Ratchathani. [2] S. Bangyeekhan, V. Leelamanit and P. Tekasakul “ Effects of Food Viscosity on Swallowing Velocity in Pharynx for Different Groups of Age and Gender” Journal of Medical and Biological Engineering, 33(3) : 343-348 [3] สมพงค บางยี่ขัน, ปราชญา ปยจันทร, ภานุวัฒน สุธรรมชาตาและ ประเสริฐ บุญโย “การอบยางพารา รีดแผนดวยลมรอนจากเช้ือเพลิงกาซปโตเลียมเหลว” การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตร แหงชาติ ครั้งท่ี 20 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี , 31 มกราคม -2 กุมภาพันธ, 2557

Page 118: หลักสูตร ...7. ความพร อมในการเผยแพร หล กส ตรท ม ค ณภาพและมาตรฐาน 2 8. อาช

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

114

รองศาสตราจารย ปุณยวีร จามจรีกุลกาญจน (ช่ือ-นามสกุลเดิม คือ ปุณยวีร จามจรีกุล) [1] Punyawi Jamjareekul,“Compact Microstrip Bandstop Resonator for Dual-Band Wireless

Communication”, 2011 Eighth International Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (IEEE JCSSC 2011), 11 - 13 May 2011.

[2] ปุณยวีร จามจรีกุล,“วงจรเปด/ปดพัลสแบบใหมและการโปรแกรม AVR ATmega168 สําหรับการตรวจจับโลหะท่ีอาศัยหลักการเหนี่ยวนําดวยพัลส”, ECTI-Conference on Application Research and Development 2011, 5 - 6 พ.ค. 2554.

[3] Punyawi Jamjareekul,“Multiband C-Shaped Printed Antenna for Wireless Communication Systems”, ECTI-Conference on Application Research and Development 2011, 5 - 6 พ.ค. 2554.

[4] สมคิด ฤทธิ์เนติกุล และปุณยวีร จามจรีกุล,“การปรับปรุงระบบขายสินคาและระบบกลองวงจรปดระหวางสาขายอยกับสํานักงานใหญโดยอาศัยเว็บออนไลน", Proceeding of 7th Naresuan Research Conference, 29-30 July 2011, Thailand, P 128-139.