ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1...

31
สวนที1 ความเปนมาและความสําคัญ หลักการและเหตุผล ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรง เจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา พระราชกรณียกิจของพระองคในการพัฒนาประเทศนั้นตอเนื่องยาวนานใน ทุกดาน ทรงเปนมิ่งขวัญสถิตยกลางใจพสกนิกรทุกหมูเหลา คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหวันที่ 2 เมษายน เปนวัน หนังสือเด็กแหงชาติและเปนวันรักการอาน จากพระจริยวัตรและความสนพระทัยในการอาน การจดบันทึก การเขียนและการเรียนรู บังเกิดเปนพระราชนิพนธจํานวนมาก เปนแบบอยางอันงดงามใหแกเด็กและเยาวชน ไทย ประจักษแจงในบทกลอนซึ่งพระองคทรงนิพนธตั้งแตครั้งยังทรงพระเยาว หนังสือนี้มีมากมายหลายชนิด นําดวงจิตเริงรื่นชื่นสดใส ใหความรูสําเริงบันเทิงใจ ฉันจึงใฝใจสมานอานทุกวัน มีวิชาหลายอยางตางจําพวก ลวนสะดวกคนไดใหสุขสันต วิชาการสรรมาสารพัน ชั่วชีวันฉันอานไดไมเบื่อเลย ขอมูลสถานการณดานการศึกษา การอานและการเรียนรูของประเทศไทยจากแหลงตางๆ ระบุตรงกันวา เด็กและเยาวชนไทยยังอานหนังสือคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับนานาประเทศ ซึ่งสงผลตอ ความสามารถดานการอานและการเรียนรูของเด็กและเยาวชนไทย อาทิ ผลการประเมินของ PISA ดานการ อานในป 2543 - 2552 และ IMD World competitiveness Yearbook ป 2554 พบวา ความสามารถ ในการแขงขันระดับนานาชาติดานการศึกษาของประเทศไทยอยูในอันดับที่ 51 จากประเทศทั้งหมด 59 ประเทศ การพัฒนาดานความฉลาดทางอารมณ (EQ) ลดลง อนึ่ง หากยอนทบทวนการรณรงคสงเสริมการอาน ของประเทศไทยที่ผานมา พบวา เมื่อป 2547-2548 กระทรวงศึกษาธิการไดรณรงคใหทุกโรงเรียน ดําเนินการ โครงการวางทุกงานอานทุกคน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 48 พรรษา เปนผลใหสถิติดานการอานของเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญ กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดอํานาจเจริญ (กอ.รมน.) จัดทําโครงการรัก การอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา และเปนการ ปลูกฝง สรางเสริมนิสัยรักการอานและการเรียนรู สําหรับเด็กในระดับประถมศึกษา โรงเรียนประชารัฐวิทยาจึงไดเขารวมโครงการดังกลาวในปการศึกษา ๒๕๕7 เพื่อสงเสริมให นักเรียนโรงเรียนประชารัฐวิทยาโดยเฉพาะชั้นประถมศึกษาปที่ 4 - 6 ไดเกิดนิสัยรักการอาน ผานสุดยอด วรรณกรรมคํากลอน เรื่อง สุวรรณสามคํากลอนและพระมหาชนกคํากลอน ซึ่งประพันธคํากลอนโดย พลตรี พิจิตร ขจรกล่ํา

Transcript of ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1...

Page 1: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

1

สวนท่ี 1

ความเปนมาและความสําคัญ

หลักการและเหตุผล

ในวันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2558 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา พระราชกรณียกิจของพระองคในการพัฒนาประเทศนั้นตอเนื่องยาวนานในทุกดาน ทรงเปนมิ่งขวัญสถิตยกลางใจพสกนิกรทุกหมูเหลา คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหวันท่ี 2 เมษายน เปนวันหนังสือเด็กแหงชาติและเปนวันรักการอาน จากพระจริยวัตรและความสนพระทัยในการอาน การจดบันทึก การเขียนและการเรียนรู บังเกิดเปนพระราชนิพนธจํานวนมาก เปนแบบอยางอันงดงามใหแกเด็กและเยาวชนไทย ประจักษแจงในบทกลอนซึ่งพระองคทรงนิพนธต้ังแตครั้งยังทรงพระเยาว

หนังสือนี้มีมากมายหลายชนิด นําดวงจิตเริงรื่นช่ืนสดใส ใหความรูสําเริงบันเทิงใจ ฉันจึงใฝใจสมานอานทุกวัน มีวิชาหลายอยางตางจําพวก ลวนสะดวกคนไดใหสุขสันต วิชาการสรรมาสารพัน ช่ัวชีวันฉันอานไดไมเบ่ือเลย

ขอมูลสถานการณดานการศึกษา การอานและการเรียนรูของประเทศไทยจากแหลงตางๆ ระบุตรงกันวา เด็กและเยาวชนไทยยังอานหนังสือคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับนานาประเทศ ซึ่งสงผลตอความสามารถดานการอานและการเรียนรูของเด็กและเยาวชนไทย อาทิ ผลการประเมินของ PISA ดานการอานในป 2543 - 2552 และ IMD World competitiveness Yearbook ป 2554 พบวา ความสามารถในการแขงขันระดับนานาชาติดานการศึกษาของประเทศไทยอยูในอันดับท่ี 51 จากประเทศท้ังหมด 59 ประเทศ การพัฒนาดานความฉลาดทางอารมณ (EQ) ลดลง อนึ่ง หากยอนทบทวนการรณรงคสงเสริมการอานของประเทศไทยท่ีผานมา พบวา เมื่อป 2547-2548 กระทรวงศึกษาธิการไดรณรงคใหทุกโรงเรียนดําเนินการ “โครงการวางทุกงานอานทุกคน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 48 พรรษา” เปนผลใหสถิติดานการอานของเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มข้ึนอยางมีนัยสําคัญ

กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดอํานาจเจริญ (กอ.รมน.) จัดทําโครงการ“รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา และเปนการปลูกฝง สรางเสริมนิสัยรักการอานและการเรียนรู สําหรับเด็กในระดับประถมศึกษา

โรงเรียนประชารัฐวิทยาจึงไดเขารวมโครงการดังกลาวในปการศึกษา ๒๕๕7 เพื่อสงเสริมใหนักเรียนโรงเรียนประชารัฐวิทยาโดยเฉพาะช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 ไดเกิดนิสัยรักการอาน ผานสุดยอดวรรณกรรมคํากลอน เรื่อง สุวรรณสามคํากลอนและพระมหาชนกคํากลอน ซึ่งประพันธคํากลอนโดย พลตรีพิจิตร ขจรกลํ่า

Page 2: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

2

วัตถุประสงค

1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา

2. เพื่อรณรงค ปลูกฝงและสงเสริมใหนักเรียน โรงเรียนประชารัฐวิทยา มีนิสัยรักการอาน การเรียนรูอยางมีคุณภาพ

3. เพื่อสรางเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพการอานการเรียนรูของโรงเรียนประชารัฐวิทยา ซึ่งถือเปนการปูพื้นฐานท่ีสําคัญยิ่ง ใหเกิดประสิทธิผลท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ท้ังดานการคิดวิเคราะหและคิดสังเคราะห

กลุมเปาหมาย

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – 6 โรงเรียนประชารัฐวิทยา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอํานาจเจริญ ปการศึกษา ๒๕๕7 จํานวน 94 คน

เปาหมายของโครงการ

ผลผลิต

๑. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ อานเรื่องพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน ๒. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ สรางช้ินงานท่ีเกิดจากการอาน ๓. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ มีผลการประเมินทักษะการอานอยูในระดับ อานคลอง เขียนคลอง

ผลลัพธ

๑. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ อานพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน รอยละ ๑๐๐ ๒. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ สรางช้ินงานท่ีเกิดจากการอาน รอยละ ๘๐ ๓. นักเรียนช้ัน ป ๑-๖ มีผลการประเมินทักษะการอานอยูในระดับ อานคลอง เขียนคลอง เพิ่มข้ึนจากเดิม

รอยละ ๘๐

Page 3: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

3

การดําเนินการ/กิจกรรม/ระยะเวลา และหนวยงานรับผิดชอบ

ตารางท่ี 1 ดําเนินกิจกรรมในภาคเรียนท่ี 1/2557 ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน ดังนี้

กิจกรรม ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ

๑. ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมการ

๒. สมัครเขารวมโครงการ

๓. ดําเนินกิจกรรมสงเสริมการอาน

- กิจกรรมอานพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

ทุกวันในชวงเวลา ๑๕.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.

- กิจกรรมประกวดอานทํานองเสนาะพระมหาชนกคํากลอน

และสุวรรณสามคํากลอน

- กิจกรรมประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธสุวรรณสามคํา

กลอน

- กิจกรรมทําหนังสือเลมเล็กจากบทประพันธพระมหาชนกคํา

กลอนและสุวรรณสามคํากลอน

- กิจกรรมเลาเรื่องจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนและ

พระมหาชนกคํากลอนผานเสียงตามสาย

- กิจกรรมตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน

- กิจกรรมประกวดคัดลายมือจากบทประพันธพระมหาชนกคํา

กลอนและสุวรรณสามคํากลอน

- กิจกรรมประกวดการอานออกเสียงจากบทประพนัธพระมหา

ชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

๔. สรุปผลการดําเนินโครงการและจัดนิทรรศการผลงานนักเรียน

พฤษภาคม 2557

มิถุนายน 2557

มิถุนายน- กรกฎาคม

2557

กันยายน 2557

คณะครู กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนประชารัฐวิทยา

ครูสุดใจ นาสารีย ครูวิไล สิงหแกว

ครูทวีศักด์ิ คงโภคา

ครูภาษาไทยทุกคน

มิถุนายน – สิงหาคม 2557

Page 4: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

4

สถานท่ีดําเนินการ

โรงเรียนประชารัฐวิทยา

งบประมาณ

ขอสนับสนุนงบประมาณจากชุมชน องคการปกครองสวนทองถ่ิน และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

ผูรับผิดชอบโครงการ

นางสุดใจ นาสารีย, นางสาววิไล สิงหแกว, นายทวีศักด์ิ คงโภคาและคณะครูโรงเรียนประชารัฐวิทยา

ดัชนีช้ีวัดผลสําเร็จ

นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – 6 โรงเรียนประชารัฐวิทยามีผลประเมินการอานบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนในระดับ “ผาน” ข้ึนไป รอยละ 80

การประเมินผล ประเมินผลจากการอาน การตรวจผลงาน การทดสอบ การประกวดการอาน

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ ๑. นักเรียน ครู ผูบริหารโรงเรียน บุคลากรทางการศึกษา ไดรวมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ๒. นักเรียน ครู ผูบริหารโรงเรียน บุคลากรทางการศึกษา มีนิสัยรักการอาน การเรียนรูอยางมีคุณภาพ ๓. นักเรียนโรงเรียนประชารัฐวิทยา มีผลการประเมินความสามารถดานการอานอยูในระดับ อานคลอง เขียน

คลอง เพิ่มมากข้ึน

Page 5: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

5

สวนท่ี 2

เอกสารท่ีเก่ียวของ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ของโรงเรียนประชารัฐวิทยา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอํานาจเจริญ เพื่อความสมบูรณในการจัดทํารายงานเปนไปตามหลักการและทฤษฎี จึงไดศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรม ตามรายละเอียดดังตอไปนี้

การอานคืออะไร

การอาน คือ การแปลความหมายจากสัญลักษณจากท่ีเรามองเห็นซึ่งอาจจะเปนภาพ ตัวหนังสือ หรือเครื่องหมายตางๆ โดยท่ัวไปก็ใชประสาทตาเปนหลัก เชนเมื่อเราดูทีวี ก็จะเห็นภาพบนจอ เชนนักจัดรายการ เราก็จะดูวาเขาจัดรายการเรื่องอะไร มีการสงช้ินสวนไปชิงรางวัลทองคําหรือไม เปนตน ทานท่ีกําลังขับรถไปเท่ียวในเทศกาลสงกรานตก็จะอานแผนท่ีการเดินทางวามีปมเติมนามันท่ีตรงไหน จะไปแวะทานอาหารอรอยท่ีไหน เปนตน เวลาขับรถในเมืองถึงส่ีแยกก็ตองดูวามีสัญญาณไฟจราจรสีแดงหรือสีเขียว ก็จะรูวาหยุดหรือขับตอไป เวลา

ประโยชนจากการอาน

เปนท่ียอมรับกันท่ัวไปแลววาการอาน (ในท่ีนี้จะหมายความถึงการอานหนังสือ) มีประโยชนมหาศาล นักวิจัยดานภาษาและการรูหนังสือ เชน ศาสตราจารย สตีเฟน ดี แครซเชน( Stephen D. Krashen) ผูเขียนหนังสือเรื่อง The Power of Reading :Insights from the Research, Second Edition, Heinemann, 2004 กลาววาจากผลการวิจัยในหลายๆเรื่องสรุปไดวา เด็กท่ีชอบอานหนังสือตามลําพังโดยไมมีครูคอยเค่ียวเข็ญใหตอบคาถาม จะเขาใจเรื่องท่ีอาน สะกดตัวคําศัพทไดถูกตอง เขียนถูกหลักไวยากรณ และมีความสุขในการเรียนภาษาไมวาจะเปนภาษาอะไร ถาเขาชอบอานเขาจะเรียนไดเร็วไมแพคนท่ีเรียนในช้ันเรียน แตในระยะยาวจะมีความกาวหนาในการเรียนมากกวาเด็กท่ีอานในช้ันเรียนตามปกติ กลาวโดยสรุป การอานใหประโยชนในหลายดาน คือ

๑. ทําใหเปนผูรูในศาสตรและศิลปไดหลากหลาย ซึ่งเรียกวา เปน “พหูสูตร” หรือ สมัยนี้เรียกวา “กูรู” ๒. เปล่ียนแนวคิดในทางกาวหนา มีความมุงมั่นทาความฝนใหเปนจริง เนื่องจากไดรับแรงบันดาลใจจาก

การอานชีวประวัติของบุคลสําคัญ และนํามาเปนแบบอยาง ๓. เปนผูชอบคิดในเชิงบวก (Positive Thinking) เพราะไดรับรูแนวคิดหลากหลาย สามารถเลือกใช

แนวคิดท่ีสรางสรรคได สวนมากจะเปนแนวคิดในเชิงบวก ซึ่งมีการผสมผสานดานคุณธรรมและจริยธรรมเขามาเปนพื้นฐานทางจิตใจ

๔. ทําใหมีความรักในเพื่อนมนุษยและเปนมิตรกับธรรมชาติ ไดแกพืช สัตวและส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติเชนตนไม ปาไม ภูเขา และแมน้ําลําธาร เพราะไดอานเรื่องราวประทับใจจากท่ีนักเขียนไดถายทอดความงามของธรรมชาติไวหลายมิติ พระพุทธเจาก็ตรัสรูจากการบําเพ็ญเพียรในปาและวันท่ีตรัสรูก็อยูใตตนไมนั่นเอง หลังจากไดอานใจพระองคเองมาถึง ๖ ป

Page 6: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

6

๕. ทําใหเปนผูมีสติปญญารูเทาทันในเหตุการณตางๆของมนุษยและการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาเปนคนทันสมัย เพราะไดอานมาก สามารถรอบรูเรื่องราวตางๆท่ีเกิดข้ึนประจําวัน ทําใหลวงรูหรือทํานายเหตุการณตางๆไดแมนยํา เพราะอาศัยประสบการณท่ีไดรับจากการอานประวัติศาสตรหรือเรื่องราวท่ีเปนมาในอดีตท่ีเกิดข้ึนซ้ําๆได

๖. ทําใหเปนคนโดยสมบูรณ ดังเชนนักปราชญ Francis Bacon กลาววา “Reading Maketh the Fullman” คือเปนผูเพียบพรอมดวยความรู สติปญญา ความสามารถ และความดีซึ่งชวยพัฒนาคุณภาพชีวิต

กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน

การจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน เปนกิจกรรมท่ีมุงกระตุนใหกลุมเปาหมายเกิดความสนใจอยากรู อยากเห็น อยากอาน จนสามารถนําความรูเหลานั้นไปใชประโยชนไดอยางหลากหลาย โรงเรียนสามารถนาการอานสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผูเรียนไดตามศักยภาพและตองจัดกิจกรรมการอานเปนกิจกรรมเสริมนอกเหนือเวลาเรียน เพื่อกระตุนใหเกิดการอานอยางตอเนื่อง และยั่งยืนเปนนิสัย กิจกรรมสงเสริมการอานท่ีเปนกิจกรรมเสริมนี้ จะจัดใหกลุมเปาหมาย เปนรายบุคคล รายกลุมหรือจัดใหกับผูเรียนทุกคนก็ได แลวแตลักษณะของกิจกรรมมีการกําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมไวชัดเจน ดังนี้

๑. กิจกรรมรายวัน คือ กิจกรรมท่ีจัดเปนประจําทุกวัน ในชวงเวลาใดก็ไดตามความเหมาะสม เชน เชานี้มีเรื่องเลา เสียงตามสาย นิทานสานสัมพันธนองอยากฟง-พี่อยากอาน เปนตน

๒. กิจกรรมรายสัปดาห คือ กิจกรรมท่ีจัดเปนประจําทุกสัปดาห ซึ่งโรงเรียนจะกําหนดจัดในวันใดวันหนึ่งตามความเหมาะสม เชน รมหรรษาตอบปญหาชิงรางวัล พอแมอาน-ลูกหลานได e-book ชวนคิดพิชิตโลกออนไลน ยุวบรรณารักษชวนคุณอานผานเฟสบุคเปนตน

๓. กิจกรรมรายเดือน คือ กิจกรรมท่ีจัดเปนประจําทุกเดือน ซึ่งโรงเรียนอาจจะกําหนดจัดเดือนละ 1 - 2 ครั้งก็ได ตามความเหมาะสม เชน ตอบคําถามหนังสือพระราชนิพนธ สุดยอดนักอานประจําเดือน กลองนมอุดมความรู คนฟาควาดาว เปนตน

๔. กิจกรรมรายภาคเรียน คือ กิจกรรมท่ีจัดเปนประจําทุกภาคเรียน เชน เวที -นักประพันธรุนเยาว หนังสือดีฝมือเด็ก รวมพลคนรักการอาน หนอนหนังสือคือหนูคนเกง หองสมุดสัญจร สารานุกรมส่ังสมปญญา จิบน้ําชาเสวนาประสาคนรักการอาน เปนตน

๕. กิจกรรมรายป คือ กิจกรรมท่ีจัดเปนประจําทุกป เชน ประกวดสุดยอดนักอาน ระบายบรรเลงเพลงวรรณกรรม สมุดบันทึกความดี หนูนอยหองสมุด นิทรรศการหนังสือกฤตภาคจากส่ือส่ิงพิมพ นิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน เปนตน

การอานจะพัฒนาข้ึนมาไดตองมีการปฏิบัติเปนประจํา การอานควรเปนกิจกรรมประจําวัน เปนกิจกรรมท่ีมีความตอเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะชวยกระตุนใหเกิดการอาน ตลอดจนเสริมสรางความสามัคคีในหมูคณะและสรางภาวะความเปนผูนําท่ีดี ท้ังนี้ โรงเรียนจะตองกระทําอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องจึงจะบังเกิดผลและปลูกสรางนิสัยรักการอานใหแกนักเรียนอยางยั่งยืน

Page 7: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

7

ข้ันตอนการดําเนินงานจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน การดําเนินงานสงเสริมนิสัยรักการอานในโรงเรียน ถือเปนภารกิจหลักของโรงเรียน ท้ังนี้

เพราะการอานเปนทักษะท่ีจําเปนในการแสวงหาความรู เพื่อพัฒนาตนเองใหสามารถเรียนรูได ส่ือสารได และสามารถสรางองคความรูได ซึ่งนับวาเปนการปฏิรูปการเรียนรูท่ีสําคัญและจําเปนอยางยิ่งในปจจุบัน การดําเนินงานใหประสบความสําเร็จนั้น เปนเรื่องท่ีไมยาก หากเรามีการวางแผนและเตรียมการเปนอยางดี ซึ่งผูเขียนจะไดนําเสนอข้ันตอนการดําเนินงานจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน ดังนี้

๑. ข้ันเตรียมงาน โรงเรียนควรมีการประชุมปรึกษาหารือกันระหวางผูบริหารโรงเรียน ครู ผูปกครอง ผูนําชุมชนและ

นักเรียน เพื่อวางแผนการจัดทําโครงการกิจกรรม สงเสริมการอานในโรงเรียน โดยอภิปรายใหเห็นถึงความสําคัญ จําเปนของการอานซึ่งเปนกิจกรรมท่ีสําคัญมากท่ีสุดกิจกรรมหนึ่งของมนุษยหรืออาจกลาวไดวา “การอานเปนสวนหนึ่งของชีวิต”

เมื่อทุกฝายเห็นความสําคัญจําเปนดังกลาวแลวจึงควรดําเนินการดังนี้

1.1 ผูบริหารแตงต้ังคณะทํางาน ประกอบดวย ครูผูรับผิดชอบ หรือครูบรรณารักษ และอาจมีนักเรียนรวมอยูดวยแลวแตความเหมาะสม รวมกันเขียนโครงการ และทําหนาท่ีดําเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการและกําหนดปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม ท่ีเนนใหนักเรียนไดปฏิบัติจริง เชน อาจมีการบันทึกกิจกรรม กําหนดรางวัล ส่ือ อุปกรณ การติดตอกับผูปกครอง เปนตน

1.2 คณะทํางานพิจารณาปรับปรุงใหเปนโครงการและกิจกรรมท่ีสมบูรณกําหนดการและส่ือตางๆ ในโครงการตองสามารถนํามาปฏิบัติไดโดยไมตองใชเงิน ใชเวลาและแรงงานมากเกินไป โดยครูผูสอนสามารถนํากิจกรรมตางๆ มาประยุกตใชในช้ันเรียนไดต้ังแตการเขียนแผนการสอน แผนกิจกรรม เปนตน

1.3 เตรียมส่ือและอุปกรณท่ีจําเปนในการจัดกิจกรรมตามโครงการ โดยการจัดหา คัดเลือก หรือบางครั้งจําเปนตองซื้อก็ควรพิจารณาตามสมควร ซึ่งไมควรเปนส่ือหรืออุปกรณท่ีมีราคาแพงเกินไป

1.4 กําหนดเกณฑหรือกติกาตางๆ ใหเหมาะสมกับระดับความสามารถในการอานของนักเรียน

1.5 กําหนดวิธีการประเมินผล เชน สรางแบบบันทึกการอาน ใหเลาเรื่อง ตอบคาถาม ใหวาดภาพประกอบเรื่อง เปนตน

๒. ข้ันประชาสัมพันธโครงการ

การประชาสัมพันธเปนความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวยใหครู นักเรียน และผูปกครองมีความรู ความเขาใจ ตลอดจนเขารวมกิจกรรมนั้นๆ

๒.๑ การประชาสัมพันธอาจทาไดหลายวิธีตามความเหมาะสม ตามความสะดวกและอุปกรณตางๆ ท่ีมี เชน ปดประกาศในหองเรียน ประกาศเสียงตามสาย ประกาศในวารสารของโรงเรียน เขียนจดหมายสงถึงผูปกครอง เปนตน

๒.๒ ใหครูและนักเรียนท่ีเปนคณะกรรมการ มีเวลาช้ีแจงโครงการในหองเรียนเพื่อใหขอมูลท่ีเกี่ยวของ เชน การรับสมัครสมาชิกชมรม การเลือกหนังสือท่ีจะอาน การกรอกแบบบันทึก แหลงท่ีจะอานหนังสือ กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน เปนตน

Page 8: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

8

2.3 โรงเรียนจัดกิจกรรมการรณรงคโครงการสงเสริมนิสัยรักการอาน ทุกรูปแบบ ท้ังเอกสาร การ

ส่ือสาร การบรรยาย เสนอแนะ ประกาศ เปนตน ซึ่งจะเปนการชวยกระตุนใหทุกคนตระหนักในความสําคัญของการอานมากข้ึน

๓. ข้ันดําเนินการ

เปนข้ันตอนท่ีสําคัญท่ีสุด เนื่องจากทุกกิจกรรมในโครงการควรจะเกิดผล เปนรูปธรรมสามารถนําเสนอภาพท่ีชัดเจนของกิจกรรมตางๆ ดังนี้

3.1 การเตรียมกิจกรรมส่ือ อุปกรณและข้ันตอนการจัดกิจกรรมท่ีกําหนดไว เพื่อดูความพรอมของการจัดกิจกรรม

3.2 การปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมสงเสริมใหครอบคลุมท้ังการฟง พูด อานและเขียน หรือสัมพันธกันท้ัง 4 ทักษะ

3.3 การพัฒนางานของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนจะวางแผน การจัดเก็บสะสมผลงาน คัดเลือกงาน เปรียบเทียบผลงานและนําเสนอผลงานในรูปแบบการใชแฟมสะสมงาน

3.4 การประยุกตใชกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอานใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของโรงเรียน ซึ่งเปนหนาท่ีของคณะทางานจะตองหาแนวทางพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมใหสัมพันธสอดคลองกับสภาพตางๆ ประเมิน

๔. ข้ันประเมิน

การประเมินผลเปนข้ันตอนท่ีสําคัญของโครงการสงเสริมนิสัยรักการอานท่ีโรงเรียนควรประเมินผลความกาวหนาในการดําเนินงานตามโครงการของโรงเรียน ดังนี้

4.1 ความกาวหนาในการอานของนักเรียน ประเมินไดจากจานวนหนังสือท่ีอานและแบบบันทึกการอาน ซึ่งจะแสดงวานักเรียนมีการพัฒนาการอานมากนอยเพียงใด มีความสามารถเพิ่มข้ึนหรือไม รวมท้ังการนําความรูท่ีไดรับจากการอานไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

4.2 การจัดกิจกรรมตามโครงการของโรงเรียน ประเมินไดจากรองรอยหลักฐานการจัดกิจกรรมตามสภาพท่ีแทจริง ไดชวยสงเสริมใหนักเรียนมีความกาวหนาในการอาน รักการอานเพียงใด โดยใชแบบสํารวจแบบประเมินผลการดําเนินการรวมท้ังผลท่ีไดจากการรวบรวมสะสมผลงาน และการนําเสนอผลงานการดําเนินงานในภาพรวมเมื่อส้ินภาคเรียนหรือส้ินปการศึกษา เมื่อเราทราบถึงข้ันตอนการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัย รักการอานแลว ก็ดําเนินการจัดกิจกรรมตามแผนหรือปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมท่ีกําหนดไว โดยเลือกกิจกรรมท่ีผูเขียนไดนาเสนอนี้หรืออาจจะประยุกตใชตามสภาพแวดลอมของโรงเรียนตามความตองการและความเหมาะสมของผูเรียนก็ได ซึ่งกิจกรรมท่ีนําเสนอไวตอไปนี้ ไดจัด กลุมประเภทของกิจกรรม ตามท่ี กรมวิชาการ (2543 : 80-81) ไดเสนอแนะไว คือ กิจกรรมเราโสตประสาท กิจกรรมเราจักษุประสาท กิจกรรมเราโสตและจักษุประสาท และกิจกรรมท่ีใหผูเปนเปาหมายไดรวมกิจกรรม ท้ังนี้รายละเอียดของกิจกรรมพรอมท้ังตัวอยางของกิจกรรมแตละประเภท ผูเขียนไดพยายามศึกษาจากเอกสาร ตารา และจากประสบการณของตนท่ีเคยเปนผูจัดกิจกรรมโดยตรง และประสบการณจากการนิเทศหรือจากการพบเห็น แลวนามาประยุกตบูรณาการ ปรับเปล่ียนหรือเพิ่มเติมใหมีความนาสนใจ ทันสมัยและเหมาะสมกับผูเรียนมากท่ีสุดดังจะนาเสนอตอไปนี้

Page 9: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

9

กิจกรรมประเภทเราโสตประสาท กิจกรรมเราโสตประสาท ไดแก กิจกรรมประเภทชวนใหฟง มีการใชเสียง และคําพูดเปนหลัก เชน

กิจกรรมจิบน้ําชาเสวนาประสาคนรักการอาน พิธีกรรุนจ๋ิว เรื่องเลาเชานี้ พี่เพื่อนพองชวนนองอาน เติมความรู 5 นาที ส่ือสารผานหนังสือ เสียงตามสาย ฟงแลวคิดพิชิตรางวัล เปนตน ซึ่งหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กําหนดไวในสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน 3.1 คือ นักเรียนสามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณ อยางสรางสรรค โดยกําหนดใหผูเรียนรูจักฟง รูความหมายของคา มีสมาธิในการฟง มีมารยาทในการฟง เลือกเรื่องท่ีจะฟงและสรุปเรื่องจากการฟงได เปนตน ดังนั้น กิจกรรมประเภทนี้จึงเหมาะอยางยิ่งท่ีจะทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูวิธีฟงและเรียนรูดวยการฟงไดเปนอยางดี

กิจกรรมประเภทเราจักษุประสาท กิจกรรมเราจักษุประสาท ไดแก กิจกรรมประเภทชวนใหดู เพงพินิจ และอานความหมายของส่ิงท่ีพบ

เห็น เชน กิจกรรมทดสอบความรูจากการอานสารานุกรม หองสมุดสัญจร ทันเหตุการณทันโลก หนังสือดียอดฮิต นักเขียนนอย อานแลวบันทึกรูลึกจํานาน กฤตภาคจากส่ือส่ิงพิมพ ถ่ินฐานบานหนูความรูมากมี อานในใจกําไรชีวิต ธรรมชาติสวยดวยมือเรา เปนตน ซึ่งหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กําหนดไวในสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน 3.1 คือ นักเรียนสามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณ อยางสรางสรรค โดยกําหนดใหผูเรียนเลือกดูส่ิงท่ีเปนประโยชน สรุปเรื่องจากการดูนําความรูจากการดูไปใชตัดสินและแกปญหาได เปนตน ดังนั้น กิจกรรมประเภทนี้จึงเหมาะอยางยิ่ง ท่ีจะทาใหนักเรียนเกิดการเรียนรูวิธีการดูและเรียนรูดวยการดูไดเปนอยางดี

กิจกรรมประเภทเราโสตและจักษุประสาท กิจกรรมเราโสตและจักษุประสาท ไดแก กิจกรรมประเภทชวนใหฟงและดู ไปพรอมๆ กัน ประสาน

ประสาทท้ังสองใหทางานรวมกัน เชน กิจกรรมส่ือคาดวยเพลง คนสําคัญท่ีโดนใจ นิทานหรรษาพาเพลิน 180 วินาทีขาว คนฟาควาดาว และพืชสวยสัตวงาม ตามดินแดนแหงฝน เปนตน

กิจกรรมประเภทใหผูเปนเปาหมายไดรวมกิจกรรม กิจกรรมประเภทใหผูเปนเปาหมายไดรวมกิจกรรม กิจกรรมประเภทนี้จะชวยใหผูเปนเปาหมายเกิด

ความสนุกสนานและภาคภูมิใจ เพราะการไดรวมกิจกรรมจะทําใหผูรวมกิจกรรมรูสึกวาตนเองมีความสามารถ เปนบุคคลสําคัญ เชน กิจกรรมระบายบรรเลงเพลงวรรณกรรม สารานุกรมส่ังสมปญญา คลังรักคลังหนังสือ หนอนหนังสือคือหนูคนเกง รวมพลคนรักการอาน สุดยอดนักอาน หนังสือดีฝมือเด็ก หนึ่งครอบครัวหนึ่งมุมหนังสือ กลองนมอุดมปญญา เวทีนักประพันธรุนเยาว และสมุดบันทึกความดี เปนตน

ทศชาติชาดก เร่ืองพระสุวรรณสาม คํากลอน

ตอนอาศรมฤาษีใกลแมน้ํามิคสัมมตาในหิมวันตประเทศ

ชาดกสุวรรณสามองคความรู บันทึกอยูคูกับพระศาสนา

ชาติท่ีสองเรื่องเกาทานเลามา กาลเวลาพนผานเนิ่นนานป

มีนักพรตอยูใกลชิดสนิทกัน ในหิมวันตประเทศเขตฤาษี

Page 10: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

10

ใกลแมน้ํามิคสัมมตาเย็นวารี ตางยินดีผูกพันรักกันมา

สองสหายเพื่อนรักไมหนักจิต ท้ังชีวิตนั้นอาศัยอยูในปา

นั่งบําเพ็ญเพียรถือศีลภาวนา สรางบุญญามีเมตตาและปราณี

อันสัตวปาอาศัยอยูใกลกัน ไมฆาฟนสัตวปาเส่ือมราศี

ไมเบียดเบียนแมปลาในวารี บุญมากมีเพื่อนสนิทใกลชิดกัน

ตอนคําม่ันสัญญา

เพื่อนนี้ใหคํามั่นขอสัญญา ถามีบุตรเกิดมาเปนผูชายนั่น

ถาเพื่อนรักมีบุตรีชุบชีวัน จะใหแตงงานกันคือสัญญา

เพื่อประโยชนครองใจมิตรไมตรี เพื่อเพื่อนนี้จงประจักษชวยรักษา

เพื่อสืบสานมิตรไมตรีท่ีมีมา วันเวลาสิบปเดือนไมเลือนไป

อันลูกหลานตอไปภายภาคหนา คงนําพาเชนมิตรอยูชิดใกล

จะสืบสานปณิธานเนิ่นนานไป สุดแสนไกลไมนอยส่ีรอยป

ตอนกําเนิดบุตรีและลูกชาย

ครั้นตอมาสองภรรยาจึงต้ังครรภ สองเพื่อนนั้นส้ินทุกขมีสุขศรี

คลอดเปนหญิงช่ือปาริกากุมารี สวยโสภีผมดําขลับงามจับตา

เกิดชายชาตรีช่ือทุกูลกุมาร ครั้นไมนานเติบใหญมีใจกลา

ไดเลาเรียนพืชพรรณมีปญญา ศาสตรนานาพากเพียรเลาเรียนไป

ส่ิงแวดลอมเปนไปอยูในปา มีนกลิงกิ้งกาอยูใกลใกล

ท้ังเกงกวางเดินผานทุกยานไป สุดปลอดภัยในเขตจิตเมตตา

เด็กท้ังสองเจริญวัยอยูใกลชิด ตางมีจิตสํานึกรักสัตวปา

ชอบเรียนรูใฝธรรมนําชีวา นั่งภาวนาสงบจิตไรพิษภัย

ฯลฯ

บทประพันธ โดย พลตรีพิจิตร ขจรกลํ่า

ทศชาติชาดก เร่ืองพระมหาชนก คํากลอน

ตอนเมืองมิถิลา

ครั้งอดีตมีเรื่องเกามานมนาน พนภัยพาลชาวประชาลวนหนาใส

“มิถิลา”นั้นคือแควนสุดแดนไกล มีหลักชัยคือพระมหากษัตริยขัดติยา

Page 11: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

11

พระมหาชนกมีราชบุตรสุดประเสริฐ ท้ังสององคเลอเลิศใฝการศึกษา

“อริฎฐชนก”ความเปนพี่ชุบชีวา พระบิดาโปรดปราณแตเยาววัย

“โปลชนก”นั้นตามศักด์ิเปนผูนอง ผิวด่ังทองรูปรามงดแสนสดใส

คําพูดจาและความคิดไรพิษภัย งามจิตใจมีเมตตาและปราณี

ตอนโปรดเกลาฯ ใหพระราชโอรสรับราชการ

ครั้นท้ังสองเจริญวัยอยูใกลชิด พระครุนคิดลูกรักมีศักด์ิศรี

จะยกไวเพราะจงรักและภักดี ทําหนาท่ีตามตําแหนงราชการ

“อริฎฐชนก”โปรดใหเปนอุปราช ความคิดคาดแผนราชวงศจงสืบสาน

เพื่อครองเมืองตามหลักนิยมใหนมนาน คุมฝายทหารทุกเชาคํ่าในกํามือ

“โปลชนก”โปรดใหเปนเสนาบดี รองจากพี่ไมขัดของเพราะสัตยช่ือ

ความสามารถปราดเปรื่องนั้นเล่ืองลือ ชนนับถือไมหุนหันมีปญญา

ตอนพระมหาชนกสวรรคต

อันชีวิตของมนุษยใชสุดประเสริฐ ชาติกําเนิดจงตรองตรึกหมั่นศึกษา

ทุกชีวิตตองลมตายวายชีวา เพราะโรคาแพรกระจายมะลายพลัน

พระมหาชนกมีอากราพระประชวร เรียกหาดวนจงตามแพทยหลวงนั่น

ปรุงโอสถช้ันดีชวยชีวัน แตกรรมนั้นมาพรากพระจากไป

พระโอรสท้ังสองตางคร่ําครวญ พระมาดวนลับลาน้ําตาไหล

โอพอจาสองลูกยาโศกาลัย อยาหวงใยลูกจะปกปอง“มิถิลา”

ฯลฯ

บทประพันธ โดย พลตรีพิจิตร ขจรกลํ่า

Page 12: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

12

สวนท่ี 3 การดําเนินงาน

ประกอบดวยกิจกรรมตาง ๆ จํานวน 8 กิจกรรมดังนี ้

1. กิจกรรมอานบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน 1.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูกลุมสาระภาษาไทย และประจําช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – 6 มีหนาท่ี

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการเขากับการอานบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน และมีการวัดประเมินผลผูเรียน อยางเปนระบบ

1.2 ครูประจํากลุมสาระภาษาไทย หรือครูประจําช้ันดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการเขากับการอานบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน ในเวลา 15.00 – 16.00 น.ทุกวัน ในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนกรกฎาคม

1.3 ครูประจํากลุมสาระทําการวัดผลและประเมินผลผูเรียน เพื่อนําไปพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตอไป

1.4 ครูประจํากลุมสาระทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูและนําเสนอผูบริหาร

2. กิจกรรมทําหนังสือเลมเล็กจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน 2.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทย ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 – 6 มีหนาท่ี

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการเขากับการอานบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน จากนั้นใหนักเรียนเลือกตอนท่ีช่ืนชอบจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนมาทําเปนหนังสือเลมเล็ก

2.3 ครูผูรับผิดชอบดําเนินกิจกรรมโดยนักเรียนท่ีชนะเลิศกิจกรรมการแขงขันจะไดรับเกียรติบัตร 2.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมและนําเสนอผูบริหาร

3. กิจกรรมประกวดอานทํานองเสนาะจากบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน 3.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูกลุมสาระภาษาไทย มีหนาท่ีจัดการประกวดอานทํานองเสนาะบท

ประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน โดยมีการกําหนดเกณฑการประกวดออกเปนระดับ ป. 1 – 3 และ ป. 4 – 6

3.2 ครูผูรับผิดชอบดําเนินการประกวดอานทํานองเสนาะจากบทประพันธสุวรรณสาม คํากลอน และพระมหาชนก คํากลอน ในชวงเดือนสิงหาคม เพื่อหาตัวแทนระดับละ 3 คน เขาแขงขันในรอบชิงชนะเลิศโดยไดเชิญคณะกรรมการจากภาคีเครือขายมารวมตัดสิน ในชวงเดือนกันยายน

3.3 ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูและนําเสนอผูบริหาร

4. กิจกรรมเลาเร่ืองจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนและพระมหาชนกคํากลอนผานเสียงตามสาย 4.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 ครูหองสมุดและ

ครูฝายประชาสัมพันธของโรงเรียน มีหนาท่ีจัดกิจกรรมเสียงตามสาย 4.2 ครูผูรับผิดชอบคัดเลือกนักเรียนเพื่อเปนเจาหนาท่ีประชาสัมพันธไวคอยจัดกิจกรรมและอํานวย

ความสะดวกใหกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 ท่ีเขารวมกิจกรรมเสียงตามสาย ตามความสมัครใจ

Page 13: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

13

4.3 ครูผูรับผิดชอบประชาสัมพันธและแนะนํารายละเอียดการรวมกิจกรรมใหกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 - 6 โดยใชเวลาตอนเชาชวงทําความสะอาดบริเวณโรงเรียนประมาณ ๑๕ – ๒๐ นาทีใหนักเรียนท่ีตองการอานหรือเลาเรื่องความประทับใจ หรือสาระความรูดีๆ ท่ีไดจากการอานจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนและพระมหาชนกคํากลอน

4.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมและนําเสนอผูบริหาร

5. กิจกรรมตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน 5.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทย และครูหองสมุดของโรงเรียน มีหนาท่ีจัด

กิจกรรมตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน 5.2 ครูผูรับผิดชอบทําการประชาสัมพันธกิจกรรมตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน

โดยการจัดกิจกรรมในวันสําคัญทางภาษาไทย คือวันภาษาไทยแหงชาติ ๒๙ กรกฎาคม 2557 5.3 ครูผูรับผิดชอบดําเนินกิจกรรมโดยนักเรียนท่ีรวมกิจกรรมเนื่องในวันสําคัญทางภาษาไทยแลว

ชนะเลิศการแขงขันจะไดรับเกียรติบัตร 5.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมและนําเสนอผูบริหาร

6. กิจกรรมประกวดคัดลายมือจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน 7.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทย มีหนาท่ีจัดกิจกรรมประกวดคัดลายมือ 7.2 ครูผูรับผิดชอบทําการประชาสัมพันธกิจกรรมประกวดคัดลายมือ เนื่องในวันสําคัญทางภาษาไทย

คือ วันภาษาไทยแหงชาติ ๒๙ กรกฎาคม 2557 7.3 ครูผูรับผิดชอบดําเนินกิจกรรมโดยนักเรียนท่ีชนะเลิศกิจกรรมการประกวดจะไดรับเกียรติบัตร 7.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูและนําเสนอผูบริหาร

7. กิจกรรมประกวดการอานออกเสยีงบทประพนัธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน 7.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทย มีหนาท่ีจัดกิจกรรมประกวดการอานออกเสียง 7.2 ครูผูรับผิดชอบทําการประชาสัมพันธกิจกรรมประกวดการอานออกเสียงเนื่องในวันสําคัญทาง

ภาษาไทย คือ วันภาษาไทยแหงชาติ ๒๙ กรกฎาคม 2557 7.3 ครูผูรับผิดชอบดําเนินกิจกรรมโดยนักเรียนท่ีชนะเลิศกิจกรรมการประกวดจะไดรับเกียรติบัตร 7.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูและนําเสนอผูบริหาร

8. กิจกรรมประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอน 8.1 แตงต้ังคณะทํางานโดยครูท่ีสอนกลุมสาระภาษาไทยและครูหองสมุดโรงเรียนมีหนาท่ีจัดกิจกรรม

ประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน 8.2 ครูผูรับผิดชอบทําการประชาสัมพันธกิจกรรมประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธพระมหา

ชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนใหกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 - 6 โดยครูผูรับผิดชอบทําการเลือกภาพลายเสนใหนักเรียนในแตละระดับระบายสีสงครูเพื่อคัดเลือกผลงานท่ีชนะเลิศ เพื่อรับเกียรติบัตร

8.๔ ครูผูรับผิดชอบทําการสรุปผลการจัดกิจกรรมและนําเสนอผูบริหาร

Page 14: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

14

สวนท่ี 4 ผลการดําเนินงาน

1. กิจกรรมอานบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – 6 โรงเรียนประชารัฐวิทยาท่ีไดอานบทประพันธพระมหาชนก

คํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนมีความพึงพอใจและรูสึกรักในภาษาไทย คิดเปนรอยละ 91

2. กิจกรรมทําหนังสือเลมเล็กจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 – 6 โรงเรียนประชารัฐวิทยาท่ีไดอานบทประพันธพระมหาชนก

คํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนและสามารถสรางช้ินงานเปนหนังสือเลมเล็กได คิดเปนรอยละ 83

3. กิจกรรมประกวดอานทํานองเสนาะจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

รางวัล ช่ือ-นามสกุล ระดับช้ัน หมายเหตุ ชนะเลิศ ด.ญ.น้ําฝน รัตนคํา ป.6 รองชนะเลิศอันดับ1 ด.ญ.ฐะณัทดา ผลาวงษ ป.6 รองชนะเลิศอันดับ2 ด.ญ.มุทิตา วงษจันทร ป.6

4. กิจกรรมเลาเร่ืองจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนผานเสียงตามสาย นักเรียนโรงเรียนประชารัฐวิทยาท่ีไดรวมกิจกรรมเลาเรื่องจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนและ

พระมหาชนกคํากลอนผานเสียงตามสายนั้น โดยผูรวมเลาเรื่องมีความพึงพอใจและรูสึกรักในภาษาไทย คิดเปนรอยละ 94 และผูฟงรายการเสียงตามสายมีความพึงพอใจและรูสึกรักในภาษาไทย คิดเปนรอยละ 91

5. กิจกรรมตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน

รางวัล ช่ือ-นามสกุล ระดับช้ัน หมายเหตุ ชนะเลิศ ด.ญ.กนกวรรณ พลดงนอก ป. 4 รองชนะเลิศอันดับ1 ด.ช.นิติพล แขสวาง ป. 4 รองชนะเลิศอันดับ2 ด.ญ.ชลลดา พลพวก ป. 4

6. กิจกรรมประกวดคัดลายมือจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

รางวัล ช่ือ-นามสกุล ระดับช้ัน หมายเหตุ ชนะเลิศ ด.ญ.บุษยา ไชยจันทร ป.5 รองชนะเลิศอันดับ1 ด.ญ.ชลลดา พลพวก ป.4 รองชนะเลิศอันดับ2 ด.ญ.เรืองลดา ธนูชัย ป.6

Page 15: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

15

7. กิจกรรมประกวดการอานออกเสยีงบทประพนัธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

รางวัล ช่ือ-นามสกุล ระดับช้ัน หมายเหตุ ชนะเลิศ ด.ญ.อรพรรณ พิมจักร ป.5 รองชนะเลิศอันดับ1 ด.ญ.มณีรัตน มีทรัพย ป.5 รองชนะเลิศอันดับ2 ด.ญ.นริศรา บุญเสริม ป.6

8. กิจกรรมประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอน

รางวัล ช่ือ-นามสกุล ระดับช้ัน หมายเหตุ ชนะเลิศ ด.ญ.บุษยา ไชยจันทร ป.5 รองชนะเลิศอันดับ1 ด.ญ.ศรุตยา ศิริวงษ ป.6 รองชนะเลิศอันดับ2 ด.ช.ศุภโชค โตนน้ําขาว ป.4

Page 16: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

16

สวนท่ี 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ

จากการดําเนินงานตามกิจกรรมตางๆภายใตโครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” สรุปผลไดดังนี้

กิจกรรมท่ีดําเนินงานตามโครงการนั้นสามารถสรางนิสัยรักการอานการเรียนรูของนักเรียน โรงเรียนประชารัฐวิทยาไดเปนอยางดี นักเรียนเกิดนิสัยรักการอานและมีเจตคติท่ีดี มีความรักในภาษาไทย ผานการอานหนังสือเสริมนอกบทเรียนซึ่งเปนบทประพันธประเภทกลอน ท่ีมีความไพเราะ และมีการดําเนินเรื่องไดอยางสนุกสนาน ชวนติดตาม ทําใหนักเรียนเกิดนิสัยรักการอานและสนุกไปกับเรื่องท่ีอาน ดังจะเห็นไดจากการประเมินผลหลังเรียน เปนการทดสอบความเขาใจในเรื่องท่ีอาน มีนักเรียนท่ีมีผลประเมิน ในระดับ “ผาน” 84 คน จากท้ังหมด 94 คน คิดเปนรอยละ 89 จากท่ีมีนักเรียนท่ีไดผลการประเมินกอนเรียนในระดับ “ผาน” เพียง 54 คน คิดเปนรอยละ 57 ดังนั้นจึงสรุปไดวาหลังจากท่ีนักเรียนไดอานบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนและพระมหาชนกคํากลอน และไดรวมกิจกรรมตางๆของโครงการแลว ทําใหนักเรียนมีความเขาใจเนื้อเรื่องจากชาดกท้ังสองเพิ่มมากข้ึน คิดเปน รอยละ 32 และมีนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการอานบทประพันธแบบอานทํานองเสนาะในระดับ “ผาน” ข้ึนไป ถึง 78 คน คิดเปนรอยละ 83

นอกจากนี้ยังมีผลสะทอนท่ีเกิดกับนักเรียนท่ีเปนรูปธรรมอยางท่ีสุดคือ เด็กหญิงฐะณัทดา ผลาวงษ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนประชารัฐวิทยา ไดรับรางวัลชนะเลิศการแขงขันทองบทอาขยานทํานองเสนาะ ระดับ ป.4 – 6 เด็กชายทรงพล โสวิลัย, เด็กหญิงศรุตยา ศิริวงษและเด็กหญิงเรืองละดา ธนูชัย ไดรับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง กิจกรรมประกวดหนังสือเลมเล็ก ระดับ ป.4 – 6 ในการประกวดแขงขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งท่ี 64 ระดับกลุมเครือขายและไดเปนตัวแทนเขาแขงขันเพื่อคัดเลือกหาตัวแทนนักเรียนในระดับเขตพื้นท่ีตอไป สวนเด็กหญิงน้ําฝน รัตนคํา และเด็กหญิงมนีรัตน มีทรัพย ไดรับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมประกวดแตงคํากลอน(กาพยยานี 11) ระดับ ป.4 – 6 ในการประกวดแขงขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งท่ี 64 ระดับกลุมเครือขาย

สรุปไดวาโรงเรียนประสบผลสําเร็จในการดําเนินโครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” นั่นคือ เมื่อดําเนินการตามโครงการแลวพบวาเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมายทุกดาน เปนเพราะการมีสวนรวมจากบุคลากรทุกฝาย การบริหารจัดการและการพัฒนาอยางเปนระบบ

จากการดําเนินกิจกรรมดังกลาว ทําใหโรงเรียนประชารัฐวิทยาไดรับเลือกจากกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดอํานาจเจริญ (กอ.รมน.) รวมกับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอํานาจเจริญ ใหเปนโรงเรียนตัวแทนของจังหวัดอํานาจเจริญจัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ตอไป ขอเสนอแนะ 1. ควรจัดหารส่ือส่ิงพิมพบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอนใหมีจํานวนท่ีเพียงพอตอ

ความตองการของนักเรียน 2. ควรสงเสริมกิจกรรมเชิงบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูใหครบท้ัง 8 กลุมสาระ ๓. ควรขยายกลุมเปาหมายไปสูชุมชนตอไป

Page 17: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

17

รายชื่อคณะทํางาน ท่ีปรึกษา

1. วีระวัฒน ช่ืนวาริน ผูวาราชการจังหวัดอํานาจเจริญ

2. นายอดุลย กองทอง ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอํานาจเจริญ

3. นายพิชชยภูษิฐฐา ผลาวงษ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนประชารัฐวิทยา

คณะทํางาน 1. นายสมชัย กาญจนีย ผูอํานายการโรงเรียนประชารัฐวิทยา ประธานกรรมการ

2. พันเอกณรงคฤทธิ์ วิจิตร รองผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดอํานาจเจริญ กรรมการ

3. นายศุภกร มูลสุวรรณ หน.กลุมงานกิจการมวลชน กอ.รมน.จังหวัดอํานาจเจริญ กรรมการ

4. พันตรีทรงพล คําภู รอง หน.กลุมงานกิจการมวลชน กอ.รมน.จังหวัดอาํนาจเจริญ กรรมการ

5. จาสิบเอกเฉลิมพงษ สารินทร จนท.ธุรการ กลุมงานกิจการมวลชน กอ.รมน. จังหวัดอํานาจเจริญ กรรมการ

6. นายธีระชัย นามสิงห ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

7. นายประภาส นาสารีย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

8. นางสุดใจ นาสารีย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

9. นางอรุณ นามสิงห ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

10. นางชุติกานต ขาววัง ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

11. นายชํานาญ อักษรพิมพ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

12. นางสาววิไล สิงหแกว ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและเลขานุการ

13. นายทวีศักด์ิ คงโภคา ครู โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

14. นายสุนทร วงษจันทร ครูอัตราจาง โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 18: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

18

ภาคผนวก

Page 19: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

19

รายละเอียดและเกณฑการแขงขันกิจกรรม

๑. กิจกรรมการอานทํานองเสนาะจากบทประพนัธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

๑.๑ ผูเขาแขงขัน เปนนักเรียนช้ัน ป.๔ – ๖ จัดแขงขันประเภทบุคคล (ไมแยกเพศหรืออายุ)

๑.๒ วิธีดําเนินการและรายละเอียดการแขงขัน

- นักเรียนอานบทรอยกรอง แบบอานทํานองเสนาะ

๑.๓ เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบงเปน

๑) ถูกตองตามฉันทลักษณของบทรอยกรอง คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

๒) ถูกตองตามอักขรวิธี เชน การอานคํา การออกเสียงควบกลํ้า ร,ล ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

(ออกสียงผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน )

๓) น้ําเสียง เชน ความไพเราะ ความหนักเบาและความชัดเจน ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

๔) อารมณความรูสึก สอดคลองกับเนื้อหาของบทอาขยาน คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

๕) บุคลิกภาพ ความสงางาม และความมั่นใจ คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

๑.๔ รางวัลมี 3 ระดับ ดังนี้

- รางวัลชนะเลิศ

- รองชนะเลิศอันดับ ๑

- รองชนะเลิศอันดับ ๒

๒. กิจกรรมการตอบคําถามจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน

2.๑ ผูเขาแขงขัน เปนนักเรียนช้ัน ป.1 – ๖ จัดแขงขันประเภทบุคคล (ไมแยกเพศหรืออายุ)

2.๒ วิธีดําเนินการและรายละเอียดการแขงขัน

นักเรียนช้ัน ป.1 – ๖ ทําแบบทดสอบความเขาใจจากการอานบทประพันธพระมหาชนกคํากลอน

2.๓ เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม 20 คะแนน (10 ขอๆละ 2 คะแนน)

นักเรียนท่ีไดคะแนนสูงสุดจะไดรางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับ 1 และรองชนะเลิศอันดับ 2

ตามลําดับ หากมีนักเรียนท่ีไดคะแนนสูงสุดมากกวา 1 คน ใหใชวิธีทําแบบทดสอบเพิ่มเติมอีก 5 ขอ

2.๔ รางวัลมี 3 ระดับ ดังนี้

- รางวัลชนะเลิศ

- รองชนะเลิศอันดับ ๑

- รองชนะเลิศอันดับ ๒

Page 20: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

20

ตัวอยางแบบทดสอบกิจกรรมตอบคําถามจากหนังสือพระมหาชนกคํากลอน คําช้ีแจง นักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว แลวกากบาท( X ) ลงในกระดาษคําตอบ ๑.คํากลาวใดท่ีตรงกับคําสอนของพระมหาชนกชาดก ?

ก. ชาๆไดพราเลมงาม

ข. ความจริงเปนส่ิงไมตาย

ค. เกิดเปนคนตองทนลําบาก

ง. ความพยายามอยูท่ีไหน ความสําเร็จอยูท่ีนั่น

๒. พระมหาชนก เปนชาติท่ีเทาไรในทศชาติ ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๓. ทําไมพระมหาชนก ตองรีบเสวยอาหารใหอิ่มทองในขณะท่ีเรือกําลังจะอับปาง ? ก. เพราะเกิดความหิวพอดี

ข. เพื่อใหมีกําลังในการวายน้ํา

ค. เพื่อเสวยใหมีความสุขกอนท่ีจะตาย

ง. เพราะเสียดายอาหารท่ีนํามาเสวย

๔. พระมหาชนกกลาวถึงการบําเพ็ญบารมีในเรื่องใดของพระพุทธเจา

ก. ศีลบารมี

ข. วิริยะบารมี

ค. ทานบารมี

ง. เมตตาบารมี

๕. “ความเพียรพยายามยอมมีประโยชน แมจะมองไมเห็นฝง เราก็จะวายไปจนกวาจะถึงฝงเขาสักวันหนึ่ง”

นักเรียนคิดวา ผูท่ีกลาวขอความนี้เปนคนเชนไร

ก. มุงมั่น

ข. ด้ือรั้น

ค. ไมมีเหตุผล

ง. หนักเอาเบาสู

๖. ใครท่ีมาชวยพระมหาชนกไปยังเมืองมิถิลาไดเร็วข้ึน

ก. ทีฆาวุกุมาร

ข. พระเจาโปลชนก

ค. นางมณีเมขลา

ง. พระอริฎฐชนก

Page 21: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

21

๗. พระมหาชนกไดเปรยบเทียบราชสมบัติเหมือนกับอะไร

ก. ช้ินเนื้อ

ข. ราชรถ

ค. กําไลมือ

ง. ตนไมมีผล

๘. นางสีวลีมีรับส่ังใหอํามาตยเผาโรงเรือนเกาเพราะเหตุใด

ก. เพราะตองการปลงพระชนมพระมหาชนก

ข. เพราะตองการใหพระมหาชนกสรางโรงเรือนใหม

ค. เพราะตองการใหพระมหาชนกเสด็จกลับพระราชวัง

ง. เพราะตองการเผาราชสมบัติทุกอยางแลวออกบวชตามพระมหาชนก

๙. พระมหาชนกตรัสวา ความสุขท่ีแทจริงของพระองคคืออะไร

ก. การออกบวช

ข. การดํารงชีวิตอยางสามัญชน

ค. การไดเห็นราษฏรมีความกินดีอยูดี

ง. การสงเสริมใหพระโอรสข้ึนครองราชยสมบัติ

๑๐. คติสอนใจท่ีไดจากเรื่องพระมหาชนกชาดก คือขอใด

ก. ผูใหยอมผูกมิตรไวได

ข. เมตตาธรรมเปนส่ิงคํ้าจุนโลก

ค. ไฟในอยานําออก ไฟนอกอยานําเขา

ง. ความเพียรพยายามนํามาซึ่งความสําเร็จ

...............................................................

Page 22: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

22

๓. กิจกรรมประกวดคัดลายมือจากบทประพันธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

3.๑ ผูเขาแขงขัน เปนนักเรียนช้ัน ป.๑ – ๖ จัดแขงขันเปนระดับช้ัน 3.๒ วิธีดําเนินการและรายละเอียดการแขงขัน - นักเรียนช้ัน ป.๑ – ๓ คัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามแบบตัวหนังสือของกระทรวงศึกษาธิการ - นักเรียนช้ัน ป.๔ – ๖ คัดครึ่งบรรทัด ตามแบบตัวหนังสือของกระทรวงศึกษาธิการ 3.๓ เวลาท่ีใชในการแขงขัน ๑ ช่ัวโมง 3.๔ เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบงเปน ๑) ตัวอักษรถูกตองตามลักษณะวิธีเขียนอักษรไทย ๒๐ คะแนน ๒) ความสะอาดเรียบรอย ๒๐ คะแนน ๓) ความสวยงาม ๒๐ คะแนน ๔) เขียนสะกดคําถูกตอง ๒๐ คะแนน ๕) เสร็จทันเวลา จํานวน ๒๐ คะแนน 3.๕ รางวัลมี 3 ระดับ ดังนี้ - รางวัลชนะเลิศ - รองชนะเลิศอันดับ ๑ - รองชนะเลิศอันดับ ๒

๔. กิจกรรมการอานออกเสียงบทประพนัธพระมหาชนกคํากลอนและสุวรรณสามคํากลอน

4.๑ ผูเขาแขงขัน เปนนักเรียนช้ัน ป.๔ – ๖ จัดแขงขันประเภทบุคคล (ไมแยกเพศหรืออายุ)

4.๒ วิธีดําเนินการและรายละเอียดการแขงขัน

- นักเรียนอานบทรอยกรอง (อานแบบธรรมดา)

4.๓ เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบงเปน

๑) ถูกตองตามฉันทลักษณของบทรอยกรอง คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

๒) ถูกตองตามอักขรวิธี เชน การอานคํา การออกเสียงควบกลํ้า ร,ล ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

(ออกสียงผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน )

๓) น้ําเสียง เชน ความไพเราะ ความหนักเบาและความชัดเจน ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

๔) อารมณความรูสึก สอดคลองกับเนื้อหาของบทท่ีอาน คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

๕) บุคลิกภาพ ความสงางาม และความมั่นใจ คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

4.๔ รางวัลมี 3 ระดับ ดังนี้

- รางวัลชนะเลิศ

- รองชนะเลิศอันดับ ๑

- รองชนะเลิศอันดับ ๒

๕. กิจกรรมประกวดภาพระบายสีจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอน

5.๑ ผูเขาแขงขัน เปนนักเรียนช้ัน ป.๑ – ๖ จัดแขงขันเปนระดับช้ัน จัดแขงขันแบบเด่ียว 5.๒ วิธีดําเนินการและรายละเอียดการแขงขัน

นักเรียนระบายสีภาพจากบทประพันธสุวรรณสามคํากลอนท่ีครูเตรียมไวให โดยไมจํากัดประเภทสี

Page 23: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

23

5.๓ เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบงเปน ๑) ความคิดสรางสรรค คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ๒) เทคนิคการใชสี คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ๓) ความประณีตและความสมจริงในการเลือกใชสี คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ๔) ความสะอาด คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ๕) เสร็จทันเวลา คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน

5.๔ เวลาในการระบายสีภาพ 1 ช่ัวโมง 5.๕ รางวัลมี ๔ ระดับ ดังนี้

รางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับ ๑ รองชนะเลิศอันดับ ๒

Page 24: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

24

Page 25: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

25

ประมวลภาพกิจกรรมในโครงการ

Page 26: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

26

Page 27: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

27

Page 28: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

28

Page 29: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

29

Page 30: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

30

คําส่ังโรงเรียนประชารัฐวิทยา

ท่ี 63/๒๕๕7

เรื่อง แตงต้ังครูคณะครูจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินโครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”

..........................................................

ดวยโรงเรียนประชารัฐวิทยาไดจัดทําโครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จ

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” และเพื่อเปนการสรุปผลการดําเนินงานของโครงการดังกลาว

โรงเรียนประชารัฐวิทยา จึงขอแตงต้ังบุคคลท่ีมีรายช่ือดังตอไปนี้ เปนคณะผูจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนิน

โครงการ “รักการอานเทิดพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”

1. นายสมชัย กาญจนีย ผูอํานายการโรงเรียนประชารัฐวิทยา ประธานกรรมการ

2. นายธีระชัย นามสิงห ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

3. นายประภาส นาสารีย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

4. นางสุดใจ นาสารีย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรยีนประชารัฐวิทยา กรรมการ

5. นางอรุณ นามสิงห ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

6. นางชุติกานต ขาววัง ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

7. นายชํานาญ อักษรพิมพ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการ

8. นางสาววิไล สิงหแกว ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและเลขานุการ

9. นายทวีศักด์ิ คงโภคา ครู โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

10. นายสุนทร วงษจันทร ครูอัตราจาง โรงเรียนประชารัฐวิทยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

ใหบุคคลท่ีไดรับการแตงต้ังปฏิบัติหนาท่ีโดยเครงครัด อยาใหเกิดการเสียหายแกทางราชการได

ท้ังนี้ ต้ังแต วันท่ี 1 เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕7

ส่ัง ณ วันท่ี 1 เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕7

(ลงช่ือ)

(นายสมชัย กาญจนีย)

ผูอํานวยการโรงเรียนประชารัฐวิทยา

Page 31: ความเป นมาและความสําคัญ1 ส วนที่ 1 ความเป นมาและความสําคัญ. หลักการและเหตุผล.

31

บรรณานุกรม

การประถมศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี, สานักงาน. 2543. แนวการจัดกิจกรรมหองสมุด ท่ีสงเสริมพหุปญญา.

เอกสารนิเทศการศึกษา ลาดับท่ี 18/2543 หนวยศึกษานิเทศก. เอกสารอัดสาเนา.

คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, สานักงาน. 2544. สื่อรัก...จากใจครู คูมือการจัดกิจกรรมสงเสริม

การอาน. กรุงเทพมหานคร : พิมพครั้งท่ี 2 โรงพมิพคุรุสภาลาดพราว.

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สานักงาน. 2549. แนวทางการจัดกิจกรรมสงเสริม นิสัยรักการอาน.

กรุงเทพมหานคร : พิมพครั้งท่ี 2 โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

วิชาการ, กรม. 2543. กิจกรรมสงเสริมการอาน. กรุงเทพมหานคร : พิมพครั้งท่ี 2 โรงพิมพคุรุสภา

ลาดพราว.