ส่วนที่ 4...

16
158 ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผล **************************************** การบริหารงานที่ประสบความสาเร็จนั้น ส่วนหนึ่งมาจากการนานวัตกรรม ( Innovation) และ กระบวนการบริหารใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์กร ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่กาหนดไว้ การติดตาม และประเมินผลก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารงาน ซึ่งมีหลักการสาคัญ คือ การติดตามความก้าวหน้า ในการปฏิบัติงานและประเมินผลความสาเร็จของงาน อันจะนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไขปัญหาร่วมกันให้บรรลุ เปูาหมาย จึงต้องมีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงานของ องค์กรว่าอยู่ในระดับใด เหมาะสมหรือสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันหรือไม่ 4.1 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ กระบวนการของแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ การ วางแผน ( Planning) การนาแผนไปปฏิบัติ ( Implementation) และการติดตามประเมินผล ( Monitor and Evaluation) ฉะนั้นการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ สามารถดาเนินการได้ดังนี1) ติดตามและประเมินผลกระบวนการ ( Process) จัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยตรวจสอบ กระบวนการดาเนินการว่าเป็นไปตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ จัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ.2561 และ หนังสือ กระทรวงมหาดไทยด่วนที่สุด ที่ มท 0808.3/ว 2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม เป็นกรอบ ในการ ปฏิบัติงานติดตามและประเมินผล 2) ติดตามประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ต่อการดาเนินงานตามนโยบายของ องค์การบริหารส่วนตาบลสบเมย เป็นการประเมินผลการดาเนินงานในแต่ละยุทธศาสตร์การพัฒนา โดย ออกแบบสารวจความพึงพอใจ ของประชาชน 4.2 การติดตามและประเมินผลโครงการ เป็นการประเมินผลที่ช่วยให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการดาเนินงานว่าแผนงานหรือโครงการ ที่ได้ดาเนินการไปแล้วนั้นให้ผลเป็นอย่างไร นาไปสู่ความสาเร็จตามแผนงานที่กาหนดไว้หรือไม่ มีผลสาเร็จมาก น้อย เพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับเปูาหมาย หากมีความล่าช้ามีสาเหตุมาจากอะไร สมควรที่จะได้รับการแก้ไข ด้วยวิธีการใด เพื่อให้โครงการดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่กาหนดไว้ และยังเป็นเครื่องมือชีวัด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินโครงการ โดยมีประเด็นในการติดตามประเมินผล คือ 1) การติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน โดยมีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คุณภาพ ความพึง พอใจ และขั้นตอนการดาเนินงานซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้กากับตัวชี้วัด 2) การเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการดาเนินงานประจาปีและเพิ่มเติม ทั้งนี้องค์การบริหารส่วนตาบลสบเมย จะนาข้อมูลที่ได้จากการติดตามและประเมินผล โครงการ มาใช้ในการ ปรับปรุงกระบวนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และเปูาหมายที่ได้กาหนด ไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ให้สามารถตอบสนองและแก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนเป็นสิ่งสาคัญ

Transcript of ส่วนที่ 4...

Page 1: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

158

ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมนิผล

**************************************** การบริหารงานที่ประสบความส าเร็จนั้น ส่วนหนึ่งมาจากการน านวัตกรรม (Innovation) และ กระบวนการบริหารใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์กร ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่ก าหนดไว้ การติดตาม และประเมินผลก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารงาน ซึ่งมีหลักการส าคัญ คือ การติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและประเมินผลความส าเร็จของงาน อันจะน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขปัญหาร่วมกันให้บรรลุ เปูาหมาย จึงต้องมีการติดตามและประเมินผล เพ่ือให้ทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผลการด าเนินงานของ องค์กรว่าอยู่ในระดับใด เหมาะสมหรือสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันหรือไม่

4.1 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ กระบวนการของแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ การวางแผน (Planning) การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementation) และการติดตามประเมินผล (Monitor and Evaluation) ฉะนั้นการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ สามารถด าเนินการได้ดังนี้

1) ติดตามและประเมินผลกระบวนการ (Process) จัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยตรวจสอบกระบวนการด าเนินการว่าเป็นไปตามวิธีการและขั้นตอนที่ก าหนดไว้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และเพ่ิมเติมถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ.2561 และ หนังสือ กระทรวงมหาดไทยด่วนที่สุด ที่ มท 0808.3/ว 2931 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม เป็นกรอบ ในการปฏิบัติงานติดตามและประเมินผล 2) ติดตามประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ต่อการด าเนินงานตามนโยบายขององค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย เป็นการประเมินผลการด าเนินงานในแต่ละยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยออกแบบส ารวจความพึงพอใจ ของประชาชน

4.2 การติดตามและประเมินผลโครงการ เป็นการประเมินผลที่ช่วยให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการด าเนินงานว่าแผนงานหรือโครงการ

ที่ได้ด าเนินการไปแล้วนั้นให้ผลเป็นอย่างไร น าไปสู่ความส าเร็จตามแผนงานที่ก าหนดไว้หรือไม่ มีผลส าเร็จมากน้อย เพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับเปูาหมาย หากมีความล่าช้ามีสาเหตุมาจากอะไร สมควรที่จะได้รับการแก้ไขด้วยวิธีการใด เพ่ือให้โครงการดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่ก าหนดไว้ และยังเป็นเครื่องมือชี้วัด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการด าเนินโครงการ โดยมีประเด็นในการติดตามประเมินผล คือ 1) การติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน โดยมีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คุณภาพ ความพึงพอใจ และข้ันตอนการด าเนินงานซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้ก ากับตัวชี้วัด 2) การเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนการด าเนินงานประจ าปีและเพ่ิมเติม ทั้งนี้องค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย จะน าข้อมูลที่ได้จากการติดตามและประเมินผลโครงการ มาใช้ในการ ปรับปรุงกระบวนการด าเนินงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และเปูาหมายที่ได้ก าหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ให้สามารถตอบสนองและแก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนเป็นสิ่งส าคัญ

Page 2: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

159

ระเบียบ วิธีในการติดตามและประเมินผล 1. ด าเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น 2 ประเภท คือ 1.1 แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565) 1.2 แผนการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ 2. ประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา 3. ศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม

เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัด การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ได้มีเกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria) และ ตัวชี้วัด (Indicators) เพ่ือใช้เป็นกรอบในการประเมินให้เกิดความชัดเจน เป็นระบบมีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัด ดังนี้

เกณฑ์มาตรฐาน (Standard Criteria)

ตัวชี้วัด (Indicators) กรอบตัวแปร (Attributes)

สั ม ฤ ท ธิ ผ ล แ ล ะ ก า ร บ ร ร ลุ วัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลติ ผลลัพธ ์ ผลต่างระหว่างจ านวนโครงการที่แล้วเสร็จกับจ านวนโครงการทั้งหมด

การสนองตอบความต้องการของ ประชาชน

ระดับความพงึพอใจ สัดส่วนของประชาชน กลุ่มเปูา หมายที่พึงพอใจและไม่พอใจผลสะท้อนกลับ

ระบบติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น การวางระบบติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสมมุติฐานว่าระบบติดตามและประเมินผลไม่อาจแยกตัวเองออกจากระบบการบริหารแผนทั้งหมด ดังนั้นระบบอ่ืน ๆ ที่เกิดขึ้นก่อน หน้าที่แผนพัฒนาจะด า เนินการจึงเป็นเหมือนบริบทที่ย่อมจะส่งผลต่อการบริหารแผน และจะส่งผลต่อการติดตาม และประเมินผลด้วยเช่นกัน ดังนั้น ระบบติดตามและประเมินผลครั้งนี้สรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้

ระบบการจัดท าแผน ระบบงบประมาณ ระบบสังคม/ท้องถิ่น ระบบการเมือง ระบบวฒันธรรม

ปัจจัยน าเข้า

กระบวนการ

ผลผลิต

ผลลัพธ์

ระบบติดตามและ ประเมินผลแผน

Page 3: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

160

4.3 แบบสรุปผลการพัฒนาท้องถ่ินในภาพรวม

4.4 ข้อเสนอแนะในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นในอนาคต 4.4.1 ผลกระทบน าไปสู่อนาคต องค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย ได้จัดบริการสาธารณะเพ่ืออ านวยความสะดวกและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน การศึกษา เศรษฐกิจและสังคมท้องถิ่น ทั้งนี้มุ่งหวังให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ในส่วนของการด าเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนา ท้องถิ่น ซึ่งเป็นการแปลง แผนไปสู่การปฏิบัติ ผลผลิตของโครงการ/กิจกรรม (Output) ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ (Impact) ทั้ง 3 ระดับ คือ ระยะสั้น สามารถเห็นผลส าเร็จได้ทันทีเมื่อด าเนินโครงการ/กิจกรรม แล้วเสร็จ ระยะกลางและยาว ต้องใช้เวลาใน การพัฒนาและด าเนินการ โดยในอนาคตองค์การบริหารส่วนต าบลตาแกะ ได้วางแผนด าเนินการพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ ดังนี้

ด้าน แนวทางการพัฒนาในอนาคต

1. โครงสร้างพื้นฐาน (1) ก่อสร้างถนนคสล.ทุกหมู่บ้าน ปรับปรุงซ่อมแซมถนนดิน ถนนลูกรัง ที่ช ารุดให้อยู่ในสภาพที่ดีได้มาตรฐานและปลอดภัย (2) ปรับปรุงแก้ไขระบบระบายน้ า ตลอดจนก่อสร้างรางระบายน้ าให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (3) ขยายเขตไฟฟูาสาธารณะ ด าเนินการติดตั้งไฟฟูาสาธารณะในชุมชนทุกหมู่บ้านที่เป็นจุดล่อแหลม จุดเสี่ยง (4) ก่อสร้าง/ปรับปรุงะบบประปาให้มีประสิทธิภาพ (5 ก่อสร้าง/ปรับปรุงศาลาอเนกประสงค์ภายในหมู่บ้าน เพ่ือใช้จัดกิจกรรม การรวมกลุ่ม และเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหมู่บ้าน (6) ขุดลอกแหล่งน้ าที่ตื้นเขินให้รองรับน้ าได้เพียงพอ (7) ก่อสร้าง/ปรับปรุง สะพาน ให้มีประสิทธิภาพปลอดภัย (8) ก่อสร้าง/ปรับปรุง สนามกีฬาให้มีสภาพดี ให้เยาวชนใช้เล่นกีฬาและออกก าลังกาย (9) ก่อสร้างกล่องเกเบี้ยนริมตลิ่ง และพ้ืนที่เสี่ยง

แบบรายงาน

แบบประเมินผลแผนฯ

(Input)

แบบที่ 1

การประเมินการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่น

แบบติดตามแผนฯ

(Process)

แบบที่ 2

แบบติดตามและประเมินผลการด าเนินงานขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

แบบประเมินผลแผนฯ

(Output)

แบบที่ 3/1

แบบประเมินการด าเนินงานตามแผนพัฒนา

ท้องถิ่น

แบบที่ 3/2

แบบประเมินความพอใจต่อผลการด าเนินงานขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่นในภาพรวม

Page 4: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

161

ด้าน แนวทางการพัฒนาในอนาคต

2. ด้านเศรษฐกิจพอเพียง (1) ส่งเสริมให้ความรู้แก่ประชาชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (2) ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน โดยชุมชนเป็นแกนแหล่งอาชีพเพ่ือประชาชนจะได้เข้ามาฝึกฝนอาชีพเพ่ิมรายได้ในครัวเรือน (3) สนับสนุนกลุ่มเกษตรกรผลิตปุ๋ยอินทรีย์ – ชีวภาพ (4) สนับสนุนโครงการหลวง (5) จัดอบรมให้ความรู้ด้านการเกษตรแก่เกษตรกร สนับสนุนพันธ์พืช พันธ์สัตว์ (6) ส่งเสริมกลุ่มอาชีพภายในต าบล ฝึกอบรมให้ความรู้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ (7) สนับสนุนสินค้าโอท็อปบ้านเลโคะ

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและสาธารณสุข

(1) จัดการแข่งขันกีฬาเพ่ือให้เด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชนทั่วไปหันมาสนใจการเล่นกีฬาเพ่ือปูองกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด (2) ปรับปรุงซ่อมแซมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ได้มาตรฐานและปลอดภัย (3) สนับสนุนอาหารเสริมนม อาหารกลางวัน ส าหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดและโรงเรียนในพ้ืนที่ต าบลสบเมย (4) อบรมให้ความรู้ในการปูองกันและแก้ไขยาเสพติดให้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นท่ีต าบลสบเมย (5) จัดกิจกรรมวันสงกรานต์ เพ่ือให้เยาวชน/ลูกหลานได้ร าลึกถึงพระคุณของผู้สูงอายุ ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว สืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น (7) จัดกิจกรรมวันส าคัญทางศาสนา เ พ่ือแสดงความร าลึกถึ งประวัติศาสตร์ทางศาสนาประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมและร าลึกถึงความส าคัญของวัฒนธรรมไทย (8) ปูองกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อภายในต าบลสบเมย (9) สนับสนุนงบประมาณด้านสาธารณสุขมูลฐาน (10) สนับสนุนอุปกรณ์กีฬาประจ าหมู่บ้าน (11) สนับสนุนเบี้ยยังชีพคนชรา ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อ (12) สนับสนุนศูนย์อปพร.ต าบลสบเมย

4. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

(1) ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2)ปรับปรุ งภูมิทัศน์ภายในต าบลโดยการปลูกต้นไม้ จั ดท าสวนสาธารณะเพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความสวยงามของต าบล (3) ก่อสร้างเตาเผาขยะเพ่ือก าจัดขยะมูลฝอยประจ าหมู่บ้านเสริมสร้างการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของต าบล โดยจัดหาที่รองรับขยะมูลฝอยประจ าครัวเรือน ประจ าถนนและที่สาธารณะ (4) ด าเนินการจัดซื้อรถเก็บขยะเพ่ือเก็บขยะในต าบลสบเมย

Page 5: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

162

ด้าน แนวทางการพัฒนาในอนาคต

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว

(1) ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวเดิมให้มีความสวยงามยิ่งข้ึน (2) สนับสนุนให้ชุมชนอนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนรมเพ่ือน าไปสู่แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (3) จัดท าสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยว (4) ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมเพ่ือเชื่อมต่อการท่องเที่ยว

6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริ หา รและการมี ส่ ว นร่ วมของประชาชน

(1) จัดท าเว็ปไซด์ พร้อมพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เพ่ือให้ประชาชนสามารถทราบข้อมูลข่าวสารจากทางราชการได้ทันท่วงที (2) จัดตั้งระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือให้เยาวชนและประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆของ องค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย (3) จัดโครงการศึกษาดูงานเพ่ือให้สมาชิกสภาตลอดจนพนักงาน และลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนต าบล ไปดูงานนอกสถานที เพ่ือน ามาพัฒนาปรับปรุงท้องถิ่นต่อไป (4) จัดฝึกอบรมให้ความรู้บุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ เพ่ือให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนต าบลได้รับรู้ รับทราบกฎระเบียบใหม่ของทางราชการ และปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน (5) ปรับลดขั้นตอนในการให้บริการ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน รวดเร็วทั่วถึงและเป็นธรรม (6) จัดท าแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ เพ่ือภาคประชาชนได้ตรวจสอบการท างานขององค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย (7) มีเครื่องมือ เครื่องใช้ ตลอดจนเทคโนโลยีที่เป็นปัจจุบัน สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทันท่วงที

4.4.2. ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ผลจากการพัฒนา หากพิจารณากระบวนการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นพบว่า ในขั้นตอนการจัดท าแผนนั้น เป็นไปตามระเบียบระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 และเพ่ิมเติมถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ.2561 รวมถึงหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย โดยค านึงถึงหลักประชารัฐผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นส าคัญ ในส่วนของ การน าแผนไปสู่การปฏิบัติรอบปีที่ผ่านมาพบว่า การด าเนินงานบางโครงการ/กิจกรรม ยังเกิดความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนการด าเนินงาน โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างทั้งถนน ทางเท้า และท่อระบายน้ า อันเนื่องมาจากปัจจัยทั้ง ภายในและภายนอก และสุดท้ายการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ในทางปฏิบัติองค์การบริหารส่วนต าบลสบเมย ได้ติดตามประเมินผลการด าเนินโครงการ/ กิจกรรม เป็นประจ าทุกๆ เดือน เพื่อให้ทราบสถานการณ์ด าเนินโครงการ/กิจกรรม ว่าอยู่ในขั้นตอนใด เป็นไปตาม แผนการด าเนินงานหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไร พร้อมจัดท ารายงานเสนอให้ผู้บริหารได้รับทราบ ทั้งนี้เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาความล่าช้าในขั้นตอนการน าแผนไปสู่ปฏิบัติ ให้สามารถอ านวยความสะดวกและตอบสนองต่อความต้องการแก่ประชาชนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

Page 6: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

163

แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับท่ี 3)

พ.ศ. 2561 เป็นแบบที่ก าหนดให้คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ด าเนินการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา โดยด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่ประกาศใช้งบประมาณรายจ่าย มีรายละเอียด ดังนี้

1. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นประกอบด้วย

1.1 ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 20 คะแนน 1.2 การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 20 คะแนน 1.3 ยุทธศาสตร์ 60 คะแนน ประกอบด้วย

(1) ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 คะแนน (2) ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด 10 คะแนน (3) ยุทธศาสตร์จังหวัด 10 คะแนน (4) วิสัยทัศน์ 5 คะแนน (5) กลยุทธ์ 5 คะแนน (6) เปูาประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์ 5 คะแนน (7) จุดยืนทางยุทธศาสตร์ 5 คะแนน (8) แผนงาน 5 คะแนน (9) ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม 5 คะแนน คะแนนรวม 100 คะแนน เกณฑ์ที่ควรได้เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องและขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ควรน้อยกว่าร้อยละ 80 (80 คะแนน)

2.แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 2.1 การสรุปสถานการณ์การพัฒนา 10 คะแนน 2.2 การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 10 คะแนน 2.3 การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชิงคุณภาพ 10 คะแนน 2.4 แผนงานและยุทธศาสตร์การพัฒนา 10 คะแนน 2.5 โครงการพัฒนา 60 คะแนน ประกอบด้วย (1) ความชัดเจนของชื่อโครงการ 5 คะแนน (2) ก าหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับโครงการ 5 คะแนน (3) เปูาหมายมีความชัดเจนน าไปสู่การตั้งงบประมาณได้ถูกต้อง 5 คะแนน (4) โครงการมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 5 คะแนน (5) เปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 5 คะแนน (6) โครงการมีความสอดคล้องกับ Thailand 4.0 5 คะแนน (7) โครงการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด 5 คะแนน (8) โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนภายใต้หลักประชารัฐ 5 คะแนน

Page 7: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

164

(9) งบประมาณ มีความสอดคล้องกับเปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) 5 คะแนน (10) มีการประมาณการราคาถูกต้องตามหลักวิธีการงบประมาณ 5 คะแนน (11) มีการก าหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 5 คะแนน (12) ผลที่คาดว่าจะได้รับ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 5 คะแนน คะแนนรวม 100 คะแนน เกณฑ์ที่ควรได้เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องและขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ควรน้อยกว่าร้อยละ 80 (80 คะแนน)

3. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่น

ประเด็นการพิจารณา คะแนน 1. ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 20 2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 15 3. ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 65 3.1 ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (10) 3.2 ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด (10) 3.3 ยุทธศาสตร์จังหวัด (10) 3.4 วิสัยทัศน์ (5) 3.5 กลยุทธ์ (5) 3.6 เปูาประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์ (5) 3.7 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (5) 3.8 แผนงาน (5) 3.9 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม (5)

รวมคะแนน 100 4. แนวทางเบื้องต้นในการให้คะแนนแนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ เพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประเด็นการพิจารณา รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน

เต็ม คะแนนที่

ได้ 1.ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ควรประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ (1) ข้อมูลเกี่ยวกับด้านกายภาพ เช่น ที่ตั้งของหมู่บ้าน/ชุมชน/ต าบล ลักษณะลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะของดิน ลักษณะของแหล่งน้ า ลักษณะของไม้/ปุาไม้ ฯลฯ ด้านการเมือง/การปกครอง เช่น เขตการปกครอง การเลือกตั้ง ฯลฯ

20 (3)

(2) ข้อมูลเกี่ยวกับด้านการเมือง/การปกครอง เช่น เขตการปกครอง การเลือกตั้ง ฯลฯ ประชากร เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับจ านวนประชากร และช่วงอายุและจ านวนประชากร ฯลฯ

(2)

Page 8: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

165

ประเด็นการพิจารณา รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน

เต็ม คะแนนที่

ได้ (3) ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทางสังคม เช่น การศึกษา

สาธารณสุข อาชญากรรม ยา เสพติด การสั งคมสงเคราะห์ ฯลฯ

(2)

(4) ข้อมูลเกี่ยวกับระบบบริการพ้ืนฐาน เช่น การคมนาคมขนส่ง การไฟฟูา การประปา โทรศัพท์ ฯลฯ

(2)

(5) ข้อมูลเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ เช่น การเกษตร การประมง กา รปศุ สั ต ว์ ก า รบริ ก า ร กา รท่ อ ง เที่ ย ว อุตสาหกรรม การพาณิชย์/กลุ่มอาชีพ แรงงาน ฯลฯ

(2)

(6) ข้อมูลเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เช่น การนับถือศาสนา ประเพณีและงานประจ าปี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น สินค้าพ้ืนเมืองและของที่ระลึก ฯลฯ และอ่ืนๆ

(2)

(7) ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ า ปุาไม้ ภูเขา คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ

(2)

(8) การส ารวจและจัดเก็บข้อมูลเพ่ือการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นหรือการใช้ข้อมูล จปฐ.

(2)

(9) การประชุมประชาคมท้องถิ่น รูปแบบ วิธีการ และการด า เนิ นการประชุมประชาคมท้องถิ่ น โดย ใช้กระบวนการร่วมคิด ร่วมท า ร่วมตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับประโยชน์ ร่วมแก้ปัญหา ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาส าหรับการพัฒนาท้องถิ่นตามอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(3)

ควรประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ (1) การวิเคราะห์ที่ครอบคลุมความเชื่อมโยง ความสอดคล้องยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึ งความเชื่ อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ Thailand 4.0

20 5

2 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ส ภ า ว ก า ร ณ์ แ ล ะศักยภาพ

(2) การวิเคราะห์การใช้ผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะและการบังคับใช้ ผลของการบังคับใช้ สภาพการณ์ที่เกิดข้ึนต่อการพัฒนาท้องถิ่น

3

ประเด็นการพิจารณา รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน คะแนนที่

Page 9: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

166

เต็ม ได้ 2 . ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ส ภ า ว ก า ร ณ์ แ ล ะศักยภาพ (ต่อ)

(3) การวิเคราะห์ทางสังคม เช่น ด้านแรงงาน การศึกษา สาธารณสุข ความยากจน อาชญากรรม ปัญหายาเสพติด เทคโนโลยี จารีต ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นต้น

3

(4) การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านรายได้ครัวเรือน การส่งเสริมอาชีพ กลุ่มอาชีพ กลุ่มทางสังคม การพัฒนาอาชีพและกลุ่มต่างๆ สภาพทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ทั่วไป เป็นต้น

3

(5) การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม พ้ืนที่สีเขียว ธรรมชาติต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ กระบวนการหรือสิ่งที่เกิดขึ้น การประดิษฐ์ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา

3

(6) ผลการวิเคราะห์ศักยภาพเพ่ือประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคตของท้องถิ่น ด้วยเทคนิค SWOT Analysis ที่อาจส่งผลต่อการด าเนินงานได้แก่ S-Strength (จุดแข็ง )W-Weakness (จุดอ่อน) O-Opportunity (โอกาส) และT-Threat (อุปสรรค)

3

ยุทธศาสตร์ 3.1 ยุทธศาสตร์ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่น

ควรประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ประเด็นปัญหาการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเชื่อมโยงหลักประชารัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ Thailand 4.0

60 (10)

3.2 ยุทธศาสตร์ขององค์ กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด

สอดคล้องและเชื่อมโยงกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น และยุทธศาสตร์จังหวัด และเชื่อมโยงหลักประชารัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ Thailand 4.0

10

3.3 ยุทธศาสตร์จังหวัด

สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบาย/ยุทธศาสตร์ คสช. และนโยบายรัฐบาล หลักประชารัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ Thailand 4.0

10

ประเด็นการพิจารณา รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน คะแนนที่

Page 10: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

167

เต็ม ได้ 3.4 วิสัยทัศน ์ 3.5 กลยุทธ ์ 3.6 เปูาประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์ 3.7 จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) 3.8 แผนงาน 3.9 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม

วิสัยทัศน์ ซึ่งมีลักษณะแสดงสถานภาพที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องการจะเป็นหรือบรรลุถึงอนาคตอย่างชัด เจน สอดคล้ องกับ โอกาสและศั กยภาพที่ เ ป็ นลักษณะเฉพาะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสัมพันธ์กับโครงการพัฒนาท้องถิ่น

5

แสดงให้เห็นช่องทาง วิธีการ ภารกิจหรือสิ่งที่ต้องท าตามอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะน าไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ หรือแสดงให้เห็นถึงความชัดเจนในสิ่งที่จะด าเนินการให้บรรลุวิสัยทัศน์นั้น

5

เปูาประสงค์ของแต่ละประเด็นกลยุทธ์มีความสอดคล้องและสนับสนุนต่อกลยุทธ์ที่จะเกิดขึ้น มุ่งหมายสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ชัดเจน

5

ความมุ่งมั่นอันแน่วแน่ในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากศักยภาพของพ้ืนที่จริง ที่จะน าไปสู่ผลส าเร็จทางยุทธศาสตร์

5

แผนงานหรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต ก าหนดจุดมุ่งหมายในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือแผนงานที่เกิดจากเปูาประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเปูาหมาย กลยุทธ์จุดยืนทางยุทธศาสตร์และยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความชัดเจน น าไปสู่การจัดท าโครงการพัฒนาท้องถิ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่นโดยระบุแผนงานและความเชื่อมโยงดังกล่าว

5

ความเชื่อมโยงองค์รวมที่น าไปสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่เกิดผลผลิต/โครงการจากแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 Thailand 4.0 แผนพัฒนาภาค/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดและยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

5

รวมคะแนน 100

Page 11: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

168

5. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประเด็นการพิจารณา คะแนน

1. การสรุปสถานการณ์การพัฒนา 10

2. การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 10

3. การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปีไปปฏิบัติในเชิงคุณภาพ 10

4. แผนงานและยุทธศาสตร์การพัฒนา 10

5. โครงการพัฒนา ประกอบด้วย 60

5.1 ความชัดเจนของชื่อโครงการ 5

5.2 ก าหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับโครงการ 5

5.3 เปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความชัดเจนน าไปสู่การตั้งงบประมาณได้ถูกต้อง 5

5.4 โครงการมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 5

5.5 เปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ

5

5.6 โครงการมีความสอดคล้องกับ Thailand 4.0 5

5.7 โครงการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด 5

5.8 โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน

ภายใต้หลักประชารัฐ

5

5.9 งบประมาณ มีความสอดคล้องกับเปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ) 5

5.10 มีการประมาณการราคาถูกต้องตามหลักวิธีการงบประมาณ 5

5.11 มีการก าหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะได้รับ 5

5.12 ผลที่คาดว่าจะได้รับ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 5

รวมคะแนน 100

Page 12: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

169

6. แนวทางเบื้องต้นในการให้คะแนนแนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเด็นการพิจารณา

รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

1.การสรุปสถานการณ์การพัฒนา

เป็นการวิเคราะห์กรอบการจัดท ายุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand (Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัยและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนา อย่างน้อยต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ, ด้านสังคม, ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

10

2. การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ

1) การควบคุมที่มีการใช้ตัวเลขต่างๆ เพ่ือน ามาใช้วัดผลในเชิงปริมาณ เช่น การวัดจ านวนโครงการ กิจกรรม งานต่างๆ ก็คือผลผลิตนั่นเองว่าเป็นไปตามที่ตั้งเปูาหมายเอาไว้หรือไม่จ านวนที่ด าเนินการจริงตามที่ได้ก าหนดไว้เท่าไหร่ จ านวนที่ไม่สามารถด าเนินการได้มีจ านวนเท่าไหร่ สามารถอธิบายได้ตามหลักประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการพัฒนาท้องถิ่นตามอ านาจหน้าที่ที่ได้ก าหนดไว้ 2) วิเคราะห์ผลกระทบ/สิ่งที่กระทบ (Impact) โครงการที่ด าเนินการในเชิงปริมาณ (Quantitative)

10

3. การประเมินผลการน าแผนพัฒนาท้องถิ่นไปปฏิบัติในเชิงคุณภาพ

1) การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพคือการน าเอาเทคนิคต่างๆ มาใช้เพ่ือวัดว่าภารกิจ โครงการ กิจกรรม งานต่างๆ ที่ด าเนินการในพ้ืนที่นั้นๆ ตรงต่อความต้องการของประชาชนหรือไม่และเป็นไปตามอ านาจหน้าที่หรือไม่ ประชาชนพึงพอใจหรือไม่ สิ่งของ วัสดุ ครุภัณฑ์ การด าเนินการต่างๆ มีสภาพหรือลักษณะถูกต้อง คงทน ถาวร สามารถใช้การได้ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ซึ่งเป็นไปตามหลักประสิทธิผล (Effectiveness) ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาด าเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับส่วนราชการหรือหน่วยงาน 2) วิเคราะห์ผลกระทบ/สิ่งที่กระทบ ( Impact) โครงการที่ด าเนินการในเชิงคุณภาพ (Qualitative)

10

4. แผนงานและยุทธศาสตร์การพัฒนา

1) วิเคราะห์แผนงาน งาน ที่เกิดจากด้านต่างๆ มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในมิติต่างๆ จนน าไปสู่การจัดท า โครงการ พัฒนาท้องถิ่ น โดยใช้ SWOT Analysis/Demand (Demand Analysis)/Global Demand/Trend หรือหลักการบูรณาการ (Integration) กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมีพ้ืนที่ติดต่อกัน 2) วิเคราะห์แผนงาน งาน ที่เกิดจากด้านต่างๆ ที่สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาความยากจน หลักประชารัฐ

10

Page 13: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

170

ประเด็นการพิจารณา

รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน

เต็ม คะแนนที่

ได้ ควรประกอบด้วยข้อมูลดังนี้

เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์สนองต่อแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและด าเนินการเพ่ือให้การพัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ก าหนดไว้ ชื่อโครงการมีความชัดเจน มุ่งไปเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อ่านแล้วเข้าใจได้ว่าจะพัฒนาอะไรในอนาคต

60 5

มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (clearobjective) โครงการต้องก าหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความเป็นมาของโครงการ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธีการด าเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความเป็นไปได้ชัดเจน มีลักษณะเฉพาะเจาะจง

5

สภาพที่อยากให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็นทิศทางที่ต้องไปให้ถึงเปูาหมายต้องชัดเจน สามารถระบุจ านวนเท่าไร กลุ่มเปูาหมายคืออะไร มีผลผลิตอย่างไรกลุ่มเปูาหมายพ้ืนที่ด าเนินงาน และระยะเวลาด าเนินงานอธิบายให้ชัดเจนว่าโครงการนี้จะท าที่ไหนเริ่มต้นในช่วงเวลาใดและจบลงเมื่อไรใครคือกลุ่มเปูาหมายของโครงการหากกลุ่มเปูาหมายมีหลายกลุ่มให้บอกชัดลงไปว่าใครคือกลุ่มเปูาหมายหลักใครคือกลุ่มเปูาหมายรอง

5

โครงการสอดคล้องกับ (1) ความมั่นคง (2) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (4) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (5) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (6)การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อให้เกิดความม่ันคงมั่งค่ัง ยั่งยืน

5

โครงการมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 โดย (1) ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา (3) ยึดวิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (4) ยึดเปูาหมายอนาคตประเทศไทย 2579 (5) ยึดหลักการน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเปูาหมายระยะยาว ภายใต้แนวทางการพัฒนา (1) การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง (2) การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและการปฏิรูประบบเพ่ือสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ (3) การลดความเหลื่อมล้ าทางสังคม (4) การรองรับการเชื่อมโยงภูมิภาคและความเป็นเมือง (5) การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิสังคมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (6) การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ

5

Page 14: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

171

ประเด็นการพิจารณา

รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน

เต็ม คะแนนที่

ได้

5.7 โครง การสอด คล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด

โครงการมีลักษณะหรือสอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ Value–Based Economy หรือเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมท าน้อย ได้มากเช่น (1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า โภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเ ชิ ง น วั ต ก ร รม (2 ) เ ปลี่ ย น จ ากกา รขั บ เ คลื่ อ น ประ เทศด้ ว ยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (3) เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น รวมถึงโครงการที่เติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา แล้ วต่อยอดความได้ เปรี ยบเชิ ง เปรี ยบเทียบ เช่น ด้ าน เกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ สาธารณสุข วัฒนธรรม ฯลฯ

โครงการพัฒนาท้องถิ่นมีความสอดคล้องกับห้วงระยะเวลาของแผนพัฒนาจังหวัดที่ได้ก าหนดขึ้น เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นเสมือนหนึ่งการขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัด ซึ่งไม่สามารถแยกส่วนใดส่วนหนึ่งออกจากกันได้ นอกจากนี้โครงการพัฒนาท้องถิ่นต้องเป็นโครงการเชื่อมต่อหรือเดินทางไปด้วยกันกับยุทธศาสตร์จังหวัดที่ได้ก าหนดขึ้นที่เป็นปัจจุบัน

5

5

5.8โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนภายใต้หลักประชา

เป็นโครงการที่ด าเนินการภายใต้พ้ืนฐานความพอเพียงที่ประชาชนด าเนินการเองหรือร่วมด าเนินการ เป็นโครงการต่อยอดและขยายได้ เป็นโครงการที่ประชาชนต้องการเพ่ือให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งมีลักษณะที่จะให้ท้องถิ่นมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นท้องถิ่นที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5

5.9 งบประ มาณ มีความสอดคล้องกับเปูาหมาย (ผลผลิตของโครงการ)

งบประมาณโครงการพัฒนาจะต้องค านึงถึงหลักส าคัญ 5 ประการในการจัดท าโครงการได้แก่ (1) ความประหยัด (Economy) (2) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) (3) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) (4) ความเหลื่อมล้ าในการพัฒนาท้องถิ่น น าไปสู่ความยุติธรรม (Equity) (5) ความโปร่งใส (Transparency)

5

5.10 มีการประมาณการ ราคาถูกต้องตามหลักวิธีการงบประมาณ

การประมาณการราคาเพ่ือการพัฒนาต้องให้สอดคล้องกับโครงการถูกต้องตามหลักวิชาการทางช่าง หลักของราคากลาง ราคากลางท้องถิ่น มีความโปร่งใสในการก าหนดราคาและตรวจสอบได้ในเชิงประจักษ์

5

Page 15: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

172

7. การวัดผลในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้รูปแบบเชิงพรรณา ซึ่งสามารถแสดงได้ทั้งการอธิบายเชิงสถิติรูปภาพกราฟข้อมูลต่างๆ จาก 7.1 ใช้แบบส าหรับการติดตามและประเมินผลเชิงปริมาณและคุณภาพ (1) แบบตัวบ่งชี้การปฏิบัติงาน (Performance Indicators) (2) แบบบัตรคะแนน (Scorecard Model) แบบบัตรคะแนน หรือ Scorecard Model ของ Kaplan & Norton (3) แบบมุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ (Result Framework Model (RF)) (4) แบบเชิงเหตุผล (Logical Model) ตัวแบบเชิงเหตุผล หรือ Logical Model (5) แบบวัดกระบวนการปฏิบัติงาน (Process Performance Measurement System (PPMS)) ระบบการวัดกระบวนการปฏิบัติงานหรือ PPMS (6) แบบการประเมินโดยใช้วิธีการแก้ปัญหาหรือเรียนรู้จากปัญหาที่เกิดขึ้นหรือ Problem-Solving Method (7) แบบการประเมินแบบมีส่วนร่วม (Participatory Methods) (8) แบบการประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) (9) แบบการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Model) (10) แบบการประเมินตนเอง (Self-assessment Model) และ (11) แบบอ่ืนๆ ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก าหนดขึ้น ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้กรอบตามข้อ (1)-(10) หรือเป็นแบบผสมก็ได้

ประเด็นการพิจารณา

รายละเอียดหลักเกณฑ์ คะแนน

เต็ม คะแนนที่

ได้ 5.11 มีการก าหนดตัวชี้วัด (KPI) และสอด คล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการก าหนดดัชนีชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicator : KPI) ที่ สามารถวัดได้ (measurable) ใช้บอกประสิทธิผล (effectiveness) ใช้บอกประสิทธิภาพ(efficiency) ได้ เช่น การก าหนดความพึงพอใจ การก าหนดร้อยละ การก าหนดอันเกิดจากผลของวัตถุประสงค์ที่เกิดขึ้นสิ่งที่ได้รับ (การคาดการณ์ คาดว่าจะได้รับ)

5

5.12 ผลที่คาดว่าจะได้รับสอด คล้องกับวัตถ ุประสงค์

ผลที่ได้รับเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริงจากการด าเนินการตามโครงการพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การได้ผลหรือผลที่เกิดขึ้นจะต้องเท่ากับวัตถุประสงค์หรือมากกว่าวัตถุประสงค์ซึ่งการเขียนวัตถุประสงค์ควรค านึงถึง (1) มีความเป็นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจง ในการด าเนินงานตามโครงการ (2) วัดและประเมินผลระดับของความส าเร็จได้ (3) ระบุสิ่งที่ต้องการด าเนินงานอย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากที่สุด และสามารถปฏิบัติได้ (4) เป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องกับความเป็นจริง (5) ส่งผลต่อการบ่งบอกเวลาได้

5

รวมคะแนน 100

Page 16: ส่วนที่ 4 การติดตามและประเมินผลsobmoei.org/images/2563/43.2563/ส่วนที่ 4...4.2 การต ดตามและประเม

173

7.2 เชิงปริมาณ (Quantity) คุณภาพ (Quality) ผลที่ได้จริงๆ คืออะไรค่าใช้จ่าย (Cost) เวลา (Time) เป็นไปตามท่ีก าหนดไว้หรือไม่ 7.3 ประชาชนได้ประโยชน์อย่างไรหรือราชการได้ประโยชน์อย่างไร 7.4 วัดผลนั้นได้จริงหรือไม่ หรือวัดได้เท่าไหร่ (Key Performance Indicators : KPIs) 7.5 ผลกระทบ (Impact)

************************************************